SlideShare a Scribd company logo
1
มหาสมัยสูตร และพระสูตรที่เกี่ยวเนื่อง ตอนที่ ๖
มหาวิยูหสูตร
พลตรี มารวย ส่งทานินทร์
๒๓ เมษายน พ.ศ. ๒๕๖๖
เกริ่นนา
ในพระสูตรมหาวิยูหสูตรนี้ เป็นการแสดงพระธรรมเทศนาให้เหล่าเทวดาและพระพรหมที่มาเข้า
เฝ้าพระพุทธองค์ที่ได้กล่าวไว้ในมหาสมัยสูตร เมื่อพระพุทธนิมิตถามปัญหา พระผู้มีพระภาคเจ้าจึงได้ตรัส
พระสูตรมหาวิยูหะนี้ (พระสูตรว่าด้วยพวกใหญ่) พร้อมกับคาถามพระสูตรนั้น แก่พวกเทวดาและพรหมที่
เป็นพวกโมหะจริต
มหาวิยูหสูตร
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๕ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๗ [ฉบับมหาจุฬาฯ]
ขุททกนิกาย ขุททกปาฐะ-ธรรมบท-อุทาน-อิติวุตตกะ-สุตตนิบาต
๑๓. มหาวิยูหสูตร
ว่าด้วยการวิวาทกันเพราะทิฏฐิสูตรใหญ่
(พระพุทธเนรมิตทูลถามดังนี้ )
[๙๐๒] สมณพราหมณ์พวกใดพวกหนึ่งเหล่านี้ ยึดถือทิฏฐิอยู่ พากันกล่าวอ้างว่า นี้ เท่านั้นจริง
สมณพราหมณ์เหล่านั้นทุกพวกนั่นแหละจะถูกนินทา หรือว่าจะได้รับความสรรเสริญเพราะทิฏฐินั้น
(พระผู้มีพระภาคตรัสตอบดังนี้ )
[๙๐๓] ผลแห่งวาทะนี้ น้อยนัก ไม่พอเพื่อความสงบ เรากล่าวผลแห่งการวิวาทเป็น ๒ อย่าง
(หมายถึงมีนินทา หรือสรรเสริญ อีกนัยหนึ่ง มีชนะ หรือพ่ายแพ้) บุคคลเห็นโทษแม้นี้ แล้ว มองเห็นภูมิ
(เหตุ)แห่งการไม่วิวาท (ภูมิแห่งการไม่วิวาท ในที่นี้ หมายถึงอมตนิพพาน) ว่า เกษม ไม่พึงวิวาทกัน
(พระพุทธเนรมิตทูลถามดังนี้ )
[๙๐๔] ทิฏฐิสมมติ (ทิฏฐิสมมติ หมายถึงทิฏฐิ ๖๒) เหล่านี้ อย่างใดอย่างหนึ่งเกิดจากปุถุชน
บุคคลผู้มีความรู้ย่อมไม่เข้าถึงทิฏฐิสมมติเหล่านี้ ทุกอย่าง บุคคลผู้ไม่มีกิเลสเป็นเหตุเข้าถึงนั้น ไม่ทาความ
พอใจในรูปที่เห็น เสียงที่ได้ยิน พึงถึงสิ่งที่ควรเข้าถึงอะไรเล่า
(พระผู้มีพระภาคตรัสตอบดังนี้ )
[๙๐๕] สมณพราหมณ์ผู้กล่าวอ้างศีลว่า สูงสุด สมาทานวัตรแล้ว ดารงอยู่ ได้กล่าวความหมดจด
ด้วยความสารวมว่า พวกเราศึกษาในทิฏฐินี้ แหละ และศึกษาความหมดจดแห่งวัตรนั้น สมณพราหมณ์
เหล่านั้นอ้างตนว่า เป็นคนฉลาด ย่อมเป็นผู้ถูกนาเข้าสู่ภพ
2
[๙๐๖] ถ้าบุคคลเคลื่อนจากศีลและวัตร พลาดกรรมแล้วก็หวั่นไหว เขาย่อมเฝ้าแต่พร่าเพ้อและ
ปรารถนาความหมดจด เหมือนคนออกจากเรือนอยู่ร่วมกับพวกเดินทาง พลัดพรากจากพวก ฉะนั้น
[๙๐๗] อริยสาวกละศีลและวัตรได้ทั้งหมด ละกรรมที่มีโทษและกรรมที่ไม่มีโทษเสียได้ (กรรมที่มี
โทษและกรรมที่ไม่มีโทษ หมายถึงอกุศลทั้งปวง ได้แก่ อกุศลกรรมบถ ๑๐ ประการ และโลกิยกุศลได้แก่
กุศลกรรมบถ ๑๐ ประการ) ไม่ปรารถนาความหมดจดและความไม่หมดจด งดเว้นแล้ว ไม่ยึดมั่นทิฏฐิที่มีอยู่
เที่ยวไป
[๙๐๘] สมณพราหมณ์เข้าไปอาศัยตบะที่ตนเกลียดชังนั้น เข้าไปอาศัยรูปที่เห็น เสียงที่ได้ยิน หรือ
อารมณ์ที่รับรู้ เป็นผู้กล่าวความหมดจดในสงสารข้างหน้า ยังไม่คลายตัณหาในภพน้อยภพใหญ่ จึงยังพร่า
พูดถึงความหมดจดอยู่
[๙๐๙] ความชอบใจวัตถุ ย่อมมีแก่ผู้กาลังปรารถนา อนึ่ง ความหวั่นไหว ย่อมมีเพราะวัตถุที่
กาหนดแล้ว ความตายและความเกิดมิได้มีแก่ภิกษุใดในธรรมวินัยนี้ ภิกษุนั้นพึงหวั่นไหวด้วยเหตุอะไรเล่า
หรือจะพึงชอบใจในอะไรเล่า
(พระพุทธเนรมิตทูลถามดังนี้ )
[๙๑๐] สมณพราหมณ์บางพวกกล่าวธรรมใดว่า เยี่ยม แต่สมณพราหมณ์พวกอื่นกลับกล่าวธรรม
นั้นนั่นเองว่า เลว วาทะของสมณพราหมณ์เหล่านี้ วาทะไหนจริงกันหนอ เพราะสมณพราหมณ์เหล่านี้ ทุก
พวก ต่างกล่าวอ้างตนว่า เป็นคนฉลาด
(พระผู้มีพระภาคตรัสตอบดังนี้ )
[๙๑๑] อนึ่ง สมณพราหมณ์บางพวก กล่าวธรรมของตนว่า บริบูรณ์ แต่กล่าวธรรมของผู้อื่นว่า
เลว พวกสมณพราหมณ์ถือมั่นแม้อย่างนี้ แล้ว ย่อมวิวาทกัน เพราะต่างกล่าวทิฏฐิสมมติของตนๆ ว่า จริง
[๙๑๒] หากบุคคลเป็นคนเลวเพราะเหตุที่ผู้อื่นพูดติเตียนไซร้ ก็จะไม่พึงมีใครวิเศษในธรรม
ทั้งหลายได้เลย เพราะคนส่วนมาก ต่างกล่าวยืนยันในแนวทางของตน พากันกล่าวถึงธรรมของผู้อื่นว่า เป็น
สิ่งเลวทราม
