SlideShare a Scribd company logo
11 คณิตศาสตร์ ป.3
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 จานวนนับไม่เกิน 100,000 (1)
เรื่องที่ 1 การอ่านและการเขียนจานวนนับไม่เกิน 100,000
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 การอ่านและการเขียนจานวนนับไม่เกิน 100,000
เวลา 1-2 ชั่วโมง
1. สาระสาคัญ/ความคิดรวบยอด
จานวนนับที่ไม่เกิน 100,000 เป็นจานวนที่ไม่เกินหกหลัก เขียนแทนด้วยตัวเลขฮินดูอารบิก ตัวเลขไทย และตัวหนังสือ
เพื่อแสดงปริมาณของสิ่งของหรือจานวนนับนั้น
2. ตัวชี้วัด/จุดประสงค์การเรียนรู้
2.1 ตัวชี้วัด
ค 1.1 ป.3/1 เขียนและอ่านตัวเลขฮินดูอารบิก ตัวเลขไทย และตัวหนังสือ แสดงปริมาณของสิ่งของหรือจานวนนับที่ไม่เกิน
หนึ่งแสน และศูนย์
ค 6.1 ป.1-3/4 – ป.1-3/5
2.2 จุดประสงค์การเรียนรู้
1. เขียนตัวเลขฮินดูอารบิก ตัวเลขไทย และตัวหนังสือแทนจานวนนับไม่เกินหนึ่งแสนและศูนย์ได้
2. อ่านตัวเลขฮินดูอารบิก ตัวเลขไทย และตัวหนังสือแทนจานวนนับไม่เกินหนึ่งแสนและศูนย์ได้
3. สาระการเรียนรู้
3.1 สาระการเรียนรู้แกนกลาง
1) การเขียนตัวเลขฮินดูอารบิก ตัวเลขไทย และตัวหนังสือแสดงจานวน
2) การอ่านตัวเลขฮินดูอารบิกและตัวเลขไทย
3.2 สาระการเรียนรู้ท้องถิ่น
(พิจารณาตามหลักสูตรสถานศึกษา)
4. สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน
4.1 ความสามารถในการสื่อสาร
4.2 ความสามารถในการคิด
- ทักษะการสังเกต
5. คุณลักษณะอันพึงประสงค์
1. มีวินัย
2. ใฝ่เรียนรู้
3. มุ่งมั่นในการทางาน
12 คณิตศาสตร์ ป.3
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 จานวนนับไม่เกิน 100,000 (1)
เรื่องที่ 1 การอ่านและการเขียนจานวนนับไม่เกิน 100,000
6. กิจกรรมการเรียนรู้
 วิธีสอนแบบโมเดลซิปปา (CIPPA Model)
ชั่วโมงที่ 1
 นักเรียนทาแบบทดสอบก่อนเรียน หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง จานวนนับไม่เกิน 100,000
ขั้นที่ 1 ทบทวนความรู้เดิม
สื่อการเรียนรู้ : 1. แผ่นพับโฆษณาสินค้า 2. หลักลูกคิด
1. ครูสนทนากับนักเรียนเพื่อทบทวนความรู้เรื่อง จานวนนับไม่เกิน
1,000 โดยให้นักเรียนตอบคาถามกระตุ้นความคิด ข้อ 1-2
2. นักเรียนทุกคนเลือกสินค้าที่มีราคาไม่เกิน 1,000 บาท จากแผ่นพับ
โฆษณาสินค้ามาเขียนเป็นตัวเลขฮินดูอารบิก ตัวเลขไทย และ
ตัวหนังสือ จากนั้นครูสุ่มตัวแทนนักเรียน 3 คน ออกมาเขียนจานวน
ที่ตนเลือก นักเรียนที่เหลือช่วยกันตรวจสอบความถูกต้อง แล้วให้
นักเรียนแสดงจานวนดังกล่าวด้วยหลักลูกคิด
คาถามกระตุ้นความคิด
1. ทาไมนักเรียนจึงต้องเรียนเรื่องจานวน
(พิจารณาตามคาตอบของนักเรียน โดยให้อยู่ใน
ดุลยพินิจของครูผู้สอน)
2. นักเรียนคิดว่า จานวนกับตัวเลขเหมือนหรือ
ต่างกันอย่างไร
(ต่างกัน เพราะตัวเลขใช้เป็นสัญลักษณ์ในการ
แสดงจานวน แต่จานวนใช้บอกปริมาณของสิ่ง
ต่างๆ )
ขั้นที่ 2 แสวงหาความรู้ใหม่
สื่อการเรียนรู้ : 1. หลักลูกคิด 2. บัตรตัวเลข
3. หนังสือเรียน คณิตศาสตร์ ป.3
1. ครูใช้หลักลูกคิดแสดงจานวนนับที่มากกว่า 1,000 แต่ไม่เกิน 10,000
3-5 จานวน แล้วให้นักเรียนช่วยกันบอกว่า หลักลูกคิดแสดงจานวนใด
และนักเรียนทราบได้อย่างไร
2. ครูใช้หลักลูกคิดแสดงจานวนนับที่มากกว่า 10,000 แต่ไม่เกิน
100,000 3-5 จานวน แล้วให้นักเรียนช่วยกันบอกว่า หลักลูกคิด
แสดงจานวนใด และนักเรียนทราบได้อย่างไร
3. นักเรียนตอบคาถามกระตุ้นความคิด
4. ครูแบ่งกระดานออกเป็น 3 ส่วน แล้วติดบัตรตัวเลขฮินดูอารบิก
ตัวเลขไทย และตัวหนังสือลงในแต่ละส่วน จากนั้นครูและนักเรียน
ร่วมกันอภิปรายเพื่อหาวิธีการนาหลักลูกคิดมาแสดงแทนบัตรตัวเลข
และบัตรข้อความดังกล่าว
5. ครูดาเนินกิจกรรมนี้อีก 3-5 ตัวอย่าง แล้วให้นักเรียนสังเกตหลัก
ลูกคิด ครูสามารถใช้ตัวอย่างในหนังสือเรียนได้
6. ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายความรู้เรื่อง จานวนนับไม่เกิน 1,000
จานวนนับไม่เกิน 10,000 และจานวนนับไม่เกิน 100,000
7. นักเรียนสังเกตหลักลูกคิดแสดงจานวนนับไม่เกิน 1,000 จานวนนับ
ไม่เกิน 10,000 และจานวนนับไม่เกิน 100,000 (ครูเลือกมาอย่างละ
1 จานวน) แล้วร่วมกันอภิปรายถึงความแตกต่างและความเหมือน
ของจานวนทั้งสามจานวน
คาถามกระตุ้นความคิด
 การแสดงจานวนเป็นตัวเลขฮินดูอารบิกและ
ตัวเลขไทยเหมือนหรือต่างกันอย่างไร
(เหมือนกัน เพราะทั้งตัวเลขฮินดูอารบิกและ
ตัวเลขไทย ล้วนเป็นสัญลักษณ์ใช้แสดงจานวน
เพียงแต่เขียนไม่เหมือนกันเท่านั้น)
