SlideShare a Scribd company logo
1
มหาสมัยสูตร และพระสูตรที่เกี่ยวเนื่อง ตอนที่ ๗ (ตอนสุดท้าย)
ตุวฏกสูตร
พลตรี มารวย ส่งทานินทร์
๒๔ เมษายน พ.ศ. ๒๕๖๖
เกริ่นนา
ในพระสูตรตุวฏกสูตรนี้ เป็นการแสดงพระธรรมเทศนาให้เหล่าเทวดาและพระพรหมที่มาเข้าเฝ้า
พระพุทธองค์ที่ได้กล่าวไว้ในมหาสมัยสูตร เมื่อพระพุทธนิมิตถามปัญหา พระผู้มีพระภาคเจ้าจึงได้ตรัสพระ
สูตรตุวฏกะนี้ (ข้อปฏิบัติของนกคุ่ม) พร้อมกับคาถามพระสูตรนั้น แก่พวกเทวดาและพรหมที่เป็นพวกสัทธา
จริต
ตุวฏกสูตร
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๕ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๗ [ฉบับมหาจุฬาฯ]
ขุททกนิกาย ขุททกปาฐะ-ธรรมบท-อุทาน-อิติวุตตกะ-สุตตนิบาต
๑๔. ตุวฏกสูตร
ว่าด้วยภิกษุผู้กาจัดบาปธรรมอย่างเร็วพลัน
(พระพุทธเนรมิตทูลถามดังนี้ )
[๙๒๒] ข้าพระองค์ขอทูลถามพระองค์ ผู้ทรงเป็นเผ่าพันธุ์พระอาทิตย์ ผู้มีวิเวก มีสันติบท ทรง
แสวงหาคุณอันยิ่งใหญ่ว่า ภิกษุเห็นอย่างไร จึงไม่ถือมั่นอะไรๆ ในโลก ดับไป
(พระผู้มีพระภาคตรัสตอบดังนี้ )
[๙๒๓] ภิกษุพึงขจัดบาปธรรมทั้งปวง ที่เป็นรากเหง้าแห่งกิเลสเครื่องเนิ่นช้า (รากเหง้าแห่งกิเลส
เครื่องเนิ่นช้า ในที่นี้ หมายถึงอวิชชา (ความไม่รู้) อโยนิโสมนสิการ (การไม่มนสิการโดยแยบคาย)
อัสมิมานะ (ความถือตัว) อหิริกะ (ความไม่ละอาย) อโนตตัปปะ (ความไม่เกรงกลัว) อุทธัจจะ(ความ
ฟุ้งซ่าน)) และอัสมิมานะ ด้วยมันตา ตัณหาอย่างใดอย่างหนึ่งที่เกิดในภายใน ภิกษุมีสติทุกเมื่อ พึงศึกษา
เพื่อกาจัดตัณหาเหล่านั้น
[๙๒๔] ภิกษุพึงรู้คุณธรรมอย่างใดอย่างหนึ่ง ในภายในหรือในภายนอก แต่ไม่ควรทาความดื้อรั้น
เพราะคุณธรรมนั้น เพราะการทาความดื้อรั้นนั้น ผู้สงบทั้งหลายไม่กล่าวว่า เป็นความดับกิเลส
[๙๒๕] ภิกษุไม่พึงสาคัญตนว่า เราเลิศกว่าเขา เราด้อยกว่าเขา หรือว่าเราเสมอเขา เพราะ
คุณธรรมนั้น เป็นผู้เพียบพร้อมด้วยคุณธรรมเป็นอเนกแล้ว ไม่พึงกาหนดตนดารงอยู่
[๙๒๖] ภิกษุพึงสงบกิเลสภายในนั่นเอง ไม่พึงแสวงหาความสงบโดยทางอื่น เมื่อภิกษุสงบกิเลส
ภายในได้แล้ว ทิฏฐิว่ามีอัตตา หรือทิฏฐิว่าไม่มีอัตตาก็ไม่มีแต่ที่ไหนๆ
2
[๙๒๗] คลื่นไม่เกิดในส่วนกลางทะเล ทะเลเรียบอยู่ ฉันใด ภิกษุพึงเป็นผู้มั่นคง ไม่หวั่นไหว ฉัน
นั้น ภิกษุไม่พึงก่อกิเลสเครื่องฟูใจ (กิเลสเครื่องฟูใจ มี ๗ อย่าง คือ ราคะ โทสะ โมหะ มานะ ทิฏฐิ กิเลส
และกรรม) ในที่ไหนๆ
(พระพุทธเนรมิตทูลถามดังนี้ )
[๙๒๘] พระผู้มีพระภาค ผู้มีพระจักษุแจ่มแจ้ง (จักษุ ในที่นี้ หมายถึงจักษุ ๕ ชนิด คือ มังสจักษุ
ทิพพจักษุ ปัญญาจักษุ พุทธจักษุ และสมันตจักษุ) ได้ทรงแสดงธรรมที่เป็นพยาน (ธรรมที่เป็นพยาน
หมายถึงธรรมที่พระผู้มีพระภาคทรงทราบเอง ประจักษ์แก่พระองค์เอง มิใช่โดยการเชื่อผู้อื่น) อันเป็นธรรม
เครื่องกาจัดอันตราย ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ขอพระองค์จงตรัสบอกปฏิปทา คือปาติโมกข์ หรือแม้สมาธิ
(พระผู้มีพระภาคตรัสตอบดังนี้ )
[๙๒๙] ภิกษุไม่พึงเป็นผู้มีตาลอกแลก พึงป้องกันหูมิให้ได้ยินคามกถา (คามกถา ในที่นี้ หมายถึง
ติรัจฉานกถา คือถ้อยคาอันขวางทางไปสู่สวรรค์หรือนิพพาน ได้แก่เรื่องราวที่ภิกษุไม่ควรนามาเป็นข้อ
สนทนากัน เพราะทาให้เกิดความฟุ้งซ่านและหลงเพลินเสียเวลา) ไม่พึงติดใจในรส และไม่พึงยึดถืออะไรๆ
ในโลกว่า เป็นของเรา
[๙๓๐] เมื่อใด ภิกษุถูกผัสสะกระทบ เมื่อนั้น เธอก็ไม่พึงทาความคร่าครวญในที่ไหนๆ ไม่พึง
คาดหวังภพ และไม่พึงกระสับกระส่าย เพราะอารมณ์ที่น่ากลัว
[๙๓๑] ภิกษุได้ข้าวก็ดี น้าก็ดี ของขบเคี้ยวก็ดี ผ้าก็ดี ไม่ควรทาการสะสม เมื่อไม่ได้ข้าวเป็นต้น ก็
ไม่พึงสะดุ้ง
[๙๓๒] ภิกษุพึงเป็นผู้มีฌาน ไม่พึงเป็นผู้มีเท้าอยู่ไม่สุข พึงเว้นจากความคะนอง ไม่พึงประมาท
