SlideShare a Scribd company logo
งานนาเสนอ
รายวิชา วิทยาศาสตร์
 เรื่ อง เครื่ องใช้ ไฟฟา
                        ้
จัดทำโดย
เด็กหญิง   วิมลรัตน์ วรรกำร เลขที่ 37
เด็กหญิง   ศิรินพร เต็มใจ เลขที่ 38
เด็กหญิง   สมัชญำ ค้ำสม เลขที่ 39
เด็กหญิง   สุ ดำรัตน์ อินโต เลขที่ 40
คำนำ
     รายงานเล่มนี ้เป็ นส่วนหนึงของวิชา วิทยาศาสตร์ จัดทาขึ ้นเพื่อประกอบการศึกษา
                                  ่
วิชา วิทยาศาสตร์ วิชานี ้ที่ต้องการให้ ผ้ เู รี ยนได้ เรี ยนรู้ เกี่ยวกับเครื่ องใช้ ไฟฟาในบ้ าน
                                                                                        ้
เพื่อให้ ผ้ อานได้ รับข้ อมูลอย่างถูกต้ อง และหวังเป็ นอย่างยิ่งว่ารายงานเล่มนี ้จะเป็ น
            ู่
ประโยชน์ตอผู้อานไม่มากก็น้อย
               ่ ่
                ถ้ าหากผิดพลาดประการใดก็ขออภัยมา ณ ที่นี ้ด้ วย



                                                                             คณะผู้จดทา
                                                                                    ั
เครื่องใช้ ไฟฟ้ า
เครื่องใช้ ไฟฟ้ า คือ อุปกรณ์ที่เปลี่ยนพลังงำนไฟฟ้ ำเป็ นพลังงำนรู ปอื่น
เพื่อนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน ได้แก่
1. เครื่ องใช้ไฟฟ้ ำที่ให้แสงสว่ำง
2. เครื่ องใช้ไฟฟ้ ำที่ให้ควำมร้อน
3. เครื่ องใช้ไฟฟ้ ำที่ให้พลังงำนกล
4. เครื่ องใช้ไฟฟ้ ำที่ให้พลังงำนเสี ยง
ประเภทของหลอดไฟ
1. หลอดไฟฟ้ ำธรรมดำ มีไส้หลอดที่ทำด้วยลวดโลหะที่มีจุดหลอมเหลวสู ง เช่น
ทังสเตนเส้นเล็กๆ ขดเอำไว้เหมือนขดลวดสปริ งภำยในหลอดแก้วสู บอำกำศออก
หมดแล้วบรรจุก๊ำซเฉื่ อย เช่น อำร์กอน (AR) ไว้ ก๊ำซนี้ช่วยป้ องกันไม่ให้หลอด
ไฟฟ้ ำดำ ลักษณะของหลอดไฟเป็ นดังรู ป

หลักการทางานของหลอดไฟฟาธรรมดา
                         ้
กระแสไฟฟ้ ำไหลผ่ำนไส้หลอดซึ่ งมีควำมต้ำนทำนสู ง พลังงำนไฟฟ้ ำจะเปลี่ยนเป็ น
พลังงำนควำมร้อน ทำให้ไส้หลอดร้อนจัดจนเปล่งแสงออกมำได้ กำรเปลี่ยน
พลังงำนเป็ นดังนี้
พลังงำนไฟฟ้ ำ >>>พลังงำนควำมร้อน >>>พลังงำนแสง
2. หลอดเรื่ องแสง หรื อ หลอดฟลูออเรสเซนต์ (fluorescent) เป็ นอุปกรณ์ที่เปลี่ยนพลังงำน
ไฟฟ้ ำเป็ นพลังงำนแสงสว่ำง ซึ่ งมีกำรประดิษฐ์ในปี ค.ศ. 1938 โดยมีรูปร่ ำงหลำยแบบ อำจ
ทำเป็ นหลอดตรง สั้น ยำว ขดเป็ นวงกลมหรื อครึ่ งวงกลม เป็ นต้น
ส่ วนประกอบของหลอดเรืองแสง
                                   ่
ตัวหลอดมีไส้โลหะทังสเตนติดอยูที่ปลำยทั้ง 2 ข้ำง ของหลอดแก้ว ซึ่ งผิวภำยในของหลอด
ฉำบด้วยสำรเรื่ องแสง อำกำศในหลอดแก้วถูกสู บออกจนหมดแล้วใส่ ไอปรอทไว้เล็กน้อย
ดังรู ป
อุปกรณ์ที่ใช้เพื่อให้หลอดเรื องแสงทำงำน
1. สตำร์ตเตอร์ (starter) ทำหน้ำที่เป็ นสวิตซ์อตโนมัติในขณะหลอด
                                              ั
เรื องแสง ยังไม่ติดและหยุดทำงำนเมื่อหลอดติดแล้ว
2. แบลลัสต์ (Ballast) ทำหน้ำที่เพิมควำมต่ำงศักย์ เพื่อให้หลอดไฟเรื อง
                                   ่
แสงติดในตอนแรกและทำหน้ำที่ ควบคุมกระแสไฟฟ้ ำที่ผำนหลอด ให้่
ลดลงเมื่อหลอดติดแล้ว
กำรใช้หลอดเรื องแสงต้องต่อวงจรเข้ำกับสตำร์ตเตอร์
และแบลลัสต์ แล้วจึงต่อเข้ำกับสำยไฟฟ้ ำในบ้ำน
หลักการทางานของหลอดเรืองแสง
เมื่อกระแสไฟฟ้ ำผ่ำนไส้หลอดจะทำให้ไส้หลอดร้อนขึ้น ควำมร้อนที่เกิดทำให้ปรอทที่บรรจุ
ไว้ในหลอดกลำยเป็ นไอมำกขึ้น เมื่อกระแสไฟฟ้ ำผ่ำนไอปรอทได้จะคำยพลังงำนไฟฟ้ ำให้
                                        ่
ไอปรอท ทำให้อะตอมของไอปรอทอยูในภำวะถูกกระตุน และอะตอมปรอทจะคำยพลังงำน
                                                        ้
ออกมำเพื่อลดระดับพลังงำนของตนในรู ปของรังสี อลตรำไวโอเลต เมื่อรังสี ดงกล่ำวกระทบ
                                                   ั                        ั
สำรเรื องแสงที่ฉำบไว้ที่ผิวในของหลอดเรื องแสงนั้นก็จะเปล่งแสงได้ โดยให้แสงสี ต่ำงๆ
ตำมชนิดของสำรเรื องแสงที่ฉำบไว้ภำยในหลอดนั้น เช่น แคดเมียมบอเรทจะให้แสงสี ชมพู
ซิ งค์ซิลิเคทให้แสงสี เขียว แมกนีเซี ยมทังสเตนให้แสงสี ขำวอมฟ้ ำ และยังอำจผสมสำรเหล่ำนี้
เพื่อให้ได้สีผสมที่แตกต่ำงออกไปอีกด้วย
ข้ อดีของหลอดเรืองแสง
1. มีประสิ ทธิ ภำพสู งกว่ำหลอดไฟฟ้ ำธรรมดำ เสี ยค่ำไฟฟ้ ำเท่ำกัน แต่ได้ไฟที่สว่ำงกว่ำ
2. ให้แสงที่เย็นตำ กระจำยไปทัวหลอด ไม่รวมเป็ นจุดเหมือนหลอดไฟฟ้ ำธรรมดำ
                               ่
3. อำจจัดสี ของแสงแปรเปลี่ยนได้ โดยกำรเปลี่ยนชนิดสำรเรื องแสง
4. อุณหภูมิของหลอดเรื องแสงไม่สูงเท่ำกับหลอดไฟธรรมดำขณะทำงำน
3. หลอดนีออน หรื อหลอดไฟโฆษณำ เป็ นอุปกรณ์ไฟฟ้ ำที่เปลี่ยนพลังงำนไฟฟ้ ำเป็ น
แสงสว่ำง มีลกษณะเป็ นหลอดแก้วที่ถกลนไฟ ดัดเป็ นรู ปหรื ออักษรต่ำงๆ สูบอำกำศ
                ั                     ู
ออกเป็ นสุ ญญำกำศ แล้วใส่ ก๊ำซบำงชนิ ดที่ให้แสงสี ตำงๆ ออกมำได้ เมื่อมีกระแสไฟฟ้ ำ
                                                     ่
                                                                  ่
ผ่ำนหลอดชนิดนี้ไม่มีไส้หลอดไฟ แต่ใช้ข้ วไฟฟ้ ำทำด้วยโลหะติดอยูที่ปลำย
                                            ั
ทั้ง 2 ข้ำง แล้วต่อกับแหล่งกำเนิดไฟฟ้ ำที่มีควำมต่ำงศักย์สูงประมำณ 10,000 โวลต์ ซึ่ งมี
                                 ๊
ควำมต่ำงศักย์ที่สูงมำก จะทำให้กำซที่บรรจุไว้ในหลอดเกิดกำรแตกตัวเป็ นนีออนและ
นำไฟฟ้ ำได้เมื่อกระแสไฟฟ้ ำผ่ำนก๊ำซเหล่ำนี้จะทำให้ก๊ำซร้อนติดไฟให้แสงสี ต่ำงๆ ได้
ตัวอย่ำงก๊ำซชนิ ดต่ำงๆ ที่บรรจุในหลอดโฆษณำ
- ก๊ำซนีออน ให้แสงสี แดง
- ก๊ำซฮีเลียม ให้แสงสี ชมพู
- ก๊ำซอำร์ กอน ให้แสงสี ขำวอมน้ ำเงิน และถ้ำใช้ก๊ำซต่ำงๆ ผสมกันก็จะได้สีต่ำงๆ
ออกไป
ข้ อแนะนำกำรใช้ หลอดไฟอย่ ำงประหยัด


1. ใช้หลอดเรื องแสงจะให้แสงสว่ำงมำกกว่ำหลอดธรรมดำประมำณ 4 เท่ำ เมื่อใช้พลังงำน
ไฟฟ้ ำเท่ำกัน และอำยุกำรใช้งำนจะทนกว่ำประมำณ 8 เท่ำ
2.ใช้แสงสว่ำงให้เหมำะกับกำรใช้งำนที่ใดต้องกำรแสงสว่ำงไม่มำกนักควรติดไฟน้อยดวง
3. ทำควำมสะอำดโป๊ ะไฟ จะให้แสงสว่ำงเต็มที่
4. ปิ ดไฟทุกครั้งที่ไม่จำเป็ นต้องใช้
พัดลมไฟฟา
            ้