(ชั่วโมงที่ 1)
13 คณิตศาสตร์ ป.3
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 จานวนนับไม่เกิน 100,000 (1)
เรื่องที่ 1 การอ่านและการเขียนจานวนนับไม่เกิน 100,000
8. ครูแบ่งนักเรียนเป็นกลุ่ม กลุ่มละ 4 คน คละกันตามความสามารถ
(เก่ง ปานกลางค่อนข้างเก่ง ปานกลางค่อนข้างอ่อน อ่อน) ให้นักเรียน
แต่ละกลุ่มศึกษาความรู้เรื่อง จานวนนับไม่เกิน 100,000 จากหนังสือ-
เรียน
ขั้นที่ 3 ศึกษาทาความเข้าใจข้อมูล/ความรู้ใหม่ และเชื่อมโยงความรู้ใหม่กับความรู้เดิม
สื่อการเรียนรู้ : 1. หลักลูกคิด
2. หนังสือเรียน คณิตศาสตร์ ป.3
1. นักเรียนตอบคาถามกระตุ้นความคิด
2. ครูให้นักเรียนแต่ละกลุ่มช่วยกันทากิจกรรมฝึกฝนทักษะเรื่อง
จานวนนับไม่เกิน 1,000 ข้อ 1-2 เรื่อง จานวนนับไม่เกิน 10,000
ข้อ 1-4 จากหนังสือเรียน เสร็จแล้วร่วมกันเฉลยคาตอบของกิจกรรม
3. ครูให้นักเรียนแต่ละกลุ่มช่วยกันทากิจกรรมฝึกฝนทักษะเรื่อง
จานวนนับไม่เกิน 100,000 ข้อ 1-3 จากหนังสือเรียน และทา
ใบงานที่ 1.1 เรื่อง อ่านและเขียนจานวนนับไม่เกิน 100,000
เป็นการบ้าน แล้วนามาส่งครูในการเรียนครั้งต่อไป
คาถามกระตุ้นความคิด
 จานวนนับไม่เกิน 100,000 มีลักษณะอย่างไร
(เป็นจานวนนับที่มีไม่เกินหกหลัก สามารถแสดง
ด้วยตัวเลขฮินดูอารบิก ตัวเลขไทย และ
ตัวหนังสือ)
ชั่วโมงที่ 2
ขั้นที่ 4 แลกเปลี่ยนความรู้ความเข้าใจกับกลุ่ม
สื่อ/แหล่งการเรียนรู้ : —
1. นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันอภิปรายแลกเปลี่ยนเรียนรู้เกี่ยวกับ
คาตอบของกิจกรรมฝึกฝนทักษะและใบงานที่ 1.1 จนได้คาตอบ
ที่เป็นมติของกลุ่ม
2. ครูสุ่มตัวแทนนักเรียนแต่ละกลุ่มออกมานาเสนอคาตอบของกิจกรรม
ฝึกฝนทักษะจนครบทุกข้อ และใบงานที่ 1.1
ขั้นที่ 5 สรุปและจัดระเบียบความรู้
สื่อการเรียนรู้ : แผนผังสรุปความรู้
นักเรียนทุกกลุ่มร่วมกันเขียนแผนผังสรุปความรู้เรื่อง การอ่านและ
การเขียนจานวนนับไม่เกิน 100,000 พร้อมยกตัวอย่าง
ขั้นที่ 6 ปฏิบัติและ/หรือแสดงผลงาน
สื่อการเรียนรู้ : ใบงานที่ 1.1
นักเรียนแต่ละกลุ่มส่งตัวแทนออกมานาเสนอแผนผังสรุปความรู้เรื่อง
การอ่านและการเขียนจานวนนับไม่เกิน 100,000 ครูและนักเรียน
ที่เหลือร่วมกันตรวจสอบความถูกต้อง
(ชั่วโมงที่ 2)
14 คณิตศาสตร์ ป.3
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 จานวนนับไม่เกิน 100,000 (1)
เรื่องที่ 1 การอ่านและการเขียนจานวนนับไม่เกิน 100,000
ขั้นที่ 7 ประยุกต์ใช้ความรู้
สื่อ/แหล่งการเรียนรู้ : —
1. นักเรียนตอบคาถามกระตุ้นความคิด ข้อ 1-2
2. ครูให้นักเรียนทุกคนยกตัวอย่างสถานการณ์ที่เกี่ยวกับการใช้ตัวเลข
แสดงจานวนไม่เกิน 100,000 คนละ 2 สถานการณ์ จากนั้นครูสุ่ม
เรียกนักเรียน 3-5 คน ให้ออกมานาเสนอสถานการณ์ดังกล่าว
คาถามกระตุ้นความคิด
1. การเรียนเรื่อง จานวนนับไม่เกิน 100,000
มีประโยชน์ต่อนักเรียนอย่างไร
(พิจารณาตามคาตอบของนักเรียน โดยให้อยู่ใน
ดุลยพินิจของครูผู้สอน)
2. นักเรียนพบเห็นการใช้ตัวเลขแสดงจานวน
ในเรื่องใด
(พิจารณาตามคาตอบของนักเรียน โดยให้อยู่ใน
ดุลยพินิจของครูผู้สอน)
7. การวัดและประเมินผล
วิธีการ เครื่องมือ เกณฑ์
ตรวจแบบทดสอบก่อนเรียน หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 แบบทดสอบก่อนเรียน หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 (ประเมินตามสภาพจริง)
ตรวจใบงานที่ 1.1 ใบงานที่ 1.1 ร้อยละ 60 ผ่านเกณฑ์
สังเกตพฤติกรรมการทางานรายบุคคล แบบสังเกตพฤติกรรมการทางานรายบุคคล ระดับคุณภาพ 2 ผ่านเกณฑ์
สังเกตพฤติกรรมการทางานกลุ่ม แบบสังเกตพฤติกรรมการทางานกลุ่ม ระดับคุณภาพ 2 ผ่านเกณฑ์
สังเกตความมีวินัย ใฝ่เรียนรู้ และมุ่งมั่นในการทางาน แบบประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ระดับคุณภาพ 2 ผ่านเกณฑ์
8. สื่อ/แหล่งการเรียนรู้
8.1 สื่อการเรียนรู้
1) หนังสือเรียน คณิตศาสตร์ ป.3
2) แผ่นพับโฆษณาสินค้า
3) แผนผังสรุปความรู้
4) บัตรตัวเลข
5) หลักลูกคิด
6) ใบงานที่ 1.1 เรื่อง อ่านและเขียนจานวนนับไม่เกิน 100,000
8.2 แหล่งการเรียนรู้
—
15 คณิตศาสตร์ ป.3
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 จานวนนับไม่เกิน 100,000 (1)
เรื่องที่ 1 การอ่านและการเขียนจานวนนับไม่เกิน 100,000
บัตรตัวเลข
14,254 67,248 22,369
57,753 13,864 87,159
10,951 40,852 36,257
75,803 24,830 45,117
46,711 83,171 24,338
79,383 56,993 57,399
12,939 36,448 36,484

