SlideShare a Scribd company logo
1 of 27
Download to read offline
1. นาย เกริกฤทธิ์ ชัยวร        เลขที่ 1     ชัน ม.3/2  ้
2. นาย กฤษดากรณ์ สายปน     ิ    เลขที่ 2   ชัน ม.3/2 ้
3. นาย เจษฎากร เมืองช ุม       เลขที่ 3    ชัน ม.3/2
                                                 ้
4. นาย จาต ุรงค์ พระวิฑ ูรย์   เลขที่ 4    ชัน ม.3/2
                                             ้
5. นาย จิราย ุทธ จันสม         เลขที่ 5    ชัน ม.3/2
                                               ้
6. เด็กหญิง วิช ุดา ดวงแก้ว    เลขที่ 36   ชัน ม.3/2
                                                   ้
เครืองใช้ไฟฟา คือ อุปกรณ์ที่เปลี่ยนพลังงานไฟฟาเป็ นพลังงานรูป
    ่            ้                             ้
   อื่น เพื่อนาไปใช้ในชีวิตประจาวัน ได้แก่
1. เครื่องใช้ไฟฟาที่ให้แสงสว่าง
                   ้
2. เครื่องใช้ไฟฟาที่ให้ความร้อน
                       ้
3. เครื่องใช้ไฟฟาที่ให้พลังงานกล
                         ้
4. เครื่องใช้ไฟฟาที่ให้พลังงานเสียง
                     ้
นอกจากนียงมีเครื่องใช้ไฟฟาที่สามารถเปลี่ยนเป็ นพลังงานรูปอื่น
             ้ ั            ้
   หลายรูปในเวลาเดียวกัน
เครืองใช้ไฟฟาคือ อุปกรณ์ที่เปลียนพลังงานไฟฟา ที่เป็ น
     ่         ้                  ่             ้
พลังงานรูปอื่น เพื่อนาไปใช้ในชีวิตประจาวันไม่วาจะเป็ น
                                              ่
เครื่องใช้ไฟฟาที่ใช้ภายในบ้านในสานักงาน ตลอดจน
             ้
เครื่องมือ เครื่องจักรในโรงงานอุตสาหกรรม ล้วนแต่ตอง    ้
อาศัยพลังงานจากไฟฟาทังสิน
                       ้ ้ ้
เนืองจากเครื่องใช้ไฟฟาที่ให้พลังงานความร้อนจะมีกระแสไฟฟาปริมาณมา
   ่                        ้                                ้
     ไหลผ่าน มากกว่าเครื่องใช้ประเภทอื่นๆ จึงควรใช้ดวยความระมัดระวัง
                                                        ้
     ดังนี้
                  1. หมันตรวจสอบดูแลสายไฟ เต้ารับ เต้าเสียบ ให้อยู่ใน
                          ่
     สภาพเรียบร้อยไม่ชารุด
                  2. เมื่อเลิกใช้งานต้องถอดเต้าเสียบออกจากเต้ารับทุกครังไม่
                                                                       ้
     ควรเสียบทิ้งไว้
               ในการเลือกเครื่องใช้ไฟฟาทุกชนิดต้องพิจารณาถึงคุณภาพของ
                                        ้
     เครื่องใช้ไฟฟา รูจกวิธีใช้ที่ถกต้อง รูจกวิธีปองกันอันตรายจากไฟฟารัว
                  ้ ้ั              ู      ้ั     ้                  ้ ่
     และไฟฟาลักวงจรและตรวจดูแลอุปกรณ์อยูเ่ สมอ
             ้
หลอดไฟ เป็ นอุปกรณ์ทใช้เปลี่ยนพลังงานไฟฟาเป็ นแสงสว่างให้เราสามารถ
                         ี่                      ้
    มองเห็นสิ่งต่างๆ ได้ ซึ่ง โธมัส เอดิสน เป็ นผูประดิษฐ์หลอดไฟเป็ นครั้งแรก โดย
                                         ั         ้
    ใช้คาร์บอนเส้นเล็กๆ เป็ นไส้หลอดและได้มการพัฒนาเรื่อยมาเป็ นลาดับ
                                               ี
รูป หลอดไฟของเอดิสน   ั
รูป พัฒนาการของหลอดไฟฟา        ้
ประเภทของหลอดไฟ
1. หลอดไฟฟ้าธรรมดา มีไส้หลอดทีทาด้วยลวดโลหะทีมจดหลอมเหลวสูง เช่น
                                       ่                 ่ ี ุ
    ทังสเตนเส้นเล็กๆ ขดเอาไว้เหมือนขดลวดสปริงภายในหลอดแก้วสูบอากาศออก
    หมดแล้วบรรจุกาซเฉื่อย เช่น อาร์กอน (Ar) ไว้ ก๊าซนีชวยปองกันไม่ให้หลอด
                    ๊                                     ้่ ้
    ไฟฟาดา ลักษณะของหลอดไฟเป็ นดังรูป
        ้
รูป ส่วนประกอบของหลอดไฟฟาแบบเขียว้         ้
หลักการทางานของหลอดไฟฟาธรรมดา
                                         ้
กระแสไฟฟาไหลผ่านไส้หลอดซึ่งมีความต้านทานสูง พลังงานไฟฟาจะ
         ้                                               ้
  เปลี่ยนเป็ นพลังงานความร้อน ทาให้ไส้หลอดร้อนจัดจนเปล่งแสง
  ออกมาได้ การเปลี่ยนพลังงานเป็ นดังนี้
พลังงานไฟฟา >>>พลังงานความร้อน >>>พลังงานแสง
             ้
2. หลอดเรื่องแสง หรือ หลอดฟล ูออเรสเซนต์ (fluorescent) เป็ น
   อุปกรณ์ที่เปลี่ยนพลังงานไฟฟาเป็ นพลังงานแสงสว่าง ซึ่งมีการ
                              ้
   ประดิษฐ์ในปี ค.ศ. 1938 โดยมีรปร่างหลายแบบ อาจทาเป็ นหลอด
                                  ู
   ตรง สัน ยาว ขดเป็ นวงกลมหรือครึ่งวงกลม เป็ นต้น
         ้
ส่วนประกอบของหลอดเรืองแสง
ตัวหลอดมีไส้โลหะทังสเตนติดอยูที่ปลายทัง 2 ข้าง ของหลอดแก้ว ซึ่ง
                                ่      ้
   ผิวภายในของหลอดฉาบด้วยสารเรื่องแสง อากาศในหลอดแก้วถูก
   สูบออกจนหมดแล้วใส่ไอปรอทไว้เล็กน้อย ดังรูป
รูป หลอดเรืองแสง

