SlideShare a Scribd company logo
1 of 21
จัดทำโดย ด . ญ . ลัดดาวัลย์  โกสุวรรณ ชั้นม .3/1 เลขที่  19 ด . ญ . ภัศธรินทร์  สงวนแก้ว ชั้นม .3/1  เลขที่  20 ด . ญ . เมธาวี  นุกูลอุดมพานิชย์ ชั้นม .3/1  เลขที่  27 เสนอ ครูวรัญญา  แก้วบุรงค์ ภาคเรียนที่ ๑ ปีการศึกษา ๒๕๔๘ โรงเรียนไผทอุดมศึกษา วิชา สุขศึกษา เรื่อง ชีวิตและครอบครัว
คำนำ จากการศึกษาเรื่องชีวิตและครอบครัวทำให้กลุ่มของข้าพเจ้าได้ทราบถึงเรื่องต่างๆที่เกี่ยวกับ อารมณ์ทางเพศและการจัดการที่เหมาะสม วิธีการสร้างและสัมพันธ์ธรรมชาติกับผู้อื่น และเรื่องต่างๆซึ่งกลุ่มของข้าพเจ้าคิดว่าน่าจะเป็นประโยชน์กับผู้อ่านไม่มากก็น้อย
อารมณ์ทางเพศและ การจัดการที่เหมาะสม ๑ .  อารมณ์ทางเพศ ๑ . ๑ ความหมายของอารมณ์ทางเพศ อารมณ์ทางเพศ เป็นความรู้สึกและปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติเนื่องจากเมื่อเข้าสู่วัยรุ่นร่างกายจะสร้างฮอร์โมนเพศ  ( ฮอร์โมนเทสโทสเตอโรนในเพศชาย และฮอร์โมนเอสโตรเจนในเพศหญิง )  จึงเกิดความรู้สึกเกี่ยวข้องกับความต้องการทางเพศ ๑ . ๒ การเกิดอารมณ์ทางเพศ อารมณ์ทางเพศที่เกิดขึ้นเป็นเรื่องธรรมชาติของมนุษย์ทุกคน ทั้งเพศชายและเพศหญิงเมื่อเข้าสู่วัยรุ่น เนื่องจากการสร้างฮอร์โมนในร่างกาย  ร่วมกับการกระตุ้นของสิ่งเร้าจากภายนอก
ฮอร์โมนเพศ วัยรุ่นชายและหญิง มีการสร้างฮอร์โมนเพศ ซึ่งเป็นส่วนสำคัญที่ทำให้เกิดอารมณ์ทางเพศ ฮอร์โมนดังกล่าว มีดังนี้ “ เทสโทสเตอโรน”  ( Testosterone )  เป็นฮอร์โมนเพศชาย ทำให้มีเสียงห้าว มีขนขึ้นตามตัว รักแร้ และอวัยวะเพศ อัณฑะมีการผลิตอสุจิ  ( Sperm )  เริ่มเกิดฝันเปียก แสดงว่าเริ่มเข้าสู่วัยรุ่น และเกิดอารมณ์ทางเพศ “ เอสโตรเจน”  ( Estrogen )  เป็นฮอร์โมนเพศหญิง กระตุ้นให้มีประจำเดือน และรังไข่ผลิตไข่ รูปร่างมีสัดส่วน มีหน้าอก เอวคอด สะโพกผาย ผิวพรรณเปล่งปลั่ง แสดงว่าเริ่มเริ่มเข้าสู่วัยรุ่นและเกิดอารมณ์ทางเพศ
อารมณ์และความต้ องการทางเพศ อารมณ์และความต้องการทางเพศเป็นการทำงานโดยอัตโนมัติของร่างกายจากการควบคุมของระบบประสาทอัตโนมัติ โดยการทำงานจะไปตามลำดับขั้นตอนต่างๆ ดังนี้ เมื่อมีการกระตุ้นจากสิ่งที่ได้เห็น ได้ยิน ได้กลิ่น ได้สัมผัส รวมทั้งความรู้สึกนึกคิดก็จะเป็นตัวกระตุ้นให้เกิดอารมณ์ทางเพศส่งต่อไปที่อวัยวะรับความรู้สึก อวัยวะรับการกระตุ้น ได้แก่ ตา หู จมูก ลิ้น กาย และใจ ความรู้สึกและอารมณ์ทางเพศจะเกิดขึ้นได้ก็ต่อเมื่ออวัยวะรับความรู้สึกนั้นมีความสามารถรับการกระตุ้น จิตใจ ถ้าจิตใจเศร้าหมอง ไม่เบิกบาน วิตกกังวล ไม่ชอบ เกลียด  ก็อาจทำให้อารมณ์และความรู้สึกทางเพศเกิดขึ้นได้ยาก