และพึงอยู่ในที่นั่งที่นอนที่มีเสียงน้อย
[๙๓๓] ภิกษุไม่พึงหลับมาก มีความเพียรเครื่องเผากิเลส พึงประกอบความเพียรเครื่องตื่นอยู่ พึง
ละเว้นความเกียจคร้าน ความหลอกลวง เรื่องชวนหัว การเล่น เมถุนธรรม พร้อมทั้งการประดับตกแต่ง
[๙๓๔] ผู้นับถือพระรัตนตรัยไม่พึงประกอบการทาอาถรรพณ์ (อาถรรรพณ์ หมายถึงคาถาอาคม
ทางไสยศาสตร์ หรือเวทมนตร์ที่ใช้เพื่อให้ดีหรือร้าย เป็นคัมภีร์อีกเล่มหนึ่งในคัมภีร์พระเวท) การทานายฝัน
การทานายลักษณะ หรือแม้การดูฤกษ์ยาม ไม่พึงเรียนการทานายเสียงสัตว์ร้อง การปรุงยาให้ตั้งครรภ์ และ
การบาบัดรักษาโรค
[๙๓๕] ภิกษุไม่พึงหวั่นไหวเพราะการนินทา แม้ได้รับการสรรเสริญก็ไม่พึงลาพองตน พึงบรรเทา
ความโลภรวมทั้งความตระหนี่ ความโกรธ และวาจาส่อเสียด
[๙๓๖] ภิกษุไม่พึงดารงชีวิตในการซื้อขาย ไม่พึงก่อกิเลสเป็นเหตุว่าร้ายในที่ไหนๆ ไม่พึงเกี่ยวข้อง
ในบ้าน และไม่พึงพูดเลียบเคียงกับคน เพราะอยากได้ลาภ
[๙๓๗] ภิกษุไม่พึงเป็นคนมักอวด ไม่พึงกล่าววาจามุ่งได้ ไม่พึงศึกษาความเป็นผู้คะนอง ไม่พึง
กล่าวถ้อยคาแก่งแย่ง
[๙๓๘] ภิกษุไม่พึงมุ่งมั่นในความเป็นคนพูดเท็จ เมื่อรู้ตัวก็ไม่พึงทาความโอ้อวด และไม่พึงดูหมิ่น
ผู้อื่นด้วยความเป็นอยู่ ด้วยปัญญา ด้วยศีลและวัตร
3
[๙๓๙] ภิกษุผู้ถูกคนเหล่าอื่นเบียดเบียน ได้ยินคาพูดมากของพวกสมณะ หรือพวกคนพูดมาก
(เหล่าอื่น) ไม่พึงโต้ตอบคนเหล่านั้นด้วยคาหยาบ เพราะผู้สงบย่อมไม่สร้างศัตรู
[๙๔๐] ภิกษุรู้ธรรมนี้ แล้ว เลือกสรรอยู่ พึงเป็นผู้มีสติ ศึกษาทุกเมื่อ รู้ความดับกิเลสว่า เป็นความ
สงบแล้ว ไม่พึงประมาทในศาสนาของพระโคดม
[๙๔๑] ภิกษุนั้นเป็นผู้ครอบงา (ครอบงา หมายถึงครอบงารูป เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ และ
ธรรมารมณ์ หรือครอบงาบาปอกุศลธรรม) ไม่ถูกครอบงา ได้เห็นธรรมที่เป็นพยานซึ่งไม่ต้องเชื่อใคร
เพราะฉะนั้น เธอพึงเป็นผู้ไม่ประมาท ในศาสนาของพระผู้มีพระภาคพระองค์นั้น นอบน้อมอยู่ พึงหมั่น
ศึกษาทุกเมื่อ
ตุวฏกสูตรที่ ๑๔ จบ
------------------------
คาอธิบายเพิ่มเติมนี้ นามาจากบาลส่วนของอรรถกถา ขุททกนิกาย สุตตนิบาต อัฏฐกวรรค
ตุวฏกสูตร
อรรถกถาตุวฏกสูตรที่ ๑๔
พระสูตรนี้ มีการเกิดขึ้นอย่างไร?
ในมหาสมัยนั้นอีกนั่นแหละ พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสพระสูตรนี้ เพื่อทรงประกาศความนั้นแก่
ทวยเทพบางพวกผู้มีจิตเกิดขึ้นว่า อะไรหนอ คือการปฏิบัติเพื่อบรรลุพระอรหัต จึงให้พระพุทธนิมิตตรัสถาม
โดยนัยก่อนนั่นแล.
พึงทราบความสังเขปแห่งคาถาต้นในคาถาเหล่านั้นก่อน.
กิเลสทั้งหลายมีอวิชชาเป็นต้นอันเป็นรากเหง้าแห่งส่วนของธรรมเป็นเครื่องยังสัตว์ให้เนิ่นช้านั้น
ภิกษุพึงปิดกั้นเสียซึ่งธรรมทั้งปวงอันเป็นรากเหง้าแห่งส่วนของธรรมเป็นเครื่องยังสัตว์ให้เนิ่นช้านั้น ซึ่ง
เป็นไปอยู่ว่าเป็นเราด้วยปัญญา ตัณหาอย่างใดอย่างหนึ่งพึงเกิดขึ้น ณ ภายใน ภิกษุพึงเป็นผู้มีสติศึกษาทุก
เมื่อ เพื่อกาจัดตัณหาเหล่านั้น คือพึงตั้งสติศึกษา.
พระผู้มีพระภาคเจ้า ครั้นทรงแสดงเทศนาประกอบด้วยไตรสิกขาในคาถาที่หนึ่งก่อนอย่างนี้ ด้วย
ธรรมเป็นยอดคือพระอรหัตแล้ว เพื่อทรงแสดงด้วยการละมานะอีก
บทนั้นมีความดังนี้ ภิกษุไม่พึงสาคัญว่า เราเป็นผู้ประเสริฐกว่าเขา เลวกว่าเขา หรือเสมอเขา
ด้วยมานะนั้น ถึงถูกผู้อื่นถามด้วยคุณหลายประการมีความเป็นผู้เกิดในตระกูลสูงเป็นต้น ก็ไม่พึงกาหนดตน
ตั้งอยู่โดยนัยเป็นต้นว่า เราบวชแล้วจากตระกูลสูง.
พระผู้มีพระภาคเจ้าครั้นตรัสปฏิปทาบริบูรณ์แก่พระพุทธนิมิตอย่างนี้ แล้ว จึงทรงจบเทศนาด้วย
ธรรมเป็นยอด คือพระอรหัต.
เมื่อจบเทศนาได้มีผู้บรรลุธรรมเช่นกับที่กล่าวแล้วในปุราเภทสูตรนั้นแล.
4
--------------------