   อุปกรณ์ที่ใช้เพื่อให้หลอดเรืองแสงทางาน
1. สตาร์ตเตอร์ (starter) ทาหน้าที่เป็ นสวิตซ์อตโนมัตในขณะหลอดเรือง
                                              ั       ิ
   แสง ยังไม่ตดและหยุดทางานเมือหลอดติดแล้ว
               ิ                  ่
2. แบลลัสต์ (Ballast) ทาหน้าที่เพิ่มความต่างศักย์ เพื่อให้หลอดไฟเรืองแสง
   ติดในตอนแรกและทาหน้าที่ ควบคุมกระแสไฟฟาที่ผานหลอด ให้ลดลงเมือ
                                                ้ ่                    ่
   หลอดติดแล้ว
รูป สตาร์ตเตอร์และแบลลัสต์
การใช้หลอดเรืองแสงต้องต่อวงจรเข้ากับสตาร์ตเตอร์และแบลลัสต์ แล้วจึงต่อ
   เข้ากับสายไฟฟาในบ้าน
                  ้
รูป ก. การต่อวงจรไฟฟาของหลอดเรืองแสง
                         ้
เมือกระแสไฟฟาผ่านไอปรอท จะคายพลังงานไฟฟาให้แก่ไอปรอท ซึ่งจะทาให้อะตอม
   ่              ้                                ้
ของไอปรอทอยูในสภาวะถูกกระตุน (exited state) เป็ นผลให้อะตอมปรอทคายพลังงาน
                    ่                ้
ออกมาเพื่อ ลดระดับพลังงานในตัวเองในรูปของรังสีอัลตราไวโอเลต ซึ่งมองไม่เห็น
เมือรังสีชนิดนีไ้ ปกระทบกับสารวาวแสงที่ฉาบไว้ที่ผวด้านในของหลอดฟลูออเรสเซนต์
     ่                                                ิ
สารเหล่านีจะเปล่งแสงได้ โดยให้แสงสีตางๆตามชนิดของสารวาวแสงที่ฉาบไว้ภายใน
             ้                            ่
หลอดนัน เช่น แคดเมียมบอเรท (Cadmium borate) ให้ แสงสีชมพู แคดเมียมซิลิเคท
          ้
(Cadmium silicate) ให้แสงสีชมพูอ่อน แมกนีเซียมทังสเตท (Magnesium tungstate) ให้
แสงสีขาวอมฟา แคลเซียมทังสเตท (Calcium tungstate) ให้แสงสีนาเงิน ซิงค์ซิลิเคท
                ้                                                   ้
(Zinc silicate) ให้แสงสีเขียว ซิงค์เบริลเลียมซิลิเคท (Zinc Beryllium silicate) ให้แสงสี
เหลืองนวล นอกจากนียงอาจผสมสารวาวแสงเหล่านี้ เพื่อให้ได้แสงสีผสมที่แตกต่าง
                         ้ ั
กันออกไปได้อีกด้วย
• ข้อเปรียบเทียบระหว่างหลอดไฟฟากับหลอดฟล ูออเรสเซนต์ ซึ่งใช้
                                   ้
  พลังงานไฟฟาเท่ากัน
            ้
      • หลอดไฟฟาสว่างน้อยกว่าหลอดฟลูออเรสเซนต์ เมือมีจานวนวัตต์
                  ้                                ่
  เท่ากัน
      • หลอดไฟฟามีอายุการใช้งานสันกว่าหลอดฟลูออเรสเซนต์
                    ้            ้
      • ขณะใช้งานอุณหภูมของหลอดไฟฟาสูงกว่าหลอดฟลูออเรสเซนต์
                        ิ            ้
      • หลอดไฟฟาเสียค่าใช้จายในการติดตังน้อยกว่าหลอดฟลูออเรสเซนต์
                ้          ่           ้
  เพราะหลอดฟลูออเรสเซนต์ตองต่อวงจรเข้ากับแบลลัสต์และสตาร์ตเตอร์เส
                             ้
  มอ
หลอดคอมแพคฟล ูออเรสเซนต์
หลอดคอมแพคฟลูออเรสเซนต์หรือที่เรียกกันทัวไปว่าหลอด
                                             ่
ตะเกียบ หลอดคอมแพค
ฟลูออเรสเซนต์มี 2 ชนิด คือ ชนิดที่มีแบลลัสต์ภายใน สามารถใช้
แทนหลอดไฟฟาแบบมีเขียวและแบบเกลียวได้ อีกชนิดหนึงเป็ นแบบ
             ้        ้                             ่
ที่มแบลลัสต์อยูภายนอกจะมีขาเสียบ เพื่อต่อเข้ากับแบลลัสต์ สมบัติ
    ี          ่
ที่สาคัญของหลอดคอมแพคฟลูออเรสเซนต์ คือ ช่วยประหยัด
พลังงานไฟฟา และมีอายุการใช้งาน ที่ยาวนานกว่าหลอดฟลูออเรส
           ้
เซนต์
เครืองขยายเสียง(Amplifier)
      ่
เครื่องใช้ไฟฟาที่เปลี่ยนพลังงานไฟฟาเป็ นพลังงานเสียง ได้แก่ เครื่องรับ
             ้                     ้
   วิทยุ เครื่องขยายเสียง เครื่องบันทึกเสียง ฯลฯ
คือ เครื่องใช้ไฟฟาที่เปลียนพลังงานไฟฟาเป็ นพลังงานเสียงโดยรับ
                  ้       ่            ้
   สัญญาณไฟฟาจากไมโครโฟน หัวเทป หรือจาก เครื่องกาเนิด
                      ้
   สัญญาณไฟฟาจากเสียงต่างๆ มาขยายสัญญาณไฟฟาจนมีกาลังมาก
                    ้                                 ้
   พอจึงส่งออกสูลาโพงเสียง
                        ่
เครื่องขยายเสียงจะต้องมีสวนประกอบดังนี้
                            ่
1. ไมโครโฟน เปลี่ยนพลังงานเสียงให้เป็ นสัญญาณไฟฟา   ้
2. เครื่องขยายสัญญาณไฟฟา ขยายสัญญาณไฟฟาให้แรงขึน
                              ้                  ้        ้
3. ลาโพง เปลี่ยนสัญญาณไฟฟาให้เป็ นพลังงานเสียง
                                ้
เครืองบันทึกเสียง (Tape recorder)
           ่
เครื่องบันทึกเสียง ขณะบันทึกด้วยการพูดผ่านไมโครโฟน ซึ่งจะเปลียน  ่
     พลังงานเสียงเป็ นสัญญาณไฟฟา แล้วบันทึกลงในแถบบันทึกเสียง
                                  ้
     ซึ่งฉาบด้วยสารแม่เหล็กในรูปของสัญญาณแม่เหล็ก
เมือนาแถบบันทึกเสียงที่บนทึกได้มาเล่น สัญญาณแม่เหล็กจะถูก
   ่                         ั
     เปลี่ยนกลับเป็ นสัญญาณไฟฟา และสัญญาณนีจะถูกขยายให้แรง
                                ้                ้
     ขึนด้วยอุปกรณ์ไฟฟาจนทาให้ลาโพงสันสะเทือนเป็ นเสียงขึนอีกครั้ง
        ้                  ้            ่                 ้
     หนึง    ่
ในการใช้เครื่องใช้ไฟฟาที่ให้พลังงานเสียง พวก วิทยุ หรือเครื่องเสียง
                       ้
     ประเภทต่างๆ ส่วนใหญ่สิ้นเปลืองพลังงานไฟฟาไม่มาก แต่ทงนี้
                                               ้              ั้
     ขึนอยูกบ กาลังไฟฟา ของเครื่องเสียงนันๆ และขึนอยูกบความดัง
          ้ ่ ั          ้                ้        ้ ่ ั
     ของเสียงในการเปิ ดฟังด้วย
ประเภทเครื่องใช้ไฟฟ้ าที่ให้พลังงานกล
มอเตอร์ เป็ นเครื่องใช้ไฟฟาที่เปลี่ยนพลังงานไฟฟาเป็ นพลังงาน
                           ้                     ้
  กล ประกอบด้วยขดลวดที่พนรอบแกนโลหะที่วางอยูระหว่างขัวแม่เหล็ก
                                 ั                    ่        ้
  โดยเมือผ่านกระแสไฟฟาเข้าไปยังขดลวดที่อยูระหว่างขัวแม่เหล็ก จะทาให้
        ่                    ้                 ่        ้
  ขดลวดหมุนไปรอบแกน และเมือสลับขัวไฟฟา การหมุนของขดลวดจะหมุน
                                    ่      ้ ้
  กลับทิศทางเดิม
มอเตอร์ มี 2 ประเภท คือ มอเตอร์กระแสตรง และมอเตอร์ผานเข้าไปใน
                                                           ่
  ขดลวดอาร์เมเจอร์เพือทาให้เกิดการดูดและผลักกันของแม่เหล็กถาวรกับ
                         ่
  แม่เหล็กระแสสลับ
1.มอเตอร์กระแสตรง เป็ นมอเตอร์ที่ตองใช้ไฟฟากระแสตรงไฟฟาที่เกิดจาก
                                         ้         ้         ้
  ขดลวดมอเตอร์จึงหมุนได้
2.มอเตอร์กระแสสลับ เป็ นมอเตอร์ที่ตองใช้กบไฟฟากระแสสลับ โดย
                                          ้   ั ้
   ใช้หลักการดูดและผลักกันของแม่เหล็กถาวรกับแม่เหล็กไฟฟาจาก้
   ขดลวดมาทาให้เกิดการหมุนของมอเตอร์
ข้อควรระวังในการใช้เครื่องใช้ไฟฟาที่มมอเตอรเป็ นส่วนประกอบ คือ
                                 ้ ี
   ห้ามใช้เครื่องใช้ประเภทนีในช่วงที่ไฟตก หรือแรงดันไฟฟาไม่ถึง
                            ้                          ้
   220 โวลต์ เนืองจากมอเตอร์จะไม่หมุนและทาให้เกิดกระแสไฟฟาดัน
                   ่                                          ้
   กลับ จะทาให้ขดลวดร้อนจัดจนเกิดไหม้เสียหายได้
ขณะที่มอเตอร์กาลังหมุนจะเกิดการเหนียวนาไฟฟาขึนทาให้เกิด
                                        ่        ้ ้
   กระแสไฟฟาซ้อนขึนภายในขดลวด แต่มทิศทางการไหลสวนทางกับ
                 ้     ้                    ี
   กระแสไฟฟาที่มาจากแหล่งกาเนิดพลังงานไฟฟาเดิม ทาให้ขดลวด
               ้                               ้
   ของมอเตอร์ไม่รอนจนเกิดไฟไหม้ได้
                     ้
1.พัดลม
พัดลม พัดลม แบ่งได้เปน 2 ประเภท คือ
                          ็
   - พัดลมตังพื้นหรือตังโต๊ะ นิยมใช้โดยทัวไป
            ้           ้                ่
   - พัดลมติดเพดาน จะกินไฟมากกว่าแบบตังพื้นหรือตังโต๊ะ 1 เท่าตัว ฉะนัน
                                            ้       ้                ้
   ควรเลือกใช้พดลม ตังพื้นหรือตังโต๊ะ เพราะกินไฟน้อยกว่าแบบติดเพดานถึง
                ั     ้           ้
   ร้อยละ 50
- เต้าเสียบพัดลมควรมีสายดิน
   - บริเวณที่ตงพัดลมไม่ควรมีวสดุตดไฟ เช่น ผ้าม่าน กระดาษ
                     ั้             ั ิ
   - อย่าเปิ ดพัดลมเพื่อระบายอากาศในบริเวณที่มกาซหุงต้มทินเนอร์
                                                     ี ๊
   หรือนามันเชือเพลิง
          ้      ้
   - พัดลมที่เปิ ดแล้วไม่หมุน ให้รีบปิ ดและส่งซ่อม ทันที
   - ไม่ควรใช้พดลมไอนา เพราะมีผลให้เกิดปอดชืน
                   ั     ้                         ้
   การบาร ุงรักษา
   - อย่าเปิ ดพัดลมทิ้งไว้โดยไม่มคนอยู่ เพราะอาจเกิดอัคคีภยได้
                                  ี                       ั
   - ปรับระดับความเร็วลมให้เหมาะสม
   - ควรปิ ดพัดลมและดึงปลักออกทุกๆ ครั้งเมือเลิกใช้
                              ๊                  ่
เครื่ องใช้ ไฟฟาที่ให้ แสงสว่ าง
                ้
              หลอดไฟฟา เป็ นเครื่องใช้ไฟฟาที่มใช้ในทุกบ้านที่มีการใช้
                            ้            ้ ี
  พลังงานไฟฟา เป็ นเครื่องใช้ที่เปลี่ยนพลังงานไฟฟา ไปเป็ นพลังงานแสง
                  ้                                ้
  หลอดไฟฟาที่ใช้ทวไป มี 3 ชนิด คือ
              ้        ั่
         1. หลอดไฟฟาแบบธรรมดา
                          ้
         2. หลอดเรื่องแสงหรือหลอดฟลูออเรสเซนต์ (Fluorescent
         Lamp)
        3. หลอดไฟโฆษณาหรือหลอดนีออน
หลอดไฟฟาแบบธรรมดา มีการเปลี่ยนรูปพลังงานจากพลังงานไฟฟาเป็ น
                ้                                                    ้
พลังงานความร้อน แล้วจึงเปลี่ยนเป็ นพลังงานแสง หลอดไฟฟาแบบธรรมดามี
                                                         ้
2 แบบ คือแบบเกลียวและแบบเขียว มีสวนประกอบดังนี้
                               ้     ่
   1.ไส้หลอด ทาด้วยโลหะที่มีจดหลอดเหลวสูง ทนความร้อนได้มาก มีความ
                             ุ
ทานสูง เช่น ทังสเตน
   2.หลอดแก้ว ทาจากแก้วที่ทนความร้อนได้ดี ไม่แตกง่าย สูบอากาศออกจน
หมดภายในบรรจุกาซไนโตรเจนและอาร์กอนเล็กน้อย ก๊าซชนิดนีทาปฏิกริยายาก
                   ๊                                        ้     ิ
ช่วยปองกันไม่ให้ไส้หลอดระเหิดไปจับที่หลอดแก้ว และช่วยไม่ให้ไส้หลอดไม่ขาด
     ้
ง่าย ถ้าบรรจุกาซออกซิเจนจะทาปฏิกิริยากับไส้หลอด ซึ่งทาให้ไส้หลอดขาดง่าย
              ๊
3.ขัวหลอดไฟ เป็ นจุดต่อวงจรไฟฟา มี 2 แบบ คือ แบบเขียวและ
    ้                             ้                   ้
  แบบเกลียว
        เนืองจากหลอดไฟฟาประเภทนีให้แสงสว่างได้ดวยการเปลี่ยน
           ่                ้       ้            ้
  พลังงานไฟฟาเป็ นพลังงานความร้อนก่อนทีจะให้แสงสว่างออกมา
               ้                          ่
  จึงทาให้สิ้นเปลี่อง พลังงานไฟฟา มากกว่าหลอดชนิดอื่น ใน
                                ้
  ขนาด กาลังไฟฟา ของหลอดไฟซึ่งจะกาหนดไว้ที่หลอดไฟทุกดวง
                     ้
  เช่น หลอดไฟฟาขนาด 100 วัตต์ เป็ นต้น
                 ้ ้
หลอดเรืองแสงหรือหลอดฟลูออเรสเซนต์ (Fluorescent Lamp) ทาด้วย
หลอดแก้วที่สบอากาศออกจนหมดแล้วบรรจุไอปรอทไว้เล็กน้อย มีไส้ทปลาย
               ู                                                   ี่
หลอดทังสองข้าง หลอดเรืองแสงอาจทาเป็ นหลอดตรง หรือครึ่งวงกลมก็
        ้
ได้ ส่วนประกอบและการทางานของหลอดเรืองแสง มีดงนี้     ั
          1. ตัวหลอด ภายในสูบอากาศออกจนหมดแล้วบรรจุไอปรอทและก๊าซ
อาร์กอน เล็กน้อย ผิวด้านในของหลอดเรืองแสงฉาบด้วยสารเรืองแสงชนิด
ต่างๆ แล้วแต่ความต้องการให้เรืองแสงเป็ นสีใด เช่น ถ้าต้องการให้เรืองแสงสี
เขียว ต้องฉาบด้วยสารซิงค์ซิลิเคต แสงสีขาวแกมฟาฉาบด้วยมักเนเซียมทังสเตน
                                               ้
แสงสีชมพูฉาบด้วยแคดเนียมบอเรต เป็ นต้น
          2. ไส้หลอด ทาด้วยทังสเตนหรือวุลแฟรมอยู่ที่ปลายทังสองข้าง เมื่อ
                                                            ้
กระแสไฟฟาผ่านไส้หลอดจะทาให้ไส้หลอดร้อนขึน ความร้อนที่เกิดขึนจะทาให้ไอ
           ้                                ้                   ้
ปรอทที่บรรจุไว้ในหลอดกลายเป็ นไอมากขึน แต่ขณะนันกระแสไฟฟายังผ่านไอ
                                       ้           ้          ้
ปรอทไม่สะดวก เพราะปรอทยังเป็ นไอน้อยทาให้ความต้านทานของหลอดสูง
•        3. สตาร์ตเตอร์ ทาหน้าที่เป็ นสวิตซ์ไฟฟาอัตโนมัตของวงจรโดยต่อขนานกับ
                                                       ้             ิ
    หลอด ทาด้วยหลอดแก้วภายในบรรจุกาซนีออนและแผ่นโลหะคู่ที่งอตัวได้ เมื่อ
                                                     ๊
    ได้รบความร้อน เมื่อกระแสไฟฟาผ่านก๊าซนีออน ก๊าซนีออนจะติดไฟเกิดความ
         ั                                   ้
    ร้อนขึน ทาให้แผ่นโลหะคู่งอจนแตะติดกันทาให้กลายเป็ นวงจรปิ ดทาให้
             ้
    กระแสไฟฟาผ่านแผ่นโลหะได้ครบวงจร ก๊าซนีออนที่ตดไฟอยู่จะดับและเย็นลง
                  ้                                                    ิ
    แผ่นโลหะคู่จะแยกออกจากกันทาให้เกิดความต้านทานสูงขึนอย่างทันทีซึ่ง      ้
    ขณะเดียวกันกระแสไฟฟาจะผ่านไส้หลอดได้มากขึนทาให้ไส้หลอดร้อนขึน
                              ้                            ้                           ้
    มาก ปรอทก็จะเป็ นไอมากขึนจนพอที่นากระแสไฟฟาได้
                                    ้                          ้
               4. แบลลัสต์ เป็ นขดลวดที่พนอยู่บนแกนเหล็ก ขณะกระแสไฟฟาไหล
                                                   ั                                     ้
    ผ่านจะเกิดการเหนียวนาแม่เหล็กไฟฟาทาให้เกิดแรงเคลื่อนไฟฟาเหนียวนาขึน
                        ่                      ้                               ้     ่       ้
    เมื่อแผ่นโลหะคู่ในสตาร์ตเตอร์แยกตัวออกจากกันนันจะเกิดวงจรเปิ ด
                                                             ้
    ชัวขณะ แรงเคลื่อนไฟฟาเหนียวนาที่เกิดขึนในแบลลัสต์จึงทาให้เกิดความต่าง
      ่                         ้          ่             ้
    ศักย์ระหว่างไส้หลอดทังสองข้างสูงขึนเพียงพอที่จะทาให้กระแสไฟฟาไหลผ่านไอ
                            ้                    ้                                 ้
    ปรอทจากไส้หลอดข้างหนึงไปยังไส้หลอดอีกข้างหนึงได้ แรงเคลื่อนไฟฟา
                                  ่                              ่                         ้
    เหนียวนาที่เกิดจากแบลลัสต์นนจะทาให้เกิดกระแสไฟฟาเหนียวนาไหลสวนทาง
           ่                            ั้                         ้         ่
    กับกระแสไฟฟาจากวงจรไฟฟาในบ้าน ทาให้กระแส ไฟฟาที่จะเข้าสูวงจรของ
                    ้                 ้                                  ้       ่
    หลอดเรืองแสงลดลง
1. เมื่อให้พลังงานไฟฟาเท่ากันจะให้แสงสว่างมากกว่าหลอดไฟฟาแบบ
                            ้                                   ้
ธรรมดาประมาณ 4 เท่า และมีอายุการใช้งานนานกว่าหลอดไฟฟาธรรมดา ้
ประมาณ 8 เท่า
        2. อุณหภูมิของหลอดไม่สงเท่ากับหลอดไฟฟาแบบธรรมดา
                                 ู               ้
        3. ถ้าต้องการแสงสว่างเท่ากับหลอดไฟฟาธรรมดา จะใช้วตต์ที่ตากว่า จึง
                                              ้               ั   ่
เสียค่าไฟฟาน้อยกว่า
           ้