การจัดการอารมณ์ท างเพศ อารมณ์ทางเพศเกิดขึ้นเป็นเรื่องธรรมชาติ ร่างกายของคนเราถูกสร้างมาอย่างสมดุล โดยสร้างให้คนมีอารมณ์ทางเพศ หากเรามีความรู้เกี่ยวกับธรรมชาติในเรื่องเพศ  และมีสติรู้ตัวเองก็จะช่วยลดหรือผ่อนคลายความบีบคั้นจากฮอร์โมนในร่างกาย โดยทำกิจกรรมที่น่าสนใจ ซึ่งมีมากมายหลากหลายรูปแบบ หากเรามีความรู้เรื่องเพศที่ถูกต้องแล้ว ก็จะสามารถแก้ไขความกังวลใจเกี่ยวกับเรื่องเพศได้ แล้วก็สามารถที่จะควบคุมการแสดงออกของพฤติกรรมทางเพศได้อย่างถูกต้องตามประเพณีและวัฒนธรรมที่เหมาะสม การตอบสนองต่ออารมณ์และสิ่งเร้าทางเพศนั้นไม่จำเป็นต้องมีเพศสัมพันธ์เสมอไป  เราจึงหาทางออกและเบี่ยงเบนไปสนใจเรื่องอื่นๆ
การระงับอารมณ์ทา งเพศ ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
วิธีการสร้างและรัก ษ าสัมพันธภาพกับผู้อื่น ,[object Object],[object Object]
ประโยชน์ที่จะเกิดขึ้นหลัง จากการสร้างสัมพันธภาพที่ดี ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
การสร้างและรักษา สัมพันธภาพกับผู้อื่น ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
ปัจจัยในการสร้างและรักษ าสัมพันธภาพที่ดีกับบุคคลอื่น ,[object Object],[object Object],[object Object]
มีการสื่อสารที่มีประ สิทธิภาพ   ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
พุทธธรรมกับการสร้าง และรักษาสัมพันธภาพที่ดี ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
การปฏิบัติตนเกี่ยวกับ อ นามัยเจริญพันธุ์ของวัยรุ่น ,[object Object],[object Object]
ทักษะการเตือนเพื่อนเ กี่ยวกับพฤติกรรม เสี่ยงต่อ การมีเพศสัมพันธ์ ,[object Object],[object Object],[object Object]
สรุปทักษะการเตือน เพื่อนเกี่ยวกับพฤติกรรม เสี่ยงต่อ การมีเพศสัมพันธ์   ,[object Object],[object Object]
การป้องกัน กันเองใน สถานการณ์เสี่ยงต่อ การมี เพศสัมพันธ์   ,[object Object],[object Object],[object Object]
ปัญหาและผลกระท บ จากมีเพศสัมพันธ์ โดยไม่ คาดคิด  ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
วิธีปฏิบัติตนเพื่อหลีกเ ลี่ยงจากการมี เพศ สัมพันธ์โดยไม่คาดคิด  ,[object Object],[object Object],[object Object]
สรุป ปัญหาและผล กระทบ จากการมี เพศ สัมพันธ์โดยไม่คาดคิด  ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
ขอบคุณค่ะ   ด . ญ . ลัดดาวัลย์  โกสุวรรณ ชั้นม .3/1 เลขที่  19 ด . ญ . ภัศธรินทร์  สงวนแก้ว ชั้นม .3/1  เลขที่  20 ด . ญ . เมธาวี  นุกูลอุดมพานิชย์ ชั้นม .3/1  เลขที่  27 ภาคเรียนที่ ๑ ปีการศึกษา ๒๕๔๘ โรงเรียนไผทอุดมศึกษา