More Related Content

Similar to ๒๑.๖ ตุวฏกสูตร มจร.pdf

(๕) มหากัสสปเถราปทาน มจร.pdf
(๕) มหากัสสปเถราปทาน มจร.pdf(๕) มหากัสสปเถราปทาน มจร.pdf
(๕) มหากัสสปเถราปทาน มจร.pdf
maruay songtanin
 
๐๘ เหมกปัญหา.pdf
๐๘ เหมกปัญหา.pdf๐๘ เหมกปัญหา.pdf
๐๘ เหมกปัญหา.pdf
maruay songtanin
 
2 23คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๑
2 23คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๑2 23คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๑
2 23คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๑Tongsamut vorasan
 
28 กปิลราชจริยา มจร.pdf
28 กปิลราชจริยา มจร.pdf28 กปิลราชจริยา มจร.pdf
28 กปิลราชจริยา มจร.pdf
maruay songtanin
 
๑๗ มหาปทานสูตร มจร.pdf
๑๗ มหาปทานสูตร มจร.pdf๑๗ มหาปทานสูตร มจร.pdf
๑๗ มหาปทานสูตร มจร.pdf
maruay songtanin
 
๕๓. ฉัตตมาณวกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
๕๓. ฉัตตมาณวกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...๕๓. ฉัตตมาณวกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
๕๓. ฉัตตมาณวกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
maruay songtanin
 
สิ่งที่ชาวพุทธต้องรู้
สิ่งที่ชาวพุทธต้องรู้สิ่งที่ชาวพุทธต้องรู้
สิ่งที่ชาวพุทธต้องรู้Tongsamut vorasan
 
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๒๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๒๕พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๒๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๒๕Rose Banioki
 
(๑๑) พระเรวตเถราปทาน มจร.pdf
(๑๑) พระเรวตเถราปทาน มจร.pdf(๑๑) พระเรวตเถราปทาน มจร.pdf
(๑๑) พระเรวตเถราปทาน มจร.pdf
maruay songtanin
 
โครงสร้างและเนื้อหาสาระพระไตรปิฎก
โครงสร้างและเนื้อหาสาระพระไตรปิฎกโครงสร้างและเนื้อหาสาระพระไตรปิฎก
โครงสร้างและเนื้อหาสาระพระไตรปิฎกAnchalee BuddhaBucha
 
๒๐ มหาปรินิพพานสูตร มจร ตอนที่ ๕.pdf
๒๐ มหาปรินิพพานสูตร มจร ตอนที่ ๕.pdf๒๐ มหาปรินิพพานสูตร มจร ตอนที่ ๕.pdf
๒๐ มหาปรินิพพานสูตร มจร ตอนที่ ๕.pdf
maruay songtanin
 
