SlideShare a Scribd company logo
1 of 20
วันที่ 12 กุมภาพันธ์ 2546
ประวัต ศ าสตร์โ ดยสัง เขป
            ิ
         กรุงรัตนโกสินทร์หรือกรุงเทพฯสถาปนา
     ขึ้นเป็นราชธานีเมื่อ พ.ศ. 2325 สมเด็จ
พระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกทรงปราบดาภิเษกขึ้น
เป็นปฐมกษัตริย์ และได้ย้ายเมืองจากกรุงธนบุรี
ซึ่งตั้งอยู่ทางตะวันตกของแม่นำ้าเจ้าพระยามาสู่
                ทางด้านตะวันออก
        ในสมัยรัชกาลที่ 1 และ2 บ้านเมืองยังไม่
ค่อยสงบเรียบร้อย ยังต้องทำาการศึกกับพม่าอยู่
 เนืองๆ ศิลปกรรมในช่วงระยะเวลานี้สวนใหญ่
                                      ่
  จึงมีลักษณะที่สบทอดมาจากสมัยอยุธยาตอน
                  ื
                      ปลาย
         สมัยรัชกาลที่ 3 บ้านเมืองสงบเรียบร้อย
เมื่อเข้าสู่สมัยรัชกาลที่ 4 เป็นต้นมา
 วิทยาการตะวันตกได้เข้ามามีบทบาทต่อความ
คิด และโลกทัศน์ของคนไทยในสมัยนั้น ทำาให้
มีมุมมองที่เป็นวิทยาศาสตร์ มีเหตุมีผล ซึ่งส่งผล
 ต่อศิลปกรรมด้วย โดยศิลปะตั้งแต่รัชกาลที่ 4
เป็นต้นไปจะมีความสมจริงตามแบบอย่างตะวัน
                        ตก
       หลังจากนันกระแสวัฒนธรรมจากชาติ
                    ้
 ตะวันตกก็ได้เข้าสู่ประเทศไทยจนถึงปัจจุบน    ั
ประติม ากรรม :
    พระพุท ธรูป
      พระพุทธรูปใน
  สมัยรัชกาลที่ 1-2
   ส่วนใหญ่มีพุทธ
 ลักษณะที่สืบทอดมา
จากศิลปะอยุธยาตอน
 ปลาย ที่สำาคัญมีอยู่
องค์หนึ่งคือพระพุทธ
รูปคันธารราฐปางขอ
 ฝน หล่อขึป ที่ 1) พระพุท ธรูป คัน ธารราฐปางขอฝน
         (รู ้นในสมัย
รัชกาลที่ 1 (รูปที่ 1)
ะพุท ธรูป ทรงเครื่อ งยัง เป็น ที่น ย มทำา กัน เรื่อ ยมา (รูป
                                   ิ



                                      ที่สำาคัญคือ
                                 พระพุทธรูปที่มีชื่อว่า
                                  พระพุทธยอดฟ้า
                                    จุฬาโลกและ
                                  พระพุทธเลิศหล้า
                                 นภาลัย ซึ่งรัชกาลที่
                                 3 โปรดให้หล่อขึ้น
              (รูป ที่ 2)
ในสมัย รัช กาลที่ 3 มีก ารคิด ค้น ปางใหม่ๆ ของ
พระพุท ธเจ้า ขึ้น อีก รวมเป็น 40 ปาง




                    (รูป ที่ 3)
เป็นที่น่าสังเกตว่า
พระพุทธรูปนาคปรกใน
 สมัยรัชกาลที่ 3 นีได้
                     ้
ทำาขนดนาครัดถึงพระ
      อุระ(อก)ของ
พระพุทธเจ้าเลยทีเดียว
  (รูปที่ 4) สะท้อนให้
  เห็นถึงมุมมองที่เป็น
 วิทยาศาสตร์ เป็นเหตุ
  เป็นผลของ คนไทย
                            (รูป ที่ 4)
ตั้ง แต่ส มัย นีจ ะนิย มการทำา พระพุท ธรูป ทีค รอง
                ้                            ่
จีว รลายดอกมากขึ้น แต่ก ็น ย มอยูเ ป็น เวลาสัน ๆ
                                ิ    ่           ้
เท่า นัน
       ้




