SlideShare a Scribd company logo
1 of 98
Download to read offline
คู่มอการฝึ ก
                                        ื
                                       ว่ าด้ วย
                              แบบฝึ กบุคคลท่ ามือเปล่า
                               คฝ.๗-๖ พ.ศ.๒๕๔๔
                                                         หน้า
บทที่๑ - กล่าวทัวไป่                                     ๑
บทที่๒ - การฝึ กบุคคลท่ามือเปล่า                         ๕
 -        ท่าตรง                                         ๕
 -        ท่าพัก                                         ๖
 -        ท่าหันอยู่กบที่
                     ั                                   ๙
 -        ท่าก้าวทางข้าง                                 ๑๖
 -        ท่าก้าวถอยหลัง                                 ๑๗
 -        ท่าเดิ น                                       ๑๘
 -        ท่าหยุดจากการเดิ น                             ๒๒
 -        ท่าเปลี่ยนเท้าในเวลาเดิ น                      ๒๓
 -        ท่าซอยเท้า                                     ๒๕
 -        ท่าหันในเวลาเดิ น                              ๒๘
 -        ท่าเคารพ                                       ๓๔
 -        ท่าวิ่ ง                                       ๔๕
 -        ท่าหยุดจากการวิ่ ง                             ๔๖
 -        ท่าเปลี่ยนเท้าในเวลาวิ่ ง                      ๔๘
 -        ท่าเปลี่ยนจากการวิ่ งเป็ นการเดิ น             ๔๙
 -        ท่าเปลี่ยนจากการเดิ นเป็ นการวิ่ ง             ๕๑
 -        ท่าหันในเวลาวิ่ ง                              ๕๒
 -        ท่าถอดหมวกและสวมหมวก                           ๕๘
 -        ท่าหมอบและลุก                                  ๖๖
บทที่๓ - การฝึ กแถวชิ ด                                  ๗๐
 -        แถวหน้ ากระดาน                                 ๗๐
 -        แถวตอน                                         ๘๓
 -        การตรวจแถว                                     ๙๐
        - การเปลี่ยนทิ ศทางขณะเคลื่อนที่ของรูปแถวตอน     ๙๕
- ๑ -

                                         บทที่ ๑
                                        กล่าวทั ่วไป
๑. กล่าวนา
       ๑.๑ บุคคลพลเรือนซึงเข้ารับราชการทหารใหม่ ไม่ว่าจะเข้ามารับราชการในฐานะเข้ารับราชการ
                         ่
ตามพระราชบัญญัตรบราชการทหาร เข้ารับราชการเป็นนักเรียนนายสิบ เข้ารับราชการเป็นนักเรียน
                   ิั
นายทหาร หรือสมัครเข้ารับราชการซึงต้องแต่งตังยศให้กตาม จาเป็นจะต้องได้รบการฝึกท่าบุคคล
                                    ่            ้        ็               ั
เบืองต้นก่อนเสมอ ทังนี้เพื่อปร ะสงค์จะฝึกให้บุคคลพลเรือนเหล่านี้มลกษณะทหารโดยสมบูรณ์ และ
    ้                ้                                              ีั
ให้มความรอบรูในลักษณะท่าทางส่วนบุคคล ซึงมีความจาเป็นจะต้องนาไปใช้ในการปฏิบตตนในเรือง
       ี        ้                            ่                                     ั ิ      ่
เกียวกับวินยและแบบธรรมเนียมของทหารตลอดเวลาทีรบราชการทหาร
  ่          ั                                         ่ั
      ๑.๒ การฝึกท่าบุคคลเบืองต้นจึงถือได้ว่าเป็ นการฝึกเริมแรกทีมความสาคัญอย่างยิงต่อการเข้ารับ
                            ้                               ่   ่ ี              ่
ราชการทหาร เนื่องจากการฝึกนี้จะเป็นเครืองช่วยปูพนฐานบุคคลพลเรือนให้เปลียนลักษณะท่าทาง
                                         ่          ้ื                      ่
เป็นทหารได้โดยสมบูรณ์ในโอกาสต่อไป
           ่
๒. ความมุงหมาย
    คู่มอการฝึกเล่มนี้ได้กาหนดขึนโดยความมุงหมายเพื่อให้หน่วยทหาร หรือผูทมหน้าทีรบผิดชอบ
        ื                       ้         ่                            ้ ่ี ี  ่ั
ในการฝึกท่าบุคคลเบืองต้นให้กบบุคคลประเภทต่าง ๆ ดังกล่าวข้างต้น ได้นาไปใช้เป็นแบบฉบับใน
                      ้       ั
การฝึกบุคคลท่ามือเปล่าให้เป็นมาตรฐานอันเดียวกัน เพื่อปรับลักษณะท่าทางของบุคคลพลเรือนให้
เป็นทหารโดยสมบูรณ์
๓. ขอบเขต
    คู่มอการฝึกเล่มนี้จะกล่าวถึงการฝึกบุคคลท่ามือเปล่า ซึงครอบคลุมท่าทีสาคัญ ๆ และเป็นท่า
        ื                                                 ่              ่
หลักๆ ได้แก่ ท่าตรง ท่าพัก ท่าหัน ท่าเดิน ท่าหยุด ท่าเคารพ ท่าวิง ท่าถอดหมวกและสวมหมวก
                                                                ่
ท่าหมอบลุก และรวมถึงการฝึกแถวชิดด้วย
๔. การบรรลุผล
     เพื่อให้การฝึกบรรลุความมุงหมายดังกล่าวข้างต้น ผูบงคับบัญชาทุกชัน ตลอดจนผูมหน้าทีฝึก
                              ่                      ้ ั            ้         ้ ี    ่
ทุกนายจะต้องคอยกวดขัน และหมันดูแลให้การฝึกดาเนินไปด้วยดีทสุด โดยจะต้องพยายามคิดค้นหา
                                 ่                              ่ี
วิธฝึกและใช้อุบายในการฝึกอย่างประณีตรอบคอบ เอาใจใส่ และเมือพบข้อบกพร่องต่าง ๆ ทีเกิดขึน
   ี                                                          ่                   ่ ้
จากการฝึกจะต้องจัดการแก้ไขทันที
๕. การนาไปใช้
     ผูฝึกจะต้องใช้ดุลพินิจในการกาหนดวิธการฝึก ให้เหมาะสมแก่ จานวนผูรบการฝึก จานวน
       ้                                  ี                                     ้ั
เครืองช่วยฝึก ครูฝึกและผูชวยครูฝึกทีมอยู่ ทังนี้เพื่อเป็ นการป้องกันไม่ให้ผรบการฝึกต้องรอคอย
   ่                       ้่       ่ ี       ้                            ู้ ั
การฝึกอัน เนื่องจากความจากัดของเครือง ช่วยฝึก และปฏิบตไปในทางผิด ๆ อันเนื่องจากการ
                                        ่                      ั ิ
ขาดการกากับดูแลการปฏิบตของครูฝึกและผูช่วยครูฝึกอย่างใกล้ชด
                              ั ิ           ้                      ิ


                                                                                               ๑
- ๒ -


๖. การปรับปรุงแก้ไข
     หากผูใช้ค่มอเล่มนี้ประสงค์ทจะให้ขอเสนอแนะในการเปลียนแปลงแก้ไข หรือให้ขอคิดเห็นต่าง ๆ
          ้ ู ื                 ่ี    ้                   ่                  ้
เพื่อปรับปรุงคู่มอให้ดขนย่อมกระทาได้ ข้อคิดเห็นต่าง ๆ ทีจะเสนอให้เปลียนแปลงเหล่านี้ควรจะบ่ง
                 ื    ี ้ึ                              ่            ่
หน้า ข้อ และบรรทัดตามทีปรากฏในคู่มอด้วย และควรจะให้เหตุผลประกอบเพื่อให้เกิดความเข้าใจ
                           ่            ื
อย่างถ่องแท้ และสามารถนามาประเมินค่าได้โดยสมบูรณ์ ข้อคิดเห็นเหล่านี้ขอให้ส่งตรงไปยังแผนก
การฝึก กองวิทยาการ ศูนย์การทหารราบ ค่ายธนะรัชต์ อาเภอปราณบุร ี จังหวัดประจวบคีรขนธ์ ี ั
๗. คาแนะนาในการใช้คาบอก
     เพื่อให้ผมหน้าทีในการฝึกได้มความเข้าใจ และสามารถใช้คาบอกตามทีกาหนดไว้ในคู่มอเล่มนี้
               ู้ ี         ่             ี                          ่              ื
สาหรับสังการปฏิบตท่าต่าง ๆ ได้อย่างถูกต้อง ไม่สบสน แ ละเป็นไปในแนวทางเดียวกัน จึงแนะนาให้
           ่              ั ิ                   ั
ผูใช้ค่มอได้ทราบถึงรายละเอียดเกียวกับการใช้คาบอกดังต่อไปนี้
  ้ ู ื                                 ่
     ๗.๑ ประเภทของคาบอก คาบอกทีกาหนดไว้ในคู่มอเล่มนี้แบ่งลักษณะออกเป็น ๔ ประเภท คือ
                                              ่        ื
           ๗.๑.๑ คาบอกแบ่ง
           ๗.๑.๒ คาบอกเป็นคา ๆ
           ๗.๑.๓ คาบอกรวด
           ๗.๑.๔ คาบอกผสม
     ๗.๒ การใช้คาบอก ลักษณะทีต่างกันของคาบอกประเภทต่าง ๆ จะเป็นเครืองบ่งให้ทราบถึง
                                            ่                                ่
ลักษณะการปฏิบตของท่านัน ๆ แนวทางในการใช้น้าเสียงเพื่อสัง่ และเขียนไว้ให้เห็นความ แตกต่าง
                      ั ิ         ้
กันอย่างเด่นชัดโดยการแสดงเครืองหมายไว้่
             ๗.๒.๑ คาบอกแบ่ง (รูปที่ ๑) เป็นคาบอกทีใช้เพื่อออกคาสังสาหรับท่าฝึกทีส่วนใหญ่แล้ว
                                                   ่              ่               ่
มักจะกาหนดไว้ให้ปฏิบตได้เป็นจังหวะเดียวหรือแบ่งเป็นจังหวะ ๆ ได้ คาบอกแบ่งนี้ผให้คาบอก
                              ั ิ                                              ู้
จะต้องเปล่งเสียงบอกในคาแรกด้วยการลากเสียงค่อนข้างยาว แล้วเว้นจั งหวะไว้เล็กน้อยก่อนทีจะ   ่
เปล่งเสียงบอกในคาหลัง ด้วยการเน้นเสียงให้หนักและสัน การเขียนคาบอกชนิดนี้จะแสดงไว้ให้เห็น
                                                     ้
ด้วยการใช้เครืองหมาย - ขันกลางไว้ระหว่างคาบอกคาหน้าและคาหลัง ตัวอย่างเช่น “ขวา - หัน”
                    ่               ้
เป็นต้น

                                                        หัน
                                ขวา

                            รูปที่ ๑ แสดงการบอก คาบอกแบ่ง
         ๗.๒.๒ คาบอกเป็นคา ๆ (รูปที่ ๒) เป็นคาบอกทีใช้เพื่อออกคาสังสาหรับท่าฝึกทีส่วน
                                                          ่            ่           ่
ใหญ่แล้วมักจะไม่กาหนดให้ปฏิบตแบ่งเป็นจังหวะ ๆ ไว้ (แต่สามารถแบ่งการฝึกออกเป็นตอน ๆ ได้)
                            ั ิ



                                                                                           ๒
- ๓ -

และจาเป็นต้องใช้คาบอกยืดยาวซึงอาจจะมีหลายพยางค์กได้ จึงจาเป็น ต้องเว้นจังหวะการบอกไว้เป็น
                                ่                    ็
ตอน ๆ หรือคา ๆ คาบอกเป็นคา ๆ นี้ผให้คาบอกจะต้องเปล่งเสียงบอกทังในคาแรกและคาหลังด้วย
                                      ู้                             ้
การวางน้าหนักเสียงไว้เท่า ๆ กัน โดยเว้นจังหวะระหว่างคาไว้เล็กน้อย ไม่ตองลากเสียงยาวในคา
                                                                       ้
แรก และเน้นหนักในคาหลัง เหมือนคาบอกแบ่ง การเขียนคาบอกช นิดนี้จะแสดงไว้ให้เห็นโดยการใช้
เครืองหมาย, ขันกลางไว้ระหว่างคาบอกคาหน้าและคาหลัง ตัวอย่างเช่น “ ตามระเบียบ, พัก ” เป็น
    ่         ้
ต้น

                              ตาม         พัก
                            ระเบียบ

                        รูปที่ ๒ แสดงการบอก คาบอกเป็ นคา ๆ

          ๗.๒.๓ คาบอกรวด (รูปที่ ๓) เป็นคาบอกทีใช้เพื่อออกคาสังสาหรับท่าฝึกทีส่วนใหญ่แล้ว
                                                   ่            ่             ่
มักจะไม่กาหนดให้ปฏิบตแบ่งเป็นจังหวะ ๆ ไว้ (แต่สามารถแบ่งการฝึกออกเป็นตอน ๆ ได้ ) และเป็น
                      ั ิ
คาสังทีไม่ยดยาวหรือมีหลายพยางค์ จึงไม่มความจาเป็นต้อง แบ่งจังหวะการสังไว้เป็นตอน ๆ หรือ
      ่ ่ ื                             ี                              ่
คา ๆ คาบอกรวดนี้ไม่ว่าจะมีกพยางค์กตาม ผูใ ห้คาบอกจะต้องบอกรวดเดียวจบโดยวางน้าหนักเสียง
                           ่ี       ็     ้
เป็นระดับเดียว การเขียนคาบอกชนิดนี้จะแสดงไว้ให้เห็นโดยเขียนเป็นคาติดต่อกันทังหมด ไม่ใช้
                                                                            ้
เครืองหมายใด ๆ ทังสิน ตัวอย่างเช่น “ถอดหมวก” เป็นต้น
    ่             ้ ้

                            ถอด
                            หมวก

                           รูปที่ ๓ แสดงการบอก คาบอกรวด

         ๗.๒.๔ คาบอกผสม (รูปที่ ๔) เป็นคาบอกทีมลกษณะคล้ายคาบอกเป็นคา ๆ จะผิดกับคา
                                                  ่ ีั
บอกเป็นคา ๆ ก็ตรงที่ คาบอกในคาหลังจะเป็นคาบอกแบ่ง เพราะฉะนันคาบอกประเภทนี้จงเป็นคา
                                                               ้                ึ
บอกทีใช้เพื่อออกคาสังสาหรับท่าฝึก ทีส่วนใหญ่มกจะกาหนดให้ปฏิบตแบ่งเป็นจังหวะ ๆ ได้ตาม
      ่             ่               ่        ั               ั ิ
ลักษณะของคาบอกแบ่งทีผสมอยูในคาหลังของคาบอกผสมนี้เป็นหลัก คาบอกผสมนี้ผให้คาบอก
                        ่     ่                                             ู้
จะต้องเปล่งเสียงบอกในคาห้วงแรกเช่นเดียวกับคาบอกเป็นคา ๆ คือ วางน้าหนักเสียงไว้เท่า ๆ กัน
ส่วนการเปล่งเสียงในคาบอกห้วงหลังก็คงเปล่งเสียงในลักษณะเดียวกันกับคาบอกแบ่ง คือ เปล่งเสียง
บอกในคาแรกด้วยการลากเสียงค่อนข้างยาว แล้วเว้นจังหวะไว้เล็กน้อยก่อนทีจะเปล่งเสียงบอกในคา
                                                                    ่
หลังด้วยการเน้นเสียงให้หนักและสัน การเขียนคาบอกชนิดนี้จะแสดงไว้ให้เห็นโดยใช้เครืองหมาย,
                                ้                                                 ่
ขันกลางไว้ระหว่างคาบอกห้วงแรกและห้วงหลัง ส่วน คาบอกในห้วงหลังคงใช้เครืองหมาย-ขันกลางไว้
  ้                                                                    ่            ้
ระหว่างคาบอกคาหน้าและคาหลัง ตัวอย่างเช่น “ ทางขวา, แลขวา-ทา ” เป็นต้น


                                                                                       ๓
- ๔ -


                                                         ทา
                       ทางขวา     แลขวา

                          รูปที่ ๔ แสดงการบอก คาบอกผสม

๘. คาแนะนาในการฝึ ก
    ๘.๑ ลาดับขันตอนในการฝึก สมควรฝึกแบบปิดขันตอนจนทหารปฏิบตได้คล่องแคล่วพอสมควร
                  ้                                  ้              ั ิ
แล้ว จึงค่อยฝึกแบบเปิดขันตอน
                         ้
    ๘.๒ คาบอกปิดขันตอน ้
           ๘.๒.๑ “จังหวะ” ใช้กบคาบอกแบ่งและคาบอกผสม
                                 ั
           ๘.๒.๒ “ตอน” ใช้กบคาบอกเป็นคา ๆ และคาบอกรวด
                               ั
           ๘.๒.๓ ใช้คาบอกเช่นเดียวกับการฝึกแบบเปิดจังหวะหรือเปิดตอน โดยแจ้งเตือนให้ทหาร
ทราบล่วงหน้าว่าจะฝึกปิดจังหวะหรือปิดตอน ในการปฏิบตของทหารเมือสินคาบอกให้ปฏิบตเฉพาะ
                                                       ั ิ      ่ ้              ั ิ
“จังหวะ ๑” หรือ “ตอนที่ ๑” สาหรับจังหวะหรือตอนทีเหลือให้ใช้คาบอก “ต่อไป” จนกว่าจะปฏิบตจบ
                                                   ่                                 ั ิ
ท่านัน ๆ เช่น ท่าขวาหัน ซึงแบ่งออกเป็น ๒ จังหวะ
     ้                     ่
                    ๘.๒.๓.๑ คาบอกเริมแรก “ขวา - หัน” ปฏิบตจงหวะที่ ๑
                                    ่                      ั ิั
                    ๘.๒.๓.๒ คาบอก “ต่อไป” ปฏิบตจงหวะที่ ๒
                                                ั ิั




                                                                                      ๔
- ๕ -

                                      บทที่ ๒
                              การฝึ กบุคคลท่ามือเปล่า

๙. ท่าตรง (รูปที่ ๕)




                                   รูปที่ ๕ ท่าตรง
    ๙.๑ คาบอก “แถว - ตรง” (คาบอกแบ่ง)
    ๙.๒ การปฏิ บติ ท่านี้มจงหวะเดียว
                   ั         ีั
         ๙.๒.๑ ลักษณะของท่าตรงมีดงนี้คอ จะต้องยืนให้สนเท้าทังสองชิดและอยูในแนวเดียวกัน
                                        ั ื             ้     ้            ่
ปลายเท้าทังสองแบะออกไปทางข้าง ข้างละเท่า ๆ กัน จนปลายเท้าห่างกันประมาณ ๑ คืบ หรือให้
           ้
ความยาวของเท้าเฉียงเป็นมุมประมาณ ๔๕ องศา เข่าเห ยียดตรงและบีบเข้าหากัน แขนทังสองอยู่
                                                                                  ้
                                                                         ่
ข้างลาตัวในลักษณะงอข้อศอกไว้ จนเกิดเป็ นช่องว่างห่างจากลาตัวประมาณหนึ่งฝามือและพลิก
ข้อศอกไปทางข้างหน้าเล็กน้อยจนไหล่ทงสองข้างตึงและเสมอกัน นิ้วมือทังห้าเหยียดตรงเรียงชิด
                                     ั้                          ้
               ิ                ่ี ่                                           ่
ติดกัน และให้น้วกลางแตะไว้ทตรงกึงกลา งขาท่อนบนประมาณแนวตะเข็บกางเกงเปิดฝามือออกไป
ทางด้านนิ้วก้อยเล็กน้อย ลาคอตังตรงไม่ยนคาง สายตามองตรงไปทางข้างหน้าในแนวระดับ
                                  ้      ่ื
วางน้าหนักตัวให้อยูบนเท้าทังสองข้างเท่า ๆ กันและนิ่ง
                     ่     ้