2 23คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๑
2 23คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๑2 23คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๑
2 23คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๑Tongsamut vorasan
 
453 มหามังคลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
453 มหามังคลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...453 มหามังคลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
453 มหามังคลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
maruay songtanin
 
สาวิณี
สาวิณีสาวิณี
สาวิณีsawinee37
 
245 มูลปริยายชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
245 มูลปริยายชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...245 มูลปริยายชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
245 มูลปริยายชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
maruay songtanin
 
Tri91 20+มัชฌิมนิกาย+มัชฌิมปัณณาสก์+เล่ม+๒+ภาค+๑
Tri91 20+มัชฌิมนิกาย+มัชฌิมปัณณาสก์+เล่ม+๒+ภาค+๑Tri91 20+มัชฌิมนิกาย+มัชฌิมปัณณาสก์+เล่ม+๒+ภาค+๑
Tri91 20+มัชฌิมนิกาย+มัชฌิมปัณณาสก์+เล่ม+๒+ภาค+๑Tongsamut vorasan
 
2 บทสวดมนต์ - 9 มนต์ เพื่อความก้าวหน้า
2 บทสวดมนต์ - 9 มนต์ เพื่อความก้าวหน้า2 บทสวดมนต์ - 9 มนต์ เพื่อความก้าวหน้า
2 บทสวดมนต์ - 9 มนต์ เพื่อความก้าวหน้า
Panuwat Beforetwo
 
006 เทวธัมมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
006 เทวธัมมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....006 เทวธัมมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
006 เทวธัมมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
maruay songtanin
 

Similar to ๒๑.๖ ตุวฏกสูตร มจร.pdf (20)

(๕) มหากัสสปเถราปทาน มจร.pdf
(๕) มหากัสสปเถราปทาน มจร.pdf(๕) มหากัสสปเถราปทาน มจร.pdf
(๕) มหากัสสปเถราปทาน มจร.pdf
 
๐๘ เหมกปัญหา.pdf
๐๘ เหมกปัญหา.pdf๐๘ เหมกปัญหา.pdf
๐๘ เหมกปัญหา.pdf
 
2 23คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๑
2 23คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๑2 23คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๑
2 23คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๑
 
28 กปิลราชจริยา มจร.pdf
28 กปิลราชจริยา มจร.pdf28 กปิลราชจริยา มจร.pdf
28 กปิลราชจริยา มจร.pdf
 
๑๗ มหาปทานสูตร มจร.pdf
๑๗ มหาปทานสูตร มจร.pdf๑๗ มหาปทานสูตร มจร.pdf
๑๗ มหาปทานสูตร มจร.pdf
 
๕๓. ฉัตตมาณวกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
๕๓. ฉัตตมาณวกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...๕๓. ฉัตตมาณวกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
๕๓. ฉัตตมาณวกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
 
45 พรรษา
45 พรรษา45 พรรษา
45 พรรษา
 
200789830 katin
200789830 katin200789830 katin
200789830 katin
 
สิ่งที่ชาวพุทธต้องรู้
สิ่งที่ชาวพุทธต้องรู้สิ่งที่ชาวพุทธต้องรู้
สิ่งที่ชาวพุทธต้องรู้
 
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๒๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๒๕พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๒๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๒๕
 
(๑๑) พระเรวตเถราปทาน มจร.pdf
(๑๑) พระเรวตเถราปทาน มจร.pdf(๑๑) พระเรวตเถราปทาน มจร.pdf
(๑๑) พระเรวตเถราปทาน มจร.pdf
 
โครงสร้างและเนื้อหาสาระพระไตรปิฎก
โครงสร้างและเนื้อหาสาระพระไตรปิฎกโครงสร้างและเนื้อหาสาระพระไตรปิฎก
โครงสร้างและเนื้อหาสาระพระไตรปิฎก
 
๒๐ มหาปรินิพพานสูตร มจร ตอนที่ ๕.pdf
๒๐ มหาปรินิพพานสูตร มจร ตอนที่ ๕.pdf๒๐ มหาปรินิพพานสูตร มจร ตอนที่ ๕.pdf
๒๐ มหาปรินิพพานสูตร มจร ตอนที่ ๕.pdf
 
2 23คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๑
2 23คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๑2 23คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๑
2 23คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๑
 
453 มหามังคลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
453 มหามังคลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...453 มหามังคลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
453 มหามังคลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
 
สาวิณี
สาวิณีสาวิณี
สาวิณี
 
245 มูลปริยายชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
245 มูลปริยายชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...245 มูลปริยายชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
245 มูลปริยายชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
 
Tri91 20+มัชฌิมนิกาย+มัชฌิมปัณณาสก์+เล่ม+๒+ภาค+๑
Tri91 20+มัชฌิมนิกาย+มัชฌิมปัณณาสก์+เล่ม+๒+ภาค+๑Tri91 20+มัชฌิมนิกาย+มัชฌิมปัณณาสก์+เล่ม+๒+ภาค+๑
Tri91 20+มัชฌิมนิกาย+มัชฌิมปัณณาสก์+เล่ม+๒+ภาค+๑
 
2 บทสวดมนต์ - 9 มนต์ เพื่อความก้าวหน้า
2 บทสวดมนต์ - 9 มนต์ เพื่อความก้าวหน้า2 บทสวดมนต์ - 9 มนต์ เพื่อความก้าวหน้า
2 บทสวดมนต์ - 9 มนต์ เพื่อความก้าวหน้า
 