[๙๑๓] การบูชาหลักการของตน เป็นเรื่องแท้จริง เหมือนสมณพราหมณ์พากันสรรเสริญแนวทาง
ของตน ฉะนั้น การว่าร้ายทุกอย่างก็พึงมีอยู่แท้จริง เพราะความหมดจดของสมณพราหมณ์เหล่านั้น เป็น
เรื่องเฉพาะตนเท่านั้น
[๙๑๔] ญาณที่ผู้อื่นพึงแนะนาไม่มีแก่พราหมณ์ ความตกลงใจแล้วยึดมั่นในธรรมทั้งหลาย ก็ไม่มี
เพราะฉะนั้น พราหมณ์จึงล่วงเลยการวิวาททั้งหลายได้แล้ว แท้จริง พราหมณ์ไม่เห็นธรรมอื่นว่า เป็นของ
ประเสริฐ
[๙๑๕] สมณพราหมณ์บางพวกเชื่อความหมดจดเพราะทิฏฐิว่า เรารู้ เราเห็นความหมดจดนี้ ว่า มี
จริง ถ้าสมณพราหมณ์ผู้หนึ่งได้เห็นแล้ว จะมีประโยชน์อะไรด้วยการเห็นนั้นแก่สมณพราหมณ์เหล่านั้นเล่า
เพราะพวกสมณพราหมณ์แล่นเลย(ทางแห่งความหมดจด)แล้ว ย่อมกล่าวความหมดจดด้วยการเห็นอื่น
3
[๙๑๖] นรชนเมื่อเห็นย่อมเห็นนามรูป หรือครั้นเห็นแล้วก็รู้จักเฉพาะนามรูปเหล่านั้นเท่านั้น นร
ชนเห็นนามรูปมากบ้าง น้อยบ้างโดยแท้ ถึงอย่างนั้น ผู้ฉลาดทั้งหลายก็ไม่กล่าวความหมดจด เพราะการ
เห็นนามรูปนั้น
[๙๑๗] นรชนผู้มีปกติกล่าวด้วยความเชื่อมั่น ไม่ใช่คนที่ใครพึงแนะนาได้ง่าย เป็นผู้เชิดชูทิฏฐิที่
กาหนดไว้แล้ว อาศัยศาสดาใด ก็กล่าวว่าศาสดานั้นดีงามเพราะทิฏฐินั้น นรชนนั้นผู้กล่าวความหมดจดได้
เห็นว่าแท้จริงในทิฏฐินั้น
[๙๑๘] พราหมณ์พิจารณาแล้ว ย่อมไม่เข้าถึงความกาหนด ไม่แล่นไปด้วยทิฏฐิ ทั้งไม่ผูกพันด้วย
ตัณหาหรือทิฏฐิเพราะญาณ พราหมณ์นั้นครั้นรู้แล้วก็วางเฉยทิฏฐิสมมติที่เกิดจากปุถุชน แต่สมณพราหมณ์
เหล่าอื่นพากันถือมั่น
[๙๑๙] มุนีสลัดกิเลสเครื่องร้อยรัดในโลกนี้ แล้ว เมื่อคนทั้งหลายเกิดวิวาทกันแล้ว ก็ไม่เข้าไปเป็น
ฝักเป็นฝ่าย เมื่อคนทั้งหลายไม่สงบ มุนีนั้นเป็นผู้สงบ วางเฉย ไม่ถือมั่น แต่สมณพราหมณ์เหล่าอื่นพากันถือ
มั่น
[๙๒๐] มุนีละอาสวะเก่า (อาสวะเก่า หมายถึงกิเลสเกิดขึ้นเพราะปรารภรูป เวทนา สัญญา สังขาร
วิญญาณ ในอดีต) ไม่ก่ออาสวะใหม่ (อาวสวะใหม่ หมายถึงกิเลสที่เกิดขึ้นปรารภรูป เวทนา สัญญา สังขาร
วิญญาณ ในปัจจุบัน) ไม่ดาเนินไปตามความพอใจ ทั้งไม่มีปกติกล่าวด้วยความเชื่อมั่น มุนีนั้นเป็น
นักปราชญ์ พ้นขาดแล้วจากทิฏฐิทั้งหลาย ติเตียนตนเองไม่ได้ ไม่ติดอยู่ในโลก
[๙๒๑] มุนีนั้น เป็นผู้กาจัดเสนา (เสนา ในที่นี้ หมายถึงเสนามาร คือ กายทุจริต วจีทุจริต มโน
ทุจริต เป็นต้น) ในธรรมทั้งปวง คือในรูปที่เห็น เสียงที่ได้ยิน หรืออารมณ์ที่รับรู้อย่างใดอย่างหนึ่ง มุนีนั้น
เป็นผู้ปลงภาระ (ภาระ หมายถึงสิ่งที่ต้องนาพา มี ๓ คือ (๑) ขันธภาระ ได้แก่ ขันธ์ ๕ (๒) กิเลสภาระ
ได้แก่ ราคะ โทสะ โมหะ เป็นต้น (๓) อภิสังขารภาระ ได้แก่ ปุญญาภิสังขาร อปุญญาภิสังขาร และอาเนญ
ชาภิสังขา) ลงแล้ว พ้นขาดแล้ว ไม่มีความกาหนัด ไม่เข้าไปยินดี ไม่มีความปรารถนา
มหาวิยูหสูตรที่ ๑๓ จบ
------------------------
คาอธิบายเพิ่มเติมนี้ นามาจากบาลส่วนของอรรถกถา ขุททกนิกาย สุตตนิบาต อัฏฐกวรรค
มหาวิยูหสูตร
อรรถกถามหาพยูหสูตรที่ ๑๓
พระสูตรนี้ มีการเกิดขึ้นอย่างไร?
ในมหาสมัยนั้นเหมือนกัน พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสพระสูตรนี้ เพื่อทาให้แจ้งความนั้น แก่เหล่า
เทวดาบางพวกผู้มีจิตเกิดขึ้นว่า บุคคลเหล่านี้ ถือมั่นในทิฏฐิย่อมได้รับการนินทาอย่างเดียวหรือหนอ หรือ
ได้รับแม้การสรรเสริญด้วย จากสานักของวิญญูชนทั้งหลาย ทรงให้พระพุทธนิมิตถามพระองค์ โดยนัยก่อน
นั่นแล.
4
เพราะบุคคลผู้มีวาทะเป็นเจ้าทิฏฐิเหล่านั้นแม้กล่าวอยู่ว่าสิ่งนี้ เท่านั้นจริง บางคราวได้ความ
สรรเสริญบ้าง ผลแห่งวาทะอันได้แก่ความสรรเสริญนั้นน้อยนักไม่สามารถเพื่อสงบราคะเป็นต้นได้ จะกล่าว
ไปไยถึงผลแห่งการนินทาที่สอง ฉะนั้น พระผู้มีพระภาคเจ้าเมื่อจะทรงแสดงความนี้ จึงตรัสคาถาแก้นี้ ก่อนมี
อาทิว่า เรากล่าวผลแห่งการวิวาท ๒ ประการนี้ น้อยนัก ไม่พอแก่ความสงบดังนี้ .
ผลแห่งการวิวาท ๒ ประการ ได้แก่ ความนินทาและความสรรเสริญ หรือได้แก่ความชนะและ