                                                                                    ๕
- ๖ -

            ๙.๒.๒ เมือได้ยนคาบอก “แถว -” ทหารจะต้องจัดส่วนต่าง ๆ ของร่างกายให้ยนอยูใน
                       ่          ิ                                                 ื ่
ลักษณะของท่าตรงตามทีได้กล่าวแล้ว ยกเว้นเข่าขวาหย่อนเล็กน้อย พร้อมกับสูดลมหายใจเข้าปอด
                            ่
ให้เต็มที่ และยกอกให้ผงผาย
                         ่ึ
            ๙.๒.๓ เมือได้ยนคาบอก “ตรง” ให้ทหารกระตุกเข่าขวาเข้ามาอย่างรวดเร็วและแข็งแรงจน
                     ่        ิ
ตึง ในลักษณะทีให้บบเข่าทังสองเข้าหากันแล้วนิ่ง
                 ่ ี            ้
            ๙.๒.๔ ท่าตรง ถือเป็นท่าพืนฐานของทุกท่าก่อนจะปฏิบตท่าใดก็ตาม จะต้องเริมต้นจาก
                                     ้                      ั ิ                  ่
ท่าตรงเสมอ
๑๐. ท่าพัก
      ๑๐.๑ ท่าพักแบ่งออกเป็ น ๒ ประเภท คือ
             ๑๐.๑.๑ ท่าพักในแถว ประกอบด้วย ท่าพักตามปกติ ท่าพั กตามระเบียบ และท่าพัก
ตามสบาย
             ๑๐.๑.๒ ท่าพักนอกแถว ประกอบด้วย ท่าพักแถวและท่าเลิกแถว
      ๑๐.๒ ท่าพักตามปกติ (รูปที่ ๖)
             ๑๐.๒.๑ คาบอก “พัก” (คาบอกรวด)
             ๑๐.๒.๒ การปฏิบติ ท่านี้มจงหวะเดียว แต่ให้ปฏิบตไปตามลาดับขันตอนดังต่อไปนี้
                              ั        ีั                     ั ิ                ้
                     ๑๐.๒.๒.๑ ในขันแรกเมือได้ยนคาบอก “พัก” ให้ทหารหย่อนเข่าขวาลง
                                       ้        ่   ิ
เล็กน้อย โดยพยายามไม่ให้ส่วนอื่น ๆ ของร่างกายมีการไหวติงไปด้วยอย่างกระทันหัน
                     ๑๐.๒.๒.๒ สาหรับในขันต่อไปนัน ้     ้         ท่านี้อนุญาตให้ทหารเคลื่อนไหว
ส่วนต่าง ๆ ของร่างกายและเปลียนเข่าพักได้ตามสมควรและเท่าทีจาเป็น
                            ่                                   ่
                     ๑๐.๒.๒.๓ ท่านี้หามทหารขยับเขยือน หรือเปลียนทียนของเท้าทังสองข้าง
                                          ้                 ้              ่ ่ ื           ้
และห้ามพูดคุยกันโดยเด็ดขาด
                     ๑๐.๒.๒.๔ เมือได้ยนคาบอก “แถว-” ให้ทหารยืดตัวขึนพร้อมกับสูดลม
                                     ่        ิ                                    ้
หายใจเข้าปอดจนเต็มที่ และจัดทุกส่วนของร่างกายให้อยูในลักษณะของท่าตรง เว้นเข่าขวายัง
                                                          ่
หย่อนอยู่ ถ้าได้ยนคาบอกขณะทีหย่อนเข่าซ้าย ก็ให้เปลียนมาหย่อนเข่าขวา
                 ิ              ่                     ่
                     ๑๐.๒.๒.๕ เมือได้ยนคาบอก “ตรง” ให้กระตุกเข่าขวากลับไปอยูในลักษณะ
                                   ่        ิ                                           ่
ของท่าตรงอย่างรวดเร็วและแข็งแรง




                                                                                             ๖
- ๗ -




                                   รูปที่ ๖ ท่าพักตามปกติ

       ๑๐.๓ ท่าพักตามระเบียบ (รูปที่ ๗)
             ๑๐.๓.๑ คาบอก “ตามระเบียบ, พัก” (คาบอกเป็นคา ๆ)
             ๑๐.๓.๒ การปฏิบติ ท่านี้มจงหวะเดียว แต่ให้ปฏิบตไปตามลาดับขันตอนดังต่อไปนี้
                                    ั        ีั                 ั ิ             ้
                      ๑๐.๓.๒.๑ เมือได้ยนคาบอก “ตามระเบียบ, พัก” ให้ทหารแยกเท้าซ้ายออก
                                        ่       ิ
ไปทางด้านซ้ายประมาณ ๓๐ ซม. อย่างแข็งแรงและผึงผายโดยให้เท้าทังสองข้างอยูระดับหัวไหล่
                                                          ่                ้             ่
ในขณะเดียวกันให้นามือทังสองข้างไปจับกันไว้ทางด้านหลัง ในลักษณะหันหลังมือทังสองข้างเข้าหา
                             ้                                                      ้
ลาตัว ใช้มอซ้ายจับมือขวาโดยให้มอขวาอยูทางด้านนอก วางนิ้วหัวแม่มอขวาให้ทบและจับนิ้วหัว
           ื                          ื           ่                     ื         ั
แม่มอซ้ายไว้ นิ้วมือทังสี่ (เว้นนิ้วหัวแม่มอ) ของมือขวาเหยียดตึงเรียงชิดติดกัน โดยให้เฉียงลงไปทาง
     ื                ้                    ื
เบืองล่างทางซ้าย วางหลังมือซ้ายแตะไว้แนวกึงกลางด้านหลังลาตัวประมาณใต้แนวเข็มขัด และแบะ
   ้                                                ่
ข้อศอกทังสองข้างไปข้างหน้าเล็กน้อยแต่พอสบาย ลักษณะของการยืนจะต้องให้ขาทังสองตึง
         ้                                                                             ้




                                                                                               ๗
- ๘ -




                  (๗ ก.)                                        (๗ ข.)
                               รูปที่ ๗ ท่าพักตามระเบียบ

น้าหนักตัวอยูบนเท้าทังสองข้างเท่า ๆ กัน ยกอกให้สง่าผ่าเผย จัดไหล่ทงสองข้างให้เสมอกัน ลาคอ
              ่         ้                                           ั้
ตังตรง สายตามองตรงไปข้างหน้าในแนวระดับและนิ่ง
  ้
                       ๑๐.๓.๒.๒ เมือได้ยนคาบอก “แถว-” ให้สดลมหายใจเข้าปอดจนเต็มที่
                                   ่        ิ                   ู
                       ๑๐.๓.๒.๓ เมือได้ยนคาบอก “ตรง” ให้ชกเท้าซ้ายกลับมาชิดกับเท้าขวาใน
                                       ่      ิ                   ั
ลักษณะทีให้สนเท้าทังสองชิดและอยูในแนวเดียวกัน ปลายเท้าทังสองแบะออกไปทางข้าง ข้างละ
          ่ ้        ้               ่                      ้
เท่า ๆ กัน ห่างกันประมาณ ๑ คืบ พร้อมกันนันให้ลดมือทังสองข้า งลงมาอยูในลักษณะของท่าตรง
                                                  ้     ้                ่
อย่างแข็งแรงแล้วนิ่ง
      ๑๐.๔ ท่าพักตามสบาย
             ๑๐.๔.๑ คาบอก “ตามสบาย, พัก” (คาบอกเป็นคา ๆ)
             ๑๐.๔.๒ การปฏิบติ ท่านี้มจงหวะเดียว แต่ให้ปฏิบตไปตามลาดับขันตอน ดังต่อไปนี้
                                ั          ีั                 ั ิ          ้
                          ๑๐.๔.๒.๑ เมือได้ยนคาบอก “ตามสบาย, พัก” ให้ทหารหย่อนเข่าขวาลง
                                         ่      ิ
เล็กน้อย โดยพยายามไม่ให้ส่วนต่าง ๆ ของร่างกายมีการไหวติงไปด้วยอย่างกระทันหัน เช่นเดียวกับ
การทาท่าพักตามปกติในขันแรก  ้


                                                                                       ๘
- ๙ -

                         ๑๐.๔.๒.๒ สาหรับในขันต่อไปนัน ท่านี้อนุ ญาตให้ทหารเคลื่อนไหวอิรยาบถ
                                                                    ้     ้                                    ิ
ได้ตามสบาย ห้ามพูดคุยกันเว้นแต่ได้รบอนุญาต และเท้าข้างใดข้างหนึ่งจะต้องอยูกบที่
                                              ั                                                  ่ ั
                         ๑๐.๔.๒.๓ ท่านี้หามทหารออกนอกแถว ถ้าไม่อนุญาตให้นงจะนังไม่ได้ ถ้า
                                                    ้                                              ั่ ่
                    ั่        ่                   ่ ั
ได้รบอนุ ญาตให้นงจะต้องนังในลักษณะทีให้ปกเท้าข้างใดข้างหนึ่งเป็นหลักอยูกบที่
     ั                                                                                    ่ ั
                         ๑๐.๔.๒.๔ เมือได้ยนคาบอก “แถว-” ไม่ว่าทหารจะอยูในอิรยาบถใดก็ตามให้
                                      ่                   ิ                                   ่ ิ
ทหารรีบกลับมาอยูในท่าพักตามปกติ พร้อมกับสูดลมหายใจเข้าปอดให้เต็มที่ และยกอกให้ผงผาย
                       ่                                                                                    ่ึ
                         ๑๐.๔.๒.๕ เมือได้ยนคาบอก “ตรง” ให้ทหารกระตุกเข่าขวาเข้ามาอย่าง
                                        ่                   ิ
รวดเร็วและแข็งแรงจนเข่าตึง ในลักษณะทีให้บบเข่าทังสองข้างเข้าหากันอยูในท่าตรงแล้วนิ่ง
                                                   ่ ี                  ้               ่
         ๑๐.๕ ท่าพักแถว
              ๑๐.๕.๑ คาบอก “พักแถว” (คาบอกรวด)
              ๑๐.๕.๒ การปฏิบติ    ั
                           ๑๐.๕.๒.๑ เมือได้ยนคาบอก “พักแถว” ให้ทหารทุกคนทีอยูในแถวต่างคน
                                            ่                   ิ                                   ่ ่
ต่างแยกออกไปจากแถวในทันทีและอย่างฉับไว ท่าพักแถวนี้ทหารแต่ละคนสามารถจะหาทีนงพักได้                        ่ ั่
ตามสะดวก แต่ตองอยูในบริเวณใกล้เคียงนันและไม่ทาเสียงอึกทึก
                  ้      ่                              ้
                           ๑๐.๕.๒.๒ เมือได้ยนคาบอก “แถว” ให้ทุกคนรีบกลับมาเข้าแถวทีเดิม
                                                ่                 ิ                                              ่
โดยเร็วในรูปแถวเดิม และเมือจัดแถวเป็นรูปแถวเรียบร้อยแล้ว ให้อยูในท่าตรงจนกว่าจะได้รบคาสัง่
                                ่                                                   ่                        ั
ปฏิบตอย่างใดอย่างหนึ่งต่อไป
       ั ิ
              ๑๐.๕.๓ โอกาสในการใช้ สาหรับพักนอกแถ วในระยะเวลาสัน เพื่อรอการฝึกหรือ         ้
ปฏิบตงานต่อไป
        ั ิ
              ๑๐.๕.๔ คาแนะนาสาหรับผูฝึก เมือผูฝึกเรียกแถวใหม่ดวยการใช้คาบอก “แถว”
                                                      ้               ่ ้             ้
แล้วผูฝึกจะสัง่ “แถว - ตรง” อีกไม่ได้ ถ้าเห็นว่าทหารทีกลับมาเข้าแถวใหม่ยงจัดแถวไม่เรียบร้อย
         ้                                                                    ่                ั
ผูฝึกจะต้องใช้คาบอก “จัดแถว” และ “นิ่ง” ตามลาดับเท่านัน
  ้                                                                         ้
         ๑๐.๖ ท่าเลิ กแถว
              ๑๐.๖.๑ คาบอก “เลิกแถว” (คาบอกรวด)
              ๑๐.๖.๒ การปฏิบติ เมือได้ยนคาบอกว่า “เลิกแถว” ให้ทหารทุกคนทีอยูในแถวแยก
                                    ั     ่                   ิ                                       ่ ่
กระจายกันออกไปจากแถวโดยเร็ว
              ๑๐.๖.๓ โอกาสในการใช้ สาหรับเลิกการฝึกหรือปฏิบตงานในครังนัน        ั ิ          ้ ้

๑๑. ท่าหันอยู่กบที่
                 ั
     ท่าหันอยูกบทีแบ่งออกเป็น ๕ ท่า คือ ท่าขวาหัน , ท่าซ้ายหัน, ท่ากลับหลังหัน, ท่ากึงขวาหัน,
              ่ ั ่                                                                 ่
และท่ากึงซ้ายหัน
        ่




                                                                                                                ๙
- ๑๐ -

     ๑๑.๑ ท่าขวาหัน (รูปที่ ๘)




          (๘/๑ ก.)                        (๘/๑ ข.)                         (๘/๒)
                        จังหวะหนึ่ง                                   จังหวะสอง
                                      รูปที่ ๘ ท่าขวาหัน

               ๑๑.๑.๑ คาบอก “ขวา - หัน” (คาบอกแบ่ง)
               ๑๑.๑.๒ การปฏิบติ ท่านี้แบ่งออกเป็นสองจังหวะดังต่อไปนี้
                                 ั
                          ๑๑.๑.๒.๑ จังหวะหนึ่ ง เมือได้ยนคาบอก “ขวา - หัน” ให้ทหารเปิดปลายเท้า
                                                  ่      ิ
ขวาให้สงขึนจากพืนเล็กน้อยโดยพยายามกดส้นเท้าให้ตรึงอยูกบที่ แล้วหมุนตัวไปทางขวาจนได้ ๙๐
           ู ้        ้                                      ่ ั
องศา ด้วยการใช้สนเท้าขวาเป็นจุดหมุน ในขณะเดียวกันนัน ให้ใช้ปลายเท้าซ้ายกดแน่นไว้กบพืนเพื่อ
                        ้                                  ้                           ั ้
ช่วยให้มการทรงตัวดีในระหว่างหมุนตัว แล้วเปิดส้นเท้าหมุนตามไปด้วย โดยพยายามกด ปลาย
            ี
เท้าไว้ ณ ทีเดิมในลักษณะให้ขาเหยียดตึง ในขณะทีหมุนตัวไปนันจะต้องพยายามรักษา
               ่                                     ่           ้
ทรวดทรงของลาตัว และการวางมือทังสองให้อยูในลักษ ณะของท่าตรงตลอดเวลาด้วย เมือหมุนตัว
                                      ้         ่                                    ่
ไปได้ทแล้ว ทหารจะต้องอยูในท่ายืนทีวางน้าหนักตัวทังหมดไว้บนเท้าขวา ขาซ้ายเหยียดตึงไปทาง
        ่ี                     ่        ่              ้
ด้านหลังทางซ้าย ส้นเท้าเปิดและบิดออกไปทางด้านนอกของลาตัว
                          ๑๑.๑.๒.๒ จังหวะสอง ชักเท้าซ้ายมาชิดกับเท้าขวา เพื่อยืนในลักษณะของ
ท่าตรงอย่างรวดเร็วและแข็งแรง
               ๑๑.๑.๓ คาแนะนาสาหรับผูฝึก ในการฝึกปิดจังหวะให้ใช้คาบอกเช่นเดียวกับเปิดจังหวะ
                                          ้
เพื่อให้ทหารปฏิบตจงหวะหนึ่งโดยใช้คาบอก “ขวา - หัน” เมือจะให้ทหารปฏิบตต่อไปในจังหวะสอง
                    ั ิั                                       ่            ั ิ
ให้ใช้คาบอก “ต่อไป”


                                                                                           ๑๐
- ๑๑ -


๑๑.๒ ท่าซ้ายหัน (รูปที่ ๙)




             (๙/๑ ก.)                                          (๙/๑ ข.)
                             รูปที่ ๙ ท่าซ้ายหันจังหวะหนึ่ ง




                                         (๙/๒)
                             รูปที่ ๙ ท่าซ้ายหันจังหวะสอง




                                                                          ๑๑
- ๑๒ -

           ๑๑.๒.๑ คาบอก “ซ้าย - หัน”
           ๑๑.๒.๒ การปฏิบติ ท่านี้แบ่งออกเป็นสองจังหวะดังต่อไปนี้
                                 ั
                        ๑๑.๒.๒.๑ จังหวะหนึ่ง เมือได้ยนคาบอก “ซ้าย - หัน” ให้ทหารเปิดปลาย
                                               ่     ิ
เท้าซ้ายให้สงขึนจากพืนเล็กน้อยโดยพยายามกดส้นเท้าให้ตรึงอยูกบที่ แล้วหมุนตัวไปทางซ้ายจนได้
               ู ้         ้                                    ่ ั
๙๐ องศา ด้วยการใช้สนเท้าซ้ายเป็นจุดหมุน ในข ณะเดียวกันนันให้ใช้ปลายเท้าขวากดแน่นไว้กบพืน
                             ้                              ้                           ั ้
เพื่อให้มการทรงตัวดีในระหว่างหมุนตัว แล้วเปิดส้นเท้าหมุนตามไปด้วย โดยพยายามกดปลายเท้า
         ี
ขวาไว้ ณ ทีเดิมในลักษณะให้ขาเหยียดตึง ในขณะทีหมุนตัวไปนันจะต้องพยายามรักษาทรวดทรง
             ่                                    ่           ้
ของลาตัว และการวางมือทังสองให้อยูในลั กษณะของท่าตรงตลอดเวลาด้วย เมือหมุนตัวไปได้ทแล้ว
                               ้       ่                                ่            ่ี
ทหารจะอยูในท่ายืนทีวางน้าหนักตัวทังหมดไว้บนเท้าซ้าย ขาขวาเหยียดตึงไปทางด้านหลังทางขวา
           ่             ่           ้
ส้นเท้าเปิดและบิดออกไปทางด้านนอกของลาตัว
                        ๑๑.๒.๒.๒ จังหวะสอง ชักเท้าขวามาชิดกับเท้าซ้าย เพื่อยืนในลักษณะของ
ท่าตรงอย่างรวดเร็วและแข็งแรง
           ๑๑.๒.๓ คาแนะนาสาหรับผูฝึก ในการฝึกปิดจังหวะให้ใช้คาบอกเช่นเดียวกับเปิดจังหวะ
                                         ้
เพื่อให้ทหารปฏิบตจงหวะหนึ่ง โดยใช้คาบอก “ซ้าย - หัน” เมือจะให้ทหารปฏิบตต่อไปในจังหวะสอง
                   ั ิั                                   ่               ั ิ
ให้ใช้คาบอก “ต่อไป”

     ๑๑.๓ ท่ากลับหลังหัน (รูปที่ ๑๐)




                 (๑๐/๑ ก.)                                          (๑๐/๑ ข.)