006 เทวธัมมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
006 เทวธัมมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....006 เทวธัมมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
006 เทวธัมมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
 

More from maruay songtanin

๓๕. ธาตุวิวัณณเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหา...
๓๕. ธาตุวิวัณณเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหา...๓๕. ธาตุวิวัณณเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหา...
๓๕. ธาตุวิวัณณเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหา...
maruay songtanin
 
๓๔. กูฏวินิจฉยิกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับม...
๓๔. กูฏวินิจฉยิกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับม...๓๔. กูฏวินิจฉยิกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับม...
๓๔. กูฏวินิจฉยิกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับม...
maruay songtanin
 
๓๓. ทุติยมิคลุททกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับ...
๓๓. ทุติยมิคลุททกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับ...๓๓. ทุติยมิคลุททกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับ...
๓๓. ทุติยมิคลุททกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับ...
maruay songtanin
 
๓๒. มิคลุททกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๓๒. มิคลุททกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...๓๒. มิคลุททกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๓๒. มิคลุททกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
maruay songtanin
 
๓๑. เสริณีเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
๓๑. เสริณีเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...๓๑. เสริณีเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
๓๑. เสริณีเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
maruay songtanin
 
๓๐. กุมารเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๓๐. กุมารเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...๓๐. กุมารเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๓๐. กุมารเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
maruay songtanin
 
๒๙. ภุสเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
๒๙. ภุสเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....๒๙. ภุสเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
๒๙. ภุสเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
maruay songtanin
 
๒๘. รถการเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
๒๘. รถการเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...๒๘. รถการเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
๒๘. รถการเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
maruay songtanin
 
๒๗. สานุวาสีเถรเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมห...
๒๗. สานุวาสีเถรเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมห...๒๗. สานุวาสีเถรเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมห...
๒๗. สานุวาสีเถรเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมห...
maruay songtanin
 
การคิดเชิงวิพากษ์ Critical Thinking.pdf
การคิดเชิงวิพากษ์  Critical Thinking.pdfการคิดเชิงวิพากษ์  Critical Thinking.pdf
การคิดเชิงวิพากษ์ Critical Thinking.pdf
maruay songtanin
 
๒๖. อภิชชมานเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๒๖. อภิชชมานเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...๒๖. อภิชชมานเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๒๖. อภิชชมานเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
maruay songtanin
 
๒๕. อุพพรีเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
๒๕. อุพพรีเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...๒๕. อุพพรีเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
๒๕. อุพพรีเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
maruay songtanin
 
๒๔. กัณณมุณฑเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...
๒๔. กัณณมุณฑเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...๒๔. กัณณมุณฑเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...
๒๔. กัณณมุณฑเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...
maruay songtanin
 
๒๓. สุตตเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๒๓. สุตตเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...๒๓. สุตตเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๒๓. สุตตเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
maruay songtanin
 
๒๒. อุตตรมาตุเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหา...
๒๒. อุตตรมาตุเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหา...๒๒. อุตตรมาตุเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหา...
๒๒. อุตตรมาตุเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหา...
maruay songtanin
 
๒๑. อังกุรเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
๒๑. อังกุรเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...๒๑. อังกุรเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
๒๑. อังกุรเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
maruay songtanin
 
๒๐. จูฬเสฏฐิเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๒๐. จูฬเสฏฐิเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...๒๐. จูฬเสฏฐิเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๒๐. จูฬเสฏฐิเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
maruay songtanin
 
๑๙. ธนปาลเสฏฐิเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหา...
๑๙. ธนปาลเสฏฐิเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหา...๑๙. ธนปาลเสฏฐิเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหา...
๑๙. ธนปาลเสฏฐิเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหา...
maruay songtanin
 
๑๘. กัณหเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๑๘. กัณหเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...๑๘. กัณหเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๑๘. กัณหเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
maruay songtanin
 
๑๗. มัฏฐกุณฑลีเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหา...
๑๗. มัฏฐกุณฑลีเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหา...๑๗. มัฏฐกุณฑลีเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหา...
๑๗. มัฏฐกุณฑลีเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหา...
maruay songtanin
 

More from maruay songtanin (20)

๓๕. ธาตุวิวัณณเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหา...
๓๕. ธาตุวิวัณณเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหา...๓๕. ธาตุวิวัณณเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหา...
๓๕. ธาตุวิวัณณเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหา...
 
๓๔. กูฏวินิจฉยิกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับม...
๓๔. กูฏวินิจฉยิกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับม...๓๔. กูฏวินิจฉยิกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับม...
๓๔. กูฏวินิจฉยิกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับม...
 
๓๓. ทุติยมิคลุททกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับ...
๓๓. ทุติยมิคลุททกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับ...๓๓. ทุติยมิคลุททกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับ...
๓๓. ทุติยมิคลุททกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับ...
 