ความแพ้เป็นต้น อันเป็นส่วนพวกเดียวกันกับความสรรเสริญและความนินทานั้น.
เห็นโทษแห่งการวิวาทกัน คือเห็นโทษในผลแห่งการวิวาทอย่างนี้ ว่า การนินทาอันเป็นสิ่งไม่น่า
ปรารถนา การสรรเสริญไม่พอแก่ความสงบดังนี้ บัณฑิตเห็นนิพพานมิใช่ภูมิแห่งการวิวาทว่าเป็นธรรม
เกษม.
ชนบางพวกมีศีลอุดมสาคัญว่าศีลเท่านั้นเป็นธรรมอุดม จึงกล่าวว่า ท่านผู้เจริญทั้งหลาย ความ
บริสุทธิ์ย่อมมีด้วยการเพียงสารวมเท่านั้น.
อนึ่ง ชนเหล่านั้นสมาทานวัตรมีหัตถีวัตรเป็นต้น ตั้งมั่นด้วยคิดว่า ความบริสุทธิ์ของศาสดาจะ
พึงมีในทิฏฐิเท่านั้น เขาถูกภพนาเข้าไปแล้วถูกภพท่วมทับ ยังพูดอยู่เสมอๆ ว่าเราเป็นผู้ฉลาด.
สมณพราหมณ์ทั้งหลายแม้เหล่าอื่น อาศัยทิฏฐินั้นหรือความเกลียดบาปอย่างใดอย่างหนึ่ง
ในทิฏฐิอันบริสุทธิ์เป็นต้น เป็นผู้ระลึกแล่นพ้นไปจากอกิริยทิฏฐิ ยังไม่ปราศจากตัณหาในภพน้อยและภพ
ใหญ่ แล้วย่อมทอดถอน คือพูดถึงความบริสุทธิ์.
อธิบายว่า เมื่อสมณพราหมณ์เหล่านั้นยังไม่ปราศจากตัณหา ทอดถอนถึงความบริสุทธิ์ แม้ผู้ใด
พึงสาคัญตนว่าเป็นผู้ถึงความบริสุทธิ์ ผู้นั้นเพราะยังไม่ปราศจากตัณหายังปรารถนาวัตถุนั้นๆ ในภพน้อย
และภพใหญ่ ก็ยังมีความดิ้นรนอยู่บ่อยๆ นั่นเอง. เพราะตัณหาที่บุคคลเสพเป็นอาจิณแล้ว ก็ทาให้ตัณหา
เจริญมากขึ้นนั่นเอง และมิใช่ความดิ้นรนอย่างเดียว ความหวั่นไหวยังมีในวัตถุที่ตนกาหนดอีกด้วย.
พวกเดียรถีย์เหล่านั้นย่อมสรรเสริญหนทางเครื่องดาเนินของตนอย่างใด แม้การบูชาธรรมของ
ตนของเดียรถีย์เหล่านั้น ก็ยังเป็นไปอยู่อย่างนั้น เพราะว่าพวกเดียรถีย์เหล่านั้นย่อมเคารพศาสดาเป็นต้น
เหลือเกิน. ในข้อนั้น ผิว่าการบูชาธรรมของตนจะพึงเป็นประมาณแก่พวกเดียรถีย์เหล่านั้น เมื่อเป็นอย่างนั้น
วาทะทั้งหมดก็จะพึงเป็นของแท้.
เพราะว่าความบริสุทธิ์ของเดียรถีย์เหล่านั้น เป็นผลเฉพาะตนๆ เท่านั้น ความบริสุทธิ์นั้นย่อมไม่
สาเร็จในที่อื่น แม้โดยปรมัตถ์ก็ไม่สาเร็จ เพราะคานั้นเป็นเพียงยึดถือความเห็นในตนเท่านั้นของผู้รู้ที่ปัจจัย
อื่นจะพึงนาไปเหล่านั้น. แต่ตรงกันข้าม ผู้ใดชื่อว่าเป็นพราหมณ์เพราะลอยบาปได้แล้ว
เพราะหากว่า บรรดาเดียรถีย์เหล่านั้นแม้คนหนึ่งได้เห็น ก็จะได้เห็นความตามเป็นจริง ด้วยป
รจิตตญาณเป็นต้นนั้น ประโยชน์อะไรเล่าด้วยการเห็นนั้นแก่ตน คือทาอะไรได้ การกาหนดรู้ทุกข์สาเร็จแล้ว
หรือ หรือการละเหตุให้เกิดทุกข์อย่างใดอย่างหนึ่งสาเร็จแล้ว เพราะเดียรถีย์ทั้งหลายเหล่านั้นก้าวล่วง
อริยมรรค แม้โดยประการทั้งปวงได้แล้ว ย่อมกล่าวความบริสุทธิ์ด้วยธรรมอย่างอื่น หรือพระพุทธเจ้าเป็น
ต้นก้าวล่วงเดียรถีย์เหล่านั้นได้แล้วย่อมกล่าวความบริสุทธิ์ด้วยธรรมอย่างอื่น.
นรชนใดได้เห็นด้วยปรจิตตญาณ (รู้ใจผู้อื่น) แล้ว นรชนนั้นเมื่อเห็นย่อมเห็นนามรูป แต่นั้น
5
ครั้นเห็นแล้วจักรู้ทั่วถึงนามรูปเหล่านั้นทีเดียว โดยความเป็นของเที่ยง หรือโดยความเป็นสุข จักไม่รู้โดย
ประการอื่น. นรชนนั้นเมื่อเห็นอยู่อย่างนี้ จะเห็นนามรูปมากหรือน้อยโดยความเป็นของเที่ยง และโดยเป็น
สุขก็จริง ถึงกระนั้น ผู้ฉลาดทั้งหลายย่อมไม่กล่าวความบริสุทธิ์ด้วยการเห็น เห็นปานนั้นของเขาเลย.
แม้เมื่อไม่มีความบริสุทธิ์ด้วยความเห็นนั้น ผู้ใดมีปรกติกล่าวตามความมั่นใจอย่างนี้ ว่า เรารู้
เราเห็นสิ่งนั้น เป็นอย่างนั้นแล อาศัยความเป็นอย่างนั้นจึงเชื่อความบริสุทธิ์ด้วยทิฏฐิ เป็นผู้มีปรกติกล่าว
ตามความมั่นใจอย่างนี้ ว่า สิ่งนี้ เท่านั้นจริง ผู้นั้นมิใช่จะพึงแนะนาได้ง่ายเลย ชนผู้ทาทิฏฐิที่ตนกาหนดคือปรุง
แต่งไว้เบื้องหน้าอย่างนั้น ผู้นั้นอาศัยศาสดาคนใดแล้ว ก็เป็นผู้กล่าวถึงความดีงามในศาสดานั้นสาคัญตนว่า
เราเป็นผู้กล่าวความบริสุทธิ์ เป็นผู้กล่าวความหมดจด หรือเป็นผู้เห็นความบริสุทธิ์ ดังนี้ .
พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงจบเทศนาลงด้วยธรรมเป็นยอดคือพระอรหัตด้วยประการฉะนี้ .
--------------------

