SlideShare a Scribd company logo
1 of 17
Download to read offline
เภสัชกรหญิงธมลวรรณ ธีระบัญชร
(M.Sc.in Marketing: Thammasart Business School)
อาจารย์ประจาสาขาวิชาการจัดการธุรกิจค้าปลีก: FMS: PNRU
AGENDA : 140118
1. ความหมายของกลุ่ม
2. ชนิดของกลุ่มในองค์การ
3. การติดต่อสื่อสารภายในกลุ่ม
4. การนาเสนอความคิดต่อกลุ่ม
1.ความหมายของกลุ่ม
กลุ่ม คือ หน่วยทางสังคมที่เกิดจากการรวมตัวของคน 2 คนขึ้นไป
มีบุคลิกภาพคล้ายกัน มีความต้องที่จะบรรลุเป้าหมายการทางานอย่าง
เดียวกัน
เปรียบเทียบได้กับคน คนแต่ละคนย่อมมีบุคลิกและเป้าหมาย
ของตัวเองการรวมกลุ่มก็เช่นกัน โดยทุกกลุ่มจะมีลักษณะที่เหมือนกัน
สาคัญๆ ได้แก่ บทบาท บรรทัดฐาน สถานะ ความผูกพัน และ
ขนาดของกลุ่ม
2.ชนิดของกลุ่มในองค์การ
กลุ่มงาน (functional group)
จะเป็นกลุ่มของคนที่อยู่ในงานเดียวกัน ทางานด้วยกันขององค์การ
เช่น แผนกการตลาด แผนกการผลิต แผนกการเงิน เป็นต้น
2.ชนิดของกลุ่มในองค์การ
กลุ่มข้ามสายงาน (cross function group)
เป็นกลุ่มคนจากหลายกลุ่มงาน มารวมตัวกันเพื่อทาสิ่งใดสิ่งหนึ่งร่วมกัน
เช่น การออกแบบผลิตภัณฑ์ใหม่ออกสู่ตลาด จึงต้องอาศัยผู้เชี่ยวชาญ
จากหลายกลุ่มงานมาช่วยกันทา
2.ชนิดของกลุ่มในองค์การ
กลุ่มโครงการ (project group)
ประกอบด้วยสมาชิกจากหลายแขนงสาขาวิชา หรือประกอบด้วย
สมาชิกที่มีพื้นความรู้จากสาขาวิชาต่างๆกัน รวมตัวกันเพื่อบรรลุ
วัตถุประสงค์ของโครงการภายใต้เงื่อนไขของเวลา ทั้งนี้
เมื่อเสร็จภารกิจบุคลากรแต่ละคนก็จะกลับไปทาหน้าที่
ตนเองในหน่วยงานเดิม
2.ชนิดของกลุ่มในองค์การ
กลุ่มสนใจร่วมกัน (interest friendhip group)
เป็นกลุ่มคนที่เข้ามารวมตัวกันโดยมีพื้นฐานความเชื่ออย่างเดียวกัน
สนใจในเรื่องเดียวกัน ทั้งนี้เราเรียกองค์การชนิดนี้อีกอย่างว่า
องค์การอรูปนัย นั่นเอง
3.การติดต่อสื่อสารภายในกลุ่มแบบ
TEAMWORK
Facilitator/
leader
Encourager
Task manager
Critic
Recorder
3.การติดต่อสื่อสารภายในกลุ่มแบบ บนลงล่าง
Strategies
Objective
Policy
Feedback
Instruction
3.การติดต่อสื่อสารภายในกลุ่มแบบ ล่างขึ้นบน
Problem
Result
Suggestion
Question
Needs
3.การติดต่อสื่อสารภายในกลุ่มแบบ แนวราบ
Problem
Needs
Advices
Feedback
4.การคิดสร้างสรรค์
การเตรียมตัว
(Preparation)
การบ่มเพาะความคิด
(Incubation)
การทาความคิดให้กระจ่าง
(Illumination)
การสอบทานความคิด
(Varification)
4.ประโยชน์การคิดสร้างสรรค์
ทาให้เกิดความเปลี่ยนแปลงทาให้เกิดแนวทางใหม่ๆในการดาเนินชีวิต
และหนทางใหม่ๆในการทางาน
ก่อให้เกิดความสนุก เป็นธรรมดาของมนุษย์ที่ต้องค้นหาวิธีการคิดใหม่ๆขึ้นมา
ทดแทน
พัฒนาสมองของคนให้มีความฉลาดเฉียบคม การฝึกการคิดหรือพยายามคิด
เรื่องที่แปลกๆใหม่ๆ
สร้างความเชื่อมั่น ความน่านับถือและความพอใจในตัวเองขึ้นมา
เป็นผู้นาทางด้านความคิดและเกิดความภูมิใจในตนเอง
5.วิธีการคิดแบบหมวกหกใบ
หมวกขาว จะแทนการวิเคราะห์ข้อมูลข่าวสารต่างๆอย่างเป็น
กลาง โดยไม่ใช้อารมณ์
หมวกแดง ให้เสรีภาพในการแสดงอารมณ์ความรู้สึกออกมาอย่างเต็มที่
รวมทั้งลางสังหรณ์ สัญชาติญาณ การหยั่งรู้ รสนิยม
หมวกดา จะเป็นการประเมินข้อเสีย ด้านลบและเหตุผล ซึ่งเป็นหมวกที่
ใช้กันมากที่สุด
5.วิธีการคิดแบบหมวกหกใบ
หมวกฟ้า จะแทนการมองภาพรวมของสิ่งต่างๆ ควบคุม
จัดระเบียบของ กระบวนการคิด และขั้นตอนการใช้
หมวกสีต่างๆ การกาหนดกรอบประเด็น การหาข้อสรุป
และข้อยุติตามธรรมเนียมแล้วผู้ใช้หมวกสีฟ้ามักจะเป็น
ประธานหรือผู้ช่วย
การคิดแบบหมวกหกใบจะมีข้อดีคือ เป็นการคิดแบบคู่ขนาน ไม่มีการเมืองและเก
เป็นการคิดแบบสร้างสรรค์ ทาให้ระมัดระวังในการคิด สามารถใช้ความรู้สึกและลาง
เป็นการคิดแบบแสวงหาคุณค่าและประโยชน์ มีการกาหนดกลไกของการคิด ขจัดคว
5.วิธีการคิดแบบหมวกหกใบ
การคิดแบบหมวกหกใบจะมีข้อดีคือ เป็นการคิดแบบคู่ขนาน ไม่มี
การเมืองและเกมอานาจ เป็นการคิดแบบสร้างสรรค์ ทาให้ระมัดระวังใน
การคิด สามารถใช้ความรู้สึกและลางสังหรณ์ได้
เป็นการคิดแบบแสวงหาคุณค่าและประโยชน์ มีการกาหนดกลไกของการ
คิด
ขจัดความเป็นตัวเราตัวเขาออกไปจากการคิด ทาให้สามารถใช้
ภูมิปัญญาได้อย่างเต็มที่ ทาให้สามารถคิดได้ทีละอย่างทีละด้าน
ไม่ทาให้สับสนในการคิด ช่วยย่นระยะเวลาในการคิดให้สั้นและ
กระชับขึ้น เปิดโอกาสให้แสดงความคิดได้หลายแง่มุม และเกิด
เสรีภาพในการคิด
 STORY BOARD
: POWER POINT or FUTURE BOARD
 VTR
: TVC or VTR or Short Film
ปล่อยของให้ครูบ้าง
“Cool&Smart” Fighter of FMS PNRU