16 คณิตศาสตร์ ป.3
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 จานวนนับไม่เกิน 100,000 (1)
เรื่องที่ 1 การอ่านและการเขียนจานวนนับไม่เกิน 100,000
ใบงานที่ 1.1เรื่อง อ่านและเขียนจานวนนับไม่เกิน 100,000
คาชี้แจง ให้นักเรียนเขียนตัวเลขฮินดูอารบิกหรือตัวเลขไทย และเขียนเป็นตัวหนังสือ
จานวน ตัวเลขฮินดูอารบิก ตัวเลขไทย ตัวหนังสือ
1) 54,459
2) ๑๔,๒๕๔
3) ๓๑,๙๖๔
4) 55,856
5) ๗๓,๔๘๖
6) 28,154
7) 36,228
8) ๔๓,๖๐๙
9) 65,466
10) ๓๑,๙๖๔
11) 58,261
12) ๔๗,๓๙๙
13) 85,391
14) 93,201
15) ๙๓,๖๔๔
17 คณิตศาสตร์ ป.3
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 จานวนนับไม่เกิน 100,000 (1)
เรื่องที่ 1 การอ่านและการเขียนจานวนนับไม่เกิน 100,000
เฉลยใบงานที่ 1.1เรื่อง อ่านและเขียนจานวนนับไม่เกิน 100,000
คาชี้แจง ให้นักเรียนเขียนตัวเลขฮินดูอารบิกหรือตัวเลขไทย และเขียนเป็นตัวหนังสือ
จานวน ตัวเลขฮินดูอารบิก ตัวเลขไทย ตัวหนังสือ
1) 54,459
2) ๑๔,๒๕๔
3) ๓๑,๙๖๔
4) 55,856
5) ๗๓,๔๘๖
6) 28,154
7) 36,228
8) ๔๓,๖๐๙
9) 65,466
10) ๓๑,๙๖๔
11) 58,261
12) ๔๗,๓๙๙
13) 85,391
14) 93,201
15) ๙๓,๖๔๔
๕๔,๔๕๙
๕๕,๘๕๖
31,964
43,609 -
-
-
-
-
-
-
-
14,254
สามหมื่นหกพันสองร้อยยี่สิบแปด
๒๘,๑๕๔
๓๖,๒๒๘
ห้าหมื่นสี่พันสี่ร้อยห้าสิบเก้า
หนึ่งหมื่นสี่พันสองร้อยห้าสิบสี่
สามหมื่นหนึ่งพันเก้าร้อยหกสิบสี่
ห้าหมื่นห้าพันแปดร้อยห้าสิบหก
เจ็ดหมื่นสามพันสี่ร้อยแปดสิบหก
สองหมื่นแปดพันหนึ่งร้อยห้าสิบสี่
สี่หมื่นสามพันหกร้อยเก้า
73,486
-
-
-
-
-
-
-93,644
๙๓,๒๐๑
เก้าหมื่นสามพันหกร้อยสี่สิบสี่
31,964
47,399
๖๕,๔๖๖
๕๘,๒๖๑
๘๕,๓๙๑
หกหมื่นห้าพันสี่ร้อยหกสิบหก
สามหมื่นหนึ่งพันเก้าร้อยหกสิบสี่
ห้าหมื่นแปดพันสองร้อยหกสิบเอ็ด
สี่หมื่นเจ็ดพันสามร้อยเก้าสิบเก้า
แปดหมื่นห้าพันสามร้อยเก้าสิบเอ็ด
เก้าหมื่นสามพันสองร้อยเอ็ด
18 คณิตศาสตร์ ป.3
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 จานวนนับไม่เกิน 100,000 (1)
เรื่องที่ 1 การอ่านและการเขียนจานวนนับไม่เกิน 100,000
แบบสังเกตพฤติกรรม การทางานรายบุคคล
ชื่อ ชั้น
คาชี้แจง : ให้ ผู้สอน สังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในระหว่างเรียนและนอกเวลาเรียน แล้วขีด  ลงในช่องว่าง
ที่ตรงกับระดับคะแนน
ลาดับที่ รายการประเมิน
ระดับคะแนน
3 2 1
1 การแสดงความคิดเห็น
2 การยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
3 การทางานตามหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย
4 ความมีน้าใจ
5 การตรงต่อเวลา
รวม
ลงชื่อ...................................................ผู้ประเมิน
............../.................../................
เกณฑ์การให้คะแนน
ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมอย่างสม่าเสมอ ให้ 3 คะแนน
ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมบ่อยครั้ง ให้ 2 คะแนน
ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมบางครั้ง ให้ 1 คะแนน
เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ
ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ
12 - 15 ดี
8 - 11 พอใช้
ต่ากว่า 8 ปรับปรุง
19 คณิตศาสตร์ ป.3
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 จานวนนับไม่เกิน 100,000 (1)
เรื่องที่ 1 การอ่านและการเขียนจานวนนับไม่เกิน 100,000
แบบสังเกตพฤติกรรม การทางานกลุ่ม
ชื่อกลุ่ม ชั้น
คาชี้แจง : ให้ ผู้สอน สังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในระหว่างเรียนและนอกเวลาเรียน แล้วขีด  ลงในช่องว่าง
ที่ตรงกับระดับคะแนน
ลาดับที่ รายการประเมิน
ระดับคะแนน
3 2 1
1 การแบ่งหน้าที่กันอย่างเหมาะสม
2 ความร่วมมือกันทางาน
3 การแสดงความคิดเห็น
4 การรับฟังความคิดเห็น
5 ความมีน้าใจช่วยเหลือกัน
รวม
ลงชื่อ...................................................ผู้ประเมิน
............../.................../................
เกณฑ์การให้คะแนน
ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมอย่างสม่าเสมอ ให้ 3 คะแนน
ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมบ่อยครั้ง ให้ 2 คะแนน
ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมบางครั้ง ให้ 1 คะแนน
เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ
ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ
12 - 15 ดี
8 - 11 พอใช้
ต่ากว่า 8 ปรับปรุง
20 คณิตศาสตร์ ป.3
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 จานวนนับไม่เกิน 100,000 (1)
เรื่องที่ 1 การอ่านและการเขียนจานวนนับไม่เกิน 100,000
แบบประเมิน คุณลักษณะอันพึงประสงค์
คาชี้แจง : ให้ ผู้สอน สังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในระหว่างเรียนและนอกเวลาเรียน แล้วขีด  ลงในช่องว่าง
ที่ตรงกับระดับคะแนน
คุณลักษณะ
อันพึงประสงค์ด้าน
รายการประเมิน
ระดับคะแนน
3 2 1
1. รักชาติ ศาสน์
กษัตริย์
1.1 ยืนตรงเมื่อได้ยินเพลงชาติ ร้องเพลงชาติได้ และบอกความหมายของ
เพลงชาติ
1.2 ปฏิบัติตนตามสิทธิหน้าที่
1.3 เข้าร่วมกิจกรรมที่เป็นประโยชน์ต่อโรงเรียนและปฏิบัติตนเป็นตัวอย่างที่ดี
ในการสร้างความสามัคคี ปรองดองในหมู่เพื่อน
1.4 เข้าร่วมกิจกรรมทางศาสนาที่ตนนับถือ ปฏิบัติตนตามหลักของศาสนา
อย่างสม่าเสมอ เป็นตัวอย่างที่ดีของศาสนิกชน
1.5 เข้าร่วมกิจกรรมและมีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรมที่เกี่ยวกับสถาบัน
พระมหากษัตริย์ตามที่โรงเรียนและชุมชนจัดขึ้น
2. ซื่อสัตย์สุจริต 2.1 ให้ข้อมูลที่ถูกต้อง และเป็นจริง
2.2 ปฏิบัติในสิ่งที่ถูกต้อง ละอาย และเกรงกลัวที่จะทาความผิด ทาตาม
สัญญาที่ตนให้ไว้กับพ่อแม่หรือผู้ปกครอง และครู
2.3 ปฏิบัติตนต่อผู้อื่นด้วยความซื่อตรง
3. มีวินัย รับผิดชอบ 3.1 ปฏิบัติตามข้อตกลง กฎเกณฑ์ ระเบียบ ข้อบังคับของครอบครัวและ
โรงเรียน มีความตรงต่อเวลาในการปฏิบัติกิจกรรมต่างๆ ในชีวิตประจาวัน
4. ใฝ่เรียนรู้ 4.1 รู้จักใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ และนาไปปฏิบัติได้
4.2 รู้จักจัดสรรเวลาให้เหมาะสม
4.3 เชื่อฟังคาสั่งสอนของบิดา-มารดา โดยไม่โต้แย้ง
4.4 ตั้งใจเรียน
4.5 รู้จักปรับปรุงตนเองในข้อผิดพลาด
4.6 รู้จักมัธยัสถ์ และเก็บออม
4.7 รู้จักอดทน กล้าแสดงสิ่งที่ถูกต้อง รักษากฎ ระเบียบ ข้อบังคับของชุมชน
21 คณิตศาสตร์ ป.3
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 จานวนนับไม่เกิน 100,000 (1)
เรื่องที่ 1 การอ่านและการเขียนจานวนนับไม่เกิน 100,000
แบบประเมิน คุณลักษณะอันพึงประสงค์ (ต่อ)
คาชี้แจง : ให้ ผู้สอน สังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในระหว่างเรียนและนอกเวลาเรียน แล้วขีด  ลงในช่องว่าง
ที่ตรงกับระดับคะแนน
คุณลักษณะ
อันพึงประสงค์ด้าน
รายการประเมิน
ระดับคะแนน
3 2 1
5. อยู่อย่างพอเพียง 5.1 ใช้ทรัพย์สินและสิ่งของของโรงเรียนอย่างประหยัด
5.2 ใช้อุปกรณ์การเรียนอย่างประหยัดและรู้คุณค่า
5.3 ใช้จ่ายอย่างประหยัดและมีการเก็บออมเงิน
6. มุ่งมั่นในการ
ทางาน
6.1 มีความตั้งใจและพยายามในการทางานที่ได้รับมอบหมาย
6.2 มีความอดทนและไม่ท้อแท้ต่ออุปสรรคเพื่อให้งานสาเร็จ
7. รักความเป็นไทย 7.1 มีจิตสานึกในการอนุรักษ์วัฒนธรรมและภูมิปัญญาไทย
7.2 เห็นคุณค่าและปฏิบัติตนตามวัฒนธรรมไทย
8. มีจิตสาธารณะ 8.1 รู้จักช่วยพ่อแม่ ผู้ปกครอง และครูทางาน
8.2 อาสาทางาน และแบ่งปันสิ่งของให้ผู้อื่น
8.3 รู้จักการดูแล รักษาทรัพย์สมบัติและสิ่งแวดล้อมของห้องเรียน โรงเรียน
เข้าร่วมกิจกรรมของโรงเรียน
ลงชื่อ...................................................ผู้ประเมิน
............../.................../................
เกณฑ์การให้คะแนน
พฤติกรรมที่ปฏิบัติชัดเจนและสม่าเสมอ ให้ 3 คะแนน
พฤติกรรมที่ปฏิบัติชัดเจนและบ่อยครั้ง ให้ 2 คะแนน
พฤติกรรมที่ปฏิบัติบางครั้ง ให้ 1 คะแนน
22 คณิตศาสตร์ ป.3
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 จานวนนับไม่เกิน 100,000 (1)
เรื่องที่ 1 การอ่านและการเขียนจานวนนับไม่เกิน 100,000
บันทึกหลังแผนการสอน
 ด้านความรู้
 ด้านสมรรถนะสาคัญของผู้เรียน
 ด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์
 ด้านอื่นๆ (พฤติกรรมเด่น หรือพฤติกรรมที่มีปัญหาของนักเรียนเป็นรายบุคคล (ถ้ามี))
 ปัญหา/อุปสรรค
 แนวทางการแก้ไข
ความเห็นของผู้บริหารสถานศึกษาหรือผู้ที่ได้รับมอบหมาย
ข้อเสนอแนะ
ลงชื่อ
( )
ตาแหน่ง