    พัดลมไฟฟ้ ำเป็ นผลิตภัณฑ์อำนวยควำมสะดวกชนิ ดหนึ่ง ที่ช่วยบรรเทำควำมร้อน
จำกสภำพภูมิอำกำศ พัด ไฟฟ้ ำในปั จจุบนมีหลำยชนิ ดคือ ชนิดตั้งโต๊ะ ตั้งพื้น ติดผนัง
                                    ั
แขวนเพดำนและส่ ำยรอบตัว
พัดลมไฟฟ้ ามาตรฐาน
                     ่                                              ั ้
พัดลมไฟฟ้ ำซึ่ งมีอยูมำกมำยในท้องตลำด อำจจะทำควำมลำบำกให้กบผูซ้ื อ เพรำะไม่รู้วำจะ ่
เลือกซื้ อยีหอไหนดี สิ่ งที่จะช่วยท่ำนได้ คือกำรสังเกตเครื่ องหมำยมำตรฐำนที่แสดงบน
            ่ ้
                                      ่
ผลิตภัณฑ์ เพรำะเป็ นพัดลมไฟฟ้ ำที่ผำนกำรรับรองคุณภำพจำกสำนักงำนมำตรฐำน
ผลิตภัณฑ์อุตสำหกรรม ซึ่ งมีขอดีหลำยประกำร คือ
                                 ้
1. มีระบบกำรป้ องกันไฟฟ้ ำช็อกที่ไว้ใจได้
2. มีกำรป้ องกันกำรสัมผัสโดยตรงกับส่ วนที่มีกระแสไฟฟ้ ำอย่ำงไว้ใจได้
3. พัดลมไม่ไหม้เสี ยหำยจำกอุณหภูมิที่เพิ่มขึ้น เพรำะจะไม่สูงเกินค่ำที่กำหนดไว้
4. กระแสไฟฟ้ ำรั่วได้ไม่เกิน 0.5 มิลลิแอมแปร์ ทำให้ไม่มีอนตรำยแก่ผใช้
                                                              ั       ู้
ตู้เย็น เป็ นเครื่ องใช้ ไฟฟาที่ทาความเย็นโดยประกอบด้ วยสองส่วนหลัก ๆ คือ ส่วน
                              ้
ฉนวนปองกันความร้ อน (ปองกันไม่ให้ ความร้ อนไหลเข้ ามา) และ ส่วนทาความเย็น
          ้                     ้
(ปั๊ มที่นาความร้ อนออกไปสูภายนอกซึงมีอณหภูมิต่ากว่า) คนส่วนใหญ่ใช้ ต้ เู ย็น
                                  ่       ่ ุ
เก็บอาหาร เพื่อปองกันการเน่าเสีย เนื่องจากแบคทีเรี ยเติบโตช้ ากว่าในอุณหภูมิต่า
                    ้
ตู้เย็นมีหลายประเภทตังแต่แบบที่มอณหภูมิสงกว่าจุดเยือกแข็ง (ช่องธรรมดา)
                            ้         ี ุ     ู
แบบที่อณหภูมิต่ากว่าจุดเยือกแข็งเล็กน้ อย (ช่องแช่แข็ง, ช่องฟรี ซ) ก่อนที่จะมี
            ุ
ตู้เย็นประเทศในเขตหนาวใช้ กล่องน ้าแข็ง (icebox) ในการรักษาอาหาร
คาแนะนาวิธีใช้ ไฟฟาอย่ างประหยัด
                  ้
                                             ่
         ควรปิ ดไฟทุกครั้งเมื่อไม่มีคนอยูในห้อง
         - เลือกใช้หลอดไฟที่มีกำลังวัตต์เหมำะสมกับ
             กำรใช้งำน
         - สำหรับบริ เวณที่ตองกำรควำมสว่ำงมำก
                                ้
            ภำยในอำคำรควรเลือกใช้หลอดฟลูออเรสเซนต์
            ส่ วนภำยนอกอำคำรควรเลือกใช้หลอดไอโซเดียม
            และหลอดไอปรอท
         - ควรใช้ฝำครอบดวงโคมแบบใสหำกไม่มีปัญหำ
            เรื่ องแสงจ้ำ และหมันทำควำมสะอำดอยูเ่ สมอ
                                    ่
         - พิจำรณำใช้โคมไฟตั้งโต๊ะสำหรับงำนที่ตองกำร
                                                  ้
            แสงสว่ำงจุดเดียว
            ทีวี วิทยุ
         - ปิ ดเครื่ องทุกครั้งเมื่อไม่ได้ดู
         - ควรถอดปลักเมื่อไม่ใช้เป็ นเวลำนำน
                          ๊
ควรเลือกใช้โคมไฟแบบสะท้อนแสงแทนแบบเดิมที่ใช้พลำสติกปิ ด
ควรใช้หลอดฟลูออเรสเซนต์หรื อหลอดคอมแพคฟลูออเรสเซนต์ แทนหลอดไส้ ซึ่งมี
คำแนะนำในกำรใช้ดงนี้  ั
- หลอดฟลูออเรสเซนต์แบบผอม ขนำด 18 วัตต์ และ 36 วัตต์ มีควำมสว่ำงเท่ำกับ หลอด
20 วัตต์ และ 40 วัตต์ แต่ประหยัดไฟกว่ำ และสำมำรถใช้แทนกันได้ โดยไม่ตองเปลี่ยน
                                                                    ้
บัลลำสต์และสตำร์ทเตอร์
- หลอดคอมแพคฟลูออเรสเซนต์มี 2 ชนิด คือ ชนิดมีบลลำสต์ภำยในสำมำรภใช้แทน
                                                 ั
หลอดกลมแบบเกลียวได้ ส่ วนหลอดที่มีบลลำสต์ภำยนอก จะมีขำเสี ยบเพือต่อกับตัวบัล
                                        ั                        ่
           ่
ลำสต์ที่อยูภำยนอก
เตำรี ด
     เป็ นเครื่ องใช้ไฟฟ้ ำประเภทให้ควำมร้อน ซึ่งในกำรรี ดแต่ละครั้งจะกินไฟมำก ดังนั้นจึงควรรู้จด
                                                                                                ั
วิธีใช้อย่ำงประหยัดและปลอดภัย
                               ่        ่
- ก่อนอื่นควรตรวจสอบดูวำเตำรี ดอยูในสภำพพร้อม
  ที่จะใช้งำนหรื อไม่ เช่น สำย ตัวเครื่ อง เป็ นต้น
- ตั้งปุ่ มปรับควำมร้อนให้เหมำะสมกับชนิดของผ้ำ
- อย่ำพรมน้ ำจนเปี ยกแฉะ
- ดึงเต้ำเสี ยบออกก่อนจะรี ดเสร็จประมำณ 2-3 นำที แล้วรี ดต่อไปจนเสร็ จ
- ควรพรมน้ ำพอสมควร                            เตำรี ด
- ถอดปลักออกเมื่อไม่ได้ใช้
            ๊
- ควรรี ดผ้ำครำวละมำกๆ ติดต่อกันจนเสร็จ
- ควรเริ่ มรี ดผ้ำบำง ๆ ก่อน ขณะเตำรี ดยังไม่ร้อน
- ควรดึงปลักออกก่อนรี ดเสร็จเพรำะยังร้อนอีกนำน
                 ๊
- ควรซักและตำกผ้ำโดยไม่ตองบิด จะทำให้รีดง่ำยขึ้น
                                 ้
พัดลม
- เปิ ดควำมเร็วลมพอควร
- เปิ ดเฉพำะเวลำใช้งำน
- ควรเปิ ดหน้ำต่ำงใช้ลมธรรมชำติแทนถ้ำทำได้
เครื่ องเป่ าผม
- เช็ดผมก่อนใช้เครื่ อง
- ควรขยี้และสำงผมไปด้วยขณะเป่ ำ
เครื่ องดูดฝุ่ น
- ควรเอาฝุ่ นในถุงทิ ้งทุกครังที่ใช้ แล้ วจะได้ มีแรงดูดดี ไม่เปลืองไฟ
                             ้
ตูเ้ ย็น ตูแช่
           ้
- ตั้งอุณหภูมิพอสมควร
- นำของที่ไม่ร้อนใส่ ตเู้ ย็น
- ปิ ดประตูตเู้ ย็นทันทีเมื่อนำของใส่ หรื อออก
- ปิ ดประตูตเู้ ย็นให้สนิท
- หำกยำงขอบประตูรั่วให้รีบแก้ไข
- เลือกตูเ้ ย็นหรื อตูแช่ชนิดมีประสิ ทธิภำพสูง
                        ้
- ควรใช้ตเู้ ย็นขนำดเหมำะกับครอบครัว
- ควรตั้งตูเ้ ย็นให้ห่ำงจำกแหล่งควำมร้อน ให้หลังตูห่ำงจำกฝำ
                                                    ้
เกิน 15 ซ.ม. เพื่อระบำยควำมร้อนได้สะดวก ไม่เปลื่องไฟฟ้ ำ
- ควรหมันทำควำมสะอำดแผงระบำยควำมร้อน
            ่
- ควรเก็บเฉพำะอำหำรเท่ำที่จำเป็ น
- กำรเลือกซื้ อตูเ้ ย็น, ตูแช่ มีคำแนะนำให้ท่ำนพิจำรณำก่อนซื้อดังนี้
                           ้
- เลือกขนำดให้พอเหมำะกับควำมต้องกำรของครอบครัว
- ตูเ้ ย็นแบบประตูเดียวกินไฟน้อยกว่ำแบบ 2 ประตู
- ควรวำงตูเ้ ย็นให้อำกำศถ่ำยเทได้สะดวก
- ตั้งสวิตช์ควบคุมอุณหภูมิให้เหมำะกับจำนวนของที่ใส่
- อย่ำเปิ ดตูเ้ ย็นทิ้งไว้นำน ๆ และอย่ำนำของร้อนมำแช่
- หมันละลำยน้ ำแข็งเมื่อเห็นว่ำน้ ำแข็งเกำหนำมำก
     ่
หม้ อหุงข้ าวไฟฟา
                ้
หำกใช้อย่ำงถูกต้องสำมำรถประหยัดพลังงำนไฟฟ้ ำได้มำก ซึ่ งมีขอแนะนำดังนี้
                                                              ้
                       ั
- ควรหุงข้ำวให้พอดีกบจำนวนผูรับประทำน
                                  ้
- ควรดังเต้ำเสี ยบออกเมื่อข้ำวสุ กแล้ว
- ใช้ขนำดที่เหมำะสมกับจำนวนสมำชิกในครอบครัว
               ๊                         ั                       ั
- ควรดึงปลักออกเมื่อข้ำวสุ กพอแล้ว ปัจจุบนหม้อหุงข้ำวไฟฟ้ ำมีใช้กนมาก
                 ้
- อย่ำทำให้กนหม้อตัวในเกิดรอยบุบ จะทำให้ขำวสุ กช้ำ
                                           ้
- หมันตรวจบริ เวณแท่นควำมร้อนในหม้อ อย่ำให้เม็ดข้ำวเกำะติด จะทำให้ข่ำวสุ กช้ำและเปลืองไฟหม้ อต้ มน ้า
      ่
หม้ อต้ มกาแฟ
- ใส่ น้ ำให้มีปริ มำณพอควร
- ควรปิ ดฝำให้สนิทขณะต้ม
- ควรปิ ดสวิตช์ทนทีเมื่อน้ ำเดือด
                    ั
เครื่ องสูบน ้า
- ควรติดตั้งอุปกรณ์อตโนมัติควบคุมระดับน้ ำในถัง
                         ั
- และหมันปรับตั้งให้ถูกต้องเสมอ
             ่
- ติดตั้งท่อน้ ำให้มีขนำดเหมำะสมกับขนำดปั้ม
- ควรตรวจแก้ไขจุดรั่วในระบบน้ ำ
- ควรใช้น้ ำอย่ำงประหยัด
- ควรติดตั้งถังเก็บน้ ำในตำแหน่งที่ไม่สูงเกินไป
เครื่ องสูบน้ ำเป็ นอุปกรณ์ไฟฟ้ ำที่อำนวยควำมสะดวกอย่ำงยิงซึ่งใช้มอเตอร์ไฟฟ้ ำในกำรสูบน้ ำไปยังถังเก็บหรื อ
                                                         ่
เพื่อนำไปใช้ประโยชน์ซ่ ึงมีวธีกำรใช้อย่ำงประหยัดดังนี้
                              ิ
- ควรติดตั้งอุปกรณ์อตโนมัติควบคุมระดับน้ ำในถังเก็บ และดูแลรักษำ
                           ั
ให้ทำงำนได้อยูเ่ สมอ
- ตรวจสอบรอยรั่วตำมข้อต่อต่ำง ๆ หำกพบควรรับซ่อมแซมแก้ไขโดยเร็ ว
- หำกตัวถังเก็บน้ ำไม่มีอุปกรณ์อตโนมัติควบคุมระดับน้ ำ ควรดูแล
                                      ั
อย่ำให้น้ ำล้นถัง
- เครื่ องสูบน้ ำแบบใช้สำยพำนต้องตรวจสอบไม่ให้หย่อนหรื อตึงเกินไป
เครื่ องซักผ้ำ
- ควรใส่ ผำแต่พอเหมำะ ไม่นอยเกินไป และไม่มำกจนเกิน
          ้               ้
มอเตอร์ไฟฟ้ ำ
- ควรตรวจสอบแก้ไข และอัดจำรบีตำมวำระ
- ปรับปรุ งสำยพำนมอเตอร์ เช่น ปรับควำมตึง
เตำอบ เตำไฟฟ้ ำ
เครื่ องใช้ไฟฟ้ ำประเภทนี้ ใช้ควำมร้อนมำทำให้อำหำรสุ กหำกให้ควำมร้อนสูญเสี ยไปโดยกำรใช้ไม่ถูกวิธี ทำ
ให้อำหำรสุ กช้ำลง กินกระแสไฟเพิ่มขึ้นจึงมีขอแนะนำกำรใช้เครื่ องใช้ไฟฟ้ ำประเภทนี้อย่ำงประหยัดคือ
                                               ้
- ควรเตรี ยมเครื่ องปรุ งในกำรประกอบอำหำรให้พร้อมก่อนใช้เตำ
- ควรใช้ภำชนะก้นแบนและเป็ นโลหะจะทำให้รับควำมร้อน
จำกเตำได้ดี
                                          ั
- ในกำรหุนต้มอำหำรควรใส่ น้ ำให้พอดีกบจำนวนอำหำร
            ้
- ในระหว่ำงอบอำหำรอย่ำเปิ ดตูอบบ่อย ๆ
                                 ้
- ถอดเต้ำเสี ยบทันทีเมื่อปรุ งอำหำรเสร็จเรี ยบร้อย
- ควรหรี่ ไฟและปิ ดฝำหม้อในกรณี ที่ตองเคี่ยว
                                      ้
- ควรเตรี ยมเครื่ องปรุ งให้พร้อมก่อนใช้เตำ
- ควรใช้เตำชนิดมองไม่เห็นขดลวดซึ่งไม่เสี ยควำมร้อน
สูญเปล่ำมำก และปลอดภัยกว่ำ
                                 ้
- ควรใช้พำหนะก้นแบนขนำดพื้นที่กนเหมำะกับพื้นที่หน้ำเตำ
                                                              ั                          ่
และใช้พำหนะที่มีเนื้อโลหะรับควำมร้อนได้ดี หำกเป็ นไปได้ให้ใช้กบเตำไฟฟ้ ำซึ่งมีขำยทัวไปอยูแล้ว
                                                                                   ่
- ควรปิ ดฝำภำชนะให้สนิทขณะตั้งเตำ
เครื่ องทาน ้าอุน
               ่
วิธีกำรใช้เครื่ องทำน้ ำอุ่นให้ประหยัดและปลอดภัย
- ปรับปุ่ มควำมร้อนให้เหมำะสมกับร่ ำงกำย
- ปิ ดวำล์วทันทีเมื่ครื่องขนำดพอสมควร
              - ใช้ เอไม่ใช้งำน
- หำกมีรอยรั-่วควรรี บงควำมร้ อนไม่ ให้ รที นเกินควำมจำเป็ น
                 ปรั บปรุ
                          ทำกำรแก้ไขทัน ้ อ
- ต่อสำยลงดิ-นปิ ดก๊ อกทุกครังใเมื่อไม่ ใช้ งำนงทำน้ ำอุ่น
                 ในจุดที่จดไว้้ ห้ของเครื่ อ
                            ั
              - ในฤดูร้อนไม่ จำเป็ นต้ องใช้ นำร้ อน หรือนำอุ่น
                                                ้          ้
- ปิ ดสวิชต์ไฟฟ้ ำของเครื่ องทำน้ ำอุ่นเมื่อไม่ใช้
              - ควรใช้ นำอุ่นที่ได้ ควำมร้ อนจำกแสงอำทิตย์
                          ้
- ปฏิบติตำมคำแนะนำที่แนบมำกับเครื่ อง
        ั
- ใช้เครื่ องขนำดพอสมควร
- ปรับปรุ งควำมร้อนไม่ให้ร้อนเกินควำมจำเป็ น
- ปิ ดก๊อกทุกครั้งเมื่อไม่ใช้งำน
- ในฤดูร้อนไม่จำเป็ นต้องใช้น้ ำร้อน หรื อน้ ำอุ่น
- ควรใช้น้ ำอุ่นที่ได้ควำมร้อนจำกแสงอำทิตย์
เครื่ องปรับอากาศ
กำรใช้เครื่ องปรับอำกำศให้มีควำมเย็นที่สบำยต่อร่ ำงกำย จะประหยัดค่ำไฟฟ้ ำอย่ำงได้ผล ซึ่ งควรปฏิบติดงนี้
                                                                                                ั ั
- ปิ ดเครื่ องทุกครั้งเมื่อไม่อยู่
- ปิ ดประตูหน้ำต่ำงและผ้ำม่ำนกันควำมร้อนจำกภำยนอก
- ตั้งอุณหภูมิไม่ควรต่ำกว่ำ 26 องศำเซลเซียส
- ควรใช้เครื่ องขนำดเหมำะสมกับขนำดห้อง
- ควรเลือกเครื่ องปรับอำกำศที่มีประสิ ทธิภำพสูง
- ควรติดตั้งเครื่ องระดับสูงพอเหมำะ และให้อำกำศร้อนระบำยออกด้ำนหลังเครื่ องได้สะดวก
- ควรบุผนังห้อง และหลังคำด้วยฉนวนกันควำมร้อน
- ควรบำรุ งรักษำเครื่ องให้มีสภำพดีตลอดเวลำ
- ควรหมันทำควำมสะอำดแผ่นกรองอำกำศ
             ่
และแผงระบำยควำมร้อน
- ในฤดูหนำวขณะที่อำกำศไม่ร้อนมำกเกินไป ไม่ควรเปิ ด
เครื่ องปรับอำกำศ
- ปิ ดประตู หน้ำต่ำงให้มิดชิดไม่ให้ควำมเย็นรั่วไหล
- พิจำรณำติดตั้งบังแสงหรื อกันแดด เพื่อลดภำระกำรทำงำนของเครื่ อง
- ควรเลือกใช้ขนำดที่เหมำะสมกับขนำดของห้อง
- ควรใช้ผำม่ำนกั้นประตูหน้ำต่ำง เพื่อป้ องกันควำมร้อนจำกภำยนอก
             ้
- ตั้งปุ่ มปรับอุณหภูมิให้เหมำะสมต่อร่ ำงกำย(ประมำณ 26 องศำเซลเซียส)
- หมันทำควำมสะอำดแผ่นกรองอำกำศ
      ่
- ปฏิบติตำมคำแนะนำที่แนบมำกับเครื่ องปรับอำกำศ
          ั
                   กำรใช้ กำรตรวจสอบ และกำรดูแลอุปกรณ์เครื่ องใช้ไฟฟ้ ำ
                    สำยไฟ
                       -สำยไฟฟ้ ำเก่ำหรื อหมดอำยุใช้งำน สังเกตได้จำกฉนวนจะแตกหรื อแห้งกรอบบวม
- ฉนวนสำยไฟชำรุ ด อำจเกิดจำกหนูหรื อแมลงกัดแทะหรื อวำงของหนักทับ เดินสำยไฟใกล้แหล่งควำมร้อน
ถูกของมีคมบำด
- จุดต่อสำยไฟต้องให้แน่น หน้ำสัมผัสให้ดี พันฉนวนให้เรี ยบร้อย
- ขนำดของสำยไฟฟ้ ำ ใช้ขนำดของสำยให้เหมำะสมกับปริ มำณกระแสที่ไหลในสำย หรื อให้เหมำะสมกับ
เครื่ องใช้ไฟฟ้ ำในวงจรนั้น
- สำยไฟฟ้ ำต้องไม่เดินอยูใกล้แหล่งควำมร้อน สำรเคมี หรื อถูกของหนักทับ เพรำะทำให้ฉนวนชำรุ ดได้ง่ำย
                          ่
และเกิดกระแสไฟฟ้ ำลัดวงจรขึ้นได้
- สำยไฟฟ้ ำต้องไม่พำดบนโครงเหล็ก รั้วเหล็ก รำวเหล็ก หรื อส่ วนที่เป็ นโลหะต้องเดินสำยไฟฟ้ ำโดยใช้พก ุ
ประกับ หรื อร้อยท่อให้เรี ยบร้อย เพื่อป้ องกันกระแสไฟฟ้ ำรั่วลงบนโครงโลหะ ซึ่ งจะเกิดอันตรำยขึ้นได้
เต้ ารับ-เต้ าเสียบ
             -   เต้ำรับ เต้ำเสี ยบ ต้องไม่แตกร้ำว และไม่มีรอยไหม้
             -   กำรต่อสำยที่เต้ำรับและเต้ำเสี ยบ ต้องให้แน่น และใช้ขนำดสำยให้ถูกต้อง
             -   เต้ำเสี ยบ เมื่อเสี ยบใช้งำนกับเต้ำรับต้องแน่น
             -   เต้ำรับ ต้องติดตั้งในที่แห้ง ไม่เปี ยกชื้นหรื อมีน้ ำท่วม และควรติดให้พนมือเด็กเล็กที่อำจ
                                                                                        ้
เล่นถึงได้