๓๒. มิคลุททกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๓๒. มิคลุททกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...๓๒. มิคลุททกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๓๒. มิคลุททกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
 
๓๑. เสริณีเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
๓๑. เสริณีเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...๓๑. เสริณีเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
๓๑. เสริณีเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
 
๓๐. กุมารเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๓๐. กุมารเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...๓๐. กุมารเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๓๐. กุมารเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
 
๒๙. ภุสเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
๒๙. ภุสเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....๒๙. ภุสเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
๒๙. ภุสเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
 
๒๘. รถการเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
๒๘. รถการเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...๒๘. รถการเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
๒๘. รถการเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
 
๒๗. สานุวาสีเถรเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมห...
๒๗. สานุวาสีเถรเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมห...๒๗. สานุวาสีเถรเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมห...
๒๗. สานุวาสีเถรเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมห...
 
การคิดเชิงวิพากษ์ Critical Thinking.pdf
การคิดเชิงวิพากษ์  Critical Thinking.pdfการคิดเชิงวิพากษ์  Critical Thinking.pdf
การคิดเชิงวิพากษ์ Critical Thinking.pdf
 
๒๖. อภิชชมานเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๒๖. อภิชชมานเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...๒๖. อภิชชมานเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๒๖. อภิชชมานเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
 
๒๕. อุพพรีเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
๒๕. อุพพรีเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...๒๕. อุพพรีเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
๒๕. อุพพรีเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
 
๒๔. กัณณมุณฑเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...
๒๔. กัณณมุณฑเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...๒๔. กัณณมุณฑเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...
๒๔. กัณณมุณฑเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...
 
๒๓. สุตตเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๒๓. สุตตเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...๒๓. สุตตเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๒๓. สุตตเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
 
๒๒. อุตตรมาตุเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหา...
๒๒. อุตตรมาตุเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหา...๒๒. อุตตรมาตุเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหา...
๒๒. อุตตรมาตุเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหา...
 
๒๑. อังกุรเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
๒๑. อังกุรเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...๒๑. อังกุรเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
๒๑. อังกุรเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
 
๒๐. จูฬเสฏฐิเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๒๐. จูฬเสฏฐิเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...๒๐. จูฬเสฏฐิเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๒๐. จูฬเสฏฐิเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
 
๑๙. ธนปาลเสฏฐิเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหา...
๑๙. ธนปาลเสฏฐิเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหา...๑๙. ธนปาลเสฏฐิเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหา...
๑๙. ธนปาลเสฏฐิเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหา...
 
๑๘. กัณหเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๑๘. กัณหเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...๑๘. กัณหเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๑๘. กัณหเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
 
๑๗. มัฏฐกุณฑลีเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหา...
๑๗. มัฏฐกุณฑลีเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหา...๑๗. มัฏฐกุณฑลีเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหา...
๑๗. มัฏฐกุณฑลีเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหา...
 