      1. เมื่อติดตังจะเสียค่าใช้จ่ายสูงกว่าหลอดไฟฟาแบบธรรมดา เพราะต้อง
                   ้                              ้
ใช้แบลลัสต์และสตาร์ตเตอร์ เสมอ
      2. หลอดเรืองแสงมักระพริบเล็กน้อยไม่เหมาะในการใช้อ่านหนังสือ
• ตัวเลขที่ปรากฏบนหลอดไฟฟาธรรมดาและหลอดเรืองแสงซึ่ง
                               ้
  บอก กาลังไฟฟาเป็ นวัตต์(W) เป็ นการบอกถึงปริมาณพลังงาน
                 ้
  ไฟฟาที่ใช้ไปใน 1 วินาที เช่น 20 W หมายถึง หลอดไฟฟานีจะใช้
      ้                                              ้ ้
  พลังงานไป 20 จูลในเวลา 1 วินาที ดังนันหลอดไฟฟาและหลอด
                                        ้          ้
  เรืองแสงที่มกาลังไฟฟามาก เมือใช้งานก็ยิ่งสินเปลืองกระแสไฟฟา
               ี        ้          ่         ้               ้
  มาก ทาให้เสียค่าใช้จายมากขึนด้วย ปั จจุบนมีการผลิตหลอดไฟ
                      ่          ้         ั
  พร้อมอุปกรณ์ประกอบ เช่น บัลลาสต์ แบบประหยัดพลังงานขึนมา  ้
  ใช้หลายชนิด เช่น หลอดตะเกียบ หลอดผอม บัลลาสต์เบอร์ 5 เป็ น
  ต้น
หลอดไฟโฆษณาหรือหลอดนีออน เป็ นหลอดแก้วที่ถกลนไฟแล้วดัดให้
                                                       ู
เป็ นรูปหรือตัวอักษร ไม่มไส้หลอดแต่ที่ปลายทังสองข้างจะมีขวไฟฟาทาด้วย
                         ี                  ้            ั้ ้
โลหะ ต่อกับแหล่งกาเนิดไฟฟา ที่มความต่างศักย์สงประมาณ 10,000
                           ้    ี                 ู
โวลต์ ภายในหลอดสูบอากาศออกจนหมดแล้วใส่กาซบางชนิดที่ให้แสงสี
                                              ๊
ต่างๆออกมาเมือมีกระแสไฟฟาผ่าน เช่นก๊าซนีออนให้แสงสีแดงหรือส้ม ก๊าซ
                ่            ้
ฮีเลียมให้แสงสีชมพู ความต่างศักย์ที่สงมากๆ จะทาให้กาซที่บรรจุไว้ใน
                                       ู             ๊
หลอดเกิดการแตกตัวเป็ นอิออน และนาไฟฟาได้ เมือกระแสไฟฟาผ่านก๊าซ
                                         ้      ่          ้
เหล่านีจะทาให้กาซร้อนติดไฟให้แสงสีตางๆได้
        ้         ๊                  ่
1. ใช้หลอดเรืองแสงจะให้แสงสว่างมากกว่าหลอดธรรมดา
   ประมาณ 4 เท่า เมือใช้พลังงานไฟฟาเท่ากัน และอายุการใช้งานจะ
                        ่             ้
   ทนกว่าประมาณ 8 เท่า
2. ใช้แสงสว่างให้เหมาะกับการใช้งาน ที่ใดต้องการแสงสว่างไม่มากนัก
   ควรติดไฟน้อยดวง
3. ทาความสะอาดโปะไฟ จะให้แสงสว่างเต็มที่
                      ๊
4. ปิ ดไฟทุกครั้งที่ไม่จาเป็ นต้องใช้

