SlideShare a Scribd company logo
โจทย์ปัญหา PBL 5
                          เรื่อง ชนิดของข้อมูลกับตัวแปรในภาษาซี




ภารกิจ
1. จากสถานการณ์นี้ นักเรียนสามารถอธิบายความสาคัญของการแก้ปัญหานี้ได้อย่างไร ลาดับแรก
   สุดที่นักเรียนควรรู้ในการแก้ปัญหานี้คือสิ่งใด (1 คะแนน)
2. ในการแก้ปัญหานี้ นักเรียนจาเป็นต้องมีความรู้เกี่ยวกับเรื่องใดบ้าง เรื่องนั้นนาไปใช้ในการ
   แก้ปัญหาอย่างไรบ้าง (1 คะแนน)
3. จากสถานการณ์ปัญหานี้ ถ้านักเรียนต้องการกาหนดตัวแปรให้ถูกต้องตามรูปแบบในภาษาซี
   นักเรียนจะต้องทาอย่างไร และควรจะประกอบด้วยสิ่งใดบ้าง (3 คะแนน)
แบบบันทึกการศึกษาค้นคว้าและการแก้ปัญหา
                โจทย์ปัญหา PBL 5 เรื่อง ชนิดของข้อมูลกับตัวแปรในภาษาซี
         รายวิชาการเขียนโปรแกรมภาษาซีเบื้องต้น ง30201 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4

สมาชิกในกลุ่ม
                1. นาย กนกศักดิ์ เรือนทอง เลขที่ 2
                2. นางสาว กรองกานต์ ชะอุ่มพันธ์ เลขที่ 18
                3. นางสาว สุภาภรณ์ แถมศรี เลขที่ 19

ตอนที่ 1
   หัวข้อปัญหา ...ชนิดของข้อมูลกับตัวแปรในภาษาซีทาความเข้าใจปัญหา...
   ทาความเข้าใจปัญหา
   - สิ่งที่ต้องการรู้ …ชนิดของข้อมูลกับตัวแปรรวมทั้งหลักการตั้งชื่อของตัวแปร…
   - วิธีการหาคาตอบ ...สืบค้นข้อมูลตามเว็บไซต์ต่างๆ...
   การศึกษาค้นคว้า / แก้ปัญหา
              ชื่อสมาชิก             การแบ่งหน้าที่             แหล่งข้อมูล/อ้างอิง
   นาย กนกศักดิ์ เรือนทอง               ค้นหาและ
                                                             www.lks.ac.th/kuanjit
                                     รวบรวมข้อมูล
   นางสาวกรองกานต์ ชะอุ่มพันธ์ จัดทาเอกสาร                                -
   นางสาว สุภาภรณ์ แถมศรี            วิเคราะห์โจทย์
                                                                itd.htc.ac.th/st_it50
                                     และตอบคาถาม

ตอนที่ 2 สรุปผลการศึกษาค้นคว้า / แก้ปัญหาตามภารกิจ
        1. จากสถานการณ์นี้ นักเรียนสามารถอธิบายความสาคัญของการแก้ปัญหานี้ได้อย่างไร
ลาดับแรกสุดที่นักเรียนควรรู้ในการแก้ปัญหานี้คือสิ่งใด
                ตอบ ต้องศึ ก ษาข้อมูล เกี่ ย วกั บชนิดของข้อมูล และตัวแปรในภาษาซีก่ อน แล้ว
ความสาคัญของการแก้ปัญหาคือ มาช่วยกันวิเคราะห์ปัญหา และแลกเปลี่ยนความรู้กันภายในกลุ่ม
2. ในการแก้ปัญหานี้ นักเรียนจาเป็นต้องมีความรู้เกี่ยวกับเรื่องใดบ้าง เรื่องนั้นนาไปใช้ใน
การแก้ปัญหาอย่างไรบ้าง
                 ตอบ จาเป็นต้องรู้เรื่อง ชนิดตัวแปร รูปแบบการประกาศตัวแปร และหลักการตั้ง
ชื่อตัวแปร ชนิดของข้อมูลและรหัสควบคุมรูปแบบภาษาซี เมื่อเราทราบแล้ว เราก็สามารถรู้ว่าการ
กาหนดค่าตัวแปร รูปแบบการประกาศตัวแปร และการตั้งชื่อตัวแปรแบบไหนจึงจะเหมาะสมกับ
การเขียนโปรแกรม
         3. จากสถานการณ์ปัญหานี้ ถ้านักเรียนต้องการกาหนดตัวแปรให้ถูกต้องตามรูปแบบใน
ภาษาซี นักเรียนจะต้องทาอย่างไร และควรจะประกอบด้วยสิ่งใดบ้าง
ตอบ การกาหนดตัวแปรในภาษาซีสามารถทาได้ 2 แบบ คือ
         1. กาหนดไว้นอกกลุ่มคาสั่ง หรือฟังก์ชัน เรียกตัวแปรนี้ว่า Global Variable กาหนดไว้นอก
ฟังก์ชัน ใช้งานได้ทั้งโปรแกรม มีค่าเริ่มต้นเป็น 0 (กรณีไม่ได้กาหนดค่าเริ่มต้น)
          2. กาหนดไว้ในกลุ่มคาสั่ง หรือฟังก์ชัน เรียกตัวแปรนี้ว่า Local Variable กาหนดไว้ภายใน
ฟังก์ชัน ใช้งานได้ภายในฟังก์ชันนั้น และไม่ถูกกาหนดค่าเริ่มต้นโดยอัตโนมัติซึ่งประกอบด้วย