More Related Content

Similar to ๒๑.๕ มหาวิยูหสูตร มจร.pdf

วันอาสาฬหบูชา
วันอาสาฬหบูชาวันอาสาฬหบูชา
วันอาสาฬหบูชา
utumporn charoensuk
 
Wansamkarn tippaya
Wansamkarn tippayaWansamkarn tippaya
Wansamkarn tippayatippaya6563
 
(๕) มหากัสสปเถราปทาน มจร.pdf
(๕) มหากัสสปเถราปทาน มจร.pdf(๕) มหากัสสปเถราปทาน มจร.pdf
(๕) มหากัสสปเถราปทาน มจร.pdf
maruay songtanin
 
Saeng Dhamma Vol. 36 No. 434 June 2011
Saeng Dhamma Vol. 36 No. 434 June 2011 Saeng Dhamma Vol. 36 No. 434 June 2011
Saeng Dhamma Vol. 36 No. 434 June 2011
Wat Thai Washington, D.C.
 
9 mantra
9 mantra9 mantra
9 mantra
kruchayanon
 
๑๗ มหาปทานสูตร มจร.pdf
๑๗ มหาปทานสูตร มจร.pdf๑๗ มหาปทานสูตร มจร.pdf
๑๗ มหาปทานสูตร มจร.pdf
maruay songtanin
 
พระสีวลี
พระสีวลีพระสีวลี
พระสีวลีkannika2264
 
เกณฑ์การรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนา
เกณฑ์การรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนาเกณฑ์การรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนา
เกณฑ์การรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนาTongsamut vorasan
 
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดูศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดูJani Kp
 
๐๕ โธตกปัญหา.pdf
๐๕ โธตกปัญหา.pdf๐๕ โธตกปัญหา.pdf
๐๕ โธตกปัญหา.pdf
maruay songtanin
 
10 สาธยายธรรม ( บทสวดมนต์แนวพุทธ )sutrarecite
10 สาธยายธรรม ( บทสวดมนต์แนวพุทธ )sutrarecite10 สาธยายธรรม ( บทสวดมนต์แนวพุทธ )sutrarecite
10 สาธยายธรรม ( บทสวดมนต์แนวพุทธ )sutrareciteTongsamut vorasan
 
บทสวดมนต์ข้ามปี
บทสวดมนต์ข้ามปีบทสวดมนต์ข้ามปี
บทสวดมนต์ข้ามปีTongsamut vorasan
 
สวดมนต์ข้ามปี ๒๕๕๖ (ฉบับ สสส.)
สวดมนต์ข้ามปี ๒๕๕๖ (ฉบับ สสส.)สวดมนต์ข้ามปี ๒๕๕๖ (ฉบับ สสส.)
สวดมนต์ข้ามปี ๒๕๕๖ (ฉบับ สสส.)Ballista Pg
 
สุภีร์ ทุมทอง สติปัฏฐาน ๔ เสันทางตรงสู่พระนิพพาน
สุภีร์ ทุมทอง   สติปัฏฐาน ๔ เสันทางตรงสู่พระนิพพาน สุภีร์ ทุมทอง   สติปัฏฐาน ๔ เสันทางตรงสู่พระนิพพาน
สุภีร์ ทุมทอง สติปัฏฐาน ๔ เสันทางตรงสู่พระนิพพาน Tongsamut vorasan
 
ศาสนาสากล โดย ครูอัมพร
ศาสนาสากล                โดย ครูอัมพรศาสนาสากล                โดย ครูอัมพร
ศาสนาสากล โดย ครูอัมพรampy48
 
๐๖. ภูริทัตตชาดก.pdf
๐๖. ภูริทัตตชาดก.pdf๐๖. ภูริทัตตชาดก.pdf
๐๖. ภูริทัตตชาดก.pdf
maruay songtanin
 
สวดมนต์ วัดพระธาตุจอมมอญ
สวดมนต์ วัดพระธาตุจอมมอญสวดมนต์ วัดพระธาตุจอมมอญ
สวดมนต์ วัดพระธาตุจอมมอญPhatphong Mahawattano
 

Similar to ๒๑.๕ มหาวิยูหสูตร มจร.pdf (20)

วันอาสาฬหบูชา
วันอาสาฬหบูชาวันอาสาฬหบูชา
วันอาสาฬหบูชา
 
Wansamkarn tippaya
Wansamkarn tippayaWansamkarn tippaya
Wansamkarn tippaya
 
(๕) มหากัสสปเถราปทาน มจร.pdf
(๕) มหากัสสปเถราปทาน มจร.pdf(๕) มหากัสสปเถราปทาน มจร.pdf
(๕) มหากัสสปเถราปทาน มจร.pdf
 
Saeng Dhamma Vol. 36 No. 434 June 2011
Saeng Dhamma Vol. 36 No. 434 June 2011 Saeng Dhamma Vol. 36 No. 434 June 2011
Saeng Dhamma Vol. 36 No. 434 June 2011
 
คู่มือพุทธบริษัท
คู่มือพุทธบริษัทคู่มือพุทธบริษัท
คู่มือพุทธบริษัท
 
9 mantra
9 mantra9 mantra
9 mantra
 
๑๗ มหาปทานสูตร มจร.pdf
๑๗ มหาปทานสูตร มจร.pdf๑๗ มหาปทานสูตร มจร.pdf
๑๗ มหาปทานสูตร มจร.pdf
 
พระสีวลี
พระสีวลีพระสีวลี
พระสีวลี
 
เกณฑ์การรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนา
เกณฑ์การรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนาเกณฑ์การรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนา
เกณฑ์การรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนา
 
มุตโตทัย
มุตโตทัยมุตโตทัย
มุตโตทัย
 
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดูศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
 
๐๕ โธตกปัญหา.pdf
๐๕ โธตกปัญหา.pdf๐๕ โธตกปัญหา.pdf
๐๕ โธตกปัญหา.pdf
 
10 สาธยายธรรม ( บทสวดมนต์แนวพุทธ )sutrarecite
10 สาธยายธรรม ( บทสวดมนต์แนวพุทธ )sutrarecite10 สาธยายธรรม ( บทสวดมนต์แนวพุทธ )sutrarecite
10 สาธยายธรรม ( บทสวดมนต์แนวพุทธ )sutrarecite
 
บทสวดมนต์ข้ามปี
บทสวดมนต์ข้ามปีบทสวดมนต์ข้ามปี
บทสวดมนต์ข้ามปี
 
สวดมนต์ข้ามปี ๒๕๕๖ (ฉบับ สสส.)
สวดมนต์ข้ามปี ๒๕๕๖ (ฉบับ สสส.)สวดมนต์ข้ามปี ๒๕๕๖ (ฉบับ สสส.)
สวดมนต์ข้ามปี ๒๕๕๖ (ฉบับ สสส.)
 