More Related Content

Similar to Se learn3

9789740330790
97897403307909789740330790
9789740330790CUPress
 
จิตวิทยาการแนะแนวและการให้คำปรึกษา 2
จิตวิทยาการแนะแนวและการให้คำปรึกษา 2จิตวิทยาการแนะแนวและการให้คำปรึกษา 2
จิตวิทยาการแนะแนวและการให้คำปรึกษา 2สรสิช ขันตรีมิตร
 
การเรียนรู้แบบร่วมมือ
การเรียนรู้แบบร่วมมือการเรียนรู้แบบร่วมมือ
การเรียนรู้แบบร่วมมือSukanya Burana
 
การเรียนรู้แบบร่วมมือ
การเรียนรู้แบบร่วมมือการเรียนรู้แบบร่วมมือ
การเรียนรู้แบบร่วมมือSukanya Burana
 
จรรยาบรรณในวิชาชีพครู
จรรยาบรรณในวิชาชีพครูจรรยาบรรณในวิชาชีพครู
จรรยาบรรณในวิชาชีพครูพรรณภา ดาวตก
 
9.หลักสูตรกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
9.หลักสูตรกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน9.หลักสูตรกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
9.หลักสูตรกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนnang_phy29
 
โรงเรียนและชุมชน
โรงเรียนและชุมชนโรงเรียนและชุมชน
โรงเรียนและชุมชนTwatchai Tangutairuang
 
นำเสนอคุณธรรมจริยธรรม
นำเสนอคุณธรรมจริยธรรมนำเสนอคุณธรรมจริยธรรม
นำเสนอคุณธรรมจริยธรรมssuser34255a
 
คุณธรรมและมารยาทในการสื่อสาร
คุณธรรมและมารยาทในการสื่อสารคุณธรรมและมารยาทในการสื่อสาร
คุณธรรมและมารยาทในการสื่อสารkrubuatoom
 
ทรรศนะ2
ทรรศนะ2ทรรศนะ2
ทรรศนะ2krubuatoom
 
ภารกิจครูผู้ช่วย
ภารกิจครูผู้ช่วยภารกิจครูผู้ช่วย
ภารกิจครูผู้ช่วยArm Watcharin
 
แผนการเรียนรู้ ภาษาอังกฤษแผนที่1
แผนการเรียนรู้ ภาษาอังกฤษแผนที่1แผนการเรียนรู้ ภาษาอังกฤษแผนที่1
แผนการเรียนรู้ ภาษาอังกฤษแผนที่1chartphysic
 
บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8nattawad147
 
บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8benty2443
 

Similar to Se learn3 (20)

9789740330790
97897403307909789740330790
9789740330790
 
จิตวิทยาการแนะแนวและการให้คำปรึกษา 2
จิตวิทยาการแนะแนวและการให้คำปรึกษา 2จิตวิทยาการแนะแนวและการให้คำปรึกษา 2
จิตวิทยาการแนะแนวและการให้คำปรึกษา 2
 
การเรียนรู้แบบร่วมมือ
การเรียนรู้แบบร่วมมือการเรียนรู้แบบร่วมมือ
การเรียนรู้แบบร่วมมือ
 
การเรียนรู้แบบร่วมมือ
การเรียนรู้แบบร่วมมือการเรียนรู้แบบร่วมมือ
การเรียนรู้แบบร่วมมือ
 
จรรยาบรรณในวิชาชีพครู
จรรยาบรรณในวิชาชีพครูจรรยาบรรณในวิชาชีพครู
จรรยาบรรณในวิชาชีพครู
 
9.หลักสูตรกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
9.หลักสูตรกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน9.หลักสูตรกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
9.หลักสูตรกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
 