More Related Content

More from Thamonwan Theerabunchorn

ภญ.ธมลวรรณ ธีระบัญชร
ภญ.ธมลวรรณ ธีระบัญชรภญ.ธมลวรรณ ธีระบัญชร
ภญ.ธมลวรรณ ธีระบัญชรThamonwan Theerabunchorn
 
Qr code เข้าห้องเรียน
Qr code เข้าห้องเรียนQr code เข้าห้องเรียน
Qr code เข้าห้องเรียนThamonwan Theerabunchorn
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจน้ำพริก
ตัวอย่างแผนธุรกิจน้ำพริกตัวอย่างแผนธุรกิจน้ำพริก
ตัวอย่างแผนธุรกิจน้ำพริกThamonwan Theerabunchorn
 
บทที่ 5 การดำเนินธุรกิจอย่างมีคุณธรรมฯ
บทที่  5 การดำเนินธุรกิจอย่างมีคุณธรรมฯบทที่  5 การดำเนินธุรกิจอย่างมีคุณธรรมฯ
บทที่ 5 การดำเนินธุรกิจอย่างมีคุณธรรมฯThamonwan Theerabunchorn
 
บทที่ 3 การประกอบธุรกิจขนาดย่อมและขนาดเล็
บทที่ 3 การประกอบธุรกิจขนาดย่อมและขนาดเล็บทที่ 3 การประกอบธุรกิจขนาดย่อมและขนาดเล็
บทที่ 3 การประกอบธุรกิจขนาดย่อมและขนาดเล็Thamonwan Theerabunchorn
 
บทที่ 2 การเป็นผู้ประกอบการ
บทที่ 2 การเป็นผู้ประกอบการบทที่ 2 การเป็นผู้ประกอบการ
บทที่ 2 การเป็นผู้ประกอบการThamonwan Theerabunchorn
 