More Related Content

What's hot

พลังงานไฟฟ้า (1)
พลังงานไฟฟ้า (1)พลังงานไฟฟ้า (1)
พลังงานไฟฟ้า (1)Nontawat Rupsung
 
เครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าเครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าteerawat2012
 
เรื่อง เครื่องใช้ไฟฟ้า
เรื่อง  เครื่องใช้ไฟฟ้าเรื่อง  เครื่องใช้ไฟฟ้า
เรื่อง เครื่องใช้ไฟฟ้าRattanapron Tacomdee
 
ไฟฟ้ากลุ่มที่ 1 ม305
ไฟฟ้ากลุ่มที่ 1 ม305ไฟฟ้ากลุ่มที่ 1 ม305
ไฟฟ้ากลุ่มที่ 1 ม305Jiraporn
 
งานนำเสนอ123
งานนำเสนอ123งานนำเสนอ123
งานนำเสนอ123Chanukid Chaisri
 
เครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าเครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้า0834799610
 
งานวิทย์ 1
งานวิทย์ 1งานวิทย์ 1
งานวิทย์ 1thanawan302
 
งานวิทยาศาสตร์เครื่องใช้ไฟฟ้า
งานวิทยาศาสตร์เครื่องใช้ไฟฟ้างานวิทยาศาสตร์เครื่องใช้ไฟฟ้า
งานวิทยาศาสตร์เครื่องใช้ไฟฟ้าJirachaya_chumwong
 

What's hot (10)

พลังงานไฟฟ้า (1)
พลังงานไฟฟ้า (1)พลังงานไฟฟ้า (1)
พลังงานไฟฟ้า (1)
 
เครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าเครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้า
 
เรื่อง เครื่องใช้ไฟฟ้า
เรื่อง  เครื่องใช้ไฟฟ้าเรื่อง  เครื่องใช้ไฟฟ้า
เรื่อง เครื่องใช้ไฟฟ้า
 
ไฟฟ้ากลุ่มที่ 1 ม305
ไฟฟ้ากลุ่มที่ 1 ม305ไฟฟ้ากลุ่มที่ 1 ม305
ไฟฟ้ากลุ่มที่ 1 ม305
 
งานนำเสนอ123
งานนำเสนอ123งานนำเสนอ123
งานนำเสนอ123
 
Presentation1
Presentation1Presentation1
Presentation1
 
เครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าเครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้า
 
งานวิทย์ 1
งานวิทย์ 1งานวิทย์ 1
งานวิทย์ 1
 
ไฟฟ้า 303
ไฟฟ้า 303ไฟฟ้า 303
ไฟฟ้า 303
 
งานวิทยาศาสตร์เครื่องใช้ไฟฟ้า
งานวิทยาศาสตร์เครื่องใช้ไฟฟ้างานวิทยาศาสตร์เครื่องใช้ไฟฟ้า
งานวิทยาศาสตร์เครื่องใช้ไฟฟ้า
 