More Related Content

Viewers also liked

ตารางวิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดสาระพระพุทธศาสนา
ตารางวิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดสาระพระพุทธศาสนาตารางวิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดสาระพระพุทธศาสนา
ตารางวิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดสาระพระพุทธศาสนานันทนา วงศ์สมิตกุล
 
วิเคราะห์หลักสูตรสังคม
วิเคราะห์หลักสูตรสังคมวิเคราะห์หลักสูตรสังคม
วิเคราะห์หลักสูตรสังคมkrusuparat01
 
วิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดสาระภูมิศาสตร์
วิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดสาระภูมิศาสตร์วิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดสาระภูมิศาสตร์
วิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดสาระภูมิศาสตร์นันทนา วงศ์สมิตกุล
 
กำหนดการจัดการเรียนรู้วิชาวิทยาศาสตร์ ป.3
กำหนดการจัดการเรียนรู้วิชาวิทยาศาสตร์ ป.3กำหนดการจัดการเรียนรู้วิชาวิทยาศาสตร์ ป.3
กำหนดการจัดการเรียนรู้วิชาวิทยาศาสตร์ ป.3Mam Chongruk
 
วิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดสาระเศรษฐ
วิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดสาระเศรษฐวิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดสาระเศรษฐ
วิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดสาระเศรษฐนันทนา วงศ์สมิตกุล
 
ม1 วิเคราะห์หลักสูตร 1
ม1 วิเคราะห์หลักสูตร 1ม1 วิเคราะห์หลักสูตร 1
ม1 วิเคราะห์หลักสูตร 1kruthirachetthapat
 
การวิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดสาระหน้าที่ฯ
การวิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดสาระหน้าที่ฯการวิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดสาระหน้าที่ฯ
การวิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดสาระหน้าที่ฯนันทนา วงศ์สมิตกุล
 
คำกริยาที่บ่งบอกพฤติกรรมการเรียนรู้ KPA
คำกริยาที่บ่งบอกพฤติกรรมการเรียนรู้ KPAคำกริยาที่บ่งบอกพฤติกรรมการเรียนรู้ KPA
คำกริยาที่บ่งบอกพฤติกรรมการเรียนรู้ KPAณัฐพล แสงทวี
 

Viewers also liked (9)

ตารางวิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดสาระพระพุทธศาสนา
ตารางวิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดสาระพระพุทธศาสนาตารางวิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดสาระพระพุทธศาสนา
ตารางวิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดสาระพระพุทธศาสนา
 
วิเคราะห์หลักสูตรสังคม
วิเคราะห์หลักสูตรสังคมวิเคราะห์หลักสูตรสังคม
วิเคราะห์หลักสูตรสังคม
 
วิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดสาระภูมิศาสตร์
วิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดสาระภูมิศาสตร์วิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดสาระภูมิศาสตร์
วิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดสาระภูมิศาสตร์
 