บทที่ 1ความรู้เบื้องต้นฯ
บทที่ 1ความรู้เบื้องต้นฯบทที่ 1ความรู้เบื้องต้นฯ
บทที่ 1ความรู้เบื้องต้นฯThamonwan Theerabunchorn
 
บทที่ 5 การเขียนแผนธุรกิจ
บทที่ 5 การเขียนแผนธุรกิจบทที่ 5 การเขียนแผนธุรกิจ
บทที่ 5 การเขียนแผนธุรกิจThamonwan Theerabunchorn
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำนมข้าว
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำนมข้าวตัวอย่างแผนธุรกิจการทำนมข้าว
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำนมข้าวThamonwan Theerabunchorn
 
3การวางแผนทางธุรกิจ
3การวางแผนทางธุรกิจ3การวางแผนทางธุรกิจ
3การวางแผนทางธุรกิจThamonwan Theerabunchorn
 
2การจัดตั้งธุรกิจ
2การจัดตั้งธุรกิจ2การจัดตั้งธุรกิจ
2การจัดตั้งธุรกิจThamonwan Theerabunchorn
 

More from Thamonwan Theerabunchorn (20)

ภญ.ธมลวรรณ ธีระบัญชร
ภญ.ธมลวรรณ ธีระบัญชรภญ.ธมลวรรณ ธีระบัญชร
ภญ.ธมลวรรณ ธีระบัญชร
 
Qr code เข้าห้องเรียน
Qr code เข้าห้องเรียนQr code เข้าห้องเรียน
Qr code เข้าห้องเรียน
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจน้ำพริก
ตัวอย่างแผนธุรกิจน้ำพริกตัวอย่างแผนธุรกิจน้ำพริก
ตัวอย่างแผนธุรกิจน้ำพริก
 
1intro information system
1intro information system1intro information system
1intro information system
 
บทที่6 digital marketing
บทที่6 digital marketingบทที่6 digital marketing
บทที่6 digital marketing
 
บทที่ 5 การดำเนินธุรกิจอย่างมีคุณธรรมฯ
บทที่  5 การดำเนินธุรกิจอย่างมีคุณธรรมฯบทที่  5 การดำเนินธุรกิจอย่างมีคุณธรรมฯ
บทที่ 5 การดำเนินธุรกิจอย่างมีคุณธรรมฯ
 
บทที่ 3 การประกอบธุรกิจขนาดย่อมและขนาดเล็
บทที่ 3 การประกอบธุรกิจขนาดย่อมและขนาดเล็บทที่ 3 การประกอบธุรกิจขนาดย่อมและขนาดเล็
บทที่ 3 การประกอบธุรกิจขนาดย่อมและขนาดเล็
 
บทที่ 2 การเป็นผู้ประกอบการ
บทที่ 2 การเป็นผู้ประกอบการบทที่ 2 การเป็นผู้ประกอบการ
บทที่ 2 การเป็นผู้ประกอบการ
 
บทที่ 1ความรู้เบื้องต้นฯ
บทที่ 1ความรู้เบื้องต้นฯบทที่ 1ความรู้เบื้องต้นฯ
บทที่ 1ความรู้เบื้องต้นฯ
 
บทที่ 5 การเขียนแผนธุรกิจ
บทที่ 5 การเขียนแผนธุรกิจบทที่ 5 การเขียนแผนธุรกิจ
บทที่ 5 การเขียนแผนธุรกิจ
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำนมข้าว
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำนมข้าวตัวอย่างแผนธุรกิจการทำนมข้าว
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำนมข้าว
 
3 c 2
3 c 23 c 2
3 c 2
 
3 c 1
3 c 13 c 1
3 c 1
 
4. 4 ps
4. 4 ps4. 4 ps
4. 4 ps
 
3การวางแผนทางธุรกิจ
3การวางแผนทางธุรกิจ3การวางแผนทางธุรกิจ
3การวางแผนทางธุรกิจ
 
2การจัดตั้งธุรกิจ
2การจัดตั้งธุรกิจ2การจัดตั้งธุรกิจ
2การจัดตั้งธุรกิจ
 
1ผู้ประกอบการ
1ผู้ประกอบการ1ผู้ประกอบการ
1ผู้ประกอบการ
 
Humaness f1
Humaness f1Humaness f1
Humaness f1
 
Lesson 3 4lastest
Lesson 3 4lastestLesson 3 4lastest
Lesson 3 4lastest
 
Lesson9
Lesson9Lesson9
Lesson9
 

Relationship stepi ipart2_214jan18