                             รูปที่ ๑๐ ท่ากลับหลังหันจังหวะหนึ่ ง



                                                                                       ๑๒
- ๑๓ -




                                        (๑๐/๒)
                          รูปที่ ๑๐ ท่ากลับหลังหันจังหวะสอง

          ๑๑.๓.๑ คาบอก “กลับหลัง - หัน” (คาบอกแบ่ง)
          ๑๑.๓.๒ การปฏิบติ ท่านี้แบ่งออกเป็นสองจังหวะดังต่อไปนี้
                             ั
                     ๑๑.๓.๒.๑ จังหวะหนึ่ง เมือได้ยนคาบอก “กลับหลัง - หัน” ให้ทหารเปิด
                                              ่    ิ
ปลายเท้าขวาให้สงขึนจากพืนเล็กน้อยและพยายามกดส้นเท้าให้ตรึงอยูกบที่ แล้วหมุนตัวไปทางขวา
                 ู ้       ้                                    ่ ั
จนได้ ๑๘๐ องศา (กลับหน้าเป็นหลัง) ด้วยการใช้สนเท้าขวาเป็นจุดหมุน ในขณะเดียวกันนันให้ใช้
                                                 ้                                  ้
ปลายเท้าซ้ายกดแน่นไว้กบพืนเพื่อให้มการทรงตัวดีในระหว่างหมุนตัว แล้วเปิดส้นเท้าพร้อมกับ
                         ั ้        ี
เหวียงเท้าซ้ายไปทางซ้าย และนาปลายเท้าซ้ายไปแตะพืนไว้ทางด้านหลังในทิศทางเฉียงไปทางหลัง
    ่                                                ้
ทางซ้ายของลาตัว ส้นเท้าเปิ ด เข่าเหยียดตึง ในขณะทีหมุนตัวไปนันจะต้องพยายามรักษา
                                                       ่      ้
ทรวดทรงของลาตัว และการวางมือทังสองให้อยูในลักษณะของท่าตรงตลอดเวลาด้วย เมือหมุนตัวไป
                                  ้         ่                                  ่
ได้ทแล้วทหารจะอยูในท่ายืนทีวางน้าหนักตัวทังหมดไว้บนเท้าขวา ขาซ้ายเหยียดตึงไปทางด้านหลัง
      ่ี           ่           ่          ้
ทางซ้าย ส้นเท้าเปิดและบิดออกไปทางด้านนอกของลาตัว


                                                                                    ๑๓
- ๑๔ -

                     ๑๑.๓.๒.๒ จังหวะสอง ชักเท้าซ้ายมาชิดกับเท้าขวา เพื่อยืนในลักษณะของ
ท่าตรงอย่างรวดเร็วและแข็งแรง
           ๑๑.๓.๓ คาแนะนาสาหรับผูฝึก ในการฝึกปิดจังหวะให้ใช้คาบอกเช่นเดียวกับเปิดจังหวะ
                                   ้
เพื่อให้ทหารปฏิบตจงหวะหนึ่ง โดยใช้คาบอก “กลับหลัง - หัน” เมือจะให้ทหารปฏิบตต่อไปในจังหวะ
                ั ิั                                       ่               ั ิ
สอง ให้ใช้คาบอก “ต่อไป”

     ๑๑.๔ ท่ากึ่งขวาหัน




         (๑๑/๑ ก.)                       (๑๑/๑ ข.)                     (๑๑/๒)
                          จังหวะหนึ่ง                                จังหวะสอง

                                   รูปที่ ๑๑ ท่ากึ่งขวาหัน

             ๑๑.๔.๑ คาบอก “กึงขวา - หัน” (คาบอกแบ่ง)
                               ่
             ๑๑.๔.๒ การปฏิบติ ท่านี้แบ่งออกเป็นสองจังหวะ ในการปฏิบตคงมีขนตอนเหมือนกัน
                             ั                                      ั ิ  ั้
กับการทาท่าขวาหัน จะแตกต่างกันเฉพาะให้หนไปเพียง ๔๕ องศา เท่านัน
                                          ั                       ้
             ๑๑.๔.๓ คาแนะนาสาหรับผูฝึก ในการฝึกปิดจังหวะให้ใช้คาบอกเช่นเดียวกับเปิด
                                      ้
จังหวะ เพื่อให้ทหารปฏิบตจงหวะหนึ่ง โดยใช้คาบอก “กึงขวา - หัน” เมือจะให้ทหารปฏิบตต่อไปใน
                       ั ิั                       ่             ่              ั ิ
จังหวะสอง ให้ใช้คาบอก “ต่อไป”




                                                                                     ๑๔
- ๑๕ -


๑๑.๕ ท่ากึ่งซ้ายหัน




         (๑๒/๑ ก.)                     (๑๒/๑ ข.)                       (๑๒/๒)
                 จังหวะหนึ่ง                               จังหวะสอง
                                รูปที่ ๑๒ ท่ากึ่งซ้ายหัน

             ๑๑.๕.๑ คาบอก “กึงซ้าย - หัน” (คาบอกแบ่ง)
                               ่
             ๑๑.๕.๒ การปฏิบติ ท่านี้แบ่งออกเป็นสองจังหวะ ในการปฏิบตคงมีขนตอนเหมือน กัน
                             ั                                       ั ิ  ั้
กับการทาท่าซ้ายหัน จะแตกต่างกันเฉพาะให้หนไปเพียง ๔๕ องศา เท่านัน
                                           ั                       ้
             ๑๑.๕.๓ คาแนะนาสาหรับผูฝึก ในการฝึกปิดจังหวะให้ใช้คาบอกเช่นเดียวกับเปิด
                                      ้
จังหวะ เพื่อให้ทหารปฏิบตจงหวะหนึ่ง โดยให้คาบอก “กึงซ้าย - หัน” เมือจะให้ทหารปฏิบตต่อไปใน
                       ั ิั                       ่              ่              ั ิ
จังหวะสอง ให้ใช้คาบอก “ต่อไป”




                                                                                     ๑๕
- ๑๖ -

๑๒. ท่าก้าวทางข้าง (รูปที่ ๑๓)




                                 รูปที่ ๑๓ ท่าก้าวทางข้าง

      ๑๒.๑ คาบอก “ก้าวทางขวา. . . . . . .ก้าว, ทา” (คาบอกเป็นคา ๆ)
                      “ก้าวทางซ้าย. . . . . . .ก้าว, ทา”
      ๑๒.๒ การปฏิ บติ เมือได้ยนคาบอก “ก้าวทางขวา. . . . . .ก้าว, ทา” หรือ “ก้าวทางซ้าย. . . .
                       ั     ่    ิ
. . .ก้าว, ทา” ให้ทหารก้าวเท้าขวา (ซ้าย) ไปทางข้างในลักษณะเข่าทังสองข้างตึง วางปลายเท้าขวา
                                                                  ้
                                    ้         ่
(ซ้าย) จดพืนแล้วลดส้นเท้าสัมผัสพืนเต็มฝาเท้า หลังจากนันเปลียนน้ าหนักตัวไปอยูบนเท้าที่ ก้าว
             ้                                              ้ ่               ่
ออกไป แล้วนาเท้าซ้าย (ขวา) ไปชิดเท้าทีกาวออกไปอยูในท่าตรง สาหรับก้าวต่อไปคงปฏิบติ
                                                  ่ ้     ่                              ั
เหมือนเดิมทุกประการจนครบจานวนก้าว ทังนี้จะต้องรักษาการทรงตัว และร่างกายส่วนอื่นให้อยูใน
                                                ้                                      ่
ท่าตรง
     ๑๒.๓ คาแนะนาสาหรับผูฝึก    ้
               ๑๒.๓.๑ ท่าก้าวทางข้างนี้มกจะนาไปใช้ในโอกาส ทีตองการให้ทหารเปลียนทีตงแถวไป
                                          ั                   ่ ้               ่ ่ ั้
ทางข้างในระยะใกล้ไม่เกิน ๑๐ ก้าว
               ๑๒.๓.๒ ถ้าหากประสงค์จะให้แถวทหารเปลียนทีตงแถวไปทางขวา (ซ้าย) ในระยะ
                                                         ่ ่ ั้
มากกว่า ๑๐ ก้าว ให้ใช้วธบอกให้ทหารทาท่าขวา (ซ้าย) หัน เสียก่อน แล้วบอก “หน้า - เดิน”,
                          ิี
“แถว - หยุด”, “ขวา (ซ้าย) - หัน” กลับสู่ทศทางเดิม และจัดแถวใหม่
                                            ิ

                                                                                          ๑๖
- ๑๗ -

            ๑๒.๓.๓ คาบอกทีเขียนไว้ว่า “ก้าวทางขวา (ซ้าย).....ก้าว, ทา” นัน ตรงเครืองหมาย
                              ่                                          ้       ่
….…ก้าว ทีเว้นไว้นน ผูฝึกจะต้องกาหนดจานวนก้าวให้ชดเจนด้วย เช่น “ก้าวทางขวา ๕ ก้าว, ทา”
          ่       ั้ ้                           ั
เป็นต้น
๑๓. ท่าก้าวถอยหลัง (รูปที่ ๑๔)




        (๑๔/ก.)                    (๑๔/ข.)                    (๑๔/ค.)                    (๑๔/ง.)

                                      รูปที่ ๑๔ ท่าก้าวถอยหลัง

               ๑๓.๑ คาบอก “ก้าวถอยหลัง. . . . .ก้าว, ทา” (คาบอกเป็นคา ๆ)
               ๑๓.๒ การปฏิ บติ เมือได้ยนคาบอก “ก้าวถอยหลัง. . . . .ก้าว, ทา” ให้ทหารก้าวเท้าซ้าย
                              ั      ่           ิ
ออกไปทางด้านหลังก่อนให้ได้ความยาวของก้าวประมาณ ๓๐ ซม. ในลักษณะทีเข่าทังสองเหยียดตึง    ่ ้
และรักษาทรวดทรงของร่างกายให้อยูในลักษณะของท่าตรงตลอดเวลา แล้ววางปลายเท้าทีกาว
                                             ่                                                 ่ ้
ออกไปก่อนนันจดกับพืน ต่อจากนันให้ลดส้ นเท้าลงไปยืนกับพืนพร้อมกับเปลียนน้าหนักตัวไปวางอยู่
                 ้          ้            ้                          ้                ่
บนเท้าซ้ายและยกส้นเท้าขวาสูงขึนเล็กน้อย
                                   ้                     แล้วยกเท้าขวาก้าวออกไปทางข้างหลังใน
ลักษณะทีให้ผ่านเท้าซ้าย ออกไปทางด้านหลังของเท้าซ้ายอีกประมาณ ๓๐ ซม. และนาปลายเท้าขวา
         ่
ไปจดกับพืนไว้ในลักษณะเดียวกันกับการก้าวเท้าซ้ายออกไปข้างหลังในครังแรก ในลาดับต่อไปให้
             ้                                                                     ้
เปลียนเท้าก้าวไปข้างหลังสลับกันไปเช่นนันเรือย ๆ จนกว่าจะครบจานวนก้าวตามทีได้รบคาสังให้
    ่                                                ้ ่                                 ่ ั        ่
หยุดเท้าข้างทีกาวไปครบจานวนนันไว้กบทีในลักษณะวางน้าหนักตัวยืนอยูบนเท้าข้างนัน แล้วจึงนา
                   ่ ้                 ้           ั ่                           ่           ้
เท้าหน้าซึงเปิดส้นเท้าเล็กน้อยเข้ามาชิดกับเท้าข้างทีหยุดในลักษณะท่าตรง
           ่                                              ่
               ในกรณีทได้รบคาสังให้กาวไปข้างหลังเพียงหนึ่งก้าว ก็ให้ปฏิบตโดยก้าวเท้าซ้ายออกไป
                        ่ี ั    ่ ้                                          ั ิ
ก่อนในลักษณะตามทีได้อธิบายไว้ขางต้น แล้วดึงเท้าขวาเข้ามาชิดกับเท้าซ้ายโดยไม่ตองก้าวต่อไป
                          ่                ้                                               ้
               ๑๓.๓ คาแนะนาสาหรับผูฝึก         ้
                       ๑๓.๓.๑ ท่าก้าวถอยหลังนี้ มักจะนาไปใช้ในโอกาสทีตองการให้ทหารเปลียนทีตง
                                                                            ่ ้                    ่ ่ ั้
แถวไปทางข้างหลังในระยะใกล้ ไม่เกิน ๑๐ ก้าว

                                                                                                     ๑๗
- ๑๘ -

                   ๑๓.๓.๒ ถ้าหากประสงค์จะให้แถวทหารเปลียนทีตงแถว ไปทางข้างหลัง ในระยะ
                                                            ่ ่ ั้
มากกว่า ๑๐ ก้าว ให้ใช้วธบอกให้ทหารทาท่ากลับหลังหันเสียก่อน แล้วบอก
                             ิี                                                  “หน้า - เดิน”
“แถว - หยุด”, “กลับหลัง - หัน” กลับสู่ทศทางเดิม และจัดแถวใหม่
                                       ิ
                   ๑๓.๓.๓ คาบอกทีเขียนไว้ว่า “ก้าวถอยหลัง. . . . .ก้าว, ทา” นัน ตรงเครืองหมาย
                                     ่                                        ้       ่
. . . . ก้าวทีเว้นไว้นน ผูฝึกจะต้องกาหนดจานวนก้าวให้ชดเจนด้วย เช่น “ก้าวถอยหลัง ๕ ก้าว, ทา”
              ่       ั้ ้                             ั
เป็นต้น
๑๔. ท่าเดิ น
    ท่าเดินแบ่งออกเป็น ๓ ท่า คือ ท่าเดินสวนสนาม, ท่าเดินตามปกติ, และท่าเดินตามสบาย
    ๑๔.๑ ท่าเดิ นสวนสนาม (รูปที่ ๑๕)




                 (๑๕/ก.)                                           (๑๕/ข.)
                                รูปที่ ๑๕ ท่าเดิ นสวนสนาม
          ๑๔.๑.๑ คาบอก “สวนสนาม, หน้า - เดิน” (คาบอกผสม)
          ๑๔.๑.๒ การปฏิบติ เมือได้ยนคาบอก “สวนสนาม, หน้า - เดิน” ให้ทหารเริมออกเดิน
                          ั ่      ิ                                             ่
โดยเตะเท้าซ้ายออกไปข้างหน้าในลักษณะขาเหยียดตึง ปลายเท้างุมลงจนรูสกว่าหลังเท้าตึง ฝาเท้า
                                                             ้    ้ ึ                  ่
สูงจากพืนประมาณ ๑ คืบ พร้อมกับยกมือขวาซึงนิ้วทังห้าเรียงชิดกันและเหยียดตึงผ่านขึนมาทาง
        ้                                  ่      ้                                ้
ด้านหน้า แล้วไปหยุดลงตรงประมาณแนวหัวเข็มขัด และให้ห่างจากหัวเข็มขัดประมาณหนึ่งฝามือ  ่
           ่ ิ ่
ในลักษณะทีบดฝามือเฉียงลงไปทางข้างหน้า และยกศอกสูงขึนเล็กน้อยแต่ไม่ให้ศอกกาง ใน
                                                           ้
ขณะเดียวกันนันก็ให้สลัดแขน และมือซ้ายซึงนิ้วทังห้าเรียงชิดกันและเหยียดตึงเฉียงลงไปทางด้าน
              ้                        ่      ้


                                                                                          ๑๘
- ๑๙ -

หลังทาง ซ้ายจนรูสกว่าแขนเหยียดตึง หันหลังมือออกทางด้านนอกลาตัวโดยไม่ให้ฝืนลักษณะตาม
                            ้ ึ
ธรรมชาติ น้าหนักตัวทังหมดอยูบนเท้าขวา ลาตัวยืดตรง ยกหน้าอก สายตามองไปยังข้างหน้าใน
                                  ้       ่
แนวระดับ เมือจะสืบเท้าก้าวไปข้างหน้า ให้กาวเท้าซ้ายไปข้างหน้าให้ได้ระยะก้าวประมาณ ๘๐ ซม.
                     ่                                    ้
                                                ่                             ่
(นับจากส้นเท้าถึงส้นเท้า) แล้วจึงตบฝาเท้าลงไปกับพืนให้เต็มฝาเท้าอย่างแข็งแรงโดยไม่ให้เข่างอ ใน
                                                                      ้
ลาดับต่อไปให้เปลียนน้าหนักตัวทังหมดไปวางอยูบนเท้าซ้าย
                          ่                 ้                   ่                 แล้วเตะเท้าขวาออกไปข้างหน้าใน
ลักษณะเดียวกันกับการเตะเท้าซ้ายออกไปในครังแรก และในขณะเดียวกันนันก็ให้สะบัดแขนและมือ
                                                              ้                             ้
ขวาเฉียงลงไปทางด้านหลังทางขวาจนรูสกว่าแขนเหยียดตึง หันหลังมือออกทางด้านนอกลาตัวโดย
                                                    ้ ึ
ไม่ให้ฝืนลักษณะตามธรรมชาติ พร้อมกับยกมือซ้ายผ่านขึนมาทางด้านหน้าแล้วไปหยุดลงตรง
                                                                          ้
                                                                                ่
ประมาณแนวหัวเข็มขัด และให้ห่างจากหัวเข็มขัดประมาณหนึ่งฝามือในลักษณะทีบดฝามือเฉียงลงไป             ่ ิ ่
ทางข้างหน้า และยกศอกสูงขึนเล็กน้อยแต่ไม่ให้ศอกกาง ลาตัวยืดตรง ยกหน้าอ ก สายตามองตรงไป
                                        ้
ยังข้างหน้าในแนวระดับ ในลาดับต่อไปให้กาวสลับเท้ากันเดินต่อไปเช่นนี้เรือย ๆ ไป โดยพยายาม
                                                        ้                                 ่
รักษาจังหวะความเร็วในการเดินให้คงทีไว้ในอัตราความเร็วนาทีละประมาณ ๙๖ - ๑๐๐ ก้าว
                                                  ่
            เมือเดินเป็นแถวการก้าวและตบเท้าแต่ละก้าว ตลอดจนการแกว่งแขนจะต้ องกระทาให้พร้อม
              ่
กันทังแถว และรักษาลักษณะท่าทางในทุกอิรยาบถของการเดินให้องอาจผึงผายและแข็งแรง อยูเสมอ
          ้                                                 ิ                           ่                 ่
ด้วยการตบเท้าหนักตลอดเวลา
                    ๑๔.๑.๓ คาแนะนาสาหรับผูฝึก         ้
                                 ๑๔.๑.๓.๑ ในการฝึกทหารนัน ถ้าผูฝึกประสงค์จะให้ทหารฝึกปฏิ บัตทละ
                                                                    ้       ้                                 ิ ี
ขันตอน เพื่อผลในการตรวจการปฏิบตของทหารตามขันตอนต่าง ๆ ให้เป็นไปโดยถูกต้องแล้ว ผูฝึก
  ้                                           ั ิ                       ้                                   ้
ย่อมสามารถจะกระทาได้ โดยให้ใช้คาบอกเช่นเดียวกับเปิดจังหวะ กล่าวคือ เมือจะเริมต้นทาการฝึก      ่       ่
ท่าเดินสวนสนามให้ใช้คาบอก “ต่อไปจะฝึกเดินสวนสนามแบบปิดจังหวะ” “สวนสนาม, หน้า - เดิน”
เมือทหารได้ยนคาบอกดังกล่าวนี้ ให้ทาท่าเตะเท้าซ้ายไปข้างหน้าก่อนแล้วค้างไว้ และรอจนกว่าจะ
      ่                ิ
ได้รบคาสังให้ปฏิบตต่อไป เมือผูฝึกจะให้ทหารปฏิบตในจังหวะต่อไป ก็ให้ใช้คาบอก “ต่อไป” เมือ
        ั         ่          ั ิ       ่ ้                        ั ิ                                             ่
ทหารได้ยนคาบอก “ต่อไป” จึงทาท่าเตะเท้าขวาต่อไปข้างหน้าแล้วค้างไว้ กระทาสลับกันไปเช่นนี้
                ิ
เรือย ๆ
    ่
                                 ๑๔.๑.๓.๒ ก่อนทีจะเริมให้ทหารฝึกท่าเดินสวนสนาม ผูฝึกจะต้องอธิบายและ
                                                     ่ ่                                        ้
แสดงตัวอย่างของท่าเดินสวนสนามให้ดู และนาเอาท่าหยุดจากการเดินมาสอนควบคู่กนไปด้วยเสมอ                     ั