Similar to เรื่อง เครื่องใช้ไฟฟ้าเส็จแล้ว

ไฟฟ้ากลุ..
 ไฟฟ้ากลุ.. ไฟฟ้ากลุ..
ไฟฟ้ากลุ..Powergift_vip
 
ไฟฟ้ากลุ..
 ไฟฟ้ากลุ.. ไฟฟ้ากลุ..
ไฟฟ้ากลุ..Powergift_vip
 
เครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้าน.Pdf
เครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้าน.Pdfเครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้าน.Pdf
เครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้าน.Pdf0841766393
 
เครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้าน.Pdf
เครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้าน.Pdfเครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้าน.Pdf
เครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้าน.PdfKanoknat Kaosim
 
เครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าเครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าSiwush Pormchai
 
เครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าเครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าSiwush Pormchai
 
เครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าเครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้า0887946598532
 
เครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าเครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้า0887946598532
 
เครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าเครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้า0286983445
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1boom500937
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1boom500937
 
M 303 group 6
M 303 group 6M 303 group 6
M 303 group 6orohimaro
 
M 3/3 Group 6
M 3/3 Group 6M 3/3 Group 6
M 3/3 Group 6orohimaro
 
M 303 group 6
M 303 group 6M 303 group 6
M 303 group 6orohimaro
 
เครื่องใช้ไฟฟ้า (2)
เครื่องใช้ไฟฟ้า (2)เครื่องใช้ไฟฟ้า (2)
เครื่องใช้ไฟฟ้า (2)ying08932
 
เรื่องเครื่องใช้ไฟฟ้า กลุ่มที่ 3 305
เรื่องเครื่องใช้ไฟฟ้า กลุ่มที่ 3 305เรื่องเครื่องใช้ไฟฟ้า กลุ่มที่ 3 305
เรื่องเครื่องใช้ไฟฟ้า กลุ่มที่ 3 305คณากรณ์ อุปปิง
 
เรื่องเครื่องใช้ไฟฟ้า กลุ่มที่ 3 305
เรื่องเครื่องใช้ไฟฟ้า กลุ่มที่ 3 305เรื่องเครื่องใช้ไฟฟ้า กลุ่มที่ 3 305
เรื่องเครื่องใช้ไฟฟ้า กลุ่มที่ 3 305คณากรณ์ อุปปิง
 
เครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าเครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าSiriporn Somkrue
 

Similar to เรื่อง เครื่องใช้ไฟฟ้าเส็จแล้ว (20)

ไฟฟ้ากลุ..
 ไฟฟ้ากลุ.. ไฟฟ้ากลุ..
ไฟฟ้ากลุ..
 
ไฟฟ้ากลุ..
 ไฟฟ้ากลุ.. ไฟฟ้ากลุ..
ไฟฟ้ากลุ..
 
เครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้าน.Pdf
เครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้าน.Pdfเครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้าน.Pdf
เครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้าน.Pdf
 
เครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้าน.Pdf
เครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้าน.Pdfเครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้าน.Pdf
เครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้าน.Pdf
 
เครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าเครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้า
 
เครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าเครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้า
 
เครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าเครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้า
 
เครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าเครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้า
 
เครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าเครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้า
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
Vvv
VvvVvv
Vvv
 
M 303 group 6
M 303 group 6M 303 group 6
M 303 group 6
 
M 3/3 Group 6
M 3/3 Group 6M 3/3 Group 6
M 3/3 Group 6
 
M 303 group 6
M 303 group 6M 303 group 6
M 303 group 6
 
เครื่องใช้ไฟฟ้า (2)
เครื่องใช้ไฟฟ้า (2)เครื่องใช้ไฟฟ้า (2)
เครื่องใช้ไฟฟ้า (2)
 
เรื่องเครื่องใช้ไฟฟ้า กลุ่มที่ 3 305
เรื่องเครื่องใช้ไฟฟ้า กลุ่มที่ 3 305เรื่องเครื่องใช้ไฟฟ้า กลุ่มที่ 3 305
เรื่องเครื่องใช้ไฟฟ้า กลุ่มที่ 3 305
 
เรื่องเครื่องใช้ไฟฟ้า กลุ่มที่ 3 305
เรื่องเครื่องใช้ไฟฟ้า กลุ่มที่ 3 305เรื่องเครื่องใช้ไฟฟ้า กลุ่มที่ 3 305
เรื่องเครื่องใช้ไฟฟ้า กลุ่มที่ 3 305
 
ประเภทพลังงานไฟฟ้า
ประเภทพลังงานไฟฟ้าประเภทพลังงานไฟฟ้า
ประเภทพลังงานไฟฟ้า
 
เครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าเครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้า
 