                 แผงสวิตช์ไฟฟา
                             ้
                 - ต้องติดตั้งในที่แห้งไม่เปี ยกชื้นและสู งพอควร ห่ำงไกลจำกสำรเคมีและสำรไวไฟต่ำง ๆ
                                  ่                          ่
                 - ตรวจสอบดูวำมี มด แมลงเข้ำไปทำรังอยูหรื อไม่ หำกพบว่ำมี ให้ดำเนินกำรกำจัด
                 - อย่ำวำงสิ่ งกีดขวำงบริ เวณแผงสวิตช์
                                                          ่
                 - ควรมีผงวงจรไฟฟ้ ำโดยสังเขปติดอยูที่แผงสวิตช์ เพื่อให้ทรำบว่ำแต่ละวงจรจ่ำยไฟไปที่
                          ั
ใด
                 - แผงสวิตช์ที่เป็ นตูโลหะควรทำกำรต่อสำยลงดิน
                                      ้
สวิตช์ตดตอนชนิดคัดเอาท์
         ั
 - ตัวคัทเอำท์และฝำครอบต้องไม่แตก
 - ใส่ ฟิวส์ให้ถกขนำดและมีฝำครอบปิ ดให้มิดชิด
                ู
 - ห้ำมใช้วสดุอ่ืนใส่ แทนฟิ วส์
             ั
 - ขั้วต่อสำยที่คทเอำท์ตองแน่นและใช้ขนำดสำยให้ถูกต้อง
                  ั     ้
 - ใบมีดของตัทเอำท์เมื่อสับใช้งำนต้องแน่น