200789830 katin
200789830 katin200789830 katin
200789830 katin
 
สุภีร์ ทุมทอง สติปัฏฐาน ๔ เสันทางตรงสู่พระนิพพาน
สุภีร์ ทุมทอง   สติปัฏฐาน ๔ เสันทางตรงสู่พระนิพพาน สุภีร์ ทุมทอง   สติปัฏฐาน ๔ เสันทางตรงสู่พระนิพพาน
สุภีร์ ทุมทอง สติปัฏฐาน ๔ เสันทางตรงสู่พระนิพพาน
 
ศาสนาสากล โดย ครูอัมพร
ศาสนาสากล                โดย ครูอัมพรศาสนาสากล                โดย ครูอัมพร
ศาสนาสากล โดย ครูอัมพร
 
๐๖. ภูริทัตตชาดก.pdf
๐๖. ภูริทัตตชาดก.pdf๐๖. ภูริทัตตชาดก.pdf
๐๖. ภูริทัตตชาดก.pdf
 
สวดมนต์ วัดพระธาตุจอมมอญ
สวดมนต์ วัดพระธาตุจอมมอญสวดมนต์ วัดพระธาตุจอมมอญ
สวดมนต์ วัดพระธาตุจอมมอญ
 

More from maruay songtanin

การคิดเชิงวิพากษ์ Critical Thinking.pdf
การคิดเชิงวิพากษ์  Critical Thinking.pdfการคิดเชิงวิพากษ์  Critical Thinking.pdf
การคิดเชิงวิพากษ์ Critical Thinking.pdf
maruay songtanin
 
๒๖. อภิชชมานเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๒๖. อภิชชมานเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...๒๖. อภิชชมานเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๒๖. อภิชชมานเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
maruay songtanin
 
๒๕. อุพพรีเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
๒๕. อุพพรีเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...๒๕. อุพพรีเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
๒๕. อุพพรีเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
maruay songtanin
 
๒๔. กัณณมุณฑเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...
๒๔. กัณณมุณฑเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...๒๔. กัณณมุณฑเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...
๒๔. กัณณมุณฑเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...
maruay songtanin
 
๒๓. สุตตเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๒๓. สุตตเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...๒๓. สุตตเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๒๓. สุตตเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
maruay songtanin
 
๒๒. อุตตรมาตุเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหา...
๒๒. อุตตรมาตุเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหา...๒๒. อุตตรมาตุเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหา...
๒๒. อุตตรมาตุเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหา...
maruay songtanin
 
๒๑. อังกุรเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
๒๑. อังกุรเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...๒๑. อังกุรเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
๒๑. อังกุรเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
maruay songtanin
 
๒๐. จูฬเสฏฐิเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๒๐. จูฬเสฏฐิเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...๒๐. จูฬเสฏฐิเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๒๐. จูฬเสฏฐิเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
maruay songtanin
 
๑๙. ธนปาลเสฏฐิเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหา...
๑๙. ธนปาลเสฏฐิเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหา...๑๙. ธนปาลเสฏฐิเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหา...
๑๙. ธนปาลเสฏฐิเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหา...
maruay songtanin
 
๑๘. กัณหเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๑๘. กัณหเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...๑๘. กัณหเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๑๘. กัณหเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
maruay songtanin
 
๑๗. มัฏฐกุณฑลีเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหา...
๑๗. มัฏฐกุณฑลีเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหา...๑๗. มัฏฐกุณฑลีเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหา...
๑๗. มัฏฐกุณฑลีเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหา...
maruay songtanin
 
๑๖. นันทาเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
๑๖. นันทาเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...๑๖. นันทาเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
๑๖. นันทาเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
maruay songtanin
 
๑๕. มัตตาเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
๑๕. มัตตาเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...๑๕. มัตตาเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
๑๕. มัตตาเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
maruay songtanin
 
๑๔. สารีปุตตเถรมาตุเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉ...
๑๔. สารีปุตตเถรมาตุเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉ...๑๔. สารีปุตตเถรมาตุเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉ...
๑๔. สารีปุตตเถรมาตุเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉ...
maruay songtanin
 
๑๓. สังสารโมจกเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมห...
๑๓. สังสารโมจกเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมห...๑๓. สังสารโมจกเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมห...
๑๓. สังสารโมจกเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมห...
maruay songtanin
 
๑๒. อุรคเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๑๒. อุรคเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...๑๒. อุรคเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๑๒. อุรคเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
maruay songtanin
 
๑๑. นาคเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
๑๑. นาคเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....๑๑. นาคเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
๑๑. นาคเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
maruay songtanin
 
๑๐. ขัลลาฏิยเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...
๑๐. ขัลลาฏิยเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...๑๐. ขัลลาฏิยเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...
๑๐. ขัลลาฏิยเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...
maruay songtanin
 
๙. มหาเปสการเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...
๙. มหาเปสการเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...๙. มหาเปสการเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...
๙. มหาเปสการเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...
maruay songtanin
 
๘. โคณเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
๘. โคณเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx๘. โคณเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
๘. โคณเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
maruay songtanin
 

More from maruay songtanin (20)

การคิดเชิงวิพากษ์ Critical Thinking.pdf
การคิดเชิงวิพากษ์  Critical Thinking.pdfการคิดเชิงวิพากษ์  Critical Thinking.pdf
การคิดเชิงวิพากษ์ Critical Thinking.pdf
 
๒๖. อภิชชมานเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๒๖. อภิชชมานเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...๒๖. อภิชชมานเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๒๖. อภิชชมานเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
 
๒๕. อุพพรีเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
๒๕. อุพพรีเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...๒๕. อุพพรีเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
๒๕. อุพพรีเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
 
๒๔. กัณณมุณฑเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...
๒๔. กัณณมุณฑเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...๒๔. กัณณมุณฑเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...
๒๔. กัณณมุณฑเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...
 
๒๓. สุตตเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๒๓. สุตตเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...๒๓. สุตตเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๒๓. สุตตเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
 
๒๒. อุตตรมาตุเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหา...
๒๒. อุตตรมาตุเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหา...๒๒. อุตตรมาตุเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหา...
๒๒. อุตตรมาตุเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหา...
 
๒๑. อังกุรเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
๒๑. อังกุรเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...๒๑. อังกุรเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
๒๑. อังกุรเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
 
๒๐. จูฬเสฏฐิเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๒๐. จูฬเสฏฐิเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...๒๐. จูฬเสฏฐิเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๒๐. จูฬเสฏฐิเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
 
๑๙. ธนปาลเสฏฐิเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหา...
๑๙. ธนปาลเสฏฐิเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหา...๑๙. ธนปาลเสฏฐิเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหา...
๑๙. ธนปาลเสฏฐิเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหา...
 
๑๘. กัณหเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๑๘. กัณหเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...๑๘. กัณหเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๑๘. กัณหเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
 
๑๗. มัฏฐกุณฑลีเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหา...
๑๗. มัฏฐกุณฑลีเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหา...๑๗. มัฏฐกุณฑลีเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหา...
๑๗. มัฏฐกุณฑลีเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหา...
 
๑๖. นันทาเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
๑๖. นันทาเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...๑๖. นันทาเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
๑๖. นันทาเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
 
๑๕. มัตตาเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
๑๕. มัตตาเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...๑๕. มัตตาเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
๑๕. มัตตาเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
 
๑๔. สารีปุตตเถรมาตุเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉ...
๑๔. สารีปุตตเถรมาตุเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉ...๑๔. สารีปุตตเถรมาตุเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉ...
๑๔. สารีปุตตเถรมาตุเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉ...
 
๑๓. สังสารโมจกเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมห...
๑๓. สังสารโมจกเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมห...๑๓. สังสารโมจกเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมห...
๑๓. สังสารโมจกเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมห...
 