                                                                                                               ๑๙
- ๒๐ -

     ๑๔.๒ ท่าเดิ นตามปกติ




                   (๑๖/ก.)                                          (๑๖/ข.)
                                          รูปที่ ๑๖ ท่าเดิ นตามปกติ
                    ๑๔.๒.๑ คาบอก “หน้า - เดิน” (คาบอกแบ่ง)
                    ๑๔.๒.๒ การปฏิบติ เมือได้ยนคาบอก “หน้า - เดิน” ให้ทหารเริมออกเดิน โดย
                                     ั        ่       ิ                              ่
                                                            ่
ก้าวเท้าซ้ายออกไปข้างหน้าในลักษณะขาเหยียดตึง ฝาเท้า ขนานกับพืนและสูงจากพืนประมาณ ๑
                                                                        ้              ้
  ่
ฝามือ ปลายเท้าชีไปในทิศทางตรงหน้า ในขณะเดียวกันมือทังสองข้างกาแบบหลวม ๆ โดยนิ้วหัว
                         ้                                      ้
แม่มอจดกับข้อทีสองของนิ้วชี้ นิ้วทังสี่ (เว้นนิ้วหัวแม่มอ) เรียงชิดกัน แกว่งแขนขวาไปด้านหน้าและ
        ื              ่                ้                     ื
แขนซ้ายมาทางด้านหลัง ในลักษณะงอข้อศ อกเล็กน้อยและหันหลังมือออกไปทางด้านนอกลาตัวแต่
พองามโดยไม่ฝืนธรรมชาติ น้าหนักตัวอยูบนเท้าขวา แล้วจึงสืบเท้าซ้ายไปข้างหน้า ๑ ก้าว ระยะ
                                                ่
ประมาณ ๖๐ เซนติเมตร วางส้นเท้าซ้ายลงจดพืนก่อนปลายเท้า เปลียนน้าหนักตัวมาอยูบนเท้าซ้าย
                                                        ้             ่                  ่
                                                                             ่
แขนแกว่งด้านข้างลาตัวให้เลยลาตัวไปด้านหน้าและด้านหลัง ประมาณ ๑ ฝามือ โดยสัมพันธ์กบขา        ั
ทีกาว ลาตัวยืดตรง ยกอกผึงผาย สายตามองตรงไปข้างหน้าในแนวระดับ สาหรับในก้าวต่อไปให้
    ่ ้                           ่
ปฏิบตในลักษณะเช่นเดียวกัน โดยก้าวสลับเท้าเดินอย่างต่อเนื่องและพยายามรักษาจังหวะความเร็ว
          ั ิ
ในการเดินให้คงที่ ในอัตรานาทีละประมาณ ๑๑๖ ก้าว
              เมือเดินเป็นแถวการก้าวเท้าออกเดินแต่ละก้าว ตลอดจนการแกว่งแขนจะต้องกระทาให้พร้อม
                ่
กันทังแถว และรักษาลักษณะท่าทางในทุกอิรยาบถของการเดินให้องอาจผึงผายอยูเสมอ
           ้                                        ิ                     ่        ่
                    ๑๔.๒.๓ คาแนะนาสาหรับผูฝึก เมือประสงค์จะให้ทหารฝึ กปฏิบตทละขันตอน ให้ใช้
                                                  ้       ่                    ั ิ ี ้
คาบอกเช่นเดียวกับเปิดจังหวะ ด้วยคาบอก “ต่อไปจะฝึกเดินตามปกติแบบปิดจังหวะ” “หน้า - เดิน”
เมือทหารได้ยนคาบอกดังกล่าวนี้ ให้กาวเท้าซ้ายไปข้างหน้าและแกว่งแขนค้างไว้แล้วรอจนกว่าจะ
     ่               ิ                      ้



                                                                                           ๒๐
- ๒๑ -

ได้รบคาสังให้ปฏิบตต่อไป เมือผูฝึกจะให้ทหารปฏิบตในจังหวะต่อไป ก็ให้ใช้คาบอก “ต่อไป” ทหารจึง
      ั    ่      ั ิ          ่ ้                      ั ิ
ก้าวเท้าขวาไปข้างหน้าพร้อมกับแกว่งแขนค้างไว้ กระทาสลับกันไปจนกว่าจะสังหยุด            ่
             ๑๔.๓ ท่าเดิ นตามสบาย
                  ๑๔.๓.๑ คาบอก “เดินตามสบาย” (คาบอกรวด)
                  ๑๔.๓.๒ การปฏิบติ เมือได้ยนคาบอก “เดินตามสบาย” ให้ทหารปฏิบตการเดิน
                                       ั   ่     ิ                                               ั ิ
และรักษาจังหวะอัตราความเร็วและระยะก้าวในการเดินเช่นเดียวกับท่าเดินตามปกติ คงมีลกษณะที่         ั
แตกต่างไปจากท่าเดินตามปกติตรงที่ ท่าเดินตามสบายไม่ตองรักษาท่าทางในการเดินอย่างเคร่งครัด
                                                                ้
และถ้าเดินเป็นแถวก็ไม่จาเป็นต้องเดินพร้อมเท้า ห้ามพูดคุยกัน เว้นแต่จะได้รบอนุญาต    ั
                  ๑๔.๓.๓ คาแนะนาสาหรับผูฝึก    ้
                               ๑๔.๓.๓.๑ ในการฝึกท่าเดินตามสบายนัน ผูฝึกมีความจาเป็นต้องสอน
                                                                          ้ ้
ให้ทหารทราบถึงวิธการปฏิบตของท่าเปลียนเท้าในเวลาเดินเสียก่อน จึงจะทาการฝึกให้ทหารเดินท่า
                    ี       ั ิ          ่
เดินตามสบายได้ กล่าวคือ จะต้องนามาใช้เพื่อเปลียนจากท่าเดินตามสบายไปเป็นท่าเดินตามปกติ
                                                            ่
(เดินเข้าระเบียบ)
                               ๑๔.๓.๓.๒ ตามปกติแล้วท่าเดินตามสบาย มักจะนาไปใช้ในโอกาส
ทีตองการให้ทหารผ่อนคลายอิรยาบถในการเดินจากท่าเดินตามปกติ เพราะฉะนันผูฝึกจาเป็นต้องหัด
  ่ ้                            ิ                                                      ้ ้
ท่าเดินตามสบายโดยบอกให้ทหารเดินตามปกติก่อน แล้วจึงสังให้เปลียนเป็นท่าเดินตามสบายโดยใช้
                                                                  ่   ่
คาบอกว่า “เดินตามสบาย”
                               ๑๔.๓.๓.๓ เมือผูฝึกประสงค์จะให้ทหาร ซึงเดินอยูในท่าเดินตามสบาย
                                             ่ ้                             ่           ่
กลับไปทาท่าเดินตามปกติ ผูฝึกจะต้องใช้คาบอก “เดินเข้าระเบียบ” เมือทหารได้ยนคาบอก “เดิน
                             ้                                             ่               ิ
เข้าระเบียบ” ให้ทหารกลับไปทาท่าเดินตามปกติซงบางคนอาจจาเป็นต้องทาท่าเปลียนเท้าเองโดยไม่
                                                   ่ึ                                        ่
ต้องมีคาบอกก่อนก็ได้
                               ๑๔.๓.๓.๔ ในขณะทีทหารเดินตามสบายอยูนน จะใช้คาบอก “แถว -
                                                      ่                        ่ ั้
หยุด” ไม่ได้ เพราะว่าทหารในแถวนันอาจจะเดินเท้าไม่พร้อมกันอยูกได้ เมือผูฝึกประสงค์จะสังให้
                                     ้                              ่ ็          ่ ้                 ่
แถวทหารซึงกาลังเดินตามสบายทาท่าหยุดจากการเดิน ผูฝึกจะต้องสังให้ทหารเดินเข้าระเบียบ
              ่                                               ้         ่
เสียก่อนจึงจะใช้คาบอก “แถว - หยุด” ได้




                                                                                                  ๒๑
- ๒๒ -

๑๕. ท่าหยุดจากการเดิ น (รูปที่ ๑๗)




             จังหวะหนึ่ง (๑๗/๑)                           จังหวะสอง (๑๗/๒)
                              รูปที่ ๑๗ ท่าหยุดจากการเดิ น

      ๑๕.๑ คาบอก “แถว - หยุด” (คาบอกแบ่ง)
      ๑๕.๒ การปฏิ บติ ท่านี้แบ่งออกเป็นสองจังหวะดังต่อไปนี้
                      ั
              ๑๕.๒.๑ จังหวะหนึ่ ง เมือได้ยนคาบอก “แถว - หยุด” พอสินคาบอก “หยุด” ไม่ว่า
                                      ่   ิ                            ้
จะเป็นในขณะทีเท้าข้างใดตกถึงพืนก็ตาม ให้ทหารก้าวเท้าอีกข้างหนึ่งไปข้างหน้าอีกครึงก้าว
                ่               ้                                               ่
ประมาณ ๓๐ - ๔๐ เซนติเมตร แล้วหยุดเดิน พร้อมกันนันให้โน้มน้าหนั กตัวไปอยูทเี่ ท้าหน้า
                                                        ้                           ่
(เท้าทีกาวออกไปข้างหน้าอีกครึงก้าวนัน) มือและแขนทังสองยังคงแกว่งอยูในลักษณะสลับกับเท้า ขา
       ่ ้                    ่     ้             ้                  ่
ทังสองตึง ส้นเท้าหลังเปิดและบิดออกไปทางด้านนอกของลาตัวเล็กน้อย
  ้
              ๑๕.๒.๒ จังหวะสอง ชักเท้าหลังมาชิดกับเท้าหน้า พร้อมกับสะบัดมือและแขนทังสอง
                                                                                      ้
ข้างลงไปอยูในลักษณะของท่าตรงอย่างแข็งแรงแล้วนิ่ง
            ่




                                                                                     ๒๒
การฝึกท่ามือเปล่า
การฝึกท่ามือเปล่า
การฝึกท่ามือเปล่า
การฝึกท่ามือเปล่า
การฝึกท่ามือเปล่า
การฝึกท่ามือเปล่า
การฝึกท่ามือเปล่า
การฝึกท่ามือเปล่า
การฝึกท่ามือเปล่า
การฝึกท่ามือเปล่า
การฝึกท่ามือเปล่า
การฝึกท่ามือเปล่า
การฝึกท่ามือเปล่า
การฝึกท่ามือเปล่า
การฝึกท่ามือเปล่า
การฝึกท่ามือเปล่า
การฝึกท่ามือเปล่า
การฝึกท่ามือเปล่า
การฝึกท่ามือเปล่า
การฝึกท่ามือเปล่า
การฝึกท่ามือเปล่า
การฝึกท่ามือเปล่า
การฝึกท่ามือเปล่า
การฝึกท่ามือเปล่า
การฝึกท่ามือเปล่า
การฝึกท่ามือเปล่า
การฝึกท่ามือเปล่า
การฝึกท่ามือเปล่า
การฝึกท่ามือเปล่า
การฝึกท่ามือเปล่า
การฝึกท่ามือเปล่า
การฝึกท่ามือเปล่า
การฝึกท่ามือเปล่า
การฝึกท่ามือเปล่า
การฝึกท่ามือเปล่า
การฝึกท่ามือเปล่า
การฝึกท่ามือเปล่า
การฝึกท่ามือเปล่า
การฝึกท่ามือเปล่า
การฝึกท่ามือเปล่า
การฝึกท่ามือเปล่า
การฝึกท่ามือเปล่า
การฝึกท่ามือเปล่า
การฝึกท่ามือเปล่า
การฝึกท่ามือเปล่า
การฝึกท่ามือเปล่า
การฝึกท่ามือเปล่า
การฝึกท่ามือเปล่า
การฝึกท่ามือเปล่า
การฝึกท่ามือเปล่า
การฝึกท่ามือเปล่า
การฝึกท่ามือเปล่า
การฝึกท่ามือเปล่า
การฝึกท่ามือเปล่า
การฝึกท่ามือเปล่า
การฝึกท่ามือเปล่า
การฝึกท่ามือเปล่า
การฝึกท่ามือเปล่า
การฝึกท่ามือเปล่า
การฝึกท่ามือเปล่า
การฝึกท่ามือเปล่า
การฝึกท่ามือเปล่า
การฝึกท่ามือเปล่า
การฝึกท่ามือเปล่า
การฝึกท่ามือเปล่า
การฝึกท่ามือเปล่า
การฝึกท่ามือเปล่า
การฝึกท่ามือเปล่า
การฝึกท่ามือเปล่า
การฝึกท่ามือเปล่า
การฝึกท่ามือเปล่า
การฝึกท่ามือเปล่า
การฝึกท่ามือเปล่า
การฝึกท่ามือเปล่า
การฝึกท่ามือเปล่า

More Related Content

What's hot

แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทยแบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทยพัน พัน
 
ภูมิศาสตร์
ภูมิศาสตร์ภูมิศาสตร์
ภูมิศาสตร์koorimkhong
 
งานธุรการโรงเรียน
งานธุรการโรงเรียนงานธุรการโรงเรียน
งานธุรการโรงเรียนSukanya Polratanamonkol
 
โครงสร้างหลักสูตรประถม
โครงสร้างหลักสูตรประถมโครงสร้างหลักสูตรประถม
โครงสร้างหลักสูตรประถมwangasom
 
คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์
คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์
คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์niralai
 
การวัดพฤติกรรมด้านจิตพิสัย
การวัดพฤติกรรมด้านจิตพิสัยการวัดพฤติกรรมด้านจิตพิสัย
การวัดพฤติกรรมด้านจิตพิสัยTupPee Zhouyongfang
 
กาพย์ยานี
กาพย์ยานีกาพย์ยานี
กาพย์ยานีkhorntee
 
แบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการแบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการsomdetpittayakom school
 
ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4Thanawut Rattanadon
 
แบบฝึกทักษะวิทยาศาสตร์ เรื่อง สิ่งรอบตัวเรา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1
แบบฝึกทักษะวิทยาศาสตร์ เรื่อง สิ่งรอบตัวเรา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1แบบฝึกทักษะวิทยาศาสตร์ เรื่อง สิ่งรอบตัวเรา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1
แบบฝึกทักษะวิทยาศาสตร์ เรื่อง สิ่งรอบตัวเรา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1gchom
 
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1KruKaiNui
 
สรุปเนื้อหาภาษาไทย..ม.ต้น
สรุปเนื้อหาภาษาไทย..ม.ต้นสรุปเนื้อหาภาษาไทย..ม.ต้น
สรุปเนื้อหาภาษาไทย..ม.ต้นTook Took Rachataporn
 
โครงสร้างที่ใช้ในการเคลื่อนที่ของคน
โครงสร้างที่ใช้ในการเคลื่อนที่ของคนโครงสร้างที่ใช้ในการเคลื่อนที่ของคน
โครงสร้างที่ใช้ในการเคลื่อนที่ของคนWan Ngamwongwan
 

What's hot (20)

แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทยแบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย
 
ภูมิศาสตร์
ภูมิศาสตร์ภูมิศาสตร์
ภูมิศาสตร์
 
คำประสม
คำประสมคำประสม
คำประสม
 
งานธุรการโรงเรียน
งานธุรการโรงเรียนงานธุรการโรงเรียน
งานธุรการโรงเรียน
 
การสร้างคำ
การสร้างคำการสร้างคำ
การสร้างคำ
 
โครงสร้างหลักสูตรประถม
โครงสร้างหลักสูตรประถมโครงสร้างหลักสูตรประถม
โครงสร้างหลักสูตรประถม
 
คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์
คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์
คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์
 
การวัดพฤติกรรมด้านจิตพิสัย
การวัดพฤติกรรมด้านจิตพิสัยการวัดพฤติกรรมด้านจิตพิสัย
การวัดพฤติกรรมด้านจิตพิสัย
 
กาพย์ยานี
กาพย์ยานีกาพย์ยานี
กาพย์ยานี
 
แบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการแบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการ
 
คำประสม
คำประสมคำประสม
คำประสม
 
ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
 
แบบฝึกทักษะวิทยาศาสตร์ เรื่อง สิ่งรอบตัวเรา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1
แบบฝึกทักษะวิทยาศาสตร์ เรื่อง สิ่งรอบตัวเรา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1แบบฝึกทักษะวิทยาศาสตร์ เรื่อง สิ่งรอบตัวเรา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1
แบบฝึกทักษะวิทยาศาสตร์ เรื่อง สิ่งรอบตัวเรา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1
 
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
 
สรุปเนื้อหาภาษาไทย..ม.ต้น
สรุปเนื้อหาภาษาไทย..ม.ต้นสรุปเนื้อหาภาษาไทย..ม.ต้น
สรุปเนื้อหาภาษาไทย..ม.ต้น
 
แบบฝึกหัดคัดสระไทย
แบบฝึกหัดคัดสระไทยแบบฝึกหัดคัดสระไทย
แบบฝึกหัดคัดสระไทย
 
คำไทยแท้
คำไทยแท้คำไทยแท้
คำไทยแท้
 
วิทย์ ป.2
วิทย์ ป.2วิทย์ ป.2
วิทย์ ป.2
 
โครงสร้างที่ใช้ในการเคลื่อนที่ของคน
โครงสร้างที่ใช้ในการเคลื่อนที่ของคนโครงสร้างที่ใช้ในการเคลื่อนที่ของคน
โครงสร้างที่ใช้ในการเคลื่อนที่ของคน
 
1 ธรรมชาติและพลังของภาษาไทย(5-34)
1 ธรรมชาติและพลังของภาษาไทย(5-34)1 ธรรมชาติและพลังของภาษาไทย(5-34)
1 ธรรมชาติและพลังของภาษาไทย(5-34)
 

Viewers also liked

รีบโหลดของฟรี ข้อสอบเก่านายสิบตำรวจ ม.6 แจกฟรี ข้อสอบเก่านายสิบตำรวจ ม.6
รีบโหลดของฟรี ข้อสอบเก่านายสิบตำรวจ ม.6 แจกฟรี ข้อสอบเก่านายสิบตำรวจ ม.6รีบโหลดของฟรี ข้อสอบเก่านายสิบตำรวจ ม.6 แจกฟรี ข้อสอบเก่านายสิบตำรวจ ม.6
รีบโหลดของฟรี ข้อสอบเก่านายสิบตำรวจ ม.6 แจกฟรี ข้อสอบเก่านายสิบตำรวจ ม.6ปริญญา สุโพธิ์
 
Week 13 (2014) Networking and communications
Week 13 (2014) Networking and communicationsWeek 13 (2014) Networking and communications
Week 13 (2014) Networking and communicationsVaneza Caycho Ñuflo
 
La Transformación Digital necesaria en la Industria Financiera para mejorar l...
La Transformación Digital necesaria en la Industria Financiera para mejorar l...La Transformación Digital necesaria en la Industria Financiera para mejorar l...
La Transformación Digital necesaria en la Industria Financiera para mejorar l...Asociación de Marketing Bancario Argentino
 
El Impacto de la Aparición de la Banca Digital en el Negocio y la Organización
El Impacto de la Aparición de la Banca Digital en el Negocio y la OrganizaciónEl Impacto de la Aparición de la Banca Digital en el Negocio y la Organización
El Impacto de la Aparición de la Banca Digital en el Negocio y la OrganizaciónAsociación de Marketing Bancario Argentino
 
sanjay sony(IIMP Updated )
sanjay sony(IIMP Updated )sanjay sony(IIMP Updated )
sanjay sony(IIMP Updated )Sanjay Sony
 
чебурашка
чебурашкачебурашка
чебурашкаmsikanov
 
Entrepreneurship Journey: GCEE summit member presentations 2012
Entrepreneurship Journey:  GCEE summit member presentations 2012Entrepreneurship Journey:  GCEE summit member presentations 2012
Entrepreneurship Journey: GCEE summit member presentations 2012Wael Badawy
 
Dr Bacchus Featured Magazines
Dr Bacchus Featured MagazinesDr Bacchus Featured Magazines
Dr Bacchus Featured MagazinesSoroya Bacchus
 
OptionC Parent Tutorial 2015-2016
OptionC Parent Tutorial 2015-2016OptionC Parent Tutorial 2015-2016
OptionC Parent Tutorial 2015-2016tsell
 
New Technologies
New Technologies New Technologies
New Technologies byrnsie00
 
Fusion - Construction Stages
Fusion - Construction StagesFusion - Construction Stages
Fusion - Construction Stagesharriet-connell
 
королевство детской книги
королевство детской книгикоролевство детской книги
королевство детской книгиmsikanov
 
классные часы
классные часыклассные часы
классные часыmsikanov
 
Senior project 2012
Senior project 2012Senior project 2012
Senior project 2012NickLogston
 

Viewers also liked (20)

รีบโหลดของฟรี ข้อสอบเก่านายสิบตำรวจ ม.6 แจกฟรี ข้อสอบเก่านายสิบตำรวจ ม.6
รีบโหลดของฟรี ข้อสอบเก่านายสิบตำรวจ ม.6 แจกฟรี ข้อสอบเก่านายสิบตำรวจ ม.6รีบโหลดของฟรี ข้อสอบเก่านายสิบตำรวจ ม.6 แจกฟรี ข้อสอบเก่านายสิบตำรวจ ม.6
รีบโหลดของฟรี ข้อสอบเก่านายสิบตำรวจ ม.6 แจกฟรี ข้อสอบเก่านายสิบตำรวจ ม.6
 
Week 13 (2014) Networking and communications
Week 13 (2014) Networking and communicationsWeek 13 (2014) Networking and communications
Week 13 (2014) Networking and communications
 
La Transformación Digital necesaria en la Industria Financiera para mejorar l...
La Transformación Digital necesaria en la Industria Financiera para mejorar l...La Transformación Digital necesaria en la Industria Financiera para mejorar l...
La Transformación Digital necesaria en la Industria Financiera para mejorar l...
 