          -ตัวแปร (variable) เนื่องจากข้อมูลถูกเก็บอยู่ในหน่วยความจา การอ้างถึงตาแหน่งของ
ข้อมูลนี้จึงมีความซับซ้อน ไม่สะดวกต่อการเขียนโปรแกรม จึงมีการเรียกหน่วยความจา ใน
ตาแหน่งที่สนใจผ่านตัวแปร
          -การประกาศตัวแปร (variable declaration) คือการจองเนื้อที่ในหน่วยความจาสาหรับเก็บ
ค่าบางอย่างพร้อมทั้งกาหนดชื่อเรียกแทนหน่วยความจาในตาแหน่งนั้นเพื่อให้ผู้เขียนโปรแกรมมี
ความสะดวกในการเข้าถึงค่าที่เก็บอยู่ในหน่วยความจาดังกล่าว




เกณฑ์การให้คะแนน
              คะแนนรวมได้ระหว่าง               5        คะแนน      หมายถึง          ดีมาก
              คะแนนรวมได้ระหว่าง              3-4       คะแนน      หมายถึง          ดี
              คะแนนรวมได้ระหว่าง              1-2       คะแนน      หมายถึง          ปานกลาง
              คะแนนรวมได้ระหว่าง               0        คะแนน      หมายถึง          ควรปรับปรุง

More Related Content

What's hot

บทที่ 2 สถาปัตยกรรม
บทที่ 2 สถาปัตยกรรมบทที่ 2 สถาปัตยกรรม
บทที่ 2 สถาปัตยกรรมPrinceStorm Nueng
 
ใบงานทดสอบความรู้
ใบงานทดสอบความรู้ใบงานทดสอบความรู้
ใบงานทดสอบความรู้Thawatchai Rustanawan
 
ใบงานทดสอบความรู้
ใบงานทดสอบความรู้ใบงานทดสอบความรู้
ใบงานทดสอบความรู้Thawatchai Rustanawan
 
นอร์มัลไลเซชัน Normalization
นอร์มัลไลเซชัน Normalizationนอร์มัลไลเซชัน Normalization
นอร์มัลไลเซชัน NormalizationPrintZii Subruang
 

What's hot (8)

Pbl 3
Pbl 3Pbl 3
Pbl 3
 
Lab Chapter7 Structure And Function
Lab Chapter7 Structure And FunctionLab Chapter7 Structure And Function
Lab Chapter7 Structure And Function
 
บทที่ 3 ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
บทที่ 3 ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์บทที่ 3 ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
บทที่ 3 ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
 
บทที่ 2 สถาปัตยกรรม
บทที่ 2 สถาปัตยกรรมบทที่ 2 สถาปัตยกรรม
บทที่ 2 สถาปัตยกรรม
 
ใบงานทดสอบความรู้
ใบงานทดสอบความรู้ใบงานทดสอบความรู้
ใบงานทดสอบความรู้
 
ใบงานทดสอบความรู้
ใบงานทดสอบความรู้ใบงานทดสอบความรู้
ใบงานทดสอบความรู้
 
นอร์มัลไลเซชัน Normalization
นอร์มัลไลเซชัน Normalizationนอร์มัลไลเซชัน Normalization
นอร์มัลไลเซชัน Normalization
 