                    (รูป ที่ 5)
สมัยรัชกาลที่ 4
             มุมมองแบบตะวันตก
              ที่เน้นในเรื่องความ
             สมจริงได้ปรากฏมาก
              ขึ้น ทำาให้พระพุทธ
               รูปในสมัยนี้ครอง
             จีวรสมจริงตามแบบ
                  ธรรมชาติ และ
              พระพุทธรูปจะไม่มี
              อุษณีษะ (กระโหลก
(รูป ที่6)
              ศีรษะส่วนที่นูนออก
ตัง แต่น เ ป็น ต้น ไปพระพุท ธรูป สมจริง ตาม
    ้      ี้
แนวทางตะวัน ตกจะเป็น ทีน ิย มสืบ เนือ งต่อ มา
                           ่         ่




                  (รูป ที่ 7)
สถาปัต ยกรรม :
      เจดีย ์
        ในสมัยรัชกาล
ที่ 1-3 เจดีย์ในสมัยนี้
 ยังคงสืบทอดรูปแบบ
 มาจากเจดีย์ในสมัย
    อยุธยาตอนปลาย
เช่น เจดีย์เพิ่มมุมหรือ
     ย่อมุม (รูปที่ 8)
                          (รูป ที่ 8)
ในสมัย รัช กาลที่ 3 ยัง มีก ารสร้า งเจดีย ท ส ำา คัญ
                                                ์ ี่
ทีส ด องค์ห นึง ในสมัย รัต นโกสิน ทร์ข ึ้น นั่น คือ พระ
  ่ ุ         ่
ปรางค์ว ัด อรุณ ราชวราราม (รูป ที่ 9)




                       (รูป ที่ 9)
สมัย รัช กาลที่ 4 สืบ
    เนื่องจากก่อนที่
  พระองค์จะได้ขึ้น
  ครองราชสมบัติได้
เคยเสด็จธุดงค์ทางหัว
 เมืองฝ่ายเหนือ และ
   ได้ประทับอยู่ ณ
   พระราชวังที่กรุง
 ศรีอยุธยา ทำาให้เกิด
 พระราชนิยมส่วนตัว
                         (รูป ที่ 10)
   ในการเลียนแบบ
สถาปัต ยกรรม : อาคารหลัง คาคลุม
       อาคารศาสนสถานในสมัยรัชกาลที่ 1-2
  ยังคงสืบทอดรูปแบบมาจากสมัยอยุธยาตอน
ปลาย พอมาถึงในสมัยรัชกาลที่ 3 เกิดอาคารที่
ได้รับอิทธิพลจากศิลปะจีนขึ้นกล่าวคือ หน้าบัน
 ทำาด้วยปูน ไม่ประดับช่อฟ้า ใบระกา ่ หางหงส์
                              (รูป ที 12)
บางครั้งอาจประดับด้วยลายมงคลจีน เสารองรับ
 หลังคาเป็นทรงสีเหลี่ยมทึบตัน ไม่มีบวหัวเสา
                 ่                    ั




     (รูป ที่
     11)
อิท ธิพ ลตะวัน ตกแพร่เ ข้า มามากในสมัย
รัช กาลที่ 4 เป็น ต้น ไป ทำา ให้เ กิด อาคารทีใ ช้ว ัส ดุ
                                             ่
แบบตะวัน ตก เช่น หิน อ่อ น (รูป ที่ 13)




                   (รูป ที่ 13)
สำา หรับ ปราสาทราชวัง ในช่ว งแรกยัง เป็น แบบ
อย่า ทีส ืบ ทอดมาจากสมัย อยุธ ยาตอนปลายคือ
       ่
ปราสาทแบบประเพณีไ ทยทีม ย อดแหลม (รูป
                            ่ ี
ที่ 14)




                (รูป ที่ 14)
เมือ อิท ธิพ ลตะวัน เข้า มาทำา ให้ป ราสาท
          ่
ราชวัง ของไทยได้เ ปลี่ย นไปเป็น แบบตะวัน ตก
ด้ว ย แต่ส ำา หรับ พระทีน ง จัก รีม หาปราสาทกลับ
                        ่ ั่
มีย อดเป็น แบบไทย แต่ต ัว เรือ นเป็น แบบตะวัน
                    ตก(รูป ที่ 15)