เรื่อง เครื่องใช้ไฟฟ้าเส็จแล้ว

  • 1.
  • 2. 1. นาย เกริกฤทธิ์ ชัยวร เลขที่ 1 ชัน ม.3/2 ้ 2. นาย กฤษดากรณ์ สายปน ิ เลขที่ 2 ชัน ม.3/2 ้ 3. นาย เจษฎากร เมืองช ุม เลขที่ 3 ชัน ม.3/2 ้ 4. นาย จาต ุรงค์ พระวิฑ ูรย์ เลขที่ 4 ชัน ม.3/2 ้ 5. นาย จิราย ุทธ จันสม เลขที่ 5 ชัน ม.3/2 ้ 6. เด็กหญิง วิช ุดา ดวงแก้ว เลขที่ 36 ชัน ม.3/2 ้
  • 3. เครืองใช้ไฟฟา คือ อุปกรณ์ที่เปลี่ยนพลังงานไฟฟาเป็ นพลังงานรูป ่ ้ ้ อื่น เพื่อนาไปใช้ในชีวิตประจาวัน ได้แก่ 1. เครื่องใช้ไฟฟาที่ให้แสงสว่าง ้ 2. เครื่องใช้ไฟฟาที่ให้ความร้อน ้ 3. เครื่องใช้ไฟฟาที่ให้พลังงานกล ้ 4. เครื่องใช้ไฟฟาที่ให้พลังงานเสียง ้ นอกจากนียงมีเครื่องใช้ไฟฟาที่สามารถเปลี่ยนเป็ นพลังงานรูปอื่น ้ ั ้ หลายรูปในเวลาเดียวกัน
  • 4. เครืองใช้ไฟฟาคือ อุปกรณ์ที่เปลียนพลังงานไฟฟา ที่เป็ น ่ ้ ่ ้ พลังงานรูปอื่น เพื่อนาไปใช้ในชีวิตประจาวันไม่วาจะเป็ น ่ เครื่องใช้ไฟฟาที่ใช้ภายในบ้านในสานักงาน ตลอดจน ้ เครื่องมือ เครื่องจักรในโรงงานอุตสาหกรรม ล้วนแต่ตอง ้ อาศัยพลังงานจากไฟฟาทังสิน ้ ้ ้
  • 5. เนืองจากเครื่องใช้ไฟฟาที่ให้พลังงานความร้อนจะมีกระแสไฟฟาปริมาณมา ่ ้ ้ ไหลผ่าน มากกว่าเครื่องใช้ประเภทอื่นๆ จึงควรใช้ดวยความระมัดระวัง ้ ดังนี้ 1. หมันตรวจสอบดูแลสายไฟ เต้ารับ เต้าเสียบ ให้อยู่ใน ่ สภาพเรียบร้อยไม่ชารุด 2. เมื่อเลิกใช้งานต้องถอดเต้าเสียบออกจากเต้ารับทุกครังไม่ ้ ควรเสียบทิ้งไว้ ในการเลือกเครื่องใช้ไฟฟาทุกชนิดต้องพิจารณาถึงคุณภาพของ ้ เครื่องใช้ไฟฟา รูจกวิธีใช้ที่ถกต้อง รูจกวิธีปองกันอันตรายจากไฟฟารัว ้ ้ั ู ้ั ้ ้ ่ และไฟฟาลักวงจรและตรวจดูแลอุปกรณ์อยูเ่ สมอ ้
  • 6. หลอดไฟ เป็ นอุปกรณ์ทใช้เปลี่ยนพลังงานไฟฟาเป็ นแสงสว่างให้เราสามารถ ี่ ้ มองเห็นสิ่งต่างๆ ได้ ซึ่ง โธมัส เอดิสน เป็ นผูประดิษฐ์หลอดไฟเป็ นครั้งแรก โดย ั ้ ใช้คาร์บอนเส้นเล็กๆ เป็ นไส้หลอดและได้มการพัฒนาเรื่อยมาเป็ นลาดับ ี รูป หลอดไฟของเอดิสน ั รูป พัฒนาการของหลอดไฟฟา ้ ประเภทของหลอดไฟ 1. หลอดไฟฟ้าธรรมดา มีไส้หลอดทีทาด้วยลวดโลหะทีมจดหลอมเหลวสูง เช่น ่ ่ ี ุ ทังสเตนเส้นเล็กๆ ขดเอาไว้เหมือนขดลวดสปริงภายในหลอดแก้วสูบอากาศออก หมดแล้วบรรจุกาซเฉื่อย เช่น อาร์กอน (Ar) ไว้ ก๊าซนีชวยปองกันไม่ให้หลอด ๊ ้่ ้ ไฟฟาดา ลักษณะของหลอดไฟเป็ นดังรูป ้ รูป ส่วนประกอบของหลอดไฟฟาแบบเขียว้ ้
  • 7. หลักการทางานของหลอดไฟฟาธรรมดา ้ กระแสไฟฟาไหลผ่านไส้หลอดซึ่งมีความต้านทานสูง พลังงานไฟฟาจะ ้ ้ เปลี่ยนเป็ นพลังงานความร้อน ทาให้ไส้หลอดร้อนจัดจนเปล่งแสง ออกมาได้ การเปลี่ยนพลังงานเป็ นดังนี้ พลังงานไฟฟา >>>พลังงานความร้อน >>>พลังงานแสง ้
  • 8. 2. หลอดเรื่องแสง หรือ หลอดฟล ูออเรสเซนต์ (fluorescent) เป็ น อุปกรณ์ที่เปลี่ยนพลังงานไฟฟาเป็ นพลังงานแสงสว่าง ซึ่งมีการ ้ ประดิษฐ์ในปี ค.ศ. 1938 โดยมีรปร่างหลายแบบ อาจทาเป็ นหลอด ู ตรง สัน ยาว ขดเป็ นวงกลมหรือครึ่งวงกลม เป็ นต้น ้ ส่วนประกอบของหลอดเรืองแสง ตัวหลอดมีไส้โลหะทังสเตนติดอยูที่ปลายทัง 2 ข้าง ของหลอดแก้ว ซึ่ง ่ ้ ผิวภายในของหลอดฉาบด้วยสารเรื่องแสง อากาศในหลอดแก้วถูก สูบออกจนหมดแล้วใส่ไอปรอทไว้เล็กน้อย ดังรูป
  • 9. รูป หลอดเรืองแสง อุปกรณ์ที่ใช้เพื่อให้หลอดเรืองแสงทางาน 1. สตาร์ตเตอร์ (starter) ทาหน้าที่เป็ นสวิตซ์อตโนมัตในขณะหลอดเรือง ั ิ แสง ยังไม่ตดและหยุดทางานเมือหลอดติดแล้ว ิ ่ 2. แบลลัสต์ (Ballast) ทาหน้าที่เพิ่มความต่างศักย์ เพื่อให้หลอดไฟเรืองแสง ติดในตอนแรกและทาหน้าที่ ควบคุมกระแสไฟฟาที่ผานหลอด ให้ลดลงเมือ ้ ่ ่ หลอดติดแล้ว รูป สตาร์ตเตอร์และแบลลัสต์ การใช้หลอดเรืองแสงต้องต่อวงจรเข้ากับสตาร์ตเตอร์และแบลลัสต์ แล้วจึงต่อ เข้ากับสายไฟฟาในบ้าน ้ รูป ก. การต่อวงจรไฟฟาของหลอดเรืองแสง ้
  • 10. เมือกระแสไฟฟาผ่านไอปรอท จะคายพลังงานไฟฟาให้แก่ไอปรอท ซึ่งจะทาให้อะตอม ่ ้ ้ ของไอปรอทอยูในสภาวะถูกกระตุน (exited state) เป็ นผลให้อะตอมปรอทคายพลังงาน ่ ้ ออกมาเพื่อ ลดระดับพลังงานในตัวเองในรูปของรังสีอัลตราไวโอเลต ซึ่งมองไม่เห็น เมือรังสีชนิดนีไ้ ปกระทบกับสารวาวแสงที่ฉาบไว้ที่ผวด้านในของหลอดฟลูออเรสเซนต์ ่ ิ สารเหล่านีจะเปล่งแสงได้ โดยให้แสงสีตางๆตามชนิดของสารวาวแสงที่ฉาบไว้ภายใน ้ ่ หลอดนัน เช่น แคดเมียมบอเรท (Cadmium borate) ให้ แสงสีชมพู แคดเมียมซิลิเคท ้ (Cadmium silicate) ให้แสงสีชมพูอ่อน แมกนีเซียมทังสเตท (Magnesium tungstate) ให้ แสงสีขาวอมฟา แคลเซียมทังสเตท (Calcium tungstate) ให้แสงสีนาเงิน ซิงค์ซิลิเคท ้ ้ (Zinc silicate) ให้แสงสีเขียว ซิงค์เบริลเลียมซิลิเคท (Zinc Beryllium silicate) ให้แสงสี เหลืองนวล นอกจากนียงอาจผสมสารวาวแสงเหล่านี้ เพื่อให้ได้แสงสีผสมที่แตกต่าง ้ ั กันออกไปได้อีกด้วย
  • 11. • ข้อเปรียบเทียบระหว่างหลอดไฟฟากับหลอดฟล ูออเรสเซนต์ ซึ่งใช้ ้ พลังงานไฟฟาเท่ากัน ้ • หลอดไฟฟาสว่างน้อยกว่าหลอดฟลูออเรสเซนต์ เมือมีจานวนวัตต์ ้ ่ เท่ากัน • หลอดไฟฟามีอายุการใช้งานสันกว่าหลอดฟลูออเรสเซนต์ ้ ้ • ขณะใช้งานอุณหภูมของหลอดไฟฟาสูงกว่าหลอดฟลูออเรสเซนต์ ิ ้ • หลอดไฟฟาเสียค่าใช้จายในการติดตังน้อยกว่าหลอดฟลูออเรสเซนต์ ้ ่ ้ เพราะหลอดฟลูออเรสเซนต์ตองต่อวงจรเข้ากับแบลลัสต์และสตาร์ตเตอร์เส ้ มอ