เบรกเกอร์
-   ตรวจสอบฝำครอบเบรคเกอร์ตองไม่แตกร้ำว
                                     ้
-   ต้องมีฝำครอบปิ ดเบรคเกอร์ให้มิดชิด
-   ต้องติดตั้งในที่แห้งไม่เปี ยกชื่นและห่ำงไกลจำกสำรเคมีสำรไวไฟต่ำง ๆ
-   เลือกเบรคเกอร์ที่มีขนำดเหมำะสมกับอุปกรณ์เครื่ องใช้ไฟฟ้ ำ
1 หน่วย คือ อะไร

วัตต์หรื อแรงเทียนคือพลังไฟฟ้ ำหรื อกำลังไฟฟ้ ำ อุปกรณ์ไฟฟ้ ำที่มีวตต์มำกก็กินไฟมำกกว่ำ
                                                                   ั
ที่มีวตต์นอย (ในเวลำเท่ำกัน)
       ั ้
1 กิโลวัตต์ คือ 1,000 วัตต์
1 หน่วย หรื อ 1 ยูนิต หรื อ 1 กิโลวัตต์-ชัวโมง คือพลังงำนไฟฟ้ ำของอุปกรณ์ไฟฟ้ ำ
                                          ่
ขนำด 1,000 วัตต์ เปิ ดนำน 1 ชัวโมง
                                 ่
ตัวอย่ำง : หลอดไฟหลอดละ 100 วัตต์ จำนวน 10 หลอด
รวม 100 x 10 = 1,000 วัตต์
ถ้ำเปิ ดนำน 2 ชัวโมง ทั้ง 10 หลอด จะเปลืองไฟฟ้ ำ
                ่
รวม = 1,000 วัตต์ x 2 ชัวโมง = 2,000 วัตต์-ชัวโมง
                         ่                    ่
หรื อ = 2 กิโลวัตต์-ชัวโมง หรื อ = 2 หน่วย หรื อ 2 ยูนิต
                      ่
เครื่ องใช้ ของท่านกินไฟประมาณกี่วตต์
                                                                     ั
-   พัดลมตั้งพื้น                                                         45-75       วัตต์
-   พัดลมเพดำน                                                            70-104      วัตต์
-   หม้อหุงข้ำวไฟฟ้ ำ                                                     500-1,000   วัตต์
-   ตูเ้ ย็น 2-12 คิว (ลบ.ฟุต)                                            53-194       วัตต์
-   เครื่ องปรับอำกำศ                                                    680-3,300      วัตต์
-   เครื่ องดูดฝุ่ น                                                     625-1,000      วัตต์
-   เตำรี ดไฟฟ้ ำ                                                         430-1,600     วัตต์
-   เครื่ องทำน้ ำร้อนในห้องน้ ำ                                          900-4,800     วัตต์
-   เครื่ องปิ้ งขนมปัง                                                  600-1,000      วัตต์
-   เครื่ องเป่ ำผม                                                      300-1,300      วัตต์
-   เครื่ องซักผ้ำ                                                       250-2,000      วัตต์
-   เครื่ องซักผ้ำแบบมีเครื่ องอบผ้ำ หรื อ เครื่ องตั้งอุณหภูมิของน้ ำ   250-2,000      วัตต์
-   เตำไฟฟ้ ำ (เดี่ยว)                                                   300-1,500      วัตต์
-   โทรทัศน์ ขำว-ดำ                                                      24-30           วัตต์
-   โทรทัศน์สี                                                           43-95          วัตต์
-   วีดีโอ                                                               30-50          วัตต์
-   เครื่ องอบผ้ำแห้ง                                                    650-2,500      วัตต์

More Related Content

What's hot

เครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าเครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าUp To You's Toey
 
ประเภทของเครื่องใช้ไฟฟ้า
ประเภทของเครื่องใช้ไฟฟ้าประเภทของเครื่องใช้ไฟฟ้า
ประเภทของเครื่องใช้ไฟฟ้าPanatsaya
 
เครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้าน.Pdf
เครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้าน.Pdfเครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้าน.Pdf
เครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้าน.Pdf0841766393
 
งานวิทย์ 1
งานวิทย์ 1งานวิทย์ 1
งานวิทย์ 1thanawan302
 
เครื่องใช้ไฟฟ้า3
เครื่องใช้ไฟฟ้า3เครื่องใช้ไฟฟ้า3
เครื่องใช้ไฟฟ้า3SUPAPIT3033
 
หลักการเครื่องใช่ไฟฟ้า
หลักการเครื่องใช่ไฟฟ้าหลักการเครื่องใช่ไฟฟ้า
หลักการเครื่องใช่ไฟฟ้าChanukid Chaisri
 
งานเครื่องใช้ไฟฟ้า
งานเครื่องใช้ไฟฟ้างานเครื่องใช้ไฟฟ้า
งานเครื่องใช้ไฟฟ้าSarun Boonwong
 
งานเครื่องไฟฟ้า ม.302 กลุ่ม 8
งานเครื่องไฟฟ้า ม.302 กลุ่ม 8งานเครื่องไฟฟ้า ม.302 กลุ่ม 8
งานเครื่องไฟฟ้า ม.302 กลุ่ม 8lacknaja1
 
สำเร็จ
สำเร็จสำเร็จ
สำเร็จPanatsaya
 
งานนำเสนอ123
งานนำเสนอ123งานนำเสนอ123
งานนำเสนอ123Chanukid Chaisri
 
งานวิทยาศาสตร์เครื่องใช้ไฟฟ้า
งานวิทยาศาสตร์เครื่องใช้ไฟฟ้างานวิทยาศาสตร์เครื่องใช้ไฟฟ้า
งานวิทยาศาสตร์เครื่องใช้ไฟฟ้าJirachaya_chumwong
 
เครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าเครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าSarun Boonwong
 
เครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าเครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าPanupong Rongpan
 
งานวิทยาศาสตร์
งานวิทยาศาสตร์งานวิทยาศาสตร์
งานวิทยาศาสตร์sugareyes
 
งานกลุ่ม 6 ม. 3/3
งานกลุ่ม 6 ม. 3/3งานกลุ่ม 6 ม. 3/3
งานกลุ่ม 6 ม. 3/3orohimaro
 

What's hot (16)

เครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าเครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้า
 
เครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าเครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้า
 
ประเภทของเครื่องใช้ไฟฟ้า
ประเภทของเครื่องใช้ไฟฟ้าประเภทของเครื่องใช้ไฟฟ้า
ประเภทของเครื่องใช้ไฟฟ้า
 
เครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้าน.Pdf
เครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้าน.Pdfเครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้าน.Pdf
เครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้าน.Pdf
 
งานวิทย์ 1
งานวิทย์ 1งานวิทย์ 1
งานวิทย์ 1
 
เครื่องใช้ไฟฟ้า3
เครื่องใช้ไฟฟ้า3เครื่องใช้ไฟฟ้า3
เครื่องใช้ไฟฟ้า3
 
หลักการเครื่องใช่ไฟฟ้า
หลักการเครื่องใช่ไฟฟ้าหลักการเครื่องใช่ไฟฟ้า
หลักการเครื่องใช่ไฟฟ้า
 
งานเครื่องใช้ไฟฟ้า
งานเครื่องใช้ไฟฟ้างานเครื่องใช้ไฟฟ้า
งานเครื่องใช้ไฟฟ้า
 
งานเครื่องไฟฟ้า ม.302 กลุ่ม 8
งานเครื่องไฟฟ้า ม.302 กลุ่ม 8งานเครื่องไฟฟ้า ม.302 กลุ่ม 8
งานเครื่องไฟฟ้า ม.302 กลุ่ม 8
 