หน่วยที่๓
หน่วยที่๓หน่วยที่๓
หน่วยที่๓
 
โรงเรียนและชุมชน
โรงเรียนและชุมชนโรงเรียนและชุมชน
โรงเรียนและชุมชน
 
นำเสนอคุณธรรมจริยธรรม
นำเสนอคุณธรรมจริยธรรมนำเสนอคุณธรรมจริยธรรม
นำเสนอคุณธรรมจริยธรรม
 
ระดับครูผู้ช่วย
ระดับครูผู้ช่วยระดับครูผู้ช่วย
ระดับครูผู้ช่วย
 
อาชีพครู
อาชีพครูอาชีพครู
อาชีพครู
 
คุณธรรมและมารยาทในการสื่อสาร
คุณธรรมและมารยาทในการสื่อสารคุณธรรมและมารยาทในการสื่อสาร
คุณธรรมและมารยาทในการสื่อสาร
 
ทรรศนะ2
ทรรศนะ2ทรรศนะ2
ทรรศนะ2
 
ภารกิจครูผู้ช่วย
ภารกิจครูผู้ช่วยภารกิจครูผู้ช่วย
ภารกิจครูผู้ช่วย
 
แผนการเรียนรู้ ภาษาอังกฤษแผนที่1
แผนการเรียนรู้ ภาษาอังกฤษแผนที่1แผนการเรียนรู้ ภาษาอังกฤษแผนที่1
แผนการเรียนรู้ ภาษาอังกฤษแผนที่1
 
บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8
 
บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8
 
บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8
 
บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8
 
บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8
 

Se learn3

  • 1. จัดทำโดย ด . ญ . ลัดดาวัลย์ โกสุวรรณ ชั้นม .3/1 เลขที่ 19 ด . ญ . ภัศธรินทร์ สงวนแก้ว ชั้นม .3/1 เลขที่ 20 ด . ญ . เมธาวี นุกูลอุดมพานิชย์ ชั้นม .3/1 เลขที่ 27 เสนอ ครูวรัญญา แก้วบุรงค์ ภาคเรียนที่ ๑ ปีการศึกษา ๒๕๔๘ โรงเรียนไผทอุดมศึกษา วิชา สุขศึกษา เรื่อง ชีวิตและครอบครัว
  • 2. คำนำ จากการศึกษาเรื่องชีวิตและครอบครัวทำให้กลุ่มของข้าพเจ้าได้ทราบถึงเรื่องต่างๆที่เกี่ยวกับ อารมณ์ทางเพศและการจัดการที่เหมาะสม วิธีการสร้างและสัมพันธ์ธรรมชาติกับผู้อื่น และเรื่องต่างๆซึ่งกลุ่มของข้าพเจ้าคิดว่าน่าจะเป็นประโยชน์กับผู้อ่านไม่มากก็น้อย
  • 3. อารมณ์ทางเพศและ การจัดการที่เหมาะสม ๑ . อารมณ์ทางเพศ ๑ . ๑ ความหมายของอารมณ์ทางเพศ อารมณ์ทางเพศ เป็นความรู้สึกและปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติเนื่องจากเมื่อเข้าสู่วัยรุ่นร่างกายจะสร้างฮอร์โมนเพศ ( ฮอร์โมนเทสโทสเตอโรนในเพศชาย และฮอร์โมนเอสโตรเจนในเพศหญิง ) จึงเกิดความรู้สึกเกี่ยวข้องกับความต้องการทางเพศ ๑ . ๒ การเกิดอารมณ์ทางเพศ อารมณ์ทางเพศที่เกิดขึ้นเป็นเรื่องธรรมชาติของมนุษย์ทุกคน ทั้งเพศชายและเพศหญิงเมื่อเข้าสู่วัยรุ่น เนื่องจากการสร้างฮอร์โมนในร่างกาย ร่วมกับการกระตุ้นของสิ่งเร้าจากภายนอก
  • 4. ฮอร์โมนเพศ วัยรุ่นชายและหญิง มีการสร้างฮอร์โมนเพศ ซึ่งเป็นส่วนสำคัญที่ทำให้เกิดอารมณ์ทางเพศ ฮอร์โมนดังกล่าว มีดังนี้ “ เทสโทสเตอโรน” ( Testosterone ) เป็นฮอร์โมนเพศชาย ทำให้มีเสียงห้าว มีขนขึ้นตามตัว รักแร้ และอวัยวะเพศ อัณฑะมีการผลิตอสุจิ ( Sperm ) เริ่มเกิดฝันเปียก แสดงว่าเริ่มเข้าสู่วัยรุ่น และเกิดอารมณ์ทางเพศ “ เอสโตรเจน” ( Estrogen ) เป็นฮอร์โมนเพศหญิง กระตุ้นให้มีประจำเดือน และรังไข่ผลิตไข่ รูปร่างมีสัดส่วน มีหน้าอก เอวคอด สะโพกผาย ผิวพรรณเปล่งปลั่ง แสดงว่าเริ่มเริ่มเข้าสู่วัยรุ่นและเกิดอารมณ์ทางเพศ
  • 5. อารมณ์และความต้ องการทางเพศ อารมณ์และความต้องการทางเพศเป็นการทำงานโดยอัตโนมัติของร่างกายจากการควบคุมของระบบประสาทอัตโนมัติ โดยการทำงานจะไปตามลำดับขั้นตอนต่างๆ ดังนี้ เมื่อมีการกระตุ้นจากสิ่งที่ได้เห็น ได้ยิน ได้กลิ่น ได้สัมผัส รวมทั้งความรู้สึกนึกคิดก็จะเป็นตัวกระตุ้นให้เกิดอารมณ์ทางเพศส่งต่อไปที่อวัยวะรับความรู้สึก อวัยวะรับการกระตุ้น ได้แก่ ตา หู จมูก ลิ้น กาย และใจ ความรู้สึกและอารมณ์ทางเพศจะเกิดขึ้นได้ก็ต่อเมื่ออวัยวะรับความรู้สึกนั้นมีความสามารถรับการกระตุ้น จิตใจ ถ้าจิตใจเศร้าหมอง ไม่เบิกบาน วิตกกังวล ไม่ชอบ เกลียด ก็อาจทำให้อารมณ์และความรู้สึกทางเพศเกิดขึ้นได้ยาก
  • 6. การจัดการอารมณ์ท างเพศ อารมณ์ทางเพศเกิดขึ้นเป็นเรื่องธรรมชาติ ร่างกายของคนเราถูกสร้างมาอย่างสมดุล โดยสร้างให้คนมีอารมณ์ทางเพศ หากเรามีความรู้เกี่ยวกับธรรมชาติในเรื่องเพศ และมีสติรู้ตัวเองก็จะช่วยลดหรือผ่อนคลายความบีบคั้นจากฮอร์โมนในร่างกาย โดยทำกิจกรรมที่น่าสนใจ ซึ่งมีมากมายหลากหลายรูปแบบ หากเรามีความรู้เรื่องเพศที่ถูกต้องแล้ว ก็จะสามารถแก้ไขความกังวลใจเกี่ยวกับเรื่องเพศได้ แล้วก็สามารถที่จะควบคุมการแสดงออกของพฤติกรรมทางเพศได้อย่างถูกต้องตามประเพณีและวัฒนธรรมที่เหมาะสม การตอบสนองต่ออารมณ์และสิ่งเร้าทางเพศนั้นไม่จำเป็นต้องมีเพศสัมพันธ์เสมอไป เราจึงหาทางออกและเบี่ยงเบนไปสนใจเรื่องอื่นๆ
  • 7.
  • 8.
  • 9.
  • 10.
  • 11.
  • 12.
  • 13.
  • 14.
  • 15.
  • 16.
  • 17.
  • 18.
  • 19.
  • 20.
  • 21. ขอบคุณค่ะ ด . ญ . ลัดดาวัลย์ โกสุวรรณ ชั้นม .3/1 เลขที่ 19 ด . ญ . ภัศธรินทร์ สงวนแก้ว ชั้นม .3/1 เลขที่ 20 ด . ญ . เมธาวี นุกูลอุดมพานิชย์ ชั้นม .3/1 เลขที่ 27 ภาคเรียนที่ ๑ ปีการศึกษา ๒๕๔๘ โรงเรียนไผทอุดมศึกษา