๑๒. อุรคเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๑๒. อุรคเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...๑๒. อุรคเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๑๒. อุรคเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
 
๑๑. นาคเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
๑๑. นาคเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....๑๑. นาคเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
๑๑. นาคเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
 
๑๐. ขัลลาฏิยเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...
๑๐. ขัลลาฏิยเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...๑๐. ขัลลาฏิยเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...
๑๐. ขัลลาฏิยเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...
 
๙. มหาเปสการเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...
๙. มหาเปสการเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...๙. มหาเปสการเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...
๙. มหาเปสการเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...
 
๘. โคณเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
๘. โคณเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx๘. โคณเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
๘. โคณเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 

๒๑.๕ มหาวิยูหสูตร มจร.pdf

  • 1. 1 มหาสมัยสูตร และพระสูตรที่เกี่ยวเนื่อง ตอนที่ ๖ มหาวิยูหสูตร พลตรี มารวย ส่งทานินทร์ ๒๓ เมษายน พ.ศ. ๒๕๖๖ เกริ่นนา ในพระสูตรมหาวิยูหสูตรนี้ เป็นการแสดงพระธรรมเทศนาให้เหล่าเทวดาและพระพรหมที่มาเข้า เฝ้าพระพุทธองค์ที่ได้กล่าวไว้ในมหาสมัยสูตร เมื่อพระพุทธนิมิตถามปัญหา พระผู้มีพระภาคเจ้าจึงได้ตรัส พระสูตรมหาวิยูหะนี้ (พระสูตรว่าด้วยพวกใหญ่) พร้อมกับคาถามพระสูตรนั้น แก่พวกเทวดาและพรหมที่ เป็นพวกโมหะจริต มหาวิยูหสูตร พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๕ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๗ [ฉบับมหาจุฬาฯ] ขุททกนิกาย ขุททกปาฐะ-ธรรมบท-อุทาน-อิติวุตตกะ-สุตตนิบาต ๑๓. มหาวิยูหสูตร ว่าด้วยการวิวาทกันเพราะทิฏฐิสูตรใหญ่ (พระพุทธเนรมิตทูลถามดังนี้ ) [๙๐๒] สมณพราหมณ์พวกใดพวกหนึ่งเหล่านี้ ยึดถือทิฏฐิอยู่ พากันกล่าวอ้างว่า นี้ เท่านั้นจริง สมณพราหมณ์เหล่านั้นทุกพวกนั่นแหละจะถูกนินทา หรือว่าจะได้รับความสรรเสริญเพราะทิฏฐินั้น (พระผู้มีพระภาคตรัสตอบดังนี้ ) [๙๐๓] ผลแห่งวาทะนี้ น้อยนัก ไม่พอเพื่อความสงบ เรากล่าวผลแห่งการวิวาทเป็น ๒ อย่าง (หมายถึงมีนินทา หรือสรรเสริญ อีกนัยหนึ่ง มีชนะ หรือพ่ายแพ้) บุคคลเห็นโทษแม้นี้ แล้ว มองเห็นภูมิ (เหตุ)แห่งการไม่วิวาท (ภูมิแห่งการไม่วิวาท ในที่นี้ หมายถึงอมตนิพพาน) ว่า เกษม ไม่พึงวิวาทกัน (พระพุทธเนรมิตทูลถามดังนี้ ) [๙๐๔] ทิฏฐิสมมติ (ทิฏฐิสมมติ หมายถึงทิฏฐิ ๖๒) เหล่านี้ อย่างใดอย่างหนึ่งเกิดจากปุถุชน บุคคลผู้มีความรู้ย่อมไม่เข้าถึงทิฏฐิสมมติเหล่านี้ ทุกอย่าง บุคคลผู้ไม่มีกิเลสเป็นเหตุเข้าถึงนั้น ไม่ทาความ พอใจในรูปที่เห็น เสียงที่ได้ยิน พึงถึงสิ่งที่ควรเข้าถึงอะไรเล่า (พระผู้มีพระภาคตรัสตอบดังนี้ ) [๙๐๕] สมณพราหมณ์ผู้กล่าวอ้างศีลว่า สูงสุด สมาทานวัตรแล้ว ดารงอยู่ ได้กล่าวความหมดจด ด้วยความสารวมว่า พวกเราศึกษาในทิฏฐินี้ แหละ และศึกษาความหมดจดแห่งวัตรนั้น สมณพราหมณ์ เหล่านั้นอ้างตนว่า เป็นคนฉลาด ย่อมเป็นผู้ถูกนาเข้าสู่ภพ
  • 2. 2 [๙๐๖] ถ้าบุคคลเคลื่อนจากศีลและวัตร พลาดกรรมแล้วก็หวั่นไหว เขาย่อมเฝ้าแต่พร่าเพ้อและ ปรารถนาความหมดจด เหมือนคนออกจากเรือนอยู่ร่วมกับพวกเดินทาง พลัดพรากจากพวก ฉะนั้น [๙๐๗] อริยสาวกละศีลและวัตรได้ทั้งหมด ละกรรมที่มีโทษและกรรมที่ไม่มีโทษเสียได้ (กรรมที่มี โทษและกรรมที่ไม่มีโทษ หมายถึงอกุศลทั้งปวง ได้แก่ อกุศลกรรมบถ ๑๐ ประการ และโลกิยกุศลได้แก่ กุศลกรรมบถ ๑๐ ประการ) ไม่ปรารถนาความหมดจดและความไม่หมดจด งดเว้นแล้ว ไม่ยึดมั่นทิฏฐิที่มีอยู่ เที่ยวไป [๙๐๘] สมณพราหมณ์เข้าไปอาศัยตบะที่ตนเกลียดชังนั้น เข้าไปอาศัยรูปที่เห็น เสียงที่ได้ยิน หรือ อารมณ์ที่รับรู้ เป็นผู้กล่าวความหมดจดในสงสารข้างหน้า ยังไม่คลายตัณหาในภพน้อยภพใหญ่ จึงยังพร่า