กำหนดการจัดการเรียนรู้วิชาวิทยาศาสตร์ ป.3
กำหนดการจัดการเรียนรู้วิชาวิทยาศาสตร์ ป.3กำหนดการจัดการเรียนรู้วิชาวิทยาศาสตร์ ป.3
กำหนดการจัดการเรียนรู้วิชาวิทยาศาสตร์ ป.3
 
วิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดสาระเศรษฐ
วิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดสาระเศรษฐวิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดสาระเศรษฐ
วิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดสาระเศรษฐ
 
ม1 วิเคราะห์หลักสูตร 1
ม1 วิเคราะห์หลักสูตร 1ม1 วิเคราะห์หลักสูตร 1
ม1 วิเคราะห์หลักสูตร 1
 
Student56 (1)
Student56 (1)Student56 (1)
Student56 (1)
 
การวิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดสาระหน้าที่ฯ
การวิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดสาระหน้าที่ฯการวิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดสาระหน้าที่ฯ
การวิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดสาระหน้าที่ฯ
 
คำกริยาที่บ่งบอกพฤติกรรมการเรียนรู้ KPA
คำกริยาที่บ่งบอกพฤติกรรมการเรียนรู้ KPAคำกริยาที่บ่งบอกพฤติกรรมการเรียนรู้ KPA
คำกริยาที่บ่งบอกพฤติกรรมการเรียนรู้ KPA
 

Similar to Plan1

แผนการสอนเลขยกกำลัง
แผนการสอนเลขยกกำลังแผนการสอนเลขยกกำลัง
แผนการสอนเลขยกกำลัง
katokung
 
123
123123
หน่วย 1 1
หน่วย 1 1หน่วย 1 1
หน่วย 1 1
Toongneung SP
 
หน่วยที่ 3 เลขยกกำลัง ม.1
หน่วยที่ 3 เลขยกกำลัง ม.1หน่วยที่ 3 เลขยกกำลัง ม.1
หน่วยที่ 3 เลขยกกำลัง ม.1
กอล์ฟ กุยช่ายเอกวิทย์
 
แผนการเรียนรู้1
แผนการเรียนรู้1แผนการเรียนรู้1
แผนการเรียนรู้1Yoon Yoon
 

Similar to Plan1 (6)

แผนการสอนเลขยกกำลัง
แผนการสอนเลขยกกำลังแผนการสอนเลขยกกำลัง
แผนการสอนเลขยกกำลัง
 
123
123123
123
 
หน่วย 1 1
หน่วย 1 1หน่วย 1 1
หน่วย 1 1
 
หน่วยที่ 3 เลขยกกำลัง ม.1
หน่วยที่ 3 เลขยกกำลัง ม.1หน่วยที่ 3 เลขยกกำลัง ม.1
หน่วยที่ 3 เลขยกกำลัง ม.1
 
Ex
ExEx
Ex
 
แผนการเรียนรู้1
แผนการเรียนรู้1แผนการเรียนรู้1
แผนการเรียนรู้1
 

Recently uploaded

แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
Prachyanun Nilsook
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdfรายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
NitayataNuansri
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 

Recently uploaded (9)

แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
 
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdfรายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
 