Potenciando el Negocio
Potenciando el NegocioPotenciando el Negocio
Potenciando el Negocio
 
El Impacto de la Aparición de la Banca Digital en el Negocio y la Organización
El Impacto de la Aparición de la Banca Digital en el Negocio y la OrganizaciónEl Impacto de la Aparición de la Banca Digital en el Negocio y la Organización
El Impacto de la Aparición de la Banca Digital en el Negocio y la Organización
 
sanjay sony(IIMP Updated )
sanjay sony(IIMP Updated )sanjay sony(IIMP Updated )
sanjay sony(IIMP Updated )
 
чебурашка
чебурашкачебурашка
чебурашка
 
Entrepreneurship Journey: GCEE summit member presentations 2012
Entrepreneurship Journey:  GCEE summit member presentations 2012Entrepreneurship Journey:  GCEE summit member presentations 2012
Entrepreneurship Journey: GCEE summit member presentations 2012
 
Dr Bacchus Featured Magazines
Dr Bacchus Featured MagazinesDr Bacchus Featured Magazines
Dr Bacchus Featured Magazines
 
Innovando con Business Analytics
Innovando con Business AnalyticsInnovando con Business Analytics
Innovando con Business Analytics
 
OptionC Parent Tutorial 2015-2016
OptionC Parent Tutorial 2015-2016OptionC Parent Tutorial 2015-2016
OptionC Parent Tutorial 2015-2016
 
New Technologies
New Technologies New Technologies
New Technologies
 
Posgrado de Especialización en Administración de Organizaciones Financieras
Posgrado de Especialización en Administración de Organizaciones FinancierasPosgrado de Especialización en Administración de Organizaciones Financieras
Posgrado de Especialización en Administración de Organizaciones Financieras
 
Cordial sphere
Cordial sphereCordial sphere
Cordial sphere
 
Fusion - Construction Stages
Fusion - Construction StagesFusion - Construction Stages
Fusion - Construction Stages
 
королевство детской книги
королевство детской книгикоролевство детской книги
королевство детской книги
 
Cv 15
Cv 15Cv 15
Cv 15
 
классные часы
классные часыклассные часы
классные часы
 
Senior project 2012
Senior project 2012Senior project 2012
Senior project 2012
 
009.safetymanagement v3
009.safetymanagement v3009.safetymanagement v3
009.safetymanagement v3
 

More from อำนาจ ศรีทิม

องค์ประกอบของดนตรีไทย ม.2 56
องค์ประกอบของดนตรีไทย ม.2 56องค์ประกอบของดนตรีไทย ม.2 56
องค์ประกอบของดนตรีไทย ม.2 56อำนาจ ศรีทิม
 
คำอธิบายรายวิชาดนตรี นาฎศิลป์ ม.4
คำอธิบายรายวิชาดนตรี   นาฎศิลป์ ม.4 คำอธิบายรายวิชาดนตรี   นาฎศิลป์ ม.4
คำอธิบายรายวิชาดนตรี นาฎศิลป์ ม.4 อำนาจ ศรีทิม
 
คำอธิบายรายวิชางานเชื่อมไฟฟ้า ม.5
คำอธิบายรายวิชางานเชื่อมไฟฟ้า ม.5คำอธิบายรายวิชางานเชื่อมไฟฟ้า ม.5
คำอธิบายรายวิชางานเชื่อมไฟฟ้า ม.5อำนาจ ศรีทิม
 
คำอธิบายรายวิชาดนตรี นาฎศิลป์ ม.6
คำอธิบายรายวิชาดนตรี   นาฎศิลป์ ม.6คำอธิบายรายวิชาดนตรี   นาฎศิลป์ ม.6
คำอธิบายรายวิชาดนตรี นาฎศิลป์ ม.6อำนาจ ศรีทิม
 
หน่วยที่ 6ออกแบบสร้างสรรค์ชิ้นงาน1
หน่วยที่ 6ออกแบบสร้างสรรค์ชิ้นงาน1หน่วยที่ 6ออกแบบสร้างสรรค์ชิ้นงาน1
หน่วยที่ 6ออกแบบสร้างสรรค์ชิ้นงาน1อำนาจ ศรีทิม
 
ปกใช้ หน่วยที่ 5 การขัดและเคลือบผิวไม้1
ปกใช้ หน่วยที่ 5 การขัดและเคลือบผิวไม้1ปกใช้ หน่วยที่ 5 การขัดและเคลือบผิวไม้1
ปกใช้ หน่วยที่ 5 การขัดและเคลือบผิวไม้1อำนาจ ศรีทิม
 
ปกใช้ หน่วยที่ 4 การปฏิบัติงานไม้1
ปกใช้ หน่วยที่ 4 การปฏิบัติงานไม้1ปกใช้ หน่วยที่ 4 การปฏิบัติงานไม้1
ปกใช้ หน่วยที่ 4 การปฏิบัติงานไม้1อำนาจ ศรีทิม
 
ปกใช้ หน่วยที่ 3 แบบและการอ่านแบบ
ปกใช้ หน่วยที่ 3 แบบและการอ่านแบบปกใช้ หน่วยที่ 3 แบบและการอ่านแบบ
ปกใช้ หน่วยที่ 3 แบบและการอ่านแบบอำนาจ ศรีทิม
 
ปกใช้ หน่วยที่ 2 เครื่องมือช่างไม้ครุภัณฑ์1
ปกใช้ หน่วยที่ 2 เครื่องมือช่างไม้ครุภัณฑ์1ปกใช้ หน่วยที่ 2 เครื่องมือช่างไม้ครุภัณฑ์1
ปกใช้ หน่วยที่ 2 เครื่องมือช่างไม้ครุภัณฑ์1อำนาจ ศรีทิม
 
ปกใช้ หน่วยที่ 6ออกแบบสร้างสรรค์ชิ้นงาน1
ปกใช้ หน่วยที่ 6ออกแบบสร้างสรรค์ชิ้นงาน1ปกใช้ หน่วยที่ 6ออกแบบสร้างสรรค์ชิ้นงาน1
ปกใช้ หน่วยที่ 6ออกแบบสร้างสรรค์ชิ้นงาน1อำนาจ ศรีทิม
 
ปกใช้ หน่วยที่ 1 ช่างไม้
ปกใช้ หน่วยที่ 1 ช่างไม้ปกใช้ หน่วยที่ 1 ช่างไม้
ปกใช้ หน่วยที่ 1 ช่างไม้อำนาจ ศรีทิม
 
คำอธิบายรายวิชางานไม้ครุภัณฑ์
คำอธิบายรายวิชางานไม้ครุภัณฑ์คำอธิบายรายวิชางานไม้ครุภัณฑ์
คำอธิบายรายวิชางานไม้ครุภัณฑ์อำนาจ ศรีทิม
 
ช่างไม้ครุภัณฑ์ในท้องถ่ิน
ช่างไม้ครุภัณฑ์ในท้องถ่ินช่างไม้ครุภัณฑ์ในท้องถ่ิน
ช่างไม้ครุภัณฑ์ในท้องถ่ินอำนาจ ศรีทิม
 

More from อำนาจ ศรีทิม (20)

ประวัติดนตรีไทย 56
ประวัติดนตรีไทย 56ประวัติดนตรีไทย 56
ประวัติดนตรีไทย 56
 
วงดนตรีไทย ม.2 56
วงดนตรีไทย ม.2 56วงดนตรีไทย ม.2 56
วงดนตรีไทย ม.2 56
 
องค์ประกอบของดนตรีไทย ม.2 56
องค์ประกอบของดนตรีไทย ม.2 56องค์ประกอบของดนตรีไทย ม.2 56
องค์ประกอบของดนตรีไทย ม.2 56
 
เครื่องดนตรีไทย ม.2ปี 56
เครื่องดนตรีไทย ม.2ปี 56เครื่องดนตรีไทย ม.2ปี 56
เครื่องดนตรีไทย ม.2ปี 56
 
คำอธิบายรายวิชาดนตรี นาฎศิลป์ ม.4
คำอธิบายรายวิชาดนตรี   นาฎศิลป์ ม.4 คำอธิบายรายวิชาดนตรี   นาฎศิลป์ ม.4
คำอธิบายรายวิชาดนตรี นาฎศิลป์ ม.4
 
คำอธิบายรายวิชางานเชื่อมไฟฟ้า ม.5
คำอธิบายรายวิชางานเชื่อมไฟฟ้า ม.5คำอธิบายรายวิชางานเชื่อมไฟฟ้า ม.5
คำอธิบายรายวิชางานเชื่อมไฟฟ้า ม.5
 
กำหนดการสอน ดนตรี ม.2
กำหนดการสอน ดนตรี ม.2กำหนดการสอน ดนตรี ม.2
กำหนดการสอน ดนตรี ม.2
 
คำอธิบายรายวิชาดนตรี นาฎศิลป์ ม.6
คำอธิบายรายวิชาดนตรี   นาฎศิลป์ ม.6คำอธิบายรายวิชาดนตรี   นาฎศิลป์ ม.6
คำอธิบายรายวิชาดนตรี นาฎศิลป์ ม.6
 
บทคัดย่องานวิจัย
บทคัดย่องานวิจัยบทคัดย่องานวิจัย
บทคัดย่องานวิจัย
 
หน่วยที่ 6ออกแบบสร้างสรรค์ชิ้นงาน1
หน่วยที่ 6ออกแบบสร้างสรรค์ชิ้นงาน1หน่วยที่ 6ออกแบบสร้างสรรค์ชิ้นงาน1
หน่วยที่ 6ออกแบบสร้างสรรค์ชิ้นงาน1
 
ปกใช้ หน่วยที่ 5 การขัดและเคลือบผิวไม้1
ปกใช้ หน่วยที่ 5 การขัดและเคลือบผิวไม้1ปกใช้ หน่วยที่ 5 การขัดและเคลือบผิวไม้1
ปกใช้ หน่วยที่ 5 การขัดและเคลือบผิวไม้1
 
ปกใช้ หน่วยที่ 4 การปฏิบัติงานไม้1
ปกใช้ หน่วยที่ 4 การปฏิบัติงานไม้1ปกใช้ หน่วยที่ 4 การปฏิบัติงานไม้1
ปกใช้ หน่วยที่ 4 การปฏิบัติงานไม้1
 
ปกใช้ หน่วยที่ 3 แบบและการอ่านแบบ
ปกใช้ หน่วยที่ 3 แบบและการอ่านแบบปกใช้ หน่วยที่ 3 แบบและการอ่านแบบ
ปกใช้ หน่วยที่ 3 แบบและการอ่านแบบ
 
ปกใช้ หน่วยที่ 2 เครื่องมือช่างไม้ครุภัณฑ์1
ปกใช้ หน่วยที่ 2 เครื่องมือช่างไม้ครุภัณฑ์1ปกใช้ หน่วยที่ 2 เครื่องมือช่างไม้ครุภัณฑ์1
ปกใช้ หน่วยที่ 2 เครื่องมือช่างไม้ครุภัณฑ์1
 
ปกใช้ หน่วยที่ 6ออกแบบสร้างสรรค์ชิ้นงาน1
ปกใช้ หน่วยที่ 6ออกแบบสร้างสรรค์ชิ้นงาน1ปกใช้ หน่วยที่ 6ออกแบบสร้างสรรค์ชิ้นงาน1
ปกใช้ หน่วยที่ 6ออกแบบสร้างสรรค์ชิ้นงาน1
 
ปกใช้ หน่วยที่ 1 ช่างไม้
ปกใช้ หน่วยที่ 1 ช่างไม้ปกใช้ หน่วยที่ 1 ช่างไม้
ปกใช้ หน่วยที่ 1 ช่างไม้
 
ปก หน่วยที่ 1 ช่างไม้
ปก หน่วยที่ 1 ช่างไม้ปก หน่วยที่ 1 ช่างไม้
ปก หน่วยที่ 1 ช่างไม้
 
คำอธิบายรายวิชางานไม้ครุภัณฑ์
คำอธิบายรายวิชางานไม้ครุภัณฑ์คำอธิบายรายวิชางานไม้ครุภัณฑ์
คำอธิบายรายวิชางานไม้ครุภัณฑ์
 
ช่างไม้ครุภัณฑ์ในท้องถ่ิน
ช่างไม้ครุภัณฑ์ในท้องถ่ินช่างไม้ครุภัณฑ์ในท้องถ่ิน
ช่างไม้ครุภัณฑ์ในท้องถ่ิน
 
การป้องกันอุบัติเหตุ
การป้องกันอุบัติเหตุการป้องกันอุบัติเหตุ
การป้องกันอุบัติเหตุ
 