สำเร็จ
สำเร็จสำเร็จ
สำเร็จ
 
งานนำเสนอ123
งานนำเสนอ123งานนำเสนอ123
งานนำเสนอ123
 
งานวิทยาศาสตร์เครื่องใช้ไฟฟ้า
งานวิทยาศาสตร์เครื่องใช้ไฟฟ้างานวิทยาศาสตร์เครื่องใช้ไฟฟ้า
งานวิทยาศาสตร์เครื่องใช้ไฟฟ้า
 
เครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าเครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้า
 
เครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าเครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้า
 
งานวิทยาศาสตร์
งานวิทยาศาสตร์งานวิทยาศาสตร์
งานวิทยาศาสตร์
 
งานกลุ่ม 6 ม. 3/3
งานกลุ่ม 6 ม. 3/3งานกลุ่ม 6 ม. 3/3
งานกลุ่ม 6 ม. 3/3
 

Similar to Sideshare เรื่องการใช้ไฟฟ้า

ประเภทของเครื่องใช้ไฟฟ้า
ประเภทของเครื่องใช้ไฟฟ้าประเภทของเครื่องใช้ไฟฟ้า
ประเภทของเครื่องใช้ไฟฟ้าkritsana08724
 
เครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าเครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าteerawat2012
 
กลุ่ม 7 ม.303
กลุ่ม 7 ม.303กลุ่ม 7 ม.303
กลุ่ม 7 ม.303Atjimayall
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1Karnchana Duangta
 
เครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าเครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าchutikhan_pb
 
เรื่อง เครื่องใช้ไฟฟ้าเส็จแล้ว
เรื่อง เครื่องใช้ไฟฟ้าเส็จแล้วเรื่อง เครื่องใช้ไฟฟ้าเส็จแล้ว
เรื่อง เครื่องใช้ไฟฟ้าเส็จแล้วjaturong20155
 
เรื่อง เครื่องใช้ไฟฟ้าเส็จแล้ว
เรื่อง เครื่องใช้ไฟฟ้าเส็จแล้วเรื่อง เครื่องใช้ไฟฟ้าเส็จแล้ว
เรื่อง เครื่องใช้ไฟฟ้าเส็จแล้วjaturong2012
 
เครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าเครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าSiwush Pormchai
 
เครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าเครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าSiwush Pormchai
 
ไฟฟ้ากลุ..
 ไฟฟ้ากลุ.. ไฟฟ้ากลุ..
ไฟฟ้ากลุ..
Powergift_vip
 
ไฟฟ้ากลุ..
 ไฟฟ้ากลุ.. ไฟฟ้ากลุ..
ไฟฟ้ากลุ..Powergift_vip
 
ไฟฟ้ากลุ..
 ไฟฟ้ากลุ.. ไฟฟ้ากลุ..
ไฟฟ้ากลุ..Powergift_vip
 
เครื่องใชเไฟฟ้า302
เครื่องใชเไฟฟ้า302เครื่องใชเไฟฟ้า302
เครื่องใชเไฟฟ้า302chindekthai01
 
เครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าเครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าtwosoraya25
 

Similar to Sideshare เรื่องการใช้ไฟฟ้า (20)

วิทย์1
วิทย์1วิทย์1
วิทย์1
 
ประเภทของเครื่องใช้ไฟฟ้า
ประเภทของเครื่องใช้ไฟฟ้าประเภทของเครื่องใช้ไฟฟ้า
ประเภทของเครื่องใช้ไฟฟ้า
 
เครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าเครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้า
 
กลุ่ม 7 ม.303
กลุ่ม 7 ม.303กลุ่ม 7 ม.303
กลุ่ม 7 ม.303
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
เครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าเครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้า
 
เรื่อง เครื่องใช้ไฟฟ้าเส็จแล้ว
เรื่อง เครื่องใช้ไฟฟ้าเส็จแล้วเรื่อง เครื่องใช้ไฟฟ้าเส็จแล้ว
เรื่อง เครื่องใช้ไฟฟ้าเส็จแล้ว
 
เรื่อง เครื่องใช้ไฟฟ้าเส็จแล้ว
เรื่อง เครื่องใช้ไฟฟ้าเส็จแล้วเรื่อง เครื่องใช้ไฟฟ้าเส็จแล้ว
เรื่อง เครื่องใช้ไฟฟ้าเส็จแล้ว
 
เรื่อง เครื่องใช้ไฟฟ้าเส็จแล้ว
เรื่อง เครื่องใช้ไฟฟ้าเส็จแล้วเรื่อง เครื่องใช้ไฟฟ้าเส็จแล้ว
เรื่อง เครื่องใช้ไฟฟ้าเส็จแล้ว
 
Presentation1
Presentation1Presentation1
Presentation1
 
เครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าเครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้า
 
เครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าเครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้า
 
ไฟฟ้ากลุ..
 ไฟฟ้ากลุ.. ไฟฟ้ากลุ..
ไฟฟ้ากลุ..
 
ไฟฟ้ากลุ..
 ไฟฟ้ากลุ.. ไฟฟ้ากลุ..
ไฟฟ้ากลุ..
 
ไฟฟ้ากลุ..
 ไฟฟ้ากลุ.. ไฟฟ้ากลุ..
ไฟฟ้ากลุ..
 
เครื่องใชเไฟฟ้า302
เครื่องใชเไฟฟ้า302เครื่องใชเไฟฟ้า302
เครื่องใชเไฟฟ้า302
 
ไฟฟ้า 303
ไฟฟ้า 303ไฟฟ้า 303
ไฟฟ้า 303
 
เครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าเครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้า
 