พูดถึงความหมดจดอยู่ [๙๐๙] ความชอบใจวัตถุ ย่อมมีแก่ผู้กาลังปรารถนา อนึ่ง ความหวั่นไหว ย่อมมีเพราะวัตถุที่ กาหนดแล้ว ความตายและความเกิดมิได้มีแก่ภิกษุใดในธรรมวินัยนี้ ภิกษุนั้นพึงหวั่นไหวด้วยเหตุอะไรเล่า หรือจะพึงชอบใจในอะไรเล่า (พระพุทธเนรมิตทูลถามดังนี้ ) [๙๑๐] สมณพราหมณ์บางพวกกล่าวธรรมใดว่า เยี่ยม แต่สมณพราหมณ์พวกอื่นกลับกล่าวธรรม นั้นนั่นเองว่า เลว วาทะของสมณพราหมณ์เหล่านี้ วาทะไหนจริงกันหนอ เพราะสมณพราหมณ์เหล่านี้ ทุก พวก ต่างกล่าวอ้างตนว่า เป็นคนฉลาด (พระผู้มีพระภาคตรัสตอบดังนี้ ) [๙๑๑] อนึ่ง สมณพราหมณ์บางพวก กล่าวธรรมของตนว่า บริบูรณ์ แต่กล่าวธรรมของผู้อื่นว่า เลว พวกสมณพราหมณ์ถือมั่นแม้อย่างนี้ แล้ว ย่อมวิวาทกัน เพราะต่างกล่าวทิฏฐิสมมติของตนๆ ว่า จริง [๙๑๒] หากบุคคลเป็นคนเลวเพราะเหตุที่ผู้อื่นพูดติเตียนไซร้ ก็จะไม่พึงมีใครวิเศษในธรรม ทั้งหลายได้เลย เพราะคนส่วนมาก ต่างกล่าวยืนยันในแนวทางของตน พากันกล่าวถึงธรรมของผู้อื่นว่า เป็น สิ่งเลวทราม [๙๑๓] การบูชาหลักการของตน เป็นเรื่องแท้จริง เหมือนสมณพราหมณ์พากันสรรเสริญแนวทาง ของตน ฉะนั้น การว่าร้ายทุกอย่างก็พึงมีอยู่แท้จริง เพราะความหมดจดของสมณพราหมณ์เหล่านั้น เป็น เรื่องเฉพาะตนเท่านั้น [๙๑๔] ญาณที่ผู้อื่นพึงแนะนาไม่มีแก่พราหมณ์ ความตกลงใจแล้วยึดมั่นในธรรมทั้งหลาย ก็ไม่มี เพราะฉะนั้น พราหมณ์จึงล่วงเลยการวิวาททั้งหลายได้แล้ว แท้จริง พราหมณ์ไม่เห็นธรรมอื่นว่า เป็นของ ประเสริฐ [๙๑๕] สมณพราหมณ์บางพวกเชื่อความหมดจดเพราะทิฏฐิว่า เรารู้ เราเห็นความหมดจดนี้ ว่า มี จริง ถ้าสมณพราหมณ์ผู้หนึ่งได้เห็นแล้ว จะมีประโยชน์อะไรด้วยการเห็นนั้นแก่สมณพราหมณ์เหล่านั้นเล่า เพราะพวกสมณพราหมณ์แล่นเลย(ทางแห่งความหมดจด)แล้ว ย่อมกล่าวความหมดจดด้วยการเห็นอื่น
  • 3. 3 [๙๑๖] นรชนเมื่อเห็นย่อมเห็นนามรูป หรือครั้นเห็นแล้วก็รู้จักเฉพาะนามรูปเหล่านั้นเท่านั้น นร ชนเห็นนามรูปมากบ้าง น้อยบ้างโดยแท้ ถึงอย่างนั้น ผู้ฉลาดทั้งหลายก็ไม่กล่าวความหมดจด เพราะการ เห็นนามรูปนั้น [๙๑๗] นรชนผู้มีปกติกล่าวด้วยความเชื่อมั่น ไม่ใช่คนที่ใครพึงแนะนาได้ง่าย เป็นผู้เชิดชูทิฏฐิที่ กาหนดไว้แล้ว อาศัยศาสดาใด ก็กล่าวว่าศาสดานั้นดีงามเพราะทิฏฐินั้น นรชนนั้นผู้กล่าวความหมดจดได้ เห็นว่าแท้จริงในทิฏฐินั้น [๙๑๘] พราหมณ์พิจารณาแล้ว ย่อมไม่เข้าถึงความกาหนด ไม่แล่นไปด้วยทิฏฐิ ทั้งไม่ผูกพันด้วย ตัณหาหรือทิฏฐิเพราะญาณ พราหมณ์นั้นครั้นรู้แล้วก็วางเฉยทิฏฐิสมมติที่เกิดจากปุถุชน แต่สมณพราหมณ์ เหล่าอื่นพากันถือมั่น [๙๑๙] มุนีสลัดกิเลสเครื่องร้อยรัดในโลกนี้ แล้ว เมื่อคนทั้งหลายเกิดวิวาทกันแล้ว ก็ไม่เข้าไปเป็น ฝักเป็นฝ่าย เมื่อคนทั้งหลายไม่สงบ มุนีนั้นเป็นผู้สงบ วางเฉย ไม่ถือมั่น แต่สมณพราหมณ์เหล่าอื่นพากันถือ มั่น [๙๒๐] มุนีละอาสวะเก่า (อาสวะเก่า หมายถึงกิเลสเกิดขึ้นเพราะปรารภรูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ ในอดีต) ไม่ก่ออาสวะใหม่ (อาวสวะใหม่ หมายถึงกิเลสที่เกิดขึ้นปรารภรูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ ในปัจจุบัน) ไม่ดาเนินไปตามความพอใจ ทั้งไม่มีปกติกล่าวด้วยความเชื่อมั่น มุนีนั้นเป็น นักปราชญ์ พ้นขาดแล้วจากทิฏฐิทั้งหลาย ติเตียนตนเองไม่ได้ ไม่ติดอยู่ในโลก [๙๒๑] มุนีนั้น เป็นผู้กาจัดเสนา (เสนา ในที่นี้ หมายถึงเสนามาร คือ กายทุจริต วจีทุจริต มโน ทุจริต เป็นต้น) ในธรรมทั้งปวง คือในรูปที่เห็น เสียงที่ได้ยิน หรืออารมณ์ที่รับรู้อย่างใดอย่างหนึ่ง มุนีนั้น เป็นผู้ปลงภาระ (ภาระ หมายถึงสิ่งที่ต้องนาพา มี ๓ คือ (๑) ขันธภาระ ได้แก่ ขันธ์ ๕ (๒) กิเลสภาระ ได้แก่ ราคะ โทสะ โมหะ เป็นต้น (๓) อภิสังขารภาระ ได้แก่ ปุญญาภิสังขาร อปุญญาภิสังขาร และอาเนญ ชาภิสังขา) ลงแล้ว พ้นขาดแล้ว ไม่มีความกาหนัด ไม่เข้าไปยินดี ไม่มีความปรารถนา มหาวิยูหสูตรที่ ๑๓ จบ ------------------------ คาอธิบายเพิ่มเติมนี้ นามาจากบาลส่วนของอรรถกถา ขุททกนิกาย สุตตนิบาต อัฏฐกวรรค มหาวิยูหสูตร อรรถกถามหาพยูหสูตรที่ ๑๓ พระสูตรนี้ มีการเกิดขึ้นอย่างไร? ในมหาสมัยนั้นเหมือนกัน พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสพระสูตรนี้ เพื่อทาให้แจ้งความนั้น แก่เหล่า เทวดาบางพวกผู้มีจิตเกิดขึ้นว่า บุคคลเหล่านี้ ถือมั่นในทิฏฐิย่อมได้รับการนินทาอย่างเดียวหรือหนอ หรือ ได้รับแม้การสรรเสริญด้วย จากสานักของวิญญูชนทั้งหลาย ทรงให้พระพุทธนิมิตถามพระองค์ โดยนัยก่อน นั่นแล.