การฝึกท่ามือเปล่า

  • 1. คู่มอการฝึ ก ื ว่ าด้ วย แบบฝึ กบุคคลท่ ามือเปล่า คฝ.๗-๖ พ.ศ.๒๕๔๔ หน้า บทที่๑ - กล่าวทัวไป่ ๑ บทที่๒ - การฝึ กบุคคลท่ามือเปล่า ๕ - ท่าตรง ๕ - ท่าพัก ๖ - ท่าหันอยู่กบที่ ั ๙ - ท่าก้าวทางข้าง ๑๖ - ท่าก้าวถอยหลัง ๑๗ - ท่าเดิ น ๑๘ - ท่าหยุดจากการเดิ น ๒๒ - ท่าเปลี่ยนเท้าในเวลาเดิ น ๒๓ - ท่าซอยเท้า ๒๕ - ท่าหันในเวลาเดิ น ๒๘ - ท่าเคารพ ๓๔ - ท่าวิ่ ง ๔๕ - ท่าหยุดจากการวิ่ ง ๔๖ - ท่าเปลี่ยนเท้าในเวลาวิ่ ง ๔๘ - ท่าเปลี่ยนจากการวิ่ งเป็ นการเดิ น ๔๙ - ท่าเปลี่ยนจากการเดิ นเป็ นการวิ่ ง ๕๑ - ท่าหันในเวลาวิ่ ง ๕๒ - ท่าถอดหมวกและสวมหมวก ๕๘ - ท่าหมอบและลุก ๖๖ บทที่๓ - การฝึ กแถวชิ ด ๗๐ - แถวหน้ ากระดาน ๗๐ - แถวตอน ๘๓ - การตรวจแถว ๙๐ - การเปลี่ยนทิ ศทางขณะเคลื่อนที่ของรูปแถวตอน ๙๕
  • 2. - ๑ - บทที่ ๑ กล่าวทั ่วไป ๑. กล่าวนา ๑.๑ บุคคลพลเรือนซึงเข้ารับราชการทหารใหม่ ไม่ว่าจะเข้ามารับราชการในฐานะเข้ารับราชการ ่ ตามพระราชบัญญัตรบราชการทหาร เข้ารับราชการเป็นนักเรียนนายสิบ เข้ารับราชการเป็นนักเรียน ิั นายทหาร หรือสมัครเข้ารับราชการซึงต้องแต่งตังยศให้กตาม จาเป็นจะต้องได้รบการฝึกท่าบุคคล ่ ้ ็ ั เบืองต้นก่อนเสมอ ทังนี้เพื่อปร ะสงค์จะฝึกให้บุคคลพลเรือนเหล่านี้มลกษณะทหารโดยสมบูรณ์ และ ้ ้ ีั ให้มความรอบรูในลักษณะท่าทางส่วนบุคคล ซึงมีความจาเป็นจะต้องนาไปใช้ในการปฏิบตตนในเรือง ี ้ ่ ั ิ ่ เกียวกับวินยและแบบธรรมเนียมของทหารตลอดเวลาทีรบราชการทหาร ่ ั ่ั ๑.๒ การฝึกท่าบุคคลเบืองต้นจึงถือได้ว่าเป็ นการฝึกเริมแรกทีมความสาคัญอย่างยิงต่อการเข้ารับ ้ ่ ่ ี ่ ราชการทหาร เนื่องจากการฝึกนี้จะเป็นเครืองช่วยปูพนฐานบุคคลพลเรือนให้เปลียนลักษณะท่าทาง ่ ้ื ่ เป็นทหารได้โดยสมบูรณ์ในโอกาสต่อไป ่ ๒. ความมุงหมาย คู่มอการฝึกเล่มนี้ได้กาหนดขึนโดยความมุงหมายเพื่อให้หน่วยทหาร หรือผูทมหน้าทีรบผิดชอบ ื ้ ่ ้ ่ี ี ่ั ในการฝึกท่าบุคคลเบืองต้นให้กบบุคคลประเภทต่าง ๆ ดังกล่าวข้างต้น ได้นาไปใช้เป็นแบบฉบับใน ้ ั การฝึกบุคคลท่ามือเปล่าให้เป็นมาตรฐานอันเดียวกัน เพื่อปรับลักษณะท่าทางของบุคคลพลเรือนให้ เป็นทหารโดยสมบูรณ์ ๓. ขอบเขต คู่มอการฝึกเล่มนี้จะกล่าวถึงการฝึกบุคคลท่ามือเปล่า ซึงครอบคลุมท่าทีสาคัญ ๆ และเป็นท่า ื ่ ่ หลักๆ ได้แก่ ท่าตรง ท่าพัก ท่าหัน ท่าเดิน ท่าหยุด ท่าเคารพ ท่าวิง ท่าถอดหมวกและสวมหมวก ่ ท่าหมอบลุก และรวมถึงการฝึกแถวชิดด้วย ๔. การบรรลุผล เพื่อให้การฝึกบรรลุความมุงหมายดังกล่าวข้างต้น ผูบงคับบัญชาทุกชัน ตลอดจนผูมหน้าทีฝึก ่ ้ ั ้ ้ ี ่ ทุกนายจะต้องคอยกวดขัน และหมันดูแลให้การฝึกดาเนินไปด้วยดีทสุด โดยจะต้องพยายามคิดค้นหา ่ ่ี วิธฝึกและใช้อุบายในการฝึกอย่างประณีตรอบคอบ เอาใจใส่ และเมือพบข้อบกพร่องต่าง ๆ ทีเกิดขึน ี ่ ่ ้ จากการฝึกจะต้องจัดการแก้ไขทันที ๕. การนาไปใช้ ผูฝึกจะต้องใช้ดุลพินิจในการกาหนดวิธการฝึก ให้เหมาะสมแก่ จานวนผูรบการฝึก จานวน ้ ี ้ั เครืองช่วยฝึก ครูฝึกและผูชวยครูฝึกทีมอยู่ ทังนี้เพื่อเป็ นการป้องกันไม่ให้ผรบการฝึกต้องรอคอย ่ ้่ ่ ี ้ ู้ ั การฝึกอัน เนื่องจากความจากัดของเครือง ช่วยฝึก และปฏิบตไปในทางผิด ๆ อันเนื่องจากการ ่ ั ิ ขาดการกากับดูแลการปฏิบตของครูฝึกและผูช่วยครูฝึกอย่างใกล้ชด ั ิ ้ ิ ๑
  • 3. - ๒ - ๖. การปรับปรุงแก้ไข หากผูใช้ค่มอเล่มนี้ประสงค์ทจะให้ขอเสนอแนะในการเปลียนแปลงแก้ไข หรือให้ขอคิดเห็นต่าง ๆ ้ ู ื ่ี ้ ่ ้ เพื่อปรับปรุงคู่มอให้ดขนย่อมกระทาได้ ข้อคิดเห็นต่าง ๆ ทีจะเสนอให้เปลียนแปลงเหล่านี้ควรจะบ่ง ื ี ้ึ ่ ่ หน้า ข้อ และบรรทัดตามทีปรากฏในคู่มอด้วย และควรจะให้เหตุผลประกอบเพื่อให้เกิดความเข้าใจ ่ ื อย่างถ่องแท้ และสามารถนามาประเมินค่าได้โดยสมบูรณ์ ข้อคิดเห็นเหล่านี้ขอให้ส่งตรงไปยังแผนก การฝึก กองวิทยาการ ศูนย์การทหารราบ ค่ายธนะรัชต์ อาเภอปราณบุร ี จังหวัดประจวบคีรขนธ์ ี ั ๗. คาแนะนาในการใช้คาบอก เพื่อให้ผมหน้าทีในการฝึกได้มความเข้าใจ และสามารถใช้คาบอกตามทีกาหนดไว้ในคู่มอเล่มนี้ ู้ ี ่ ี ่ ื สาหรับสังการปฏิบตท่าต่าง ๆ ได้อย่างถูกต้อง ไม่สบสน แ ละเป็นไปในแนวทางเดียวกัน จึงแนะนาให้ ่ ั ิ ั ผูใช้ค่มอได้ทราบถึงรายละเอียดเกียวกับการใช้คาบอกดังต่อไปนี้ ้ ู ื ่ ๗.๑ ประเภทของคาบอก คาบอกทีกาหนดไว้ในคู่มอเล่มนี้แบ่งลักษณะออกเป็น ๔ ประเภท คือ ่ ื ๗.๑.๑ คาบอกแบ่ง ๗.๑.๒ คาบอกเป็นคา ๆ ๗.๑.๓ คาบอกรวด ๗.๑.๔ คาบอกผสม ๗.๒ การใช้คาบอก ลักษณะทีต่างกันของคาบอกประเภทต่าง ๆ จะเป็นเครืองบ่งให้ทราบถึง ่ ่ ลักษณะการปฏิบตของท่านัน ๆ แนวทางในการใช้น้าเสียงเพื่อสัง่ และเขียนไว้ให้เห็นความ แตกต่าง ั ิ ้ กันอย่างเด่นชัดโดยการแสดงเครืองหมายไว้่ ๗.๒.๑ คาบอกแบ่ง (รูปที่ ๑) เป็นคาบอกทีใช้เพื่อออกคาสังสาหรับท่าฝึกทีส่วนใหญ่แล้ว ่ ่ ่ มักจะกาหนดไว้ให้ปฏิบตได้เป็นจังหวะเดียวหรือแบ่งเป็นจังหวะ ๆ ได้ คาบอกแบ่งนี้ผให้คาบอก ั ิ ู้ จะต้องเปล่งเสียงบอกในคาแรกด้วยการลากเสียงค่อนข้างยาว แล้วเว้นจั งหวะไว้เล็กน้อยก่อนทีจะ ่ เปล่งเสียงบอกในคาหลัง ด้วยการเน้นเสียงให้หนักและสัน การเขียนคาบอกชนิดนี้จะแสดงไว้ให้เห็น ้ ด้วยการใช้เครืองหมาย - ขันกลางไว้ระหว่างคาบอกคาหน้าและคาหลัง ตัวอย่างเช่น “ขวา - หัน” ่ ้ เป็นต้น หัน ขวา รูปที่ ๑ แสดงการบอก คาบอกแบ่ง ๗.๒.๒ คาบอกเป็นคา ๆ (รูปที่ ๒) เป็นคาบอกทีใช้เพื่อออกคาสังสาหรับท่าฝึกทีส่วน ่ ่ ่ ใหญ่แล้วมักจะไม่กาหนดให้ปฏิบตแบ่งเป็นจังหวะ ๆ ไว้ (แต่สามารถแบ่งการฝึกออกเป็นตอน ๆ ได้) ั ิ ๒
  • 4. - ๓ - และจาเป็นต้องใช้คาบอกยืดยาวซึงอาจจะมีหลายพยางค์กได้ จึงจาเป็น ต้องเว้นจังหวะการบอกไว้เป็น ่ ็ ตอน ๆ หรือคา ๆ คาบอกเป็นคา ๆ นี้ผให้คาบอกจะต้องเปล่งเสียงบอกทังในคาแรกและคาหลังด้วย ู้ ้ การวางน้าหนักเสียงไว้เท่า ๆ กัน โดยเว้นจังหวะระหว่างคาไว้เล็กน้อย ไม่ตองลากเสียงยาวในคา ้ แรก และเน้นหนักในคาหลัง เหมือนคาบอกแบ่ง การเขียนคาบอกช นิดนี้จะแสดงไว้ให้เห็นโดยการใช้ เครืองหมาย, ขันกลางไว้ระหว่างคาบอกคาหน้าและคาหลัง ตัวอย่างเช่น “ ตามระเบียบ, พัก ” เป็น ่ ้ ต้น ตาม พัก ระเบียบ รูปที่ ๒ แสดงการบอก คาบอกเป็ นคา ๆ ๗.๒.๓ คาบอกรวด (รูปที่ ๓) เป็นคาบอกทีใช้เพื่อออกคาสังสาหรับท่าฝึกทีส่วนใหญ่แล้ว ่ ่ ่ มักจะไม่กาหนดให้ปฏิบตแบ่งเป็นจังหวะ ๆ ไว้ (แต่สามารถแบ่งการฝึกออกเป็นตอน ๆ ได้ ) และเป็น ั ิ คาสังทีไม่ยดยาวหรือมีหลายพยางค์ จึงไม่มความจาเป็นต้อง แบ่งจังหวะการสังไว้เป็นตอน ๆ หรือ ่ ่ ื ี ่ คา ๆ คาบอกรวดนี้ไม่ว่าจะมีกพยางค์กตาม ผูใ ห้คาบอกจะต้องบอกรวดเดียวจบโดยวางน้าหนักเสียง ่ี ็ ้ เป็นระดับเดียว การเขียนคาบอกชนิดนี้จะแสดงไว้ให้เห็นโดยเขียนเป็นคาติดต่อกันทังหมด ไม่ใช้ ้ เครืองหมายใด ๆ ทังสิน ตัวอย่างเช่น “ถอดหมวก” เป็นต้น ่ ้ ้ ถอด หมวก รูปที่ ๓ แสดงการบอก คาบอกรวด ๗.๒.๔ คาบอกผสม (รูปที่ ๔) เป็นคาบอกทีมลกษณะคล้ายคาบอกเป็นคา ๆ จะผิดกับคา ่ ีั บอกเป็นคา ๆ ก็ตรงที่ คาบอกในคาหลังจะเป็นคาบอกแบ่ง เพราะฉะนันคาบอกประเภทนี้จงเป็นคา ้ ึ บอกทีใช้เพื่อออกคาสังสาหรับท่าฝึก ทีส่วนใหญ่มกจะกาหนดให้ปฏิบตแบ่งเป็นจังหวะ ๆ ได้ตาม ่ ่ ่ ั ั ิ ลักษณะของคาบอกแบ่งทีผสมอยูในคาหลังของคาบอกผสมนี้เป็นหลัก คาบอกผสมนี้ผให้คาบอก ่ ่ ู้ จะต้องเปล่งเสียงบอกในคาห้วงแรกเช่นเดียวกับคาบอกเป็นคา ๆ คือ วางน้าหนักเสียงไว้เท่า ๆ กัน ส่วนการเปล่งเสียงในคาบอกห้วงหลังก็คงเปล่งเสียงในลักษณะเดียวกันกับคาบอกแบ่ง คือ เปล่งเสียง บอกในคาแรกด้วยการลากเสียงค่อนข้างยาว แล้วเว้นจังหวะไว้เล็กน้อยก่อนทีจะเปล่งเสียงบอกในคา ่ หลังด้วยการเน้นเสียงให้หนักและสัน การเขียนคาบอกชนิดนี้จะแสดงไว้ให้เห็นโดยใช้เครืองหมาย, ้ ่ ขันกลางไว้ระหว่างคาบอกห้วงแรกและห้วงหลัง ส่วน คาบอกในห้วงหลังคงใช้เครืองหมาย-ขันกลางไว้ ้ ่ ้ ระหว่างคาบอกคาหน้าและคาหลัง ตัวอย่างเช่น “ ทางขวา, แลขวา-ทา ” เป็นต้น ๓
  • 5. - ๔ - ทา ทางขวา แลขวา รูปที่ ๔ แสดงการบอก คาบอกผสม ๘. คาแนะนาในการฝึ ก ๘.๑ ลาดับขันตอนในการฝึก สมควรฝึกแบบปิดขันตอนจนทหารปฏิบตได้คล่องแคล่วพอสมควร ้ ้ ั ิ แล้ว จึงค่อยฝึกแบบเปิดขันตอน ้ ๘.๒ คาบอกปิดขันตอน ้ ๘.๒.๑ “จังหวะ” ใช้กบคาบอกแบ่งและคาบอกผสม ั ๘.๒.๒ “ตอน” ใช้กบคาบอกเป็นคา ๆ และคาบอกรวด ั ๘.๒.๓ ใช้คาบอกเช่นเดียวกับการฝึกแบบเปิดจังหวะหรือเปิดตอน โดยแจ้งเตือนให้ทหาร ทราบล่วงหน้าว่าจะฝึกปิดจังหวะหรือปิดตอน ในการปฏิบตของทหารเมือสินคาบอกให้ปฏิบตเฉพาะ ั ิ ่ ้ ั ิ “จังหวะ ๑” หรือ “ตอนที่ ๑” สาหรับจังหวะหรือตอนทีเหลือให้ใช้คาบอก “ต่อไป” จนกว่าจะปฏิบตจบ ่ ั ิ ท่านัน ๆ เช่น ท่าขวาหัน ซึงแบ่งออกเป็น ๒ จังหวะ ้ ่ ๘.๒.๓.๑ คาบอกเริมแรก “ขวา - หัน” ปฏิบตจงหวะที่ ๑ ่ ั ิั ๘.๒.๓.๒ คาบอก “ต่อไป” ปฏิบตจงหวะที่ ๒ ั ิั ๔
  • 6. - ๕ - บทที่ ๒ การฝึ กบุคคลท่ามือเปล่า ๙. ท่าตรง (รูปที่ ๕) รูปที่ ๕ ท่าตรง ๙.๑ คาบอก “แถว - ตรง” (คาบอกแบ่ง) ๙.๒ การปฏิ บติ ท่านี้มจงหวะเดียว ั ีั ๙.๒.๑ ลักษณะของท่าตรงมีดงนี้คอ จะต้องยืนให้สนเท้าทังสองชิดและอยูในแนวเดียวกัน ั ื ้ ้ ่ ปลายเท้าทังสองแบะออกไปทางข้าง ข้างละเท่า ๆ กัน จนปลายเท้าห่างกันประมาณ ๑ คืบ หรือให้ ้ ความยาวของเท้าเฉียงเป็นมุมประมาณ ๔๕ องศา เข่าเห ยียดตรงและบีบเข้าหากัน แขนทังสองอยู่ ้ ่ ข้างลาตัวในลักษณะงอข้อศอกไว้ จนเกิดเป็ นช่องว่างห่างจากลาตัวประมาณหนึ่งฝามือและพลิก ข้อศอกไปทางข้างหน้าเล็กน้อยจนไหล่ทงสองข้างตึงและเสมอกัน นิ้วมือทังห้าเหยียดตรงเรียงชิด ั้ ้ ิ ่ี ่ ่ ติดกัน และให้น้วกลางแตะไว้ทตรงกึงกลา งขาท่อนบนประมาณแนวตะเข็บกางเกงเปิดฝามือออกไป ทางด้านนิ้วก้อยเล็กน้อย ลาคอตังตรงไม่ยนคาง สายตามองตรงไปทางข้างหน้าในแนวระดับ ้ ่ื วางน้าหนักตัวให้อยูบนเท้าทังสองข้างเท่า ๆ กันและนิ่ง ่ ้ ๕
  • 7. - ๖ - ๙.๒.๒ เมือได้ยนคาบอก “แถว -” ทหารจะต้องจัดส่วนต่าง ๆ ของร่างกายให้ยนอยูใน ่ ิ ื ่ ลักษณะของท่าตรงตามทีได้กล่าวแล้ว ยกเว้นเข่าขวาหย่อนเล็กน้อย พร้อมกับสูดลมหายใจเข้าปอด ่ ให้เต็มที่ และยกอกให้ผงผาย ่ึ ๙.๒.๓ เมือได้ยนคาบอก “ตรง” ให้ทหารกระตุกเข่าขวาเข้ามาอย่างรวดเร็วและแข็งแรงจน ่ ิ ตึง ในลักษณะทีให้บบเข่าทังสองเข้าหากันแล้วนิ่ง ่ ี ้ ๙.๒.๔ ท่าตรง ถือเป็นท่าพืนฐานของทุกท่าก่อนจะปฏิบตท่าใดก็ตาม จะต้องเริมต้นจาก ้ ั ิ ่ ท่าตรงเสมอ ๑๐. ท่าพัก ๑๐.๑ ท่าพักแบ่งออกเป็ น ๒ ประเภท คือ ๑๐.๑.๑ ท่าพักในแถว ประกอบด้วย ท่าพักตามปกติ ท่าพั กตามระเบียบ และท่าพัก ตามสบาย ๑๐.๑.๒ ท่าพักนอกแถว ประกอบด้วย ท่าพักแถวและท่าเลิกแถว ๑๐.๒ ท่าพักตามปกติ (รูปที่ ๖) ๑๐.๒.๑ คาบอก “พัก” (คาบอกรวด) ๑๐.๒.๒ การปฏิบติ ท่านี้มจงหวะเดียว แต่ให้ปฏิบตไปตามลาดับขันตอนดังต่อไปนี้ ั ีั ั ิ ้ ๑๐.๒.๒.๑ ในขันแรกเมือได้ยนคาบอก “พัก” ให้ทหารหย่อนเข่าขวาลง ้ ่ ิ เล็กน้อย โดยพยายามไม่ให้ส่วนอื่น ๆ ของร่างกายมีการไหวติงไปด้วยอย่างกระทันหัน ๑๐.๒.๒.๒ สาหรับในขันต่อไปนัน ้ ้ ท่านี้อนุญาตให้ทหารเคลื่อนไหว ส่วนต่าง ๆ ของร่างกายและเปลียนเข่าพักได้ตามสมควรและเท่าทีจาเป็น ่ ่ ๑๐.๒.๒.๓ ท่านี้หามทหารขยับเขยือน หรือเปลียนทียนของเท้าทังสองข้าง ้ ้ ่ ่ ื ้ และห้ามพูดคุยกันโดยเด็ดขาด ๑๐.๒.๒.๔ เมือได้ยนคาบอก “แถว-” ให้ทหารยืดตัวขึนพร้อมกับสูดลม ่ ิ ้ หายใจเข้าปอดจนเต็มที่ และจัดทุกส่วนของร่างกายให้อยูในลักษณะของท่าตรง เว้นเข่าขวายัง ่ หย่อนอยู่ ถ้าได้ยนคาบอกขณะทีหย่อนเข่าซ้าย ก็ให้เปลียนมาหย่อนเข่าขวา ิ ่ ่ ๑๐.๒.๒.๕ เมือได้ยนคาบอก “ตรง” ให้กระตุกเข่าขวากลับไปอยูในลักษณะ ่ ิ ่ ของท่าตรงอย่างรวดเร็วและแข็งแรง ๖