                 (รูป ที่ 15)
จิต รกรรมฝาผนัง
       จิตรกรรมฝาผนังในสมัยรัชกาลที่ 1-2 ยัง
สืบทอดทั้งเรื่องราวและรูปแบบมาจากสมัยอยุธยา
 ตอนปลาย ได้แก่ นิยมทำาเรื่องเทพชุมนุม พุทธ
ประวัติ หรือทศชาติชาดก มีการทำาเส้นสินเทาแบ่ง
      เรื่องราวต่างๆออกจากกัน (รูปที่ 16)




               (รูป ที่ 16)
แต่พอมาถึงสมัย
  รัชกาลที่ 3 เส้น
   สินเทาได้หมด
ความนิยมลง หันมา
     ใช้ต้นไม้หรือ
 ทิวทัศน์ธรรมชาติ
 คันเรื่องราวต่างๆ
   ่
      ออกจากกัน
นอกจากนี้พื้นหลัง
ของภาพก็มีสีที่ทึบ       (รูป ที่ 17)
เช่น สีนำ้าเงิน(รูปที่
ตั้งแต่สมัยรัชกาลที่ 4 เป็นต้นไป อิทธิพลจาก
ตะวันตกได้เข้ามามีบทบาทต่อจิตรกรรมมากขึ้น
 มีผลต่อเรื่องราวที่ถ่ายทอดซึ่งบางครั้งทำาเป็น
  เรื่องราวในประวัติศาสตร์ ส่วนในเรื่องของ
เทคนิคมีความสมจริงมากขึ้นโดยใช้หลักทัศนีย
  วิทยา หรือเส้นนำาสายตา ลวงให้ดูเหมือนว่า
    ภาพมีความลึกความนูนเป็น 3 มิติ (รูปที่
                  18-19)

(รูป ที่                                (รูป ที่ 19)
18)

More Related Content

Similar to 12 feb b750 (7)

Sss
SssSss
Sss
 
สุนทรภู่
สุนทรภู่สุนทรภู่
สุนทรภู่
 
วิวัฒนาการของศิลปะไทย ร4 6
วิวัฒนาการของศิลปะไทย ร4 6วิวัฒนาการของศิลปะไทย ร4 6
วิวัฒนาการของศิลปะไทย ร4 6
 