G8injv'.=hwaahk
G8injv'.=hwaahkG8injv'.=hwaahk
G8injv'.=hwaahk
 
G8injv'.=hwaahk
G8injv'.=hwaahkG8injv'.=hwaahk
G8injv'.=hwaahk
 

Sideshare เรื่องการใช้ไฟฟ้า

  • 2. จัดทำโดย เด็กหญิง วิมลรัตน์ วรรกำร เลขที่ 37 เด็กหญิง ศิรินพร เต็มใจ เลขที่ 38 เด็กหญิง สมัชญำ ค้ำสม เลขที่ 39 เด็กหญิง สุ ดำรัตน์ อินโต เลขที่ 40
  • 3. คำนำ รายงานเล่มนี ้เป็ นส่วนหนึงของวิชา วิทยาศาสตร์ จัดทาขึ ้นเพื่อประกอบการศึกษา ่ วิชา วิทยาศาสตร์ วิชานี ้ที่ต้องการให้ ผ้ เู รี ยนได้ เรี ยนรู้ เกี่ยวกับเครื่ องใช้ ไฟฟาในบ้ าน ้ เพื่อให้ ผ้ อานได้ รับข้ อมูลอย่างถูกต้ อง และหวังเป็ นอย่างยิ่งว่ารายงานเล่มนี ้จะเป็ น ู่ ประโยชน์ตอผู้อานไม่มากก็น้อย ่ ่ ถ้ าหากผิดพลาดประการใดก็ขออภัยมา ณ ที่นี ้ด้ วย คณะผู้จดทา ั
  • 4. เครื่องใช้ ไฟฟ้ า เครื่องใช้ ไฟฟ้ า คือ อุปกรณ์ที่เปลี่ยนพลังงำนไฟฟ้ ำเป็ นพลังงำนรู ปอื่น เพื่อนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน ได้แก่ 1. เครื่ องใช้ไฟฟ้ ำที่ให้แสงสว่ำง 2. เครื่ องใช้ไฟฟ้ ำที่ให้ควำมร้อน 3. เครื่ องใช้ไฟฟ้ ำที่ให้พลังงำนกล 4. เครื่ องใช้ไฟฟ้ ำที่ให้พลังงำนเสี ยง
  • 5. ประเภทของหลอดไฟ 1. หลอดไฟฟ้ ำธรรมดำ มีไส้หลอดที่ทำด้วยลวดโลหะที่มีจุดหลอมเหลวสู ง เช่น ทังสเตนเส้นเล็กๆ ขดเอำไว้เหมือนขดลวดสปริ งภำยในหลอดแก้วสู บอำกำศออก หมดแล้วบรรจุก๊ำซเฉื่ อย เช่น อำร์กอน (AR) ไว้ ก๊ำซนี้ช่วยป้ องกันไม่ให้หลอด ไฟฟ้ ำดำ ลักษณะของหลอดไฟเป็ นดังรู ป หลักการทางานของหลอดไฟฟาธรรมดา ้ กระแสไฟฟ้ ำไหลผ่ำนไส้หลอดซึ่ งมีควำมต้ำนทำนสู ง พลังงำนไฟฟ้ ำจะเปลี่ยนเป็ น พลังงำนควำมร้อน ทำให้ไส้หลอดร้อนจัดจนเปล่งแสงออกมำได้ กำรเปลี่ยน พลังงำนเป็ นดังนี้ พลังงำนไฟฟ้ ำ >>>พลังงำนควำมร้อน >>>พลังงำนแสง
  • 6. 2. หลอดเรื่ องแสง หรื อ หลอดฟลูออเรสเซนต์ (fluorescent) เป็ นอุปกรณ์ที่เปลี่ยนพลังงำน ไฟฟ้ ำเป็ นพลังงำนแสงสว่ำง ซึ่ งมีกำรประดิษฐ์ในปี ค.ศ. 1938 โดยมีรูปร่ ำงหลำยแบบ อำจ ทำเป็ นหลอดตรง สั้น ยำว ขดเป็ นวงกลมหรื อครึ่ งวงกลม เป็ นต้น ส่ วนประกอบของหลอดเรืองแสง ่ ตัวหลอดมีไส้โลหะทังสเตนติดอยูที่ปลำยทั้ง 2 ข้ำง ของหลอดแก้ว ซึ่ งผิวภำยในของหลอด ฉำบด้วยสำรเรื่ องแสง อำกำศในหลอดแก้วถูกสู บออกจนหมดแล้วใส่ ไอปรอทไว้เล็กน้อย ดังรู ป
  • 7. อุปกรณ์ที่ใช้เพื่อให้หลอดเรื องแสงทำงำน 1. สตำร์ตเตอร์ (starter) ทำหน้ำที่เป็ นสวิตซ์อตโนมัติในขณะหลอด ั เรื องแสง ยังไม่ติดและหยุดทำงำนเมื่อหลอดติดแล้ว 2. แบลลัสต์ (Ballast) ทำหน้ำที่เพิมควำมต่ำงศักย์ เพื่อให้หลอดไฟเรื อง ่ แสงติดในตอนแรกและทำหน้ำที่ ควบคุมกระแสไฟฟ้ ำที่ผำนหลอด ให้่ ลดลงเมื่อหลอดติดแล้ว
  • 9. หลักการทางานของหลอดเรืองแสง เมื่อกระแสไฟฟ้ ำผ่ำนไส้หลอดจะทำให้ไส้หลอดร้อนขึ้น ควำมร้อนที่เกิดทำให้ปรอทที่บรรจุ ไว้ในหลอดกลำยเป็ นไอมำกขึ้น เมื่อกระแสไฟฟ้ ำผ่ำนไอปรอทได้จะคำยพลังงำนไฟฟ้ ำให้ ่ ไอปรอท ทำให้อะตอมของไอปรอทอยูในภำวะถูกกระตุน และอะตอมปรอทจะคำยพลังงำน ้ ออกมำเพื่อลดระดับพลังงำนของตนในรู ปของรังสี อลตรำไวโอเลต เมื่อรังสี ดงกล่ำวกระทบ ั ั สำรเรื องแสงที่ฉำบไว้ที่ผิวในของหลอดเรื องแสงนั้นก็จะเปล่งแสงได้ โดยให้แสงสี ต่ำงๆ ตำมชนิดของสำรเรื องแสงที่ฉำบไว้ภำยในหลอดนั้น เช่น แคดเมียมบอเรทจะให้แสงสี ชมพู ซิ งค์ซิลิเคทให้แสงสี เขียว แมกนีเซี ยมทังสเตนให้แสงสี ขำวอมฟ้ ำ และยังอำจผสมสำรเหล่ำนี้ เพื่อให้ได้สีผสมที่แตกต่ำงออกไปอีกด้วย ข้ อดีของหลอดเรืองแสง 1. มีประสิ ทธิ ภำพสู งกว่ำหลอดไฟฟ้ ำธรรมดำ เสี ยค่ำไฟฟ้ ำเท่ำกัน แต่ได้ไฟที่สว่ำงกว่ำ 2. ให้แสงที่เย็นตำ กระจำยไปทัวหลอด ไม่รวมเป็ นจุดเหมือนหลอดไฟฟ้ ำธรรมดำ ่ 3. อำจจัดสี ของแสงแปรเปลี่ยนได้ โดยกำรเปลี่ยนชนิดสำรเรื องแสง 4. อุณหภูมิของหลอดเรื องแสงไม่สูงเท่ำกับหลอดไฟธรรมดำขณะทำงำน
  • 10. 3. หลอดนีออน หรื อหลอดไฟโฆษณำ เป็ นอุปกรณ์ไฟฟ้ ำที่เปลี่ยนพลังงำนไฟฟ้ ำเป็ น แสงสว่ำง มีลกษณะเป็ นหลอดแก้วที่ถกลนไฟ ดัดเป็ นรู ปหรื ออักษรต่ำงๆ สูบอำกำศ ั ู ออกเป็ นสุ ญญำกำศ แล้วใส่ ก๊ำซบำงชนิ ดที่ให้แสงสี ตำงๆ ออกมำได้ เมื่อมีกระแสไฟฟ้ ำ ่ ่ ผ่ำนหลอดชนิดนี้ไม่มีไส้หลอดไฟ แต่ใช้ข้ วไฟฟ้ ำทำด้วยโลหะติดอยูที่ปลำย ั ทั้ง 2 ข้ำง แล้วต่อกับแหล่งกำเนิดไฟฟ้ ำที่มีควำมต่ำงศักย์สูงประมำณ 10,000 โวลต์ ซึ่ งมี ๊ ควำมต่ำงศักย์ที่สูงมำก จะทำให้กำซที่บรรจุไว้ในหลอดเกิดกำรแตกตัวเป็ นนีออนและ นำไฟฟ้ ำได้เมื่อกระแสไฟฟ้ ำผ่ำนก๊ำซเหล่ำนี้จะทำให้ก๊ำซร้อนติดไฟให้แสงสี ต่ำงๆ ได้ ตัวอย่ำงก๊ำซชนิ ดต่ำงๆ ที่บรรจุในหลอดโฆษณำ - ก๊ำซนีออน ให้แสงสี แดง - ก๊ำซฮีเลียม ให้แสงสี ชมพู - ก๊ำซอำร์ กอน ให้แสงสี ขำวอมน้ ำเงิน และถ้ำใช้ก๊ำซต่ำงๆ ผสมกันก็จะได้สีต่ำงๆ ออกไป
  • 11. ข้ อแนะนำกำรใช้ หลอดไฟอย่ ำงประหยัด 1. ใช้หลอดเรื องแสงจะให้แสงสว่ำงมำกกว่ำหลอดธรรมดำประมำณ 4 เท่ำ เมื่อใช้พลังงำน ไฟฟ้ ำเท่ำกัน และอำยุกำรใช้งำนจะทนกว่ำประมำณ 8 เท่ำ 2.ใช้แสงสว่ำงให้เหมำะกับกำรใช้งำนที่ใดต้องกำรแสงสว่ำงไม่มำกนักควรติดไฟน้อยดวง 3. ทำควำมสะอำดโป๊ ะไฟ จะให้แสงสว่ำงเต็มที่ 4. ปิ ดไฟทุกครั้งที่ไม่จำเป็ นต้องใช้
  • 12. พัดลมไฟฟา ้ พัดลมไฟฟ้ ำเป็ นผลิตภัณฑ์อำนวยควำมสะดวกชนิ ดหนึ่ง ที่ช่วยบรรเทำควำมร้อน จำกสภำพภูมิอำกำศ พัด ไฟฟ้ ำในปั จจุบนมีหลำยชนิ ดคือ ชนิดตั้งโต๊ะ ตั้งพื้น ติดผนัง ั แขวนเพดำนและส่ ำยรอบตัว
  • 13. พัดลมไฟฟ้ ามาตรฐาน ่ ั ้ พัดลมไฟฟ้ ำซึ่ งมีอยูมำกมำยในท้องตลำด อำจจะทำควำมลำบำกให้กบผูซ้ื อ เพรำะไม่รู้วำจะ ่ เลือกซื้ อยีหอไหนดี สิ่ งที่จะช่วยท่ำนได้ คือกำรสังเกตเครื่ องหมำยมำตรฐำนที่แสดงบน ่ ้ ่ ผลิตภัณฑ์ เพรำะเป็ นพัดลมไฟฟ้ ำที่ผำนกำรรับรองคุณภำพจำกสำนักงำนมำตรฐำน ผลิตภัณฑ์อุตสำหกรรม ซึ่ งมีขอดีหลำยประกำร คือ ้ 1. มีระบบกำรป้ องกันไฟฟ้ ำช็อกที่ไว้ใจได้ 2. มีกำรป้ องกันกำรสัมผัสโดยตรงกับส่ วนที่มีกระแสไฟฟ้ ำอย่ำงไว้ใจได้ 3. พัดลมไม่ไหม้เสี ยหำยจำกอุณหภูมิที่เพิ่มขึ้น เพรำะจะไม่สูงเกินค่ำที่กำหนดไว้ 4. กระแสไฟฟ้ ำรั่วได้ไม่เกิน 0.5 มิลลิแอมแปร์ ทำให้ไม่มีอนตรำยแก่ผใช้ ั ู้