Plan1

  • 1. 11 คณิตศาสตร์ ป.3 หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 จานวนนับไม่เกิน 100,000 (1) เรื่องที่ 1 การอ่านและการเขียนจานวนนับไม่เกิน 100,000 แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 การอ่านและการเขียนจานวนนับไม่เกิน 100,000 เวลา 1-2 ชั่วโมง 1. สาระสาคัญ/ความคิดรวบยอด จานวนนับที่ไม่เกิน 100,000 เป็นจานวนที่ไม่เกินหกหลัก เขียนแทนด้วยตัวเลขฮินดูอารบิก ตัวเลขไทย และตัวหนังสือ เพื่อแสดงปริมาณของสิ่งของหรือจานวนนับนั้น 2. ตัวชี้วัด/จุดประสงค์การเรียนรู้ 2.1 ตัวชี้วัด ค 1.1 ป.3/1 เขียนและอ่านตัวเลขฮินดูอารบิก ตัวเลขไทย และตัวหนังสือ แสดงปริมาณของสิ่งของหรือจานวนนับที่ไม่เกิน หนึ่งแสน และศูนย์ ค 6.1 ป.1-3/4 – ป.1-3/5 2.2 จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. เขียนตัวเลขฮินดูอารบิก ตัวเลขไทย และตัวหนังสือแทนจานวนนับไม่เกินหนึ่งแสนและศูนย์ได้ 2. อ่านตัวเลขฮินดูอารบิก ตัวเลขไทย และตัวหนังสือแทนจานวนนับไม่เกินหนึ่งแสนและศูนย์ได้ 3. สาระการเรียนรู้ 3.1 สาระการเรียนรู้แกนกลาง 1) การเขียนตัวเลขฮินดูอารบิก ตัวเลขไทย และตัวหนังสือแสดงจานวน 2) การอ่านตัวเลขฮินดูอารบิกและตัวเลขไทย 3.2 สาระการเรียนรู้ท้องถิ่น (พิจารณาตามหลักสูตรสถานศึกษา) 4. สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน 4.1 ความสามารถในการสื่อสาร 4.2 ความสามารถในการคิด - ทักษะการสังเกต 5. คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 1. มีวินัย 2. ใฝ่เรียนรู้ 3. มุ่งมั่นในการทางาน
  • 2. 12 คณิตศาสตร์ ป.3 หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 จานวนนับไม่เกิน 100,000 (1) เรื่องที่ 1 การอ่านและการเขียนจานวนนับไม่เกิน 100,000 6. กิจกรรมการเรียนรู้  วิธีสอนแบบโมเดลซิปปา (CIPPA Model) ชั่วโมงที่ 1  นักเรียนทาแบบทดสอบก่อนเรียน หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง จานวนนับไม่เกิน 100,000 ขั้นที่ 1 ทบทวนความรู้เดิม สื่อการเรียนรู้ : 1. แผ่นพับโฆษณาสินค้า 2. หลักลูกคิด 1. ครูสนทนากับนักเรียนเพื่อทบทวนความรู้เรื่อง จานวนนับไม่เกิน 1,000 โดยให้นักเรียนตอบคาถามกระตุ้นความคิด ข้อ 1-2 2. นักเรียนทุกคนเลือกสินค้าที่มีราคาไม่เกิน 1,000 บาท จากแผ่นพับ โฆษณาสินค้ามาเขียนเป็นตัวเลขฮินดูอารบิก ตัวเลขไทย และ ตัวหนังสือ จากนั้นครูสุ่มตัวแทนนักเรียน 3 คน ออกมาเขียนจานวน ที่ตนเลือก นักเรียนที่เหลือช่วยกันตรวจสอบความถูกต้อง แล้วให้ นักเรียนแสดงจานวนดังกล่าวด้วยหลักลูกคิด คาถามกระตุ้นความคิด 1. ทาไมนักเรียนจึงต้องเรียนเรื่องจานวน (พิจารณาตามคาตอบของนักเรียน โดยให้อยู่ใน ดุลยพินิจของครูผู้สอน) 2. นักเรียนคิดว่า จานวนกับตัวเลขเหมือนหรือ ต่างกันอย่างไร (ต่างกัน เพราะตัวเลขใช้เป็นสัญลักษณ์ในการ แสดงจานวน แต่จานวนใช้บอกปริมาณของสิ่ง ต่างๆ ) ขั้นที่ 2 แสวงหาความรู้ใหม่ สื่อการเรียนรู้ : 1. หลักลูกคิด 2. บัตรตัวเลข 3. หนังสือเรียน คณิตศาสตร์ ป.3 1. ครูใช้หลักลูกคิดแสดงจานวนนับที่มากกว่า 1,000 แต่ไม่เกิน 10,000 3-5 จานวน แล้วให้นักเรียนช่วยกันบอกว่า หลักลูกคิดแสดงจานวนใด และนักเรียนทราบได้อย่างไร 2. ครูใช้หลักลูกคิดแสดงจานวนนับที่มากกว่า 10,000 แต่ไม่เกิน 100,000 3-5 จานวน แล้วให้นักเรียนช่วยกันบอกว่า หลักลูกคิด แสดงจานวนใด และนักเรียนทราบได้อย่างไร 3. นักเรียนตอบคาถามกระตุ้นความคิด 4. ครูแบ่งกระดานออกเป็น 3 ส่วน แล้วติดบัตรตัวเลขฮินดูอารบิก ตัวเลขไทย และตัวหนังสือลงในแต่ละส่วน จากนั้นครูและนักเรียน ร่วมกันอภิปรายเพื่อหาวิธีการนาหลักลูกคิดมาแสดงแทนบัตรตัวเลข และบัตรข้อความดังกล่าว 5. ครูดาเนินกิจกรรมนี้อีก 3-5 ตัวอย่าง แล้วให้นักเรียนสังเกตหลัก ลูกคิด ครูสามารถใช้ตัวอย่างในหนังสือเรียนได้ 6. ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายความรู้เรื่อง จานวนนับไม่เกิน 1,000 จานวนนับไม่เกิน 10,000 และจานวนนับไม่เกิน 100,000 7. นักเรียนสังเกตหลักลูกคิดแสดงจานวนนับไม่เกิน 1,000 จานวนนับ ไม่เกิน 10,000 และจานวนนับไม่เกิน 100,000 (ครูเลือกมาอย่างละ 1 จานวน) แล้วร่วมกันอภิปรายถึงความแตกต่างและความเหมือน ของจานวนทั้งสามจานวน คาถามกระตุ้นความคิด  การแสดงจานวนเป็นตัวเลขฮินดูอารบิกและ ตัวเลขไทยเหมือนหรือต่างกันอย่างไร (เหมือนกัน เพราะทั้งตัวเลขฮินดูอารบิกและ ตัวเลขไทย ล้วนเป็นสัญลักษณ์ใช้แสดงจานวน เพียงแต่เขียนไม่เหมือนกันเท่านั้น) (ชั่วโมงที่ 1)
  • 3. 13 คณิตศาสตร์ ป.3 หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 จานวนนับไม่เกิน 100,000 (1) เรื่องที่ 1 การอ่านและการเขียนจานวนนับไม่เกิน 100,000 8. ครูแบ่งนักเรียนเป็นกลุ่ม กลุ่มละ 4 คน คละกันตามความสามารถ (เก่ง ปานกลางค่อนข้างเก่ง ปานกลางค่อนข้างอ่อน อ่อน) ให้นักเรียน แต่ละกลุ่มศึกษาความรู้เรื่อง จานวนนับไม่เกิน 100,000 จากหนังสือ- เรียน ขั้นที่ 3 ศึกษาทาความเข้าใจข้อมูล/ความรู้ใหม่ และเชื่อมโยงความรู้ใหม่กับความรู้เดิม สื่อการเรียนรู้ : 1. หลักลูกคิด 2. หนังสือเรียน คณิตศาสตร์ ป.3 1. นักเรียนตอบคาถามกระตุ้นความคิด 2. ครูให้นักเรียนแต่ละกลุ่มช่วยกันทากิจกรรมฝึกฝนทักษะเรื่อง จานวนนับไม่เกิน 1,000 ข้อ 1-2 เรื่อง จานวนนับไม่เกิน 10,000 ข้อ 1-4 จากหนังสือเรียน เสร็จแล้วร่วมกันเฉลยคาตอบของกิจกรรม 3. ครูให้นักเรียนแต่ละกลุ่มช่วยกันทากิจกรรมฝึกฝนทักษะเรื่อง จานวนนับไม่เกิน 100,000 ข้อ 1-3 จากหนังสือเรียน และทา ใบงานที่ 1.1 เรื่อง อ่านและเขียนจานวนนับไม่เกิน 100,000 เป็นการบ้าน แล้วนามาส่งครูในการเรียนครั้งต่อไป คาถามกระตุ้นความคิด  จานวนนับไม่เกิน 100,000 มีลักษณะอย่างไร (เป็นจานวนนับที่มีไม่เกินหกหลัก สามารถแสดง ด้วยตัวเลขฮินดูอารบิก ตัวเลขไทย