พระมหาธรรมราชาที่ 1
พระมหาธรรมราชาที่ 1พระมหาธรรมราชาที่ 1
พระมหาธรรมราชาที่ 1
 
ก่อนสถาปนาสุโขทัย
 ก่อนสถาปนาสุโขทัย ก่อนสถาปนาสุโขทัย
ก่อนสถาปนาสุโขทัย
 
อาณาจักรอยุธยา
อาณาจักรอยุธยาอาณาจักรอยุธยา
อาณาจักรอยุธยา
 
อาณาจักรอยุธยา
อาณาจักรอยุธยาอาณาจักรอยุธยา
อาณาจักรอยุธยา
 

12 feb b750

  • 2. ประวัต ศ าสตร์โ ดยสัง เขป ิ กรุงรัตนโกสินทร์หรือกรุงเทพฯสถาปนา ขึ้นเป็นราชธานีเมื่อ พ.ศ. 2325 สมเด็จ พระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกทรงปราบดาภิเษกขึ้น เป็นปฐมกษัตริย์ และได้ย้ายเมืองจากกรุงธนบุรี ซึ่งตั้งอยู่ทางตะวันตกของแม่นำ้าเจ้าพระยามาสู่ ทางด้านตะวันออก ในสมัยรัชกาลที่ 1 และ2 บ้านเมืองยังไม่ ค่อยสงบเรียบร้อย ยังต้องทำาการศึกกับพม่าอยู่ เนืองๆ ศิลปกรรมในช่วงระยะเวลานี้สวนใหญ่ ่ จึงมีลักษณะที่สบทอดมาจากสมัยอยุธยาตอน ื ปลาย สมัยรัชกาลที่ 3 บ้านเมืองสงบเรียบร้อย
  • 3. เมื่อเข้าสู่สมัยรัชกาลที่ 4 เป็นต้นมา วิทยาการตะวันตกได้เข้ามามีบทบาทต่อความ คิด และโลกทัศน์ของคนไทยในสมัยนั้น ทำาให้ มีมุมมองที่เป็นวิทยาศาสตร์ มีเหตุมีผล ซึ่งส่งผล ต่อศิลปกรรมด้วย โดยศิลปะตั้งแต่รัชกาลที่ 4 เป็นต้นไปจะมีความสมจริงตามแบบอย่างตะวัน ตก หลังจากนันกระแสวัฒนธรรมจากชาติ ้ ตะวันตกก็ได้เข้าสู่ประเทศไทยจนถึงปัจจุบน ั
  • 4. ประติม ากรรม : พระพุท ธรูป พระพุทธรูปใน สมัยรัชกาลที่ 1-2 ส่วนใหญ่มีพุทธ ลักษณะที่สืบทอดมา จากศิลปะอยุธยาตอน ปลาย ที่สำาคัญมีอยู่ องค์หนึ่งคือพระพุทธ รูปคันธารราฐปางขอ ฝน หล่อขึป ที่ 1) พระพุท ธรูป คัน ธารราฐปางขอฝน (รู ้นในสมัย รัชกาลที่ 1 (รูปที่ 1)
  • 5. ะพุท ธรูป ทรงเครื่อ งยัง เป็น ที่น ย มทำา กัน เรื่อ ยมา (รูป ิ ที่สำาคัญคือ พระพุทธรูปที่มีชื่อว่า พระพุทธยอดฟ้า จุฬาโลกและ พระพุทธเลิศหล้า นภาลัย ซึ่งรัชกาลที่ 3 โปรดให้หล่อขึ้น (รูป ที่ 2)
  • 6. ในสมัย รัช กาลที่ 3 มีก ารคิด ค้น ปางใหม่ๆ ของ พระพุท ธเจ้า ขึ้น อีก รวมเป็น 40 ปาง (รูป ที่ 3)
  • 7. เป็นที่น่าสังเกตว่า พระพุทธรูปนาคปรกใน สมัยรัชกาลที่ 3 นีได้ ้ ทำาขนดนาครัดถึงพระ อุระ(อก)ของ พระพุทธเจ้าเลยทีเดียว (รูปที่ 4) สะท้อนให้ เห็นถึงมุมมองที่เป็น วิทยาศาสตร์ เป็นเหตุ เป็นผลของ คนไทย (รูป ที่ 4)
  • 8. ตั้ง แต่ส มัย นีจ ะนิย มการทำา พระพุท ธรูป ทีค รอง ้ ่ จีว รลายดอกมากขึ้น แต่ก ็น ย มอยูเ ป็น เวลาสัน ๆ ิ ่ ้ เท่า นัน ้ (รูป ที่ 5)
  • 9. สมัยรัชกาลที่ 4 มุมมองแบบตะวันตก ที่เน้นในเรื่องความ สมจริงได้ปรากฏมาก ขึ้น ทำาให้พระพุทธ รูปในสมัยนี้ครอง จีวรสมจริงตามแบบ ธรรมชาติ และ พระพุทธรูปจะไม่มี อุษณีษะ (กระโหลก (รูป ที่6) ศีรษะส่วนที่นูนออก
  • 10. ตัง แต่น เ ป็น ต้น ไปพระพุท ธรูป สมจริง ตาม ้ ี้ แนวทางตะวัน ตกจะเป็น ทีน ิย มสืบ เนือ งต่อ มา ่ ่ (รูป ที่ 7)