  • 14. ตู้เย็น เป็ นเครื่ องใช้ ไฟฟาที่ทาความเย็นโดยประกอบด้ วยสองส่วนหลัก ๆ คือ ส่วน ้ ฉนวนปองกันความร้ อน (ปองกันไม่ให้ ความร้ อนไหลเข้ ามา) และ ส่วนทาความเย็น ้ ้ (ปั๊ มที่นาความร้ อนออกไปสูภายนอกซึงมีอณหภูมิต่ากว่า) คนส่วนใหญ่ใช้ ต้ เู ย็น ่ ่ ุ เก็บอาหาร เพื่อปองกันการเน่าเสีย เนื่องจากแบคทีเรี ยเติบโตช้ ากว่าในอุณหภูมิต่า ้ ตู้เย็นมีหลายประเภทตังแต่แบบที่มอณหภูมิสงกว่าจุดเยือกแข็ง (ช่องธรรมดา) ้ ี ุ ู แบบที่อณหภูมิต่ากว่าจุดเยือกแข็งเล็กน้ อย (ช่องแช่แข็ง, ช่องฟรี ซ) ก่อนที่จะมี ุ ตู้เย็นประเทศในเขตหนาวใช้ กล่องน ้าแข็ง (icebox) ในการรักษาอาหาร
  • 15. คาแนะนาวิธีใช้ ไฟฟาอย่ างประหยัด ้ ่ ควรปิ ดไฟทุกครั้งเมื่อไม่มีคนอยูในห้อง - เลือกใช้หลอดไฟที่มีกำลังวัตต์เหมำะสมกับ กำรใช้งำน - สำหรับบริ เวณที่ตองกำรควำมสว่ำงมำก ้ ภำยในอำคำรควรเลือกใช้หลอดฟลูออเรสเซนต์ ส่ วนภำยนอกอำคำรควรเลือกใช้หลอดไอโซเดียม และหลอดไอปรอท - ควรใช้ฝำครอบดวงโคมแบบใสหำกไม่มีปัญหำ เรื่ องแสงจ้ำ และหมันทำควำมสะอำดอยูเ่ สมอ ่ - พิจำรณำใช้โคมไฟตั้งโต๊ะสำหรับงำนที่ตองกำร ้ แสงสว่ำงจุดเดียว ทีวี วิทยุ - ปิ ดเครื่ องทุกครั้งเมื่อไม่ได้ดู - ควรถอดปลักเมื่อไม่ใช้เป็ นเวลำนำน ๊
  • 16. ควรเลือกใช้โคมไฟแบบสะท้อนแสงแทนแบบเดิมที่ใช้พลำสติกปิ ด ควรใช้หลอดฟลูออเรสเซนต์หรื อหลอดคอมแพคฟลูออเรสเซนต์ แทนหลอดไส้ ซึ่งมี คำแนะนำในกำรใช้ดงนี้ ั - หลอดฟลูออเรสเซนต์แบบผอม ขนำด 18 วัตต์ และ 36 วัตต์ มีควำมสว่ำงเท่ำกับ หลอด 20 วัตต์ และ 40 วัตต์ แต่ประหยัดไฟกว่ำ และสำมำรถใช้แทนกันได้ โดยไม่ตองเปลี่ยน ้ บัลลำสต์และสตำร์ทเตอร์ - หลอดคอมแพคฟลูออเรสเซนต์มี 2 ชนิด คือ ชนิดมีบลลำสต์ภำยในสำมำรภใช้แทน ั หลอดกลมแบบเกลียวได้ ส่ วนหลอดที่มีบลลำสต์ภำยนอก จะมีขำเสี ยบเพือต่อกับตัวบัล ั ่ ่ ลำสต์ที่อยูภำยนอก
  • 17. เตำรี ด เป็ นเครื่ องใช้ไฟฟ้ ำประเภทให้ควำมร้อน ซึ่งในกำรรี ดแต่ละครั้งจะกินไฟมำก ดังนั้นจึงควรรู้จด ั วิธีใช้อย่ำงประหยัดและปลอดภัย ่ ่ - ก่อนอื่นควรตรวจสอบดูวำเตำรี ดอยูในสภำพพร้อม ที่จะใช้งำนหรื อไม่ เช่น สำย ตัวเครื่ อง เป็ นต้น - ตั้งปุ่ มปรับควำมร้อนให้เหมำะสมกับชนิดของผ้ำ - อย่ำพรมน้ ำจนเปี ยกแฉะ - ดึงเต้ำเสี ยบออกก่อนจะรี ดเสร็จประมำณ 2-3 นำที แล้วรี ดต่อไปจนเสร็ จ - ควรพรมน้ ำพอสมควร เตำรี ด - ถอดปลักออกเมื่อไม่ได้ใช้ ๊ - ควรรี ดผ้ำครำวละมำกๆ ติดต่อกันจนเสร็จ - ควรเริ่ มรี ดผ้ำบำง ๆ ก่อน ขณะเตำรี ดยังไม่ร้อน - ควรดึงปลักออกก่อนรี ดเสร็จเพรำะยังร้อนอีกนำน ๊ - ควรซักและตำกผ้ำโดยไม่ตองบิด จะทำให้รีดง่ำยขึ้น ้
  • 18. พัดลม - เปิ ดควำมเร็วลมพอควร - เปิ ดเฉพำะเวลำใช้งำน - ควรเปิ ดหน้ำต่ำงใช้ลมธรรมชำติแทนถ้ำทำได้ เครื่ องเป่ าผม - เช็ดผมก่อนใช้เครื่ อง - ควรขยี้และสำงผมไปด้วยขณะเป่ ำ เครื่ องดูดฝุ่ น - ควรเอาฝุ่ นในถุงทิ ้งทุกครังที่ใช้ แล้ วจะได้ มีแรงดูดดี ไม่เปลืองไฟ ้
  • 19. ตูเ้ ย็น ตูแช่ ้ - ตั้งอุณหภูมิพอสมควร - นำของที่ไม่ร้อนใส่ ตเู้ ย็น - ปิ ดประตูตเู้ ย็นทันทีเมื่อนำของใส่ หรื อออก - ปิ ดประตูตเู้ ย็นให้สนิท - หำกยำงขอบประตูรั่วให้รีบแก้ไข - เลือกตูเ้ ย็นหรื อตูแช่ชนิดมีประสิ ทธิภำพสูง ้ - ควรใช้ตเู้ ย็นขนำดเหมำะกับครอบครัว - ควรตั้งตูเ้ ย็นให้ห่ำงจำกแหล่งควำมร้อน ให้หลังตูห่ำงจำกฝำ ้ เกิน 15 ซ.ม. เพื่อระบำยควำมร้อนได้สะดวก ไม่เปลื่องไฟฟ้ ำ - ควรหมันทำควำมสะอำดแผงระบำยควำมร้อน ่ - ควรเก็บเฉพำะอำหำรเท่ำที่จำเป็ น - กำรเลือกซื้ อตูเ้ ย็น, ตูแช่ มีคำแนะนำให้ท่ำนพิจำรณำก่อนซื้อดังนี้ ้ - เลือกขนำดให้พอเหมำะกับควำมต้องกำรของครอบครัว - ตูเ้ ย็นแบบประตูเดียวกินไฟน้อยกว่ำแบบ 2 ประตู - ควรวำงตูเ้ ย็นให้อำกำศถ่ำยเทได้สะดวก - ตั้งสวิตช์ควบคุมอุณหภูมิให้เหมำะกับจำนวนของที่ใส่ - อย่ำเปิ ดตูเ้ ย็นทิ้งไว้นำน ๆ และอย่ำนำของร้อนมำแช่
  • 20. - หมันละลำยน้ ำแข็งเมื่อเห็นว่ำน้ ำแข็งเกำหนำมำก ่ หม้ อหุงข้ าวไฟฟา ้ หำกใช้อย่ำงถูกต้องสำมำรถประหยัดพลังงำนไฟฟ้ ำได้มำก ซึ่ งมีขอแนะนำดังนี้ ้ ั - ควรหุงข้ำวให้พอดีกบจำนวนผูรับประทำน ้ - ควรดังเต้ำเสี ยบออกเมื่อข้ำวสุ กแล้ว - ใช้ขนำดที่เหมำะสมกับจำนวนสมำชิกในครอบครัว ๊ ั ั - ควรดึงปลักออกเมื่อข้ำวสุ กพอแล้ว ปัจจุบนหม้อหุงข้ำวไฟฟ้ ำมีใช้กนมาก ้ - อย่ำทำให้กนหม้อตัวในเกิดรอยบุบ จะทำให้ขำวสุ กช้ำ ้ - หมันตรวจบริ เวณแท่นควำมร้อนในหม้อ อย่ำให้เม็ดข้ำวเกำะติด จะทำให้ข่ำวสุ กช้ำและเปลืองไฟหม้ อต้ มน ้า ่ หม้ อต้ มกาแฟ - ใส่ น้ ำให้มีปริ มำณพอควร - ควรปิ ดฝำให้สนิทขณะต้ม - ควรปิ ดสวิตช์ทนทีเมื่อน้ ำเดือด ั
  • 21. เครื่ องสูบน ้า - ควรติดตั้งอุปกรณ์อตโนมัติควบคุมระดับน้ ำในถัง ั - และหมันปรับตั้งให้ถูกต้องเสมอ ่ - ติดตั้งท่อน้ ำให้มีขนำดเหมำะสมกับขนำดปั้ม - ควรตรวจแก้ไขจุดรั่วในระบบน้ ำ - ควรใช้น้ ำอย่ำงประหยัด - ควรติดตั้งถังเก็บน้ ำในตำแหน่งที่ไม่สูงเกินไป เครื่ องสูบน้ ำเป็ นอุปกรณ์ไฟฟ้ ำที่อำนวยควำมสะดวกอย่ำงยิงซึ่งใช้มอเตอร์ไฟฟ้ ำในกำรสูบน้ ำไปยังถังเก็บหรื อ ่ เพื่อนำไปใช้ประโยชน์ซ่ ึงมีวธีกำรใช้อย่ำงประหยัดดังนี้ ิ - ควรติดตั้งอุปกรณ์อตโนมัติควบคุมระดับน้ ำในถังเก็บ และดูแลรักษำ ั ให้ทำงำนได้อยูเ่ สมอ - ตรวจสอบรอยรั่วตำมข้อต่อต่ำง ๆ หำกพบควรรับซ่อมแซมแก้ไขโดยเร็ ว - หำกตัวถังเก็บน้ ำไม่มีอุปกรณ์อตโนมัติควบคุมระดับน้ ำ ควรดูแล ั อย่ำให้น้ ำล้นถัง - เครื่ องสูบน้ ำแบบใช้สำยพำนต้องตรวจสอบไม่ให้หย่อนหรื อตึงเกินไป
  • 22. เครื่ องซักผ้ำ - ควรใส่ ผำแต่พอเหมำะ ไม่นอยเกินไป และไม่มำกจนเกิน ้ ้ มอเตอร์ไฟฟ้ ำ - ควรตรวจสอบแก้ไข และอัดจำรบีตำมวำระ - ปรับปรุ งสำยพำนมอเตอร์ เช่น ปรับควำมตึง เตำอบ เตำไฟฟ้ ำ เครื่ องใช้ไฟฟ้ ำประเภทนี้ ใช้ควำมร้อนมำทำให้อำหำรสุ กหำกให้ควำมร้อนสูญเสี ยไปโดยกำรใช้ไม่ถูกวิธี ทำ ให้อำหำรสุ กช้ำลง กินกระแสไฟเพิ่มขึ้นจึงมีขอแนะนำกำรใช้เครื่ องใช้ไฟฟ้ ำประเภทนี้อย่ำงประหยัดคือ ้ - ควรเตรี ยมเครื่ องปรุ งในกำรประกอบอำหำรให้พร้อมก่อนใช้เตำ - ควรใช้ภำชนะก้นแบนและเป็ นโลหะจะทำให้รับควำมร้อน จำกเตำได้ดี ั - ในกำรหุนต้มอำหำรควรใส่ น้ ำให้พอดีกบจำนวนอำหำร ้ - ในระหว่ำงอบอำหำรอย่ำเปิ ดตูอบบ่อย ๆ ้ - ถอดเต้ำเสี ยบทันทีเมื่อปรุ งอำหำรเสร็จเรี ยบร้อย - ควรหรี่ ไฟและปิ ดฝำหม้อในกรณี ที่ตองเคี่ยว ้ - ควรเตรี ยมเครื่ องปรุ งให้พร้อมก่อนใช้เตำ