๒๑.๖ ตุวฏกสูตร มจร.pdf

  • 1. 1 มหาสมัยสูตร และพระสูตรที่เกี่ยวเนื่อง ตอนที่ ๗ (ตอนสุดท้าย) ตุวฏกสูตร พลตรี มารวย ส่งทานินทร์ ๒๔ เมษายน พ.ศ. ๒๕๖๖ เกริ่นนา ในพระสูตรตุวฏกสูตรนี้ เป็นการแสดงพระธรรมเทศนาให้เหล่าเทวดาและพระพรหมที่มาเข้าเฝ้า พระพุทธองค์ที่ได้กล่าวไว้ในมหาสมัยสูตร เมื่อพระพุทธนิมิตถามปัญหา พระผู้มีพระภาคเจ้าจึงได้ตรัสพระ สูตรตุวฏกะนี้ (ข้อปฏิบัติของนกคุ่ม) พร้อมกับคาถามพระสูตรนั้น แก่พวกเทวดาและพรหมที่เป็นพวกสัทธา จริต ตุวฏกสูตร พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๕ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๗ [ฉบับมหาจุฬาฯ] ขุททกนิกาย ขุททกปาฐะ-ธรรมบท-อุทาน-อิติวุตตกะ-สุตตนิบาต ๑๔. ตุวฏกสูตร ว่าด้วยภิกษุผู้กาจัดบาปธรรมอย่างเร็วพลัน (พระพุทธเนรมิตทูลถามดังนี้ ) [๙๒๒] ข้าพระองค์ขอทูลถามพระองค์ ผู้ทรงเป็นเผ่าพันธุ์พระอาทิตย์ ผู้มีวิเวก มีสันติบท ทรง แสวงหาคุณอันยิ่งใหญ่ว่า ภิกษุเห็นอย่างไร จึงไม่ถือมั่นอะไรๆ ในโลก ดับไป (พระผู้มีพระภาคตรัสตอบดังนี้ ) [๙๒๓] ภิกษุพึงขจัดบาปธรรมทั้งปวง ที่เป็นรากเหง้าแห่งกิเลสเครื่องเนิ่นช้า (รากเหง้าแห่งกิเลส เครื่องเนิ่นช้า ในที่นี้ หมายถึงอวิชชา (ความไม่รู้) อโยนิโสมนสิการ (การไม่มนสิการโดยแยบคาย) อัสมิมานะ (ความถือตัว) อหิริกะ (ความไม่ละอาย) อโนตตัปปะ (ความไม่เกรงกลัว) อุทธัจจะ(ความ ฟุ้งซ่าน)) และอัสมิมานะ ด้วยมันตา ตัณหาอย่างใดอย่างหนึ่งที่เกิดในภายใน ภิกษุมีสติทุกเมื่อ พึงศึกษา เพื่อกาจัดตัณหาเหล่านั้น [๙๒๔] ภิกษุพึงรู้คุณธรรมอย่างใดอย่างหนึ่ง ในภายในหรือในภายนอก แต่ไม่ควรทาความดื้อรั้น เพราะคุณธรรมนั้น เพราะการทาความดื้อรั้นนั้น ผู้สงบทั้งหลายไม่กล่าวว่า เป็นความดับกิเลส [๙๒๕] ภิกษุไม่พึงสาคัญตนว่า เราเลิศกว่าเขา เราด้อยกว่าเขา หรือว่าเราเสมอเขา เพราะ คุณธรรมนั้น เป็นผู้เพียบพร้อมด้วยคุณธรรมเป็นอเนกแล้ว ไม่พึงกาหนดตนดารงอยู่ [๙๒๖] ภิกษุพึงสงบกิเลสภายในนั่นเอง ไม่พึงแสวงหาความสงบโดยทางอื่น เมื่อภิกษุสงบกิเลส ภายในได้แล้ว ทิฏฐิว่ามีอัตตา หรือทิฏฐิว่าไม่มีอัตตาก็ไม่มีแต่ที่ไหนๆ
  • 2. 2 [๙๒๗] คลื่นไม่เกิดในส่วนกลางทะเล ทะเลเรียบอยู่ ฉันใด ภิกษุพึงเป็นผู้มั่นคง ไม่หวั่นไหว ฉัน นั้น ภิกษุไม่พึงก่อกิเลสเครื่องฟูใจ (กิเลสเครื่องฟูใจ มี ๗ อย่าง คือ ราคะ โทสะ โมหะ มานะ ทิฏฐิ กิเลส และกรรม) ในที่ไหนๆ (พระพุทธเนรมิตทูลถามดังนี้ ) [๙๒๘] พระผู้มีพระภาค ผู้มีพระจักษุแจ่มแจ้ง (จักษุ ในที่นี้ หมายถึงจักษุ ๕ ชนิด คือ มังสจักษุ ทิพพจักษุ ปัญญาจักษุ พุทธจักษุ และสมันตจักษุ) ได้ทรงแสดงธรรมที่เป็นพยาน (ธรรมที่เป็นพยาน หมายถึงธรรมที่พระผู้มีพระภาคทรงทราบเอง ประจักษ์แก่พระองค์เอง มิใช่โดยการเชื่อผู้อื่น) อันเป็นธรรม เครื่องกาจัดอันตราย ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ขอพระองค์จงตรัสบอกปฏิปทา คือปาติโมกข์ หรือแม้สมาธิ (พระผู้มีพระภาคตรัสตอบดังนี้ ) [๙๒๙] ภิกษุไม่พึงเป็นผู้มีตาลอกแลก พึงป้องกันหูมิให้ได้ยินคามกถา (คามกถา ในที่นี้ หมายถึง ติรัจฉานกถา คือถ้อยคาอันขวางทางไปสู่สวรรค์หรือนิพพาน ได้แก่เรื่องราวที่ภิกษุไม่ควรนามาเป็นข้อ สนทนากัน เพราะทาให้เกิดความฟุ้งซ่านและหลงเพลินเสียเวลา) ไม่พึงติดใจในรส และไม่พึงยึดถืออะไรๆ ในโลกว่า เป็นของเรา [๙๓๐] เมื่อใด ภิกษุถูกผัสสะกระทบ เมื่อนั้น เธอก็ไม่พึงทาความคร่าครวญในที่ไหนๆ ไม่พึง คาดหวังภพ และไม่พึงกระสับกระส่าย เพราะอารมณ์ที่น่ากลัว [๙๓๑] ภิกษุได้ข้าวก็ดี น้าก็ดี ของขบเคี้ยวก็ดี ผ้าก็ดี ไม่ควรทาการสะสม เมื่อไม่ได้ข้าวเป็นต้น ก็ ไม่พึงสะดุ้ง [๙๓๒] ภิกษุพึงเป็นผู้มีฌาน ไม่พึงเป็นผู้มีเท้าอยู่ไม่สุข