  • 8. - ๗ - รูปที่ ๖ ท่าพักตามปกติ ๑๐.๓ ท่าพักตามระเบียบ (รูปที่ ๗) ๑๐.๓.๑ คาบอก “ตามระเบียบ, พัก” (คาบอกเป็นคา ๆ) ๑๐.๓.๒ การปฏิบติ ท่านี้มจงหวะเดียว แต่ให้ปฏิบตไปตามลาดับขันตอนดังต่อไปนี้ ั ีั ั ิ ้ ๑๐.๓.๒.๑ เมือได้ยนคาบอก “ตามระเบียบ, พัก” ให้ทหารแยกเท้าซ้ายออก ่ ิ ไปทางด้านซ้ายประมาณ ๓๐ ซม. อย่างแข็งแรงและผึงผายโดยให้เท้าทังสองข้างอยูระดับหัวไหล่ ่ ้ ่ ในขณะเดียวกันให้นามือทังสองข้างไปจับกันไว้ทางด้านหลัง ในลักษณะหันหลังมือทังสองข้างเข้าหา ้ ้ ลาตัว ใช้มอซ้ายจับมือขวาโดยให้มอขวาอยูทางด้านนอก วางนิ้วหัวแม่มอขวาให้ทบและจับนิ้วหัว ื ื ่ ื ั แม่มอซ้ายไว้ นิ้วมือทังสี่ (เว้นนิ้วหัวแม่มอ) ของมือขวาเหยียดตึงเรียงชิดติดกัน โดยให้เฉียงลงไปทาง ื ้ ื เบืองล่างทางซ้าย วางหลังมือซ้ายแตะไว้แนวกึงกลางด้านหลังลาตัวประมาณใต้แนวเข็มขัด และแบะ ้ ่ ข้อศอกทังสองข้างไปข้างหน้าเล็กน้อยแต่พอสบาย ลักษณะของการยืนจะต้องให้ขาทังสองตึง ้ ้ ๗
  • 9. - ๘ - (๗ ก.) (๗ ข.) รูปที่ ๗ ท่าพักตามระเบียบ น้าหนักตัวอยูบนเท้าทังสองข้างเท่า ๆ กัน ยกอกให้สง่าผ่าเผย จัดไหล่ทงสองข้างให้เสมอกัน ลาคอ ่ ้ ั้ ตังตรง สายตามองตรงไปข้างหน้าในแนวระดับและนิ่ง ้ ๑๐.๓.๒.๒ เมือได้ยนคาบอก “แถว-” ให้สดลมหายใจเข้าปอดจนเต็มที่ ่ ิ ู ๑๐.๓.๒.๓ เมือได้ยนคาบอก “ตรง” ให้ชกเท้าซ้ายกลับมาชิดกับเท้าขวาใน ่ ิ ั ลักษณะทีให้สนเท้าทังสองชิดและอยูในแนวเดียวกัน ปลายเท้าทังสองแบะออกไปทางข้าง ข้างละ ่ ้ ้ ่ ้ เท่า ๆ กัน ห่างกันประมาณ ๑ คืบ พร้อมกันนันให้ลดมือทังสองข้า งลงมาอยูในลักษณะของท่าตรง ้ ้ ่ อย่างแข็งแรงแล้วนิ่ง ๑๐.๔ ท่าพักตามสบาย ๑๐.๔.๑ คาบอก “ตามสบาย, พัก” (คาบอกเป็นคา ๆ) ๑๐.๔.๒ การปฏิบติ ท่านี้มจงหวะเดียว แต่ให้ปฏิบตไปตามลาดับขันตอน ดังต่อไปนี้ ั ีั ั ิ ้ ๑๐.๔.๒.๑ เมือได้ยนคาบอก “ตามสบาย, พัก” ให้ทหารหย่อนเข่าขวาลง ่ ิ เล็กน้อย โดยพยายามไม่ให้ส่วนต่าง ๆ ของร่างกายมีการไหวติงไปด้วยอย่างกระทันหัน เช่นเดียวกับ การทาท่าพักตามปกติในขันแรก ้ ๘
  • 10. - ๙ - ๑๐.๔.๒.๒ สาหรับในขันต่อไปนัน ท่านี้อนุ ญาตให้ทหารเคลื่อนไหวอิรยาบถ ้ ้ ิ ได้ตามสบาย ห้ามพูดคุยกันเว้นแต่ได้รบอนุญาต และเท้าข้างใดข้างหนึ่งจะต้องอยูกบที่ ั ่ ั ๑๐.๔.๒.๓ ท่านี้หามทหารออกนอกแถว ถ้าไม่อนุญาตให้นงจะนังไม่ได้ ถ้า ้ ั่ ่ ั่ ่ ่ ั ได้รบอนุ ญาตให้นงจะต้องนังในลักษณะทีให้ปกเท้าข้างใดข้างหนึ่งเป็นหลักอยูกบที่ ั ่ ั ๑๐.๔.๒.๔ เมือได้ยนคาบอก “แถว-” ไม่ว่าทหารจะอยูในอิรยาบถใดก็ตามให้ ่ ิ ่ ิ ทหารรีบกลับมาอยูในท่าพักตามปกติ พร้อมกับสูดลมหายใจเข้าปอดให้เต็มที่ และยกอกให้ผงผาย ่ ่ึ ๑๐.๔.๒.๕ เมือได้ยนคาบอก “ตรง” ให้ทหารกระตุกเข่าขวาเข้ามาอย่าง ่ ิ รวดเร็วและแข็งแรงจนเข่าตึง ในลักษณะทีให้บบเข่าทังสองข้างเข้าหากันอยูในท่าตรงแล้วนิ่ง ่ ี ้ ่ ๑๐.๕ ท่าพักแถว ๑๐.๕.๑ คาบอก “พักแถว” (คาบอกรวด) ๑๐.๕.๒ การปฏิบติ ั ๑๐.๕.๒.๑ เมือได้ยนคาบอก “พักแถว” ให้ทหารทุกคนทีอยูในแถวต่างคน ่ ิ ่ ่ ต่างแยกออกไปจากแถวในทันทีและอย่างฉับไว ท่าพักแถวนี้ทหารแต่ละคนสามารถจะหาทีนงพักได้ ่ ั่ ตามสะดวก แต่ตองอยูในบริเวณใกล้เคียงนันและไม่ทาเสียงอึกทึก ้ ่ ้ ๑๐.๕.๒.๒ เมือได้ยนคาบอก “แถว” ให้ทุกคนรีบกลับมาเข้าแถวทีเดิม ่ ิ ่ โดยเร็วในรูปแถวเดิม และเมือจัดแถวเป็นรูปแถวเรียบร้อยแล้ว ให้อยูในท่าตรงจนกว่าจะได้รบคาสัง่ ่ ่ ั ปฏิบตอย่างใดอย่างหนึ่งต่อไป ั ิ ๑๐.๕.๓ โอกาสในการใช้ สาหรับพักนอกแถ วในระยะเวลาสัน เพื่อรอการฝึกหรือ ้ ปฏิบตงานต่อไป ั ิ ๑๐.๕.๔ คาแนะนาสาหรับผูฝึก เมือผูฝึกเรียกแถวใหม่ดวยการใช้คาบอก “แถว” ้ ่ ้ ้ แล้วผูฝึกจะสัง่ “แถว - ตรง” อีกไม่ได้ ถ้าเห็นว่าทหารทีกลับมาเข้าแถวใหม่ยงจัดแถวไม่เรียบร้อย ้ ่ ั ผูฝึกจะต้องใช้คาบอก “จัดแถว” และ “นิ่ง” ตามลาดับเท่านัน ้ ้ ๑๐.๖ ท่าเลิ กแถว ๑๐.๖.๑ คาบอก “เลิกแถว” (คาบอกรวด) ๑๐.๖.๒ การปฏิบติ เมือได้ยนคาบอกว่า “เลิกแถว” ให้ทหารทุกคนทีอยูในแถวแยก ั ่ ิ ่ ่ กระจายกันออกไปจากแถวโดยเร็ว ๑๐.๖.๓ โอกาสในการใช้ สาหรับเลิกการฝึกหรือปฏิบตงานในครังนัน ั ิ ้ ้ ๑๑. ท่าหันอยู่กบที่ ั ท่าหันอยูกบทีแบ่งออกเป็น ๕ ท่า คือ ท่าขวาหัน , ท่าซ้ายหัน, ท่ากลับหลังหัน, ท่ากึงขวาหัน, ่ ั ่ ่ และท่ากึงซ้ายหัน ่ ๙
  • 11. - ๑๐ - ๑๑.๑ ท่าขวาหัน (รูปที่ ๘) (๘/๑ ก.) (๘/๑ ข.) (๘/๒) จังหวะหนึ่ง จังหวะสอง รูปที่ ๘ ท่าขวาหัน ๑๑.๑.๑ คาบอก “ขวา - หัน” (คาบอกแบ่ง) ๑๑.๑.๒ การปฏิบติ ท่านี้แบ่งออกเป็นสองจังหวะดังต่อไปนี้ ั ๑๑.๑.๒.๑ จังหวะหนึ่ ง เมือได้ยนคาบอก “ขวา - หัน” ให้ทหารเปิดปลายเท้า ่ ิ ขวาให้สงขึนจากพืนเล็กน้อยโดยพยายามกดส้นเท้าให้ตรึงอยูกบที่ แล้วหมุนตัวไปทางขวาจนได้ ๙๐ ู ้ ้ ่ ั องศา ด้วยการใช้สนเท้าขวาเป็นจุดหมุน ในขณะเดียวกันนัน ให้ใช้ปลายเท้าซ้ายกดแน่นไว้กบพืนเพื่อ ้ ้ ั ้ ช่วยให้มการทรงตัวดีในระหว่างหมุนตัว แล้วเปิดส้นเท้าหมุนตามไปด้วย โดยพยายามกด ปลาย ี เท้าไว้ ณ ทีเดิมในลักษณะให้ขาเหยียดตึง ในขณะทีหมุนตัวไปนันจะต้องพยายามรักษา ่ ่ ้ ทรวดทรงของลาตัว และการวางมือทังสองให้อยูในลักษ ณะของท่าตรงตลอดเวลาด้วย เมือหมุนตัว ้ ่ ่ ไปได้ทแล้ว ทหารจะต้องอยูในท่ายืนทีวางน้าหนักตัวทังหมดไว้บนเท้าขวา ขาซ้ายเหยียดตึงไปทาง ่ี ่ ่ ้ ด้านหลังทางซ้าย ส้นเท้าเปิดและบิดออกไปทางด้านนอกของลาตัว ๑๑.๑.๒.๒ จังหวะสอง ชักเท้าซ้ายมาชิดกับเท้าขวา เพื่อยืนในลักษณะของ ท่าตรงอย่างรวดเร็วและแข็งแรง ๑๑.๑.๓ คาแนะนาสาหรับผูฝึก ในการฝึกปิดจังหวะให้ใช้คาบอกเช่นเดียวกับเปิดจังหวะ ้ เพื่อให้ทหารปฏิบตจงหวะหนึ่งโดยใช้คาบอก “ขวา - หัน” เมือจะให้ทหารปฏิบตต่อไปในจังหวะสอง ั ิั ่ ั ิ ให้ใช้คาบอก “ต่อไป” ๑๐
  • 12. - ๑๑ - ๑๑.๒ ท่าซ้ายหัน (รูปที่ ๙) (๙/๑ ก.) (๙/๑ ข.) รูปที่ ๙ ท่าซ้ายหันจังหวะหนึ่ ง (๙/๒) รูปที่ ๙ ท่าซ้ายหันจังหวะสอง ๑๑
  • 13. - ๑๒ - ๑๑.๒.๑ คาบอก “ซ้าย - หัน” ๑๑.๒.๒ การปฏิบติ ท่านี้แบ่งออกเป็นสองจังหวะดังต่อไปนี้ ั ๑๑.๒.๒.๑ จังหวะหนึ่ง เมือได้ยนคาบอก “ซ้าย - หัน” ให้ทหารเปิดปลาย ่ ิ เท้าซ้ายให้สงขึนจากพืนเล็กน้อยโดยพยายามกดส้นเท้าให้ตรึงอยูกบที่ แล้วหมุนตัวไปทางซ้ายจนได้ ู ้ ้ ่ ั ๙๐ องศา ด้วยการใช้สนเท้าซ้ายเป็นจุดหมุน ในข ณะเดียวกันนันให้ใช้ปลายเท้าขวากดแน่นไว้กบพืน ้ ้ ั ้ เพื่อให้มการทรงตัวดีในระหว่างหมุนตัว แล้วเปิดส้นเท้าหมุนตามไปด้วย โดยพยายามกดปลายเท้า ี ขวาไว้ ณ ทีเดิมในลักษณะให้ขาเหยียดตึง ในขณะทีหมุนตัวไปนันจะต้องพยายามรักษาทรวดทรง ่ ่ ้ ของลาตัว และการวางมือทังสองให้อยูในลั กษณะของท่าตรงตลอดเวลาด้วย เมือหมุนตัวไปได้ทแล้ว ้ ่ ่ ่ี ทหารจะอยูในท่ายืนทีวางน้าหนักตัวทังหมดไว้บนเท้าซ้าย ขาขวาเหยียดตึงไปทางด้านหลังทางขวา ่ ่ ้ ส้นเท้าเปิดและบิดออกไปทางด้านนอกของลาตัว ๑๑.๒.๒.๒ จังหวะสอง ชักเท้าขวามาชิดกับเท้าซ้าย เพื่อยืนในลักษณะของ ท่าตรงอย่างรวดเร็วและแข็งแรง ๑๑.๒.๓ คาแนะนาสาหรับผูฝึก ในการฝึกปิดจังหวะให้ใช้คาบอกเช่นเดียวกับเปิดจังหวะ ้ เพื่อให้ทหารปฏิบตจงหวะหนึ่ง โดยใช้คาบอก “ซ้าย - หัน” เมือจะให้ทหารปฏิบตต่อไปในจังหวะสอง ั ิั ่ ั ิ ให้ใช้คาบอก “ต่อไป” ๑๑.๓ ท่ากลับหลังหัน (รูปที่ ๑๐) (๑๐/๑ ก.) (๑๐/๑ ข.) รูปที่ ๑๐ ท่ากลับหลังหันจังหวะหนึ่ ง ๑๒
  • 14. - ๑๓ - (๑๐/๒) รูปที่ ๑๐ ท่ากลับหลังหันจังหวะสอง ๑๑.๓.๑ คาบอก “กลับหลัง - หัน” (คาบอกแบ่ง) ๑๑.๓.๒ การปฏิบติ ท่านี้แบ่งออกเป็นสองจังหวะดังต่อไปนี้ ั ๑๑.๓.๒.๑ จังหวะหนึ่ง เมือได้ยนคาบอก “กลับหลัง - หัน” ให้ทหารเปิด ่ ิ ปลายเท้าขวาให้สงขึนจากพืนเล็กน้อยและพยายามกดส้นเท้าให้ตรึงอยูกบที่ แล้วหมุนตัวไปทางขวา ู ้ ้ ่ ั จนได้ ๑๘๐ องศา (กลับหน้าเป็นหลัง) ด้วยการใช้สนเท้าขวาเป็นจุดหมุน ในขณะเดียวกันนันให้ใช้ ้ ้ ปลายเท้าซ้ายกดแน่นไว้กบพืนเพื่อให้มการทรงตัวดีในระหว่างหมุนตัว แล้วเปิดส้นเท้าพร้อมกับ ั ้ ี เหวียงเท้าซ้ายไปทางซ้าย และนาปลายเท้าซ้ายไปแตะพืนไว้ทางด้านหลังในทิศทางเฉียงไปทางหลัง ่ ้ ทางซ้ายของลาตัว ส้นเท้าเปิ ด เข่าเหยียดตึง ในขณะทีหมุนตัวไปนันจะต้องพยายามรักษา ่ ้ ทรวดทรงของลาตัว และการวางมือทังสองให้อยูในลักษณะของท่าตรงตลอดเวลาด้วย เมือหมุนตัวไป ้ ่ ่ ได้ทแล้วทหารจะอยูในท่ายืนทีวางน้าหนักตัวทังหมดไว้บนเท้าขวา ขาซ้ายเหยียดตึงไปทางด้านหลัง ่ี ่ ่ ้ ทางซ้าย ส้นเท้าเปิดและบิดออกไปทางด้านนอกของลาตัว ๑๓
  • 15. - ๑๔ - ๑๑.๓.๒.๒ จังหวะสอง ชักเท้าซ้ายมาชิดกับเท้าขวา เพื่อยืนในลักษณะของ ท่าตรงอย่างรวดเร็วและแข็งแรง ๑๑.๓.๓ คาแนะนาสาหรับผูฝึก ในการฝึกปิดจังหวะให้ใช้คาบอกเช่นเดียวกับเปิดจังหวะ ้ เพื่อให้ทหารปฏิบตจงหวะหนึ่ง โดยใช้คาบอก “กลับหลัง - หัน” เมือจะให้ทหารปฏิบตต่อไปในจังหวะ ั ิั ่ ั ิ สอง ให้ใช้คาบอก “ต่อไป” ๑๑.๔ ท่ากึ่งขวาหัน (๑๑/๑ ก.) (๑๑/๑ ข.) (๑๑/๒) จังหวะหนึ่ง จังหวะสอง รูปที่ ๑๑ ท่ากึ่งขวาหัน ๑๑.๔.๑ คาบอก “กึงขวา - หัน” (คาบอกแบ่ง) ่ ๑๑.๔.๒ การปฏิบติ ท่านี้แบ่งออกเป็นสองจังหวะ ในการปฏิบตคงมีขนตอนเหมือนกัน ั ั ิ ั้ กับการทาท่าขวาหัน จะแตกต่างกันเฉพาะให้หนไปเพียง ๔๕ องศา เท่านัน ั ้ ๑๑.๔.๓ คาแนะนาสาหรับผูฝึก ในการฝึกปิดจังหวะให้ใช้คาบอกเช่นเดียวกับเปิด ้ จังหวะ เพื่อให้ทหารปฏิบตจงหวะหนึ่ง โดยใช้คาบอก “กึงขวา - หัน” เมือจะให้ทหารปฏิบตต่อไปใน ั ิั ่ ่ ั ิ จังหวะสอง ให้ใช้คาบอก “ต่อไป” ๑๔
  • 16. - ๑๕ - ๑๑.๕ ท่ากึ่งซ้ายหัน (๑๒/๑ ก.) (๑๒/๑ ข.) (๑๒/๒) จังหวะหนึ่ง จังหวะสอง รูปที่ ๑๒ ท่ากึ่งซ้ายหัน ๑๑.๕.๑ คาบอก “กึงซ้าย - หัน” (คาบอกแบ่ง) ่ ๑๑.๕.๒ การปฏิบติ ท่านี้แบ่งออกเป็นสองจังหวะ ในการปฏิบตคงมีขนตอนเหมือน กัน ั ั ิ ั้ กับการทาท่าซ้ายหัน จะแตกต่างกันเฉพาะให้หนไปเพียง ๔๕ องศา เท่านัน ั ้ ๑๑.๕.๓ คาแนะนาสาหรับผูฝึก ในการฝึกปิดจังหวะให้ใช้คาบอกเช่นเดียวกับเปิด ้ จังหวะ เพื่อให้ทหารปฏิบตจงหวะหนึ่ง โดยให้คาบอก “กึงซ้าย - หัน” เมือจะให้ทหารปฏิบตต่อไปใน ั ิั ่ ่ ั ิ จังหวะสอง ให้ใช้คาบอก “ต่อไป” ๑๕
  • 17. - ๑๖ - ๑๒. ท่าก้าวทางข้าง (รูปที่ ๑๓) รูปที่ ๑๓ ท่าก้าวทางข้าง ๑๒.๑ คาบอก “ก้าวทางขวา. . . . . . .ก้าว, ทา” (คาบอกเป็นคา ๆ) “ก้าวทางซ้าย. . . . . . .ก้าว, ทา” ๑๒.๒ การปฏิ บติ เมือได้ยนคาบอก “ก้าวทางขวา. . . . . .ก้าว, ทา” หรือ “ก้าวทางซ้าย. . . . ั ่ ิ . . .ก้าว, ทา” ให้ทหารก้าวเท้าขวา (ซ้าย) ไปทางข้างในลักษณะเข่าทังสองข้างตึง วางปลายเท้าขวา ้ ้ ่ (ซ้าย) จดพืนแล้วลดส้นเท้าสัมผัสพืนเต็มฝาเท้า หลังจากนันเปลียนน้ าหนักตัวไปอยูบนเท้าที่ ก้าว ้ ้ ่ ่ ออกไป แล้วนาเท้าซ้าย (ขวา) ไปชิดเท้าทีกาวออกไปอยูในท่าตรง สาหรับก้าวต่อไปคงปฏิบติ ่ ้ ่ ั เหมือนเดิมทุกประการจนครบจานวนก้าว ทังนี้จะต้องรักษาการทรงตัว และร่างกายส่วนอื่นให้อยูใน ้ ่ ท่าตรง ๑๒.๓ คาแนะนาสาหรับผูฝึก ้ ๑๒.๓.๑ ท่าก้าวทางข้างนี้มกจะนาไปใช้ในโอกาส ทีตองการให้ทหารเปลียนทีตงแถวไป ั ่ ้ ่ ่ ั้ ทางข้างในระยะใกล้ไม่เกิน ๑๐ ก้าว ๑๒.๓.๒ ถ้าหากประสงค์จะให้แถวทหารเปลียนทีตงแถวไปทางขวา (ซ้าย) ในระยะ ่ ่ ั้ มากกว่า ๑๐ ก้าว ให้ใช้วธบอกให้ทหารทาท่าขวา (ซ้าย) หัน เสียก่อน แล้วบอก “หน้า - เดิน”, ิี “แถว - หยุด”, “ขวา (ซ้าย) - หัน” กลับสู่ทศทางเดิม และจัดแถวใหม่ ิ ๑๖