  • 23. - ควรใช้เตำชนิดมองไม่เห็นขดลวดซึ่งไม่เสี ยควำมร้อน สูญเปล่ำมำก และปลอดภัยกว่ำ ้ - ควรใช้พำหนะก้นแบนขนำดพื้นที่กนเหมำะกับพื้นที่หน้ำเตำ ั ่ และใช้พำหนะที่มีเนื้อโลหะรับควำมร้อนได้ดี หำกเป็ นไปได้ให้ใช้กบเตำไฟฟ้ ำซึ่งมีขำยทัวไปอยูแล้ว ่ - ควรปิ ดฝำภำชนะให้สนิทขณะตั้งเตำ เครื่ องทาน ้าอุน ่ วิธีกำรใช้เครื่ องทำน้ ำอุ่นให้ประหยัดและปลอดภัย - ปรับปุ่ มควำมร้อนให้เหมำะสมกับร่ ำงกำย - ปิ ดวำล์วทันทีเมื่ครื่องขนำดพอสมควร - ใช้ เอไม่ใช้งำน - หำกมีรอยรั-่วควรรี บงควำมร้ อนไม่ ให้ รที นเกินควำมจำเป็ น ปรั บปรุ ทำกำรแก้ไขทัน ้ อ - ต่อสำยลงดิ-นปิ ดก๊ อกทุกครังใเมื่อไม่ ใช้ งำนงทำน้ ำอุ่น ในจุดที่จดไว้้ ห้ของเครื่ อ ั - ในฤดูร้อนไม่ จำเป็ นต้ องใช้ นำร้ อน หรือนำอุ่น ้ ้ - ปิ ดสวิชต์ไฟฟ้ ำของเครื่ องทำน้ ำอุ่นเมื่อไม่ใช้ - ควรใช้ นำอุ่นที่ได้ ควำมร้ อนจำกแสงอำทิตย์ ้ - ปฏิบติตำมคำแนะนำที่แนบมำกับเครื่ อง ั - ใช้เครื่ องขนำดพอสมควร - ปรับปรุ งควำมร้อนไม่ให้ร้อนเกินควำมจำเป็ น - ปิ ดก๊อกทุกครั้งเมื่อไม่ใช้งำน - ในฤดูร้อนไม่จำเป็ นต้องใช้น้ ำร้อน หรื อน้ ำอุ่น - ควรใช้น้ ำอุ่นที่ได้ควำมร้อนจำกแสงอำทิตย์
  • 24. เครื่ องปรับอากาศ กำรใช้เครื่ องปรับอำกำศให้มีควำมเย็นที่สบำยต่อร่ ำงกำย จะประหยัดค่ำไฟฟ้ ำอย่ำงได้ผล ซึ่ งควรปฏิบติดงนี้ ั ั - ปิ ดเครื่ องทุกครั้งเมื่อไม่อยู่ - ปิ ดประตูหน้ำต่ำงและผ้ำม่ำนกันควำมร้อนจำกภำยนอก - ตั้งอุณหภูมิไม่ควรต่ำกว่ำ 26 องศำเซลเซียส - ควรใช้เครื่ องขนำดเหมำะสมกับขนำดห้อง - ควรเลือกเครื่ องปรับอำกำศที่มีประสิ ทธิภำพสูง - ควรติดตั้งเครื่ องระดับสูงพอเหมำะ และให้อำกำศร้อนระบำยออกด้ำนหลังเครื่ องได้สะดวก - ควรบุผนังห้อง และหลังคำด้วยฉนวนกันควำมร้อน - ควรบำรุ งรักษำเครื่ องให้มีสภำพดีตลอดเวลำ - ควรหมันทำควำมสะอำดแผ่นกรองอำกำศ ่ และแผงระบำยควำมร้อน - ในฤดูหนำวขณะที่อำกำศไม่ร้อนมำกเกินไป ไม่ควรเปิ ด เครื่ องปรับอำกำศ - ปิ ดประตู หน้ำต่ำงให้มิดชิดไม่ให้ควำมเย็นรั่วไหล - พิจำรณำติดตั้งบังแสงหรื อกันแดด เพื่อลดภำระกำรทำงำนของเครื่ อง - ควรเลือกใช้ขนำดที่เหมำะสมกับขนำดของห้อง
  • 25. - ควรใช้ผำม่ำนกั้นประตูหน้ำต่ำง เพื่อป้ องกันควำมร้อนจำกภำยนอก ้ - ตั้งปุ่ มปรับอุณหภูมิให้เหมำะสมต่อร่ ำงกำย(ประมำณ 26 องศำเซลเซียส) - หมันทำควำมสะอำดแผ่นกรองอำกำศ ่ - ปฏิบติตำมคำแนะนำที่แนบมำกับเครื่ องปรับอำกำศ ั กำรใช้ กำรตรวจสอบ และกำรดูแลอุปกรณ์เครื่ องใช้ไฟฟ้ ำ สำยไฟ -สำยไฟฟ้ ำเก่ำหรื อหมดอำยุใช้งำน สังเกตได้จำกฉนวนจะแตกหรื อแห้งกรอบบวม - ฉนวนสำยไฟชำรุ ด อำจเกิดจำกหนูหรื อแมลงกัดแทะหรื อวำงของหนักทับ เดินสำยไฟใกล้แหล่งควำมร้อน ถูกของมีคมบำด - จุดต่อสำยไฟต้องให้แน่น หน้ำสัมผัสให้ดี พันฉนวนให้เรี ยบร้อย - ขนำดของสำยไฟฟ้ ำ ใช้ขนำดของสำยให้เหมำะสมกับปริ มำณกระแสที่ไหลในสำย หรื อให้เหมำะสมกับ เครื่ องใช้ไฟฟ้ ำในวงจรนั้น - สำยไฟฟ้ ำต้องไม่เดินอยูใกล้แหล่งควำมร้อน สำรเคมี หรื อถูกของหนักทับ เพรำะทำให้ฉนวนชำรุ ดได้ง่ำย ่ และเกิดกระแสไฟฟ้ ำลัดวงจรขึ้นได้ - สำยไฟฟ้ ำต้องไม่พำดบนโครงเหล็ก รั้วเหล็ก รำวเหล็ก หรื อส่ วนที่เป็ นโลหะต้องเดินสำยไฟฟ้ ำโดยใช้พก ุ ประกับ หรื อร้อยท่อให้เรี ยบร้อย เพื่อป้ องกันกระแสไฟฟ้ ำรั่วลงบนโครงโลหะ ซึ่ งจะเกิดอันตรำยขึ้นได้
  • 26. เต้ ารับ-เต้ าเสียบ - เต้ำรับ เต้ำเสี ยบ ต้องไม่แตกร้ำว และไม่มีรอยไหม้ - กำรต่อสำยที่เต้ำรับและเต้ำเสี ยบ ต้องให้แน่น และใช้ขนำดสำยให้ถูกต้อง - เต้ำเสี ยบ เมื่อเสี ยบใช้งำนกับเต้ำรับต้องแน่น - เต้ำรับ ต้องติดตั้งในที่แห้ง ไม่เปี ยกชื้นหรื อมีน้ ำท่วม และควรติดให้พนมือเด็กเล็กที่อำจ ้ เล่นถึงได้ แผงสวิตช์ไฟฟา ้ - ต้องติดตั้งในที่แห้งไม่เปี ยกชื้นและสู งพอควร ห่ำงไกลจำกสำรเคมีและสำรไวไฟต่ำง ๆ ่ ่ - ตรวจสอบดูวำมี มด แมลงเข้ำไปทำรังอยูหรื อไม่ หำกพบว่ำมี ให้ดำเนินกำรกำจัด - อย่ำวำงสิ่ งกีดขวำงบริ เวณแผงสวิตช์ ่ - ควรมีผงวงจรไฟฟ้ ำโดยสังเขปติดอยูที่แผงสวิตช์ เพื่อให้ทรำบว่ำแต่ละวงจรจ่ำยไฟไปที่ ั ใด - แผงสวิตช์ที่เป็ นตูโลหะควรทำกำรต่อสำยลงดิน ้
  • 27. สวิตช์ตดตอนชนิดคัดเอาท์ ั - ตัวคัทเอำท์และฝำครอบต้องไม่แตก - ใส่ ฟิวส์ให้ถกขนำดและมีฝำครอบปิ ดให้มิดชิด ู - ห้ำมใช้วสดุอ่ืนใส่ แทนฟิ วส์ ั - ขั้วต่อสำยที่คทเอำท์ตองแน่นและใช้ขนำดสำยให้ถูกต้อง ั ้ - ใบมีดของตัทเอำท์เมื่อสับใช้งำนต้องแน่น เบรกเกอร์ - ตรวจสอบฝำครอบเบรคเกอร์ตองไม่แตกร้ำว ้ - ต้องมีฝำครอบปิ ดเบรคเกอร์ให้มิดชิด - ต้องติดตั้งในที่แห้งไม่เปี ยกชื่นและห่ำงไกลจำกสำรเคมีสำรไวไฟต่ำง ๆ - เลือกเบรคเกอร์ที่มีขนำดเหมำะสมกับอุปกรณ์เครื่ องใช้ไฟฟ้ ำ
  • 28. 1 หน่วย คือ อะไร วัตต์หรื อแรงเทียนคือพลังไฟฟ้ ำหรื อกำลังไฟฟ้ ำ อุปกรณ์ไฟฟ้ ำที่มีวตต์มำกก็กินไฟมำกกว่ำ ั ที่มีวตต์นอย (ในเวลำเท่ำกัน) ั ้ 1 กิโลวัตต์ คือ 1,000 วัตต์ 1 หน่วย หรื อ 1 ยูนิต หรื อ 1 กิโลวัตต์-ชัวโมง คือพลังงำนไฟฟ้ ำของอุปกรณ์ไฟฟ้ ำ ่ ขนำด 1,000 วัตต์ เปิ ดนำน 1 ชัวโมง ่ ตัวอย่ำง : หลอดไฟหลอดละ 100 วัตต์ จำนวน 10 หลอด รวม 100 x 10 = 1,000 วัตต์ ถ้ำเปิ ดนำน 2 ชัวโมง ทั้ง 10 หลอด จะเปลืองไฟฟ้ ำ ่ รวม = 1,000 วัตต์ x 2 ชัวโมง = 2,000 วัตต์-ชัวโมง ่ ่ หรื อ = 2 กิโลวัตต์-ชัวโมง หรื อ = 2 หน่วย หรื อ 2 ยูนิต ่
  • 29. เครื่ องใช้ ของท่านกินไฟประมาณกี่วตต์ ั - พัดลมตั้งพื้น 45-75 วัตต์ - พัดลมเพดำน 70-104 วัตต์ - หม้อหุงข้ำวไฟฟ้ ำ 500-1,000 วัตต์ - ตูเ้ ย็น 2-12 คิว (ลบ.ฟุต) 53-194 วัตต์ - เครื่ องปรับอำกำศ 680-3,300 วัตต์ - เครื่ องดูดฝุ่ น 625-1,000 วัตต์ - เตำรี ดไฟฟ้ ำ 430-1,600 วัตต์ - เครื่ องทำน้ ำร้อนในห้องน้ ำ 900-4,800 วัตต์ - เครื่ องปิ้ งขนมปัง 600-1,000 วัตต์ - เครื่ องเป่ ำผม 300-1,300 วัตต์ - เครื่ องซักผ้ำ 250-2,000 วัตต์ - เครื่ องซักผ้ำแบบมีเครื่ องอบผ้ำ หรื อ เครื่ องตั้งอุณหภูมิของน้ ำ 250-2,000 วัตต์ - เตำไฟฟ้ ำ (เดี่ยว) 300-1,500 วัตต์ - โทรทัศน์ ขำว-ดำ 24-30 วัตต์ - โทรทัศน์สี 43-95 วัตต์ - วีดีโอ 30-50 วัตต์ - เครื่ องอบผ้ำแห้ง 650-2,500 วัตต์