พึงเว้นจากความคะนอง ไม่พึงประมาท และพึงอยู่ในที่นั่งที่นอนที่มีเสียงน้อย [๙๓๓] ภิกษุไม่พึงหลับมาก มีความเพียรเครื่องเผากิเลส พึงประกอบความเพียรเครื่องตื่นอยู่ พึง ละเว้นความเกียจคร้าน ความหลอกลวง เรื่องชวนหัว การเล่น เมถุนธรรม พร้อมทั้งการประดับตกแต่ง [๙๓๔] ผู้นับถือพระรัตนตรัยไม่พึงประกอบการทาอาถรรพณ์ (อาถรรรพณ์ หมายถึงคาถาอาคม ทางไสยศาสตร์ หรือเวทมนตร์ที่ใช้เพื่อให้ดีหรือร้าย เป็นคัมภีร์อีกเล่มหนึ่งในคัมภีร์พระเวท) การทานายฝัน การทานายลักษณะ หรือแม้การดูฤกษ์ยาม ไม่พึงเรียนการทานายเสียงสัตว์ร้อง การปรุงยาให้ตั้งครรภ์ และ การบาบัดรักษาโรค [๙๓๕] ภิกษุไม่พึงหวั่นไหวเพราะการนินทา แม้ได้รับการสรรเสริญก็ไม่พึงลาพองตน พึงบรรเทา ความโลภรวมทั้งความตระหนี่ ความโกรธ และวาจาส่อเสียด [๙๓๖] ภิกษุไม่พึงดารงชีวิตในการซื้อขาย ไม่พึงก่อกิเลสเป็นเหตุว่าร้ายในที่ไหนๆ ไม่พึงเกี่ยวข้อง ในบ้าน และไม่พึงพูดเลียบเคียงกับคน เพราะอยากได้ลาภ [๙๓๗] ภิกษุไม่พึงเป็นคนมักอวด ไม่พึงกล่าววาจามุ่งได้ ไม่พึงศึกษาความเป็นผู้คะนอง ไม่พึง กล่าวถ้อยคาแก่งแย่ง [๙๓๘] ภิกษุไม่พึงมุ่งมั่นในความเป็นคนพูดเท็จ เมื่อรู้ตัวก็ไม่พึงทาความโอ้อวด และไม่พึงดูหมิ่น ผู้อื่นด้วยความเป็นอยู่ ด้วยปัญญา ด้วยศีลและวัตร
  • 3. 3 [๙๓๙] ภิกษุผู้ถูกคนเหล่าอื่นเบียดเบียน ได้ยินคาพูดมากของพวกสมณะ หรือพวกคนพูดมาก (เหล่าอื่น) ไม่พึงโต้ตอบคนเหล่านั้นด้วยคาหยาบ เพราะผู้สงบย่อมไม่สร้างศัตรู [๙๔๐] ภิกษุรู้ธรรมนี้ แล้ว เลือกสรรอยู่ พึงเป็นผู้มีสติ ศึกษาทุกเมื่อ รู้ความดับกิเลสว่า เป็นความ สงบแล้ว ไม่พึงประมาทในศาสนาของพระโคดม [๙๔๑] ภิกษุนั้นเป็นผู้ครอบงา (ครอบงา หมายถึงครอบงารูป เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ และ ธรรมารมณ์ หรือครอบงาบาปอกุศลธรรม) ไม่ถูกครอบงา ได้เห็นธรรมที่เป็นพยานซึ่งไม่ต้องเชื่อใคร เพราะฉะนั้น เธอพึงเป็นผู้ไม่ประมาท ในศาสนาของพระผู้มีพระภาคพระองค์นั้น นอบน้อมอยู่ พึงหมั่น ศึกษาทุกเมื่อ ตุวฏกสูตรที่ ๑๔ จบ ------------------------ คาอธิบายเพิ่มเติมนี้ นามาจากบาลส่วนของอรรถกถา ขุททกนิกาย สุตตนิบาต อัฏฐกวรรค ตุวฏกสูตร อรรถกถาตุวฏกสูตรที่ ๑๔ พระสูตรนี้ มีการเกิดขึ้นอย่างไร? ในมหาสมัยนั้นอีกนั่นแหละ พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสพระสูตรนี้ เพื่อทรงประกาศความนั้นแก่ ทวยเทพบางพวกผู้มีจิตเกิดขึ้นว่า อะไรหนอ คือการปฏิบัติเพื่อบรรลุพระอรหัต จึงให้พระพุทธนิมิตตรัสถาม โดยนัยก่อนนั่นแล. พึงทราบความสังเขปแห่งคาถาต้นในคาถาเหล่านั้นก่อน. กิเลสทั้งหลายมีอวิชชาเป็นต้นอันเป็นรากเหง้าแห่งส่วนของธรรมเป็นเครื่องยังสัตว์ให้เนิ่นช้านั้น ภิกษุพึงปิดกั้นเสียซึ่งธรรมทั้งปวงอันเป็นรากเหง้าแห่งส่วนของธรรมเป็นเครื่องยังสัตว์ให้เนิ่นช้านั้น ซึ่ง เป็นไปอยู่ว่าเป็นเราด้วยปัญญา ตัณหาอย่างใดอย่างหนึ่งพึงเกิดขึ้น ณ ภายใน ภิกษุพึงเป็นผู้มีสติศึกษาทุก เมื่อ เพื่อกาจัดตัณหาเหล่านั้น คือพึงตั้งสติศึกษา. พระผู้มีพระภาคเจ้า ครั้นทรงแสดงเทศนาประกอบด้วยไตรสิกขาในคาถาที่หนึ่งก่อนอย่างนี้ ด้วย ธรรมเป็นยอดคือพระอรหัตแล้ว เพื่อทรงแสดงด้วยการละมานะอีก บทนั้นมีความดังนี้ ภิกษุไม่พึงสาคัญว่า เราเป็นผู้ประเสริฐกว่าเขา เลวกว่าเขา หรือเสมอเขา ด้วยมานะนั้น ถึงถูกผู้อื่นถามด้วยคุณหลายประการมีความเป็นผู้เกิดในตระกูลสูงเป็นต้น ก็ไม่พึงกาหนดตน ตั้งอยู่โดยนัยเป็นต้นว่า เราบวชแล้วจากตระกูลสูง. พระผู้มีพระภาคเจ้าครั้นตรัสปฏิปทาบริบูรณ์แก่พระพุทธนิมิตอย่างนี้ แล้ว จึงทรงจบเทศนาด้วย ธรรมเป็นยอด คือพระอรหัต. เมื่อจบเทศนาได้มีผู้บรรลุธรรมเช่นกับที่กล่าวแล้วในปุราเภทสูตรนั้นแล.