  • 12. หลอดคอมแพคฟล ูออเรสเซนต์ หลอดคอมแพคฟลูออเรสเซนต์หรือที่เรียกกันทัวไปว่าหลอด ่ ตะเกียบ หลอดคอมแพค ฟลูออเรสเซนต์มี 2 ชนิด คือ ชนิดที่มีแบลลัสต์ภายใน สามารถใช้ แทนหลอดไฟฟาแบบมีเขียวและแบบเกลียวได้ อีกชนิดหนึงเป็ นแบบ ้ ้ ่ ที่มแบลลัสต์อยูภายนอกจะมีขาเสียบ เพื่อต่อเข้ากับแบลลัสต์ สมบัติ ี ่ ที่สาคัญของหลอดคอมแพคฟลูออเรสเซนต์ คือ ช่วยประหยัด พลังงานไฟฟา และมีอายุการใช้งาน ที่ยาวนานกว่าหลอดฟลูออเรส ้ เซนต์
  • 13. เครืองขยายเสียง(Amplifier) ่ เครื่องใช้ไฟฟาที่เปลี่ยนพลังงานไฟฟาเป็ นพลังงานเสียง ได้แก่ เครื่องรับ ้ ้ วิทยุ เครื่องขยายเสียง เครื่องบันทึกเสียง ฯลฯ คือ เครื่องใช้ไฟฟาที่เปลียนพลังงานไฟฟาเป็ นพลังงานเสียงโดยรับ ้ ่ ้ สัญญาณไฟฟาจากไมโครโฟน หัวเทป หรือจาก เครื่องกาเนิด ้ สัญญาณไฟฟาจากเสียงต่างๆ มาขยายสัญญาณไฟฟาจนมีกาลังมาก ้ ้ พอจึงส่งออกสูลาโพงเสียง ่ เครื่องขยายเสียงจะต้องมีสวนประกอบดังนี้ ่ 1. ไมโครโฟน เปลี่ยนพลังงานเสียงให้เป็ นสัญญาณไฟฟา ้ 2. เครื่องขยายสัญญาณไฟฟา ขยายสัญญาณไฟฟาให้แรงขึน ้ ้ ้ 3. ลาโพง เปลี่ยนสัญญาณไฟฟาให้เป็ นพลังงานเสียง ้
  • 14. เครืองบันทึกเสียง (Tape recorder) ่ เครื่องบันทึกเสียง ขณะบันทึกด้วยการพูดผ่านไมโครโฟน ซึ่งจะเปลียน ่ พลังงานเสียงเป็ นสัญญาณไฟฟา แล้วบันทึกลงในแถบบันทึกเสียง ้ ซึ่งฉาบด้วยสารแม่เหล็กในรูปของสัญญาณแม่เหล็ก เมือนาแถบบันทึกเสียงที่บนทึกได้มาเล่น สัญญาณแม่เหล็กจะถูก ่ ั เปลี่ยนกลับเป็ นสัญญาณไฟฟา และสัญญาณนีจะถูกขยายให้แรง ้ ้ ขึนด้วยอุปกรณ์ไฟฟาจนทาให้ลาโพงสันสะเทือนเป็ นเสียงขึนอีกครั้ง ้ ้ ่ ้ หนึง ่ ในการใช้เครื่องใช้ไฟฟาที่ให้พลังงานเสียง พวก วิทยุ หรือเครื่องเสียง ้ ประเภทต่างๆ ส่วนใหญ่สิ้นเปลืองพลังงานไฟฟาไม่มาก แต่ทงนี้ ้ ั้ ขึนอยูกบ กาลังไฟฟา ของเครื่องเสียงนันๆ และขึนอยูกบความดัง ้ ่ ั ้ ้ ้ ่ ั ของเสียงในการเปิ ดฟังด้วย
  • 15. ประเภทเครื่องใช้ไฟฟ้ าที่ให้พลังงานกล มอเตอร์ เป็ นเครื่องใช้ไฟฟาที่เปลี่ยนพลังงานไฟฟาเป็ นพลังงาน ้ ้ กล ประกอบด้วยขดลวดที่พนรอบแกนโลหะที่วางอยูระหว่างขัวแม่เหล็ก ั ่ ้ โดยเมือผ่านกระแสไฟฟาเข้าไปยังขดลวดที่อยูระหว่างขัวแม่เหล็ก จะทาให้ ่ ้ ่ ้ ขดลวดหมุนไปรอบแกน และเมือสลับขัวไฟฟา การหมุนของขดลวดจะหมุน ่ ้ ้ กลับทิศทางเดิม มอเตอร์ มี 2 ประเภท คือ มอเตอร์กระแสตรง และมอเตอร์ผานเข้าไปใน ่ ขดลวดอาร์เมเจอร์เพือทาให้เกิดการดูดและผลักกันของแม่เหล็กถาวรกับ ่ แม่เหล็กระแสสลับ 1.มอเตอร์กระแสตรง เป็ นมอเตอร์ที่ตองใช้ไฟฟากระแสตรงไฟฟาที่เกิดจาก ้ ้ ้ ขดลวดมอเตอร์จึงหมุนได้
  • 16. 2.มอเตอร์กระแสสลับ เป็ นมอเตอร์ที่ตองใช้กบไฟฟากระแสสลับ โดย ้ ั ้ ใช้หลักการดูดและผลักกันของแม่เหล็กถาวรกับแม่เหล็กไฟฟาจาก้ ขดลวดมาทาให้เกิดการหมุนของมอเตอร์ ข้อควรระวังในการใช้เครื่องใช้ไฟฟาที่มมอเตอรเป็ นส่วนประกอบ คือ ้ ี ห้ามใช้เครื่องใช้ประเภทนีในช่วงที่ไฟตก หรือแรงดันไฟฟาไม่ถึง ้ ้ 220 โวลต์ เนืองจากมอเตอร์จะไม่หมุนและทาให้เกิดกระแสไฟฟาดัน ่ ้ กลับ จะทาให้ขดลวดร้อนจัดจนเกิดไหม้เสียหายได้ ขณะที่มอเตอร์กาลังหมุนจะเกิดการเหนียวนาไฟฟาขึนทาให้เกิด ่ ้ ้ กระแสไฟฟาซ้อนขึนภายในขดลวด แต่มทิศทางการไหลสวนทางกับ ้ ้ ี กระแสไฟฟาที่มาจากแหล่งกาเนิดพลังงานไฟฟาเดิม ทาให้ขดลวด ้ ้ ของมอเตอร์ไม่รอนจนเกิดไฟไหม้ได้ ้
  • 17. 1.พัดลม พัดลม พัดลม แบ่งได้เปน 2 ประเภท คือ ็ - พัดลมตังพื้นหรือตังโต๊ะ นิยมใช้โดยทัวไป ้ ้ ่ - พัดลมติดเพดาน จะกินไฟมากกว่าแบบตังพื้นหรือตังโต๊ะ 1 เท่าตัว ฉะนัน ้ ้ ้ ควรเลือกใช้พดลม ตังพื้นหรือตังโต๊ะ เพราะกินไฟน้อยกว่าแบบติดเพดานถึง ั ้ ้ ร้อยละ 50
  • 18. - เต้าเสียบพัดลมควรมีสายดิน - บริเวณที่ตงพัดลมไม่ควรมีวสดุตดไฟ เช่น ผ้าม่าน กระดาษ ั้ ั ิ - อย่าเปิ ดพัดลมเพื่อระบายอากาศในบริเวณที่มกาซหุงต้มทินเนอร์ ี ๊ หรือนามันเชือเพลิง ้ ้ - พัดลมที่เปิ ดแล้วไม่หมุน ให้รีบปิ ดและส่งซ่อม ทันที - ไม่ควรใช้พดลมไอนา เพราะมีผลให้เกิดปอดชืน ั ้ ้ การบาร ุงรักษา - อย่าเปิ ดพัดลมทิ้งไว้โดยไม่มคนอยู่ เพราะอาจเกิดอัคคีภยได้ ี ั - ปรับระดับความเร็วลมให้เหมาะสม - ควรปิ ดพัดลมและดึงปลักออกทุกๆ ครั้งเมือเลิกใช้ ๊ ่
  • 19. เครื่ องใช้ ไฟฟาที่ให้ แสงสว่ าง ้ หลอดไฟฟา เป็ นเครื่องใช้ไฟฟาที่มใช้ในทุกบ้านที่มีการใช้ ้ ้ ี พลังงานไฟฟา เป็ นเครื่องใช้ที่เปลี่ยนพลังงานไฟฟา ไปเป็ นพลังงานแสง ้ ้ หลอดไฟฟาที่ใช้ทวไป มี 3 ชนิด คือ ้ ั่ 1. หลอดไฟฟาแบบธรรมดา ้ 2. หลอดเรื่องแสงหรือหลอดฟลูออเรสเซนต์ (Fluorescent Lamp) 3. หลอดไฟโฆษณาหรือหลอดนีออน
  • 20. หลอดไฟฟาแบบธรรมดา มีการเปลี่ยนรูปพลังงานจากพลังงานไฟฟาเป็ น ้ ้ พลังงานความร้อน แล้วจึงเปลี่ยนเป็ นพลังงานแสง หลอดไฟฟาแบบธรรมดามี ้ 2 แบบ คือแบบเกลียวและแบบเขียว มีสวนประกอบดังนี้ ้ ่ 1.ไส้หลอด ทาด้วยโลหะที่มีจดหลอดเหลวสูง ทนความร้อนได้มาก มีความ ุ ทานสูง เช่น ทังสเตน 2.หลอดแก้ว ทาจากแก้วที่ทนความร้อนได้ดี ไม่แตกง่าย สูบอากาศออกจน หมดภายในบรรจุกาซไนโตรเจนและอาร์กอนเล็กน้อย ก๊าซชนิดนีทาปฏิกริยายาก ๊ ้ ิ ช่วยปองกันไม่ให้ไส้หลอดระเหิดไปจับที่หลอดแก้ว และช่วยไม่ให้ไส้หลอดไม่ขาด ้ ง่าย ถ้าบรรจุกาซออกซิเจนจะทาปฏิกิริยากับไส้หลอด ซึ่งทาให้ไส้หลอดขาดง่าย ๊