และ ตัวหนังสือ) ชั่วโมงที่ 2 ขั้นที่ 4 แลกเปลี่ยนความรู้ความเข้าใจกับกลุ่ม สื่อ/แหล่งการเรียนรู้ : — 1. นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันอภิปรายแลกเปลี่ยนเรียนรู้เกี่ยวกับ คาตอบของกิจกรรมฝึกฝนทักษะและใบงานที่ 1.1 จนได้คาตอบ ที่เป็นมติของกลุ่ม 2. ครูสุ่มตัวแทนนักเรียนแต่ละกลุ่มออกมานาเสนอคาตอบของกิจกรรม ฝึกฝนทักษะจนครบทุกข้อ และใบงานที่ 1.1 ขั้นที่ 5 สรุปและจัดระเบียบความรู้ สื่อการเรียนรู้ : แผนผังสรุปความรู้ นักเรียนทุกกลุ่มร่วมกันเขียนแผนผังสรุปความรู้เรื่อง การอ่านและ การเขียนจานวนนับไม่เกิน 100,000 พร้อมยกตัวอย่าง ขั้นที่ 6 ปฏิบัติและ/หรือแสดงผลงาน สื่อการเรียนรู้ : ใบงานที่ 1.1 นักเรียนแต่ละกลุ่มส่งตัวแทนออกมานาเสนอแผนผังสรุปความรู้เรื่อง การอ่านและการเขียนจานวนนับไม่เกิน 100,000 ครูและนักเรียน ที่เหลือร่วมกันตรวจสอบความถูกต้อง (ชั่วโมงที่ 2)
  • 4. 14 คณิตศาสตร์ ป.3 หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 จานวนนับไม่เกิน 100,000 (1) เรื่องที่ 1 การอ่านและการเขียนจานวนนับไม่เกิน 100,000 ขั้นที่ 7 ประยุกต์ใช้ความรู้ สื่อ/แหล่งการเรียนรู้ : — 1. นักเรียนตอบคาถามกระตุ้นความคิด ข้อ 1-2 2. ครูให้นักเรียนทุกคนยกตัวอย่างสถานการณ์ที่เกี่ยวกับการใช้ตัวเลข แสดงจานวนไม่เกิน 100,000 คนละ 2 สถานการณ์ จากนั้นครูสุ่ม เรียกนักเรียน 3-5 คน ให้ออกมานาเสนอสถานการณ์ดังกล่าว คาถามกระตุ้นความคิด 1. การเรียนเรื่อง จานวนนับไม่เกิน 100,000 มีประโยชน์ต่อนักเรียนอย่างไร (พิจารณาตามคาตอบของนักเรียน โดยให้อยู่ใน ดุลยพินิจของครูผู้สอน) 2. นักเรียนพบเห็นการใช้ตัวเลขแสดงจานวน ในเรื่องใด (พิจารณาตามคาตอบของนักเรียน โดยให้อยู่ใน ดุลยพินิจของครูผู้สอน) 7. การวัดและประเมินผล วิธีการ เครื่องมือ เกณฑ์ ตรวจแบบทดสอบก่อนเรียน หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 แบบทดสอบก่อนเรียน หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 (ประเมินตามสภาพจริง) ตรวจใบงานที่ 1.1 ใบงานที่ 1.1 ร้อยละ 60 ผ่านเกณฑ์ สังเกตพฤติกรรมการทางานรายบุคคล แบบสังเกตพฤติกรรมการทางานรายบุคคล ระดับคุณภาพ 2 ผ่านเกณฑ์ สังเกตพฤติกรรมการทางานกลุ่ม แบบสังเกตพฤติกรรมการทางานกลุ่ม ระดับคุณภาพ 2 ผ่านเกณฑ์ สังเกตความมีวินัย ใฝ่เรียนรู้ และมุ่งมั่นในการทางาน แบบประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ระดับคุณภาพ 2 ผ่านเกณฑ์ 8. สื่อ/แหล่งการเรียนรู้ 8.1 สื่อการเรียนรู้ 1) หนังสือเรียน คณิตศาสตร์ ป.3 2) แผ่นพับโฆษณาสินค้า 3) แผนผังสรุปความรู้ 4) บัตรตัวเลข 5) หลักลูกคิด 6) ใบงานที่ 1.1 เรื่อง อ่านและเขียนจานวนนับไม่เกิน 100,000 8.2 แหล่งการเรียนรู้ —
  • 5. 15 คณิตศาสตร์ ป.3 หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 จานวนนับไม่เกิน 100,000 (1) เรื่องที่ 1 การอ่านและการเขียนจานวนนับไม่เกิน 100,000 บัตรตัวเลข 14,254 67,248 22,369 57,753 13,864 87,159 10,951 40,852 36,257 75,803 24,830 45,117 46,711 83,171 24,338 79,383 56,993 57,399 12,939 36,448 36,484 
  • 6. 16 คณิตศาสตร์ ป.3 หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 จานวนนับไม่เกิน 100,000 (1) เรื่องที่ 1 การอ่านและการเขียนจานวนนับไม่เกิน 100,000 ใบงานที่ 1.1เรื่อง อ่านและเขียนจานวนนับไม่เกิน 100,000 คาชี้แจง ให้นักเรียนเขียนตัวเลขฮินดูอารบิกหรือตัวเลขไทย และเขียนเป็นตัวหนังสือ จานวน ตัวเลขฮินดูอารบิก ตัวเลขไทย ตัวหนังสือ 1) 54,459 2) ๑๔,๒๕๔ 3) ๓๑,๙๖๔ 4) 55,856 5) ๗๓,๔๘๖ 6) 28,154 7) 36,228 8) ๔๓,๖๐๙ 9) 65,466 10) ๓๑,๙๖๔ 11) 58,261 12) ๔๗,๓๙๙ 13) 85,391 14) 93,201 15) ๙๓,๖๔๔
  • 7. 17 คณิตศาสตร์ ป.3 หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 จานวนนับไม่เกิน 100,000 (1) เรื่องที่ 1 การอ่านและการเขียนจานวนนับไม่เกิน 100,000 เฉลยใบงานที่ 1.1เรื่อง อ่านและเขียนจานวนนับไม่เกิน 100,000 คาชี้แจง ให้นักเรียนเขียนตัวเลขฮินดูอารบิกหรือตัวเลขไทย และเขียนเป็นตัวหนังสือ จานวน ตัวเลขฮินดูอารบิก ตัวเลขไทย ตัวหนังสือ 1) 54,459 2) ๑๔,๒๕๔ 3) ๓๑,๙๖๔ 4) 55,856 5) ๗๓,๔๘๖ 6) 28,154 7) 36,228 8) ๔๓,๖๐๙ 9) 65,466 10) ๓๑,๙๖๔ 11) 58,261 12) ๔๗,๓๙๙ 13) 85,391 14) 93,201 15) ๙๓,๖๔๔ ๕๔,๔๕๙ ๕๕,๘๕๖ 31,964 43,609 - - - - - - - - 14,254 สามหมื่นหกพันสองร้อยยี่สิบแปด ๒๘,๑๕๔ ๓๖,๒๒๘ ห้าหมื่นสี่พันสี่ร้อยห้าสิบเก้า หนึ่งหมื่นสี่พันสองร้อยห้าสิบสี่ สามหมื่นหนึ่งพันเก้าร้อยหกสิบสี่ ห้าหมื่นห้าพันแปดร้อยห้าสิบหก เจ็ดหมื่นสามพันสี่ร้อยแปดสิบหก สองหมื่นแปดพันหนึ่งร้อยห้าสิบสี่ สี่หมื่นสามพันหกร้อยเก้า 73,486 - - - - - - -93,644 ๙๓,๒๐๑ เก้าหมื่นสามพันหกร้อยสี่สิบสี่ 31,964 47,399 ๖๕,๔๖๖ ๕๘,๒๖๑ ๘๕,๓๙๑ หกหมื่นห้าพันสี่ร้อยหกสิบหก สามหมื่นหนึ่งพันเก้าร้อยหกสิบสี่ ห้าหมื่นแปดพันสองร้อยหกสิบเอ็ด สี่หมื่นเจ็ดพันสามร้อยเก้าสิบเก้า แปดหมื่นห้าพันสามร้อยเก้าสิบเอ็ด เก้าหมื่นสามพันสองร้อยเอ็ด
  • 8. 18 คณิตศาสตร์ ป.3 หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 จานวนนับไม่เกิน 100,000 (1) เรื่องที่ 1 การอ่านและการเขียนจานวนนับไม่เกิน 100,000 แบบสังเกตพฤติกรรม การทางานรายบุคคล ชื่อ ชั้น คาชี้แจง : ให้ ผู้สอน สังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในระหว่างเรียนและนอกเวลาเรียน แล้วขีด  ลงในช่องว่าง ที่ตรงกับระดับคะแนน ลาดับที่ รายการประเมิน ระดับคะแนน 3 2 1 1 การแสดงความคิดเห็น 2 การยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น 3 การทางานตามหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย 4 ความมีน้าใจ 5 การตรงต่อเวลา รวม ลงชื่อ...................................................ผู้ประเมิน ............../.................../................ เกณฑ์การให้คะแนน ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมอย่างสม่าเสมอ ให้ 3 คะแนน ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมบ่อยครั้ง ให้ 2 คะแนน ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมบางครั้ง ให้ 1 คะแนน เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ 12 - 15 ดี 8 - 11 พอใช้ ต่ากว่า 8 ปรับปรุง