  • 18. - ๑๗ - ๑๒.๓.๓ คาบอกทีเขียนไว้ว่า “ก้าวทางขวา (ซ้าย).....ก้าว, ทา” นัน ตรงเครืองหมาย ่ ้ ่ ….…ก้าว ทีเว้นไว้นน ผูฝึกจะต้องกาหนดจานวนก้าวให้ชดเจนด้วย เช่น “ก้าวทางขวา ๕ ก้าว, ทา” ่ ั้ ้ ั เป็นต้น ๑๓. ท่าก้าวถอยหลัง (รูปที่ ๑๔) (๑๔/ก.) (๑๔/ข.) (๑๔/ค.) (๑๔/ง.) รูปที่ ๑๔ ท่าก้าวถอยหลัง ๑๓.๑ คาบอก “ก้าวถอยหลัง. . . . .ก้าว, ทา” (คาบอกเป็นคา ๆ) ๑๓.๒ การปฏิ บติ เมือได้ยนคาบอก “ก้าวถอยหลัง. . . . .ก้าว, ทา” ให้ทหารก้าวเท้าซ้าย ั ่ ิ ออกไปทางด้านหลังก่อนให้ได้ความยาวของก้าวประมาณ ๓๐ ซม. ในลักษณะทีเข่าทังสองเหยียดตึง ่ ้ และรักษาทรวดทรงของร่างกายให้อยูในลักษณะของท่าตรงตลอดเวลา แล้ววางปลายเท้าทีกาว ่ ่ ้ ออกไปก่อนนันจดกับพืน ต่อจากนันให้ลดส้ นเท้าลงไปยืนกับพืนพร้อมกับเปลียนน้าหนักตัวไปวางอยู่ ้ ้ ้ ้ ่ บนเท้าซ้ายและยกส้นเท้าขวาสูงขึนเล็กน้อย ้ แล้วยกเท้าขวาก้าวออกไปทางข้างหลังใน ลักษณะทีให้ผ่านเท้าซ้าย ออกไปทางด้านหลังของเท้าซ้ายอีกประมาณ ๓๐ ซม. และนาปลายเท้าขวา ่ ไปจดกับพืนไว้ในลักษณะเดียวกันกับการก้าวเท้าซ้ายออกไปข้างหลังในครังแรก ในลาดับต่อไปให้ ้ ้ เปลียนเท้าก้าวไปข้างหลังสลับกันไปเช่นนันเรือย ๆ จนกว่าจะครบจานวนก้าวตามทีได้รบคาสังให้ ่ ้ ่ ่ ั ่ หยุดเท้าข้างทีกาวไปครบจานวนนันไว้กบทีในลักษณะวางน้าหนักตัวยืนอยูบนเท้าข้างนัน แล้วจึงนา ่ ้ ้ ั ่ ่ ้ เท้าหน้าซึงเปิดส้นเท้าเล็กน้อยเข้ามาชิดกับเท้าข้างทีหยุดในลักษณะท่าตรง ่ ่ ในกรณีทได้รบคาสังให้กาวไปข้างหลังเพียงหนึ่งก้าว ก็ให้ปฏิบตโดยก้าวเท้าซ้ายออกไป ่ี ั ่ ้ ั ิ ก่อนในลักษณะตามทีได้อธิบายไว้ขางต้น แล้วดึงเท้าขวาเข้ามาชิดกับเท้าซ้ายโดยไม่ตองก้าวต่อไป ่ ้ ้ ๑๓.๓ คาแนะนาสาหรับผูฝึก ้ ๑๓.๓.๑ ท่าก้าวถอยหลังนี้ มักจะนาไปใช้ในโอกาสทีตองการให้ทหารเปลียนทีตง ่ ้ ่ ่ ั้ แถวไปทางข้างหลังในระยะใกล้ ไม่เกิน ๑๐ ก้าว ๑๗
  • 19. - ๑๘ - ๑๓.๓.๒ ถ้าหากประสงค์จะให้แถวทหารเปลียนทีตงแถว ไปทางข้างหลัง ในระยะ ่ ่ ั้ มากกว่า ๑๐ ก้าว ให้ใช้วธบอกให้ทหารทาท่ากลับหลังหันเสียก่อน แล้วบอก ิี “หน้า - เดิน” “แถว - หยุด”, “กลับหลัง - หัน” กลับสู่ทศทางเดิม และจัดแถวใหม่ ิ ๑๓.๓.๓ คาบอกทีเขียนไว้ว่า “ก้าวถอยหลัง. . . . .ก้าว, ทา” นัน ตรงเครืองหมาย ่ ้ ่ . . . . ก้าวทีเว้นไว้นน ผูฝึกจะต้องกาหนดจานวนก้าวให้ชดเจนด้วย เช่น “ก้าวถอยหลัง ๕ ก้าว, ทา” ่ ั้ ้ ั เป็นต้น ๑๔. ท่าเดิ น ท่าเดินแบ่งออกเป็น ๓ ท่า คือ ท่าเดินสวนสนาม, ท่าเดินตามปกติ, และท่าเดินตามสบาย ๑๔.๑ ท่าเดิ นสวนสนาม (รูปที่ ๑๕) (๑๕/ก.) (๑๕/ข.) รูปที่ ๑๕ ท่าเดิ นสวนสนาม ๑๔.๑.๑ คาบอก “สวนสนาม, หน้า - เดิน” (คาบอกผสม) ๑๔.๑.๒ การปฏิบติ เมือได้ยนคาบอก “สวนสนาม, หน้า - เดิน” ให้ทหารเริมออกเดิน ั ่ ิ ่ โดยเตะเท้าซ้ายออกไปข้างหน้าในลักษณะขาเหยียดตึง ปลายเท้างุมลงจนรูสกว่าหลังเท้าตึง ฝาเท้า ้ ้ ึ ่ สูงจากพืนประมาณ ๑ คืบ พร้อมกับยกมือขวาซึงนิ้วทังห้าเรียงชิดกันและเหยียดตึงผ่านขึนมาทาง ้ ่ ้ ้ ด้านหน้า แล้วไปหยุดลงตรงประมาณแนวหัวเข็มขัด และให้ห่างจากหัวเข็มขัดประมาณหนึ่งฝามือ ่ ่ ิ ่ ในลักษณะทีบดฝามือเฉียงลงไปทางข้างหน้า และยกศอกสูงขึนเล็กน้อยแต่ไม่ให้ศอกกาง ใน ้ ขณะเดียวกันนันก็ให้สลัดแขน และมือซ้ายซึงนิ้วทังห้าเรียงชิดกันและเหยียดตึงเฉียงลงไปทางด้าน ้ ่ ้ ๑๘
  • 20. - ๑๙ - หลังทาง ซ้ายจนรูสกว่าแขนเหยียดตึง หันหลังมือออกทางด้านนอกลาตัวโดยไม่ให้ฝืนลักษณะตาม ้ ึ ธรรมชาติ น้าหนักตัวทังหมดอยูบนเท้าขวา ลาตัวยืดตรง ยกหน้าอก สายตามองไปยังข้างหน้าใน ้ ่ แนวระดับ เมือจะสืบเท้าก้าวไปข้างหน้า ให้กาวเท้าซ้ายไปข้างหน้าให้ได้ระยะก้าวประมาณ ๘๐ ซม. ่ ้ ่ ่ (นับจากส้นเท้าถึงส้นเท้า) แล้วจึงตบฝาเท้าลงไปกับพืนให้เต็มฝาเท้าอย่างแข็งแรงโดยไม่ให้เข่างอ ใน ้ ลาดับต่อไปให้เปลียนน้าหนักตัวทังหมดไปวางอยูบนเท้าซ้าย ่ ้ ่ แล้วเตะเท้าขวาออกไปข้างหน้าใน ลักษณะเดียวกันกับการเตะเท้าซ้ายออกไปในครังแรก และในขณะเดียวกันนันก็ให้สะบัดแขนและมือ ้ ้ ขวาเฉียงลงไปทางด้านหลังทางขวาจนรูสกว่าแขนเหยียดตึง หันหลังมือออกทางด้านนอกลาตัวโดย ้ ึ ไม่ให้ฝืนลักษณะตามธรรมชาติ พร้อมกับยกมือซ้ายผ่านขึนมาทางด้านหน้าแล้วไปหยุดลงตรง ้ ่ ประมาณแนวหัวเข็มขัด และให้ห่างจากหัวเข็มขัดประมาณหนึ่งฝามือในลักษณะทีบดฝามือเฉียงลงไป ่ ิ ่ ทางข้างหน้า และยกศอกสูงขึนเล็กน้อยแต่ไม่ให้ศอกกาง ลาตัวยืดตรง ยกหน้าอ ก สายตามองตรงไป ้ ยังข้างหน้าในแนวระดับ ในลาดับต่อไปให้กาวสลับเท้ากันเดินต่อไปเช่นนี้เรือย ๆ ไป โดยพยายาม ้ ่ รักษาจังหวะความเร็วในการเดินให้คงทีไว้ในอัตราความเร็วนาทีละประมาณ ๙๖ - ๑๐๐ ก้าว ่ เมือเดินเป็นแถวการก้าวและตบเท้าแต่ละก้าว ตลอดจนการแกว่งแขนจะต้ องกระทาให้พร้อม ่ กันทังแถว และรักษาลักษณะท่าทางในทุกอิรยาบถของการเดินให้องอาจผึงผายและแข็งแรง อยูเสมอ ้ ิ ่ ่ ด้วยการตบเท้าหนักตลอดเวลา ๑๔.๑.๓ คาแนะนาสาหรับผูฝึก ้ ๑๔.๑.๓.๑ ในการฝึกทหารนัน ถ้าผูฝึกประสงค์จะให้ทหารฝึกปฏิ บัตทละ ้ ้ ิ ี ขันตอน เพื่อผลในการตรวจการปฏิบตของทหารตามขันตอนต่าง ๆ ให้เป็นไปโดยถูกต้องแล้ว ผูฝึก ้ ั ิ ้ ้ ย่อมสามารถจะกระทาได้ โดยให้ใช้คาบอกเช่นเดียวกับเปิดจังหวะ กล่าวคือ เมือจะเริมต้นทาการฝึก ่ ่ ท่าเดินสวนสนามให้ใช้คาบอก “ต่อไปจะฝึกเดินสวนสนามแบบปิดจังหวะ” “สวนสนาม, หน้า - เดิน” เมือทหารได้ยนคาบอกดังกล่าวนี้ ให้ทาท่าเตะเท้าซ้ายไปข้างหน้าก่อนแล้วค้างไว้ และรอจนกว่าจะ ่ ิ ได้รบคาสังให้ปฏิบตต่อไป เมือผูฝึกจะให้ทหารปฏิบตในจังหวะต่อไป ก็ให้ใช้คาบอก “ต่อไป” เมือ ั ่ ั ิ ่ ้ ั ิ ่ ทหารได้ยนคาบอก “ต่อไป” จึงทาท่าเตะเท้าขวาต่อไปข้างหน้าแล้วค้างไว้ กระทาสลับกันไปเช่นนี้ ิ เรือย ๆ ่ ๑๔.๑.๓.๒ ก่อนทีจะเริมให้ทหารฝึกท่าเดินสวนสนาม ผูฝึกจะต้องอธิบายและ ่ ่ ้ แสดงตัวอย่างของท่าเดินสวนสนามให้ดู และนาเอาท่าหยุดจากการเดินมาสอนควบคู่กนไปด้วยเสมอ ั ๑๙
  • 21. - ๒๐ - ๑๔.๒ ท่าเดิ นตามปกติ (๑๖/ก.) (๑๖/ข.) รูปที่ ๑๖ ท่าเดิ นตามปกติ ๑๔.๒.๑ คาบอก “หน้า - เดิน” (คาบอกแบ่ง) ๑๔.๒.๒ การปฏิบติ เมือได้ยนคาบอก “หน้า - เดิน” ให้ทหารเริมออกเดิน โดย ั ่ ิ ่ ่ ก้าวเท้าซ้ายออกไปข้างหน้าในลักษณะขาเหยียดตึง ฝาเท้า ขนานกับพืนและสูงจากพืนประมาณ ๑ ้ ้ ่ ฝามือ ปลายเท้าชีไปในทิศทางตรงหน้า ในขณะเดียวกันมือทังสองข้างกาแบบหลวม ๆ โดยนิ้วหัว ้ ้ แม่มอจดกับข้อทีสองของนิ้วชี้ นิ้วทังสี่ (เว้นนิ้วหัวแม่มอ) เรียงชิดกัน แกว่งแขนขวาไปด้านหน้าและ ื ่ ้ ื แขนซ้ายมาทางด้านหลัง ในลักษณะงอข้อศ อกเล็กน้อยและหันหลังมือออกไปทางด้านนอกลาตัวแต่ พองามโดยไม่ฝืนธรรมชาติ น้าหนักตัวอยูบนเท้าขวา แล้วจึงสืบเท้าซ้ายไปข้างหน้า ๑ ก้าว ระยะ ่ ประมาณ ๖๐ เซนติเมตร วางส้นเท้าซ้ายลงจดพืนก่อนปลายเท้า เปลียนน้าหนักตัวมาอยูบนเท้าซ้าย ้ ่ ่ ่ แขนแกว่งด้านข้างลาตัวให้เลยลาตัวไปด้านหน้าและด้านหลัง ประมาณ ๑ ฝามือ โดยสัมพันธ์กบขา ั ทีกาว ลาตัวยืดตรง ยกอกผึงผาย สายตามองตรงไปข้างหน้าในแนวระดับ สาหรับในก้าวต่อไปให้ ่ ้ ่ ปฏิบตในลักษณะเช่นเดียวกัน โดยก้าวสลับเท้าเดินอย่างต่อเนื่องและพยายามรักษาจังหวะความเร็ว ั ิ ในการเดินให้คงที่ ในอัตรานาทีละประมาณ ๑๑๖ ก้าว เมือเดินเป็นแถวการก้าวเท้าออกเดินแต่ละก้าว ตลอดจนการแกว่งแขนจะต้องกระทาให้พร้อม ่ กันทังแถว และรักษาลักษณะท่าทางในทุกอิรยาบถของการเดินให้องอาจผึงผายอยูเสมอ ้ ิ ่ ่ ๑๔.๒.๓ คาแนะนาสาหรับผูฝึก เมือประสงค์จะให้ทหารฝึ กปฏิบตทละขันตอน ให้ใช้ ้ ่ ั ิ ี ้ คาบอกเช่นเดียวกับเปิดจังหวะ ด้วยคาบอก “ต่อไปจะฝึกเดินตามปกติแบบปิดจังหวะ” “หน้า - เดิน” เมือทหารได้ยนคาบอกดังกล่าวนี้ ให้กาวเท้าซ้ายไปข้างหน้าและแกว่งแขนค้างไว้แล้วรอจนกว่าจะ ่ ิ ้ ๒๐
  • 22. - ๒๑ - ได้รบคาสังให้ปฏิบตต่อไป เมือผูฝึกจะให้ทหารปฏิบตในจังหวะต่อไป ก็ให้ใช้คาบอก “ต่อไป” ทหารจึง ั ่ ั ิ ่ ้ ั ิ ก้าวเท้าขวาไปข้างหน้าพร้อมกับแกว่งแขนค้างไว้ กระทาสลับกันไปจนกว่าจะสังหยุด ่ ๑๔.๓ ท่าเดิ นตามสบาย ๑๔.๓.๑ คาบอก “เดินตามสบาย” (คาบอกรวด) ๑๔.๓.๒ การปฏิบติ เมือได้ยนคาบอก “เดินตามสบาย” ให้ทหารปฏิบตการเดิน ั ่ ิ ั ิ และรักษาจังหวะอัตราความเร็วและระยะก้าวในการเดินเช่นเดียวกับท่าเดินตามปกติ คงมีลกษณะที่ ั แตกต่างไปจากท่าเดินตามปกติตรงที่ ท่าเดินตามสบายไม่ตองรักษาท่าทางในการเดินอย่างเคร่งครัด ้ และถ้าเดินเป็นแถวก็ไม่จาเป็นต้องเดินพร้อมเท้า ห้ามพูดคุยกัน เว้นแต่จะได้รบอนุญาต ั ๑๔.๓.๓ คาแนะนาสาหรับผูฝึก ้ ๑๔.๓.๓.๑ ในการฝึกท่าเดินตามสบายนัน ผูฝึกมีความจาเป็นต้องสอน ้ ้ ให้ทหารทราบถึงวิธการปฏิบตของท่าเปลียนเท้าในเวลาเดินเสียก่อน จึงจะทาการฝึกให้ทหารเดินท่า ี ั ิ ่ เดินตามสบายได้ กล่าวคือ จะต้องนามาใช้เพื่อเปลียนจากท่าเดินตามสบายไปเป็นท่าเดินตามปกติ ่ (เดินเข้าระเบียบ) ๑๔.๓.๓.๒ ตามปกติแล้วท่าเดินตามสบาย มักจะนาไปใช้ในโอกาส ทีตองการให้ทหารผ่อนคลายอิรยาบถในการเดินจากท่าเดินตามปกติ เพราะฉะนันผูฝึกจาเป็นต้องหัด ่ ้ ิ ้ ้ ท่าเดินตามสบายโดยบอกให้ทหารเดินตามปกติก่อน แล้วจึงสังให้เปลียนเป็นท่าเดินตามสบายโดยใช้ ่ ่ คาบอกว่า “เดินตามสบาย” ๑๔.๓.๓.๓ เมือผูฝึกประสงค์จะให้ทหาร ซึงเดินอยูในท่าเดินตามสบาย ่ ้ ่ ่ กลับไปทาท่าเดินตามปกติ ผูฝึกจะต้องใช้คาบอก “เดินเข้าระเบียบ” เมือทหารได้ยนคาบอก “เดิน ้ ่ ิ เข้าระเบียบ” ให้ทหารกลับไปทาท่าเดินตามปกติซงบางคนอาจจาเป็นต้องทาท่าเปลียนเท้าเองโดยไม่ ่ึ ่ ต้องมีคาบอกก่อนก็ได้ ๑๔.๓.๓.๔ ในขณะทีทหารเดินตามสบายอยูนน จะใช้คาบอก “แถว - ่ ่ ั้ หยุด” ไม่ได้ เพราะว่าทหารในแถวนันอาจจะเดินเท้าไม่พร้อมกันอยูกได้ เมือผูฝึกประสงค์จะสังให้ ้ ่ ็ ่ ้ ่ แถวทหารซึงกาลังเดินตามสบายทาท่าหยุดจากการเดิน ผูฝึกจะต้องสังให้ทหารเดินเข้าระเบียบ ่ ้ ่ เสียก่อนจึงจะใช้คาบอก “แถว - หยุด” ได้ ๒๑
  • 23. - ๒๒ - ๑๕. ท่าหยุดจากการเดิ น (รูปที่ ๑๗) จังหวะหนึ่ง (๑๗/๑) จังหวะสอง (๑๗/๒) รูปที่ ๑๗ ท่าหยุดจากการเดิ น ๑๕.๑ คาบอก “แถว - หยุด” (คาบอกแบ่ง) ๑๕.๒ การปฏิ บติ ท่านี้แบ่งออกเป็นสองจังหวะดังต่อไปนี้ ั ๑๕.๒.๑ จังหวะหนึ่ ง เมือได้ยนคาบอก “แถว - หยุด” พอสินคาบอก “หยุด” ไม่ว่า ่ ิ ้ จะเป็นในขณะทีเท้าข้างใดตกถึงพืนก็ตาม ให้ทหารก้าวเท้าอีกข้างหนึ่งไปข้างหน้าอีกครึงก้าว ่ ้ ่ ประมาณ ๓๐ - ๔๐ เซนติเมตร แล้วหยุดเดิน พร้อมกันนันให้โน้มน้าหนั กตัวไปอยูทเี่ ท้าหน้า ้ ่ (เท้าทีกาวออกไปข้างหน้าอีกครึงก้าวนัน) มือและแขนทังสองยังคงแกว่งอยูในลักษณะสลับกับเท้า ขา ่ ้ ่ ้ ้ ่ ทังสองตึง ส้นเท้าหลังเปิดและบิดออกไปทางด้านนอกของลาตัวเล็กน้อย ้ ๑๕.๒.๒ จังหวะสอง ชักเท้าหลังมาชิดกับเท้าหน้า พร้อมกับสะบัดมือและแขนทังสอง ้ ข้างลงไปอยูในลักษณะของท่าตรงอย่างแข็งแรงแล้วนิ่ง ่ ๒๒