  • 4. 4 เพราะบุคคลผู้มีวาทะเป็นเจ้าทิฏฐิเหล่านั้นแม้กล่าวอยู่ว่าสิ่งนี้ เท่านั้นจริง บางคราวได้ความ สรรเสริญบ้าง ผลแห่งวาทะอันได้แก่ความสรรเสริญนั้นน้อยนักไม่สามารถเพื่อสงบราคะเป็นต้นได้ จะกล่าว ไปไยถึงผลแห่งการนินทาที่สอง ฉะนั้น พระผู้มีพระภาคเจ้าเมื่อจะทรงแสดงความนี้ จึงตรัสคาถาแก้นี้ ก่อนมี อาทิว่า เรากล่าวผลแห่งการวิวาท ๒ ประการนี้ น้อยนัก ไม่พอแก่ความสงบดังนี้ . ผลแห่งการวิวาท ๒ ประการ ได้แก่ ความนินทาและความสรรเสริญ หรือได้แก่ความชนะและ ความแพ้เป็นต้น อันเป็นส่วนพวกเดียวกันกับความสรรเสริญและความนินทานั้น. เห็นโทษแห่งการวิวาทกัน คือเห็นโทษในผลแห่งการวิวาทอย่างนี้ ว่า การนินทาอันเป็นสิ่งไม่น่า ปรารถนา การสรรเสริญไม่พอแก่ความสงบดังนี้ บัณฑิตเห็นนิพพานมิใช่ภูมิแห่งการวิวาทว่าเป็นธรรม เกษม. ชนบางพวกมีศีลอุดมสาคัญว่าศีลเท่านั้นเป็นธรรมอุดม จึงกล่าวว่า ท่านผู้เจริญทั้งหลาย ความ บริสุทธิ์ย่อมมีด้วยการเพียงสารวมเท่านั้น. อนึ่ง ชนเหล่านั้นสมาทานวัตรมีหัตถีวัตรเป็นต้น ตั้งมั่นด้วยคิดว่า ความบริสุทธิ์ของศาสดาจะ พึงมีในทิฏฐิเท่านั้น เขาถูกภพนาเข้าไปแล้วถูกภพท่วมทับ ยังพูดอยู่เสมอๆ ว่าเราเป็นผู้ฉลาด. สมณพราหมณ์ทั้งหลายแม้เหล่าอื่น อาศัยทิฏฐินั้นหรือความเกลียดบาปอย่างใดอย่างหนึ่ง ในทิฏฐิอันบริสุทธิ์เป็นต้น เป็นผู้ระลึกแล่นพ้นไปจากอกิริยทิฏฐิ ยังไม่ปราศจากตัณหาในภพน้อยและภพ ใหญ่ แล้วย่อมทอดถอน คือพูดถึงความบริสุทธิ์. อธิบายว่า เมื่อสมณพราหมณ์เหล่านั้นยังไม่ปราศจากตัณหา ทอดถอนถึงความบริสุทธิ์ แม้ผู้ใด พึงสาคัญตนว่าเป็นผู้ถึงความบริสุทธิ์ ผู้นั้นเพราะยังไม่ปราศจากตัณหายังปรารถนาวัตถุนั้นๆ ในภพน้อย และภพใหญ่ ก็ยังมีความดิ้นรนอยู่บ่อยๆ นั่นเอง. เพราะตัณหาที่บุคคลเสพเป็นอาจิณแล้ว ก็ทาให้ตัณหา เจริญมากขึ้นนั่นเอง และมิใช่ความดิ้นรนอย่างเดียว ความหวั่นไหวยังมีในวัตถุที่ตนกาหนดอีกด้วย. พวกเดียรถีย์เหล่านั้นย่อมสรรเสริญหนทางเครื่องดาเนินของตนอย่างใด แม้การบูชาธรรมของ ตนของเดียรถีย์เหล่านั้น ก็ยังเป็นไปอยู่อย่างนั้น เพราะว่าพวกเดียรถีย์เหล่านั้นย่อมเคารพศาสดาเป็นต้น เหลือเกิน. ในข้อนั้น ผิว่าการบูชาธรรมของตนจะพึงเป็นประมาณแก่พวกเดียรถีย์เหล่านั้น เมื่อเป็นอย่างนั้น วาทะทั้งหมดก็จะพึงเป็นของแท้. เพราะว่าความบริสุทธิ์ของเดียรถีย์เหล่านั้น เป็นผลเฉพาะตนๆ เท่านั้น ความบริสุทธิ์นั้นย่อมไม่ สาเร็จในที่อื่น แม้โดยปรมัตถ์ก็ไม่สาเร็จ เพราะคานั้นเป็นเพียงยึดถือความเห็นในตนเท่านั้นของผู้รู้ที่ปัจจัย อื่นจะพึงนาไปเหล่านั้น. แต่ตรงกันข้าม ผู้ใดชื่อว่าเป็นพราหมณ์เพราะลอยบาปได้แล้ว เพราะหากว่า บรรดาเดียรถีย์เหล่านั้นแม้คนหนึ่งได้เห็น ก็จะได้เห็นความตามเป็นจริง ด้วยป รจิตตญาณเป็นต้นนั้น ประโยชน์อะไรเล่าด้วยการเห็นนั้นแก่ตน คือทาอะไรได้ การกาหนดรู้ทุกข์สาเร็จแล้ว หรือ หรือการละเหตุให้เกิดทุกข์อย่างใดอย่างหนึ่งสาเร็จแล้ว เพราะเดียรถีย์ทั้งหลายเหล่านั้นก้าวล่วง อริยมรรค แม้โดยประการทั้งปวงได้แล้ว ย่อมกล่าวความบริสุทธิ์ด้วยธรรมอย่างอื่น หรือพระพุทธเจ้าเป็น ต้นก้าวล่วงเดียรถีย์เหล่านั้นได้แล้วย่อมกล่าวความบริสุทธิ์ด้วยธรรมอย่างอื่น. นรชนใดได้เห็นด้วยปรจิตตญาณ (รู้ใจผู้อื่น) แล้ว นรชนนั้นเมื่อเห็นย่อมเห็นนามรูป แต่นั้น
  • 5. 5 ครั้นเห็นแล้วจักรู้ทั่วถึงนามรูปเหล่านั้นทีเดียว โดยความเป็นของเที่ยง หรือโดยความเป็นสุข จักไม่รู้โดย ประการอื่น. นรชนนั้นเมื่อเห็นอยู่อย่างนี้ จะเห็นนามรูปมากหรือน้อยโดยความเป็นของเที่ยง และโดยเป็น สุขก็จริง ถึงกระนั้น ผู้ฉลาดทั้งหลายย่อมไม่กล่าวความบริสุทธิ์ด้วยการเห็น เห็นปานนั้นของเขาเลย. แม้เมื่อไม่มีความบริสุทธิ์ด้วยความเห็นนั้น ผู้ใดมีปรกติกล่าวตามความมั่นใจอย่างนี้ ว่า เรารู้ เราเห็นสิ่งนั้น เป็นอย่างนั้นแล อาศัยความเป็นอย่างนั้นจึงเชื่อความบริสุทธิ์ด้วยทิฏฐิ เป็นผู้มีปรกติกล่าว ตามความมั่นใจอย่างนี้ ว่า สิ่งนี้ เท่านั้นจริง ผู้นั้นมิใช่จะพึงแนะนาได้ง่ายเลย ชนผู้ทาทิฏฐิที่ตนกาหนดคือปรุง แต่งไว้เบื้องหน้าอย่างนั้น ผู้นั้นอาศัยศาสดาคนใดแล้ว ก็เป็นผู้กล่าวถึงความดีงามในศาสดานั้นสาคัญตนว่า เราเป็นผู้กล่าวความบริสุทธิ์ เป็นผู้กล่าวความหมดจด หรือเป็นผู้เห็นความบริสุทธิ์ ดังนี้ . พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงจบเทศนาลงด้วยธรรมเป็นยอดคือพระอรหัตด้วยประการฉะนี้ . --------------------