  • 21. 3.ขัวหลอดไฟ เป็ นจุดต่อวงจรไฟฟา มี 2 แบบ คือ แบบเขียวและ ้ ้ ้ แบบเกลียว เนืองจากหลอดไฟฟาประเภทนีให้แสงสว่างได้ดวยการเปลี่ยน ่ ้ ้ ้ พลังงานไฟฟาเป็ นพลังงานความร้อนก่อนทีจะให้แสงสว่างออกมา ้ ่ จึงทาให้สิ้นเปลี่อง พลังงานไฟฟา มากกว่าหลอดชนิดอื่น ใน ้ ขนาด กาลังไฟฟา ของหลอดไฟซึ่งจะกาหนดไว้ที่หลอดไฟทุกดวง ้ เช่น หลอดไฟฟาขนาด 100 วัตต์ เป็ นต้น ้ ้
  • 22. หลอดเรืองแสงหรือหลอดฟลูออเรสเซนต์ (Fluorescent Lamp) ทาด้วย หลอดแก้วที่สบอากาศออกจนหมดแล้วบรรจุไอปรอทไว้เล็กน้อย มีไส้ทปลาย ู ี่ หลอดทังสองข้าง หลอดเรืองแสงอาจทาเป็ นหลอดตรง หรือครึ่งวงกลมก็ ้ ได้ ส่วนประกอบและการทางานของหลอดเรืองแสง มีดงนี้ ั 1. ตัวหลอด ภายในสูบอากาศออกจนหมดแล้วบรรจุไอปรอทและก๊าซ อาร์กอน เล็กน้อย ผิวด้านในของหลอดเรืองแสงฉาบด้วยสารเรืองแสงชนิด ต่างๆ แล้วแต่ความต้องการให้เรืองแสงเป็ นสีใด เช่น ถ้าต้องการให้เรืองแสงสี เขียว ต้องฉาบด้วยสารซิงค์ซิลิเคต แสงสีขาวแกมฟาฉาบด้วยมักเนเซียมทังสเตน ้ แสงสีชมพูฉาบด้วยแคดเนียมบอเรต เป็ นต้น 2. ไส้หลอด ทาด้วยทังสเตนหรือวุลแฟรมอยู่ที่ปลายทังสองข้าง เมื่อ ้ กระแสไฟฟาผ่านไส้หลอดจะทาให้ไส้หลอดร้อนขึน ความร้อนที่เกิดขึนจะทาให้ไอ ้ ้ ้ ปรอทที่บรรจุไว้ในหลอดกลายเป็ นไอมากขึน แต่ขณะนันกระแสไฟฟายังผ่านไอ ้ ้ ้ ปรอทไม่สะดวก เพราะปรอทยังเป็ นไอน้อยทาให้ความต้านทานของหลอดสูง
  • 23. 3. สตาร์ตเตอร์ ทาหน้าที่เป็ นสวิตซ์ไฟฟาอัตโนมัตของวงจรโดยต่อขนานกับ ้ ิ หลอด ทาด้วยหลอดแก้วภายในบรรจุกาซนีออนและแผ่นโลหะคู่ที่งอตัวได้ เมื่อ ๊ ได้รบความร้อน เมื่อกระแสไฟฟาผ่านก๊าซนีออน ก๊าซนีออนจะติดไฟเกิดความ ั ้ ร้อนขึน ทาให้แผ่นโลหะคู่งอจนแตะติดกันทาให้กลายเป็ นวงจรปิ ดทาให้ ้ กระแสไฟฟาผ่านแผ่นโลหะได้ครบวงจร ก๊าซนีออนที่ตดไฟอยู่จะดับและเย็นลง ้ ิ แผ่นโลหะคู่จะแยกออกจากกันทาให้เกิดความต้านทานสูงขึนอย่างทันทีซึ่ง ้ ขณะเดียวกันกระแสไฟฟาจะผ่านไส้หลอดได้มากขึนทาให้ไส้หลอดร้อนขึน ้ ้ ้ มาก ปรอทก็จะเป็ นไอมากขึนจนพอที่นากระแสไฟฟาได้ ้ ้ 4. แบลลัสต์ เป็ นขดลวดที่พนอยู่บนแกนเหล็ก ขณะกระแสไฟฟาไหล ั ้ ผ่านจะเกิดการเหนียวนาแม่เหล็กไฟฟาทาให้เกิดแรงเคลื่อนไฟฟาเหนียวนาขึน ่ ้ ้ ่ ้ เมื่อแผ่นโลหะคู่ในสตาร์ตเตอร์แยกตัวออกจากกันนันจะเกิดวงจรเปิ ด ้ ชัวขณะ แรงเคลื่อนไฟฟาเหนียวนาที่เกิดขึนในแบลลัสต์จึงทาให้เกิดความต่าง ่ ้ ่ ้ ศักย์ระหว่างไส้หลอดทังสองข้างสูงขึนเพียงพอที่จะทาให้กระแสไฟฟาไหลผ่านไอ ้ ้ ้ ปรอทจากไส้หลอดข้างหนึงไปยังไส้หลอดอีกข้างหนึงได้ แรงเคลื่อนไฟฟา ่ ่ ้ เหนียวนาที่เกิดจากแบลลัสต์นนจะทาให้เกิดกระแสไฟฟาเหนียวนาไหลสวนทาง ่ ั้ ้ ่ กับกระแสไฟฟาจากวงจรไฟฟาในบ้าน ทาให้กระแส ไฟฟาที่จะเข้าสูวงจรของ ้ ้ ้ ่ หลอดเรืองแสงลดลง
  • 24. 1. เมื่อให้พลังงานไฟฟาเท่ากันจะให้แสงสว่างมากกว่าหลอดไฟฟาแบบ ้ ้ ธรรมดาประมาณ 4 เท่า และมีอายุการใช้งานนานกว่าหลอดไฟฟาธรรมดา ้ ประมาณ 8 เท่า 2. อุณหภูมิของหลอดไม่สงเท่ากับหลอดไฟฟาแบบธรรมดา ู ้ 3. ถ้าต้องการแสงสว่างเท่ากับหลอดไฟฟาธรรมดา จะใช้วตต์ที่ตากว่า จึง ้ ั ่ เสียค่าไฟฟาน้อยกว่า ้ 1. เมื่อติดตังจะเสียค่าใช้จ่ายสูงกว่าหลอดไฟฟาแบบธรรมดา เพราะต้อง ้ ้ ใช้แบลลัสต์และสตาร์ตเตอร์ เสมอ 2. หลอดเรืองแสงมักระพริบเล็กน้อยไม่เหมาะในการใช้อ่านหนังสือ
  • 25. • ตัวเลขที่ปรากฏบนหลอดไฟฟาธรรมดาและหลอดเรืองแสงซึ่ง ้ บอก กาลังไฟฟาเป็ นวัตต์(W) เป็ นการบอกถึงปริมาณพลังงาน ้ ไฟฟาที่ใช้ไปใน 1 วินาที เช่น 20 W หมายถึง หลอดไฟฟานีจะใช้ ้ ้ ้ พลังงานไป 20 จูลในเวลา 1 วินาที ดังนันหลอดไฟฟาและหลอด ้ ้ เรืองแสงที่มกาลังไฟฟามาก เมือใช้งานก็ยิ่งสินเปลืองกระแสไฟฟา ี ้ ่ ้ ้ มาก ทาให้เสียค่าใช้จายมากขึนด้วย ปั จจุบนมีการผลิตหลอดไฟ ่ ้ ั พร้อมอุปกรณ์ประกอบ เช่น บัลลาสต์ แบบประหยัดพลังงานขึนมา ้ ใช้หลายชนิด เช่น หลอดตะเกียบ หลอดผอม บัลลาสต์เบอร์ 5 เป็ น ต้น
  • 26. หลอดไฟโฆษณาหรือหลอดนีออน เป็ นหลอดแก้วที่ถกลนไฟแล้วดัดให้ ู เป็ นรูปหรือตัวอักษร ไม่มไส้หลอดแต่ที่ปลายทังสองข้างจะมีขวไฟฟาทาด้วย ี ้ ั้ ้ โลหะ ต่อกับแหล่งกาเนิดไฟฟา ที่มความต่างศักย์สงประมาณ 10,000 ้ ี ู โวลต์ ภายในหลอดสูบอากาศออกจนหมดแล้วใส่กาซบางชนิดที่ให้แสงสี ๊ ต่างๆออกมาเมือมีกระแสไฟฟาผ่าน เช่นก๊าซนีออนให้แสงสีแดงหรือส้ม ก๊าซ ่ ้ ฮีเลียมให้แสงสีชมพู ความต่างศักย์ที่สงมากๆ จะทาให้กาซที่บรรจุไว้ใน ู ๊ หลอดเกิดการแตกตัวเป็ นอิออน และนาไฟฟาได้ เมือกระแสไฟฟาผ่านก๊าซ ้ ่ ้ เหล่านีจะทาให้กาซร้อนติดไฟให้แสงสีตางๆได้ ้ ๊ ่
  • 27. 1. ใช้หลอดเรืองแสงจะให้แสงสว่างมากกว่าหลอดธรรมดา ประมาณ 4 เท่า เมือใช้พลังงานไฟฟาเท่ากัน และอายุการใช้งานจะ ่ ้ ทนกว่าประมาณ 8 เท่า 2. ใช้แสงสว่างให้เหมาะกับการใช้งาน ที่ใดต้องการแสงสว่างไม่มากนัก ควรติดไฟน้อยดวง 3. ทาความสะอาดโปะไฟ จะให้แสงสว่างเต็มที่ ๊ 4. ปิ ดไฟทุกครั้งที่ไม่จาเป็ นต้องใช้