  • 9. 19 คณิตศาสตร์ ป.3 หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 จานวนนับไม่เกิน 100,000 (1) เรื่องที่ 1 การอ่านและการเขียนจานวนนับไม่เกิน 100,000 แบบสังเกตพฤติกรรม การทางานกลุ่ม ชื่อกลุ่ม ชั้น คาชี้แจง : ให้ ผู้สอน สังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในระหว่างเรียนและนอกเวลาเรียน แล้วขีด  ลงในช่องว่าง ที่ตรงกับระดับคะแนน ลาดับที่ รายการประเมิน ระดับคะแนน 3 2 1 1 การแบ่งหน้าที่กันอย่างเหมาะสม 2 ความร่วมมือกันทางาน 3 การแสดงความคิดเห็น 4 การรับฟังความคิดเห็น 5 ความมีน้าใจช่วยเหลือกัน รวม ลงชื่อ...................................................ผู้ประเมิน ............../.................../................ เกณฑ์การให้คะแนน ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมอย่างสม่าเสมอ ให้ 3 คะแนน ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมบ่อยครั้ง ให้ 2 คะแนน ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมบางครั้ง ให้ 1 คะแนน เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ 12 - 15 ดี 8 - 11 พอใช้ ต่ากว่า 8 ปรับปรุง
  • 10. 20 คณิตศาสตร์ ป.3 หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 จานวนนับไม่เกิน 100,000 (1) เรื่องที่ 1 การอ่านและการเขียนจานวนนับไม่เกิน 100,000 แบบประเมิน คุณลักษณะอันพึงประสงค์ คาชี้แจง : ให้ ผู้สอน สังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในระหว่างเรียนและนอกเวลาเรียน แล้วขีด  ลงในช่องว่าง ที่ตรงกับระดับคะแนน คุณลักษณะ อันพึงประสงค์ด้าน รายการประเมิน ระดับคะแนน 3 2 1 1. รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ 1.1 ยืนตรงเมื่อได้ยินเพลงชาติ ร้องเพลงชาติได้ และบอกความหมายของ เพลงชาติ 1.2 ปฏิบัติตนตามสิทธิหน้าที่ 1.3 เข้าร่วมกิจกรรมที่เป็นประโยชน์ต่อโรงเรียนและปฏิบัติตนเป็นตัวอย่างที่ดี ในการสร้างความสามัคคี ปรองดองในหมู่เพื่อน 1.4 เข้าร่วมกิจกรรมทางศาสนาที่ตนนับถือ ปฏิบัติตนตามหลักของศาสนา อย่างสม่าเสมอ เป็นตัวอย่างที่ดีของศาสนิกชน 1.5 เข้าร่วมกิจกรรมและมีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรมที่เกี่ยวกับสถาบัน พระมหากษัตริย์ตามที่โรงเรียนและชุมชนจัดขึ้น 2. ซื่อสัตย์สุจริต 2.1 ให้ข้อมูลที่ถูกต้อง และเป็นจริง 2.2 ปฏิบัติในสิ่งที่ถูกต้อง ละอาย และเกรงกลัวที่จะทาความผิด ทาตาม สัญญาที่ตนให้ไว้กับพ่อแม่หรือผู้ปกครอง และครู 2.3 ปฏิบัติตนต่อผู้อื่นด้วยความซื่อตรง 3. มีวินัย รับผิดชอบ 3.1 ปฏิบัติตามข้อตกลง กฎเกณฑ์ ระเบียบ ข้อบังคับของครอบครัวและ โรงเรียน มีความตรงต่อเวลาในการปฏิบัติกิจกรรมต่างๆ ในชีวิตประจาวัน 4. ใฝ่เรียนรู้ 4.1 รู้จักใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ และนาไปปฏิบัติได้ 4.2 รู้จักจัดสรรเวลาให้เหมาะสม 4.3 เชื่อฟังคาสั่งสอนของบิดา-มารดา โดยไม่โต้แย้ง 4.4 ตั้งใจเรียน 4.5 รู้จักปรับปรุงตนเองในข้อผิดพลาด 4.6 รู้จักมัธยัสถ์ และเก็บออม 4.7 รู้จักอดทน กล้าแสดงสิ่งที่ถูกต้อง รักษากฎ ระเบียบ ข้อบังคับของชุมชน
  • 11. 21 คณิตศาสตร์ ป.3 หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 จานวนนับไม่เกิน 100,000 (1) เรื่องที่ 1 การอ่านและการเขียนจานวนนับไม่เกิน 100,000 แบบประเมิน คุณลักษณะอันพึงประสงค์ (ต่อ) คาชี้แจง : ให้ ผู้สอน สังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในระหว่างเรียนและนอกเวลาเรียน แล้วขีด  ลงในช่องว่าง ที่ตรงกับระดับคะแนน คุณลักษณะ อันพึงประสงค์ด้าน รายการประเมิน ระดับคะแนน 3 2 1 5. อยู่อย่างพอเพียง 5.1 ใช้ทรัพย์สินและสิ่งของของโรงเรียนอย่างประหยัด 5.2 ใช้อุปกรณ์การเรียนอย่างประหยัดและรู้คุณค่า 5.3 ใช้จ่ายอย่างประหยัดและมีการเก็บออมเงิน 6. มุ่งมั่นในการ ทางาน 6.1 มีความตั้งใจและพยายามในการทางานที่ได้รับมอบหมาย 6.2 มีความอดทนและไม่ท้อแท้ต่ออุปสรรคเพื่อให้งานสาเร็จ 7. รักความเป็นไทย 7.1 มีจิตสานึกในการอนุรักษ์วัฒนธรรมและภูมิปัญญาไทย 7.2 เห็นคุณค่าและปฏิบัติตนตามวัฒนธรรมไทย 8. มีจิตสาธารณะ 8.1 รู้จักช่วยพ่อแม่ ผู้ปกครอง และครูทางาน 8.2 อาสาทางาน และแบ่งปันสิ่งของให้ผู้อื่น 8.3 รู้จักการดูแล รักษาทรัพย์สมบัติและสิ่งแวดล้อมของห้องเรียน โรงเรียน เข้าร่วมกิจกรรมของโรงเรียน ลงชื่อ...................................................ผู้ประเมิน ............../.................../................ เกณฑ์การให้คะแนน พฤติกรรมที่ปฏิบัติชัดเจนและสม่าเสมอ ให้ 3 คะแนน พฤติกรรมที่ปฏิบัติชัดเจนและบ่อยครั้ง ให้ 2 คะแนน พฤติกรรมที่ปฏิบัติบางครั้ง ให้ 1 คะแนน
  • 12. 22 คณิตศาสตร์ ป.3 หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 จานวนนับไม่เกิน 100,000 (1) เรื่องที่ 1 การอ่านและการเขียนจานวนนับไม่เกิน 100,000 บันทึกหลังแผนการสอน  ด้านความรู้  ด้านสมรรถนะสาคัญของผู้เรียน  ด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์  ด้านอื่นๆ (พฤติกรรมเด่น หรือพฤติกรรมที่มีปัญหาของนักเรียนเป็นรายบุคคล (ถ้ามี))  ปัญหา/อุปสรรค  แนวทางการแก้ไข ความเห็นของผู้บริหารสถานศึกษาหรือผู้ที่ได้รับมอบหมาย ข้อเสนอแนะ ลงชื่อ ( ) ตาแหน่ง