  • 11. สถาปัต ยกรรม : เจดีย ์ ในสมัยรัชกาล ที่ 1-3 เจดีย์ในสมัยนี้ ยังคงสืบทอดรูปแบบ มาจากเจดีย์ในสมัย อยุธยาตอนปลาย เช่น เจดีย์เพิ่มมุมหรือ ย่อมุม (รูปที่ 8) (รูป ที่ 8)
  • 12. ในสมัย รัช กาลที่ 3 ยัง มีก ารสร้า งเจดีย ท ส ำา คัญ ์ ี่ ทีส ด องค์ห นึง ในสมัย รัต นโกสิน ทร์ข ึ้น นั่น คือ พระ ่ ุ ่ ปรางค์ว ัด อรุณ ราชวราราม (รูป ที่ 9) (รูป ที่ 9)
  • 13. สมัย รัช กาลที่ 4 สืบ เนื่องจากก่อนที่ พระองค์จะได้ขึ้น ครองราชสมบัติได้ เคยเสด็จธุดงค์ทางหัว เมืองฝ่ายเหนือ และ ได้ประทับอยู่ ณ พระราชวังที่กรุง ศรีอยุธยา ทำาให้เกิด พระราชนิยมส่วนตัว (รูป ที่ 10) ในการเลียนแบบ
  • 14. สถาปัต ยกรรม : อาคารหลัง คาคลุม อาคารศาสนสถานในสมัยรัชกาลที่ 1-2 ยังคงสืบทอดรูปแบบมาจากสมัยอยุธยาตอน ปลาย พอมาถึงในสมัยรัชกาลที่ 3 เกิดอาคารที่ ได้รับอิทธิพลจากศิลปะจีนขึ้นกล่าวคือ หน้าบัน ทำาด้วยปูน ไม่ประดับช่อฟ้า ใบระกา ่ หางหงส์ (รูป ที 12) บางครั้งอาจประดับด้วยลายมงคลจีน เสารองรับ หลังคาเป็นทรงสีเหลี่ยมทึบตัน ไม่มีบวหัวเสา ่ ั (รูป ที่ 11)
  • 15. อิท ธิพ ลตะวัน ตกแพร่เ ข้า มามากในสมัย รัช กาลที่ 4 เป็น ต้น ไป ทำา ให้เ กิด อาคารทีใ ช้ว ัส ดุ ่ แบบตะวัน ตก เช่น หิน อ่อ น (รูป ที่ 13) (รูป ที่ 13)
  • 16. สำา หรับ ปราสาทราชวัง ในช่ว งแรกยัง เป็น แบบ อย่า ทีส ืบ ทอดมาจากสมัย อยุธ ยาตอนปลายคือ ่ ปราสาทแบบประเพณีไ ทยทีม ย อดแหลม (รูป ่ ี ที่ 14) (รูป ที่ 14)
  • 17. เมือ อิท ธิพ ลตะวัน เข้า มาทำา ให้ป ราสาท ่ ราชวัง ของไทยได้เ ปลี่ย นไปเป็น แบบตะวัน ตก ด้ว ย แต่ส ำา หรับ พระทีน ง จัก รีม หาปราสาทกลับ ่ ั่ มีย อดเป็น แบบไทย แต่ต ัว เรือ นเป็น แบบตะวัน ตก(รูป ที่ 15) (รูป ที่ 15)
  • 18. จิต รกรรมฝาผนัง จิตรกรรมฝาผนังในสมัยรัชกาลที่ 1-2 ยัง สืบทอดทั้งเรื่องราวและรูปแบบมาจากสมัยอยุธยา ตอนปลาย ได้แก่ นิยมทำาเรื่องเทพชุมนุม พุทธ ประวัติ หรือทศชาติชาดก มีการทำาเส้นสินเทาแบ่ง เรื่องราวต่างๆออกจากกัน (รูปที่ 16) (รูป ที่ 16)
  • 19. แต่พอมาถึงสมัย รัชกาลที่ 3 เส้น สินเทาได้หมด ความนิยมลง หันมา ใช้ต้นไม้หรือ ทิวทัศน์ธรรมชาติ คันเรื่องราวต่างๆ ่ ออกจากกัน นอกจากนี้พื้นหลัง ของภาพก็มีสีที่ทึบ (รูป ที่ 17) เช่น สีนำ้าเงิน(รูปที่
  • 20. ตั้งแต่สมัยรัชกาลที่ 4 เป็นต้นไป อิทธิพลจาก ตะวันตกได้เข้ามามีบทบาทต่อจิตรกรรมมากขึ้น มีผลต่อเรื่องราวที่ถ่ายทอดซึ่งบางครั้งทำาเป็น เรื่องราวในประวัติศาสตร์ ส่วนในเรื่องของ เทคนิคมีความสมจริงมากขึ้นโดยใช้หลักทัศนีย วิทยา หรือเส้นนำาสายตา ลวงให้ดูเหมือนว่า ภาพมีความลึกความนูนเป็น 3 มิติ (รูปที่ 18-19) (รูป ที่ (รูป ที่ 19) 18)