5
55
5
 

Viewers also liked

Periscope
PeriscopePeriscope
Periscope
Proje Dükkanı
 
Rca broadcast cat
Rca broadcast catRca broadcast cat
Rca broadcast cat
audiofilofine
 
Rca broadcast cat
Rca broadcast catRca broadcast cat
Rca broadcast cat
audiofilofine
 
เฟียเจท์
เฟียเจท์เฟียเจท์
เฟียเจท์
khaday
 
Periscope
PeriscopePeriscope
Periscope
Proje Dükkanı
 
Proje Dükkanı Kimdir?
Proje Dükkanı Kimdir?Proje Dükkanı Kimdir?
Proje Dükkanı Kimdir?
Proje Dükkanı
 
ฟรอยด์
ฟรอยด์ฟรอยด์
ฟรอยด์khaday
 
Fi̇rmalarin twitter’i daha etki̇li̇ kullanmasi i̇çi̇n 15 i̇pucu
Fi̇rmalarin twitter’i daha etki̇li̇ kullanmasi i̇çi̇n 15 i̇pucuFi̇rmalarin twitter’i daha etki̇li̇ kullanmasi i̇çi̇n 15 i̇pucu
Fi̇rmalarin twitter’i daha etki̇li̇ kullanmasi i̇çi̇n 15 i̇pucuProje Dükkanı
 
Trabalho tecnicas construtivas ii pronto para impressão pdf
Trabalho tecnicas construtivas ii pronto para impressão pdfTrabalho tecnicas construtivas ii pronto para impressão pdf
Trabalho tecnicas construtivas ii pronto para impressão pdf
Jéssica Possebon
 
1 mkt estrat[1]
1 mkt estrat[1]1 mkt estrat[1]
1 mkt estrat[1]
casa
 

Viewers also liked (20)

Pbl4.2
Pbl4.2Pbl4.2
Pbl4.2
 
Pbl7.1
Pbl7.1Pbl7.1
Pbl7.1
 
Pbl4
Pbl4Pbl4
Pbl4
 
P bl6
P bl6P bl6
P bl6
 
PBL2
PBL2PBL2
PBL2
 
Periscope
PeriscopePeriscope
Periscope
 
Rca broadcast cat
Rca broadcast catRca broadcast cat
Rca broadcast cat
 
Rca catalog 212
Rca catalog 212Rca catalog 212
Rca catalog 212
 
Rca broadcast cat
Rca broadcast catRca broadcast cat
Rca broadcast cat
 
เฟียเจท์
เฟียเจท์เฟียเจท์
เฟียเจท์
 
Rca catalog 210
Rca catalog 210Rca catalog 210
Rca catalog 210
 
Periscope
PeriscopePeriscope
Periscope
 
Proje Dükkanı Kimdir?
Proje Dükkanı Kimdir?Proje Dükkanı Kimdir?
Proje Dükkanı Kimdir?
 
P bl1
P bl1P bl1
P bl1
 
Pbl1
Pbl1Pbl1
Pbl1
 
™Pbl8.2
™Pbl8.2™Pbl8.2
™Pbl8.2
 
ฟรอยด์
ฟรอยด์ฟรอยด์
ฟรอยด์
 
Fi̇rmalarin twitter’i daha etki̇li̇ kullanmasi i̇çi̇n 15 i̇pucu
Fi̇rmalarin twitter’i daha etki̇li̇ kullanmasi i̇çi̇n 15 i̇pucuFi̇rmalarin twitter’i daha etki̇li̇ kullanmasi i̇çi̇n 15 i̇pucu
Fi̇rmalarin twitter’i daha etki̇li̇ kullanmasi i̇çi̇n 15 i̇pucu
 
Trabalho tecnicas construtivas ii pronto para impressão pdf
Trabalho tecnicas construtivas ii pronto para impressão pdfTrabalho tecnicas construtivas ii pronto para impressão pdf
Trabalho tecnicas construtivas ii pronto para impressão pdf
 
1 mkt estrat[1]
1 mkt estrat[1]1 mkt estrat[1]
1 mkt estrat[1]
 

Similar to Pbl5

โจทย์ปัญหา Pbl5
โจทย์ปัญหา Pbl5โจทย์ปัญหา Pbl5
โจทย์ปัญหา Pbl5siriyaporn20099
 
โจทย์ปัญหา Pbl 8.1เรื่อง การรับข้อมู]ทางคีย์บอร์ด
โจทย์ปัญหา Pbl 8.1เรื่อง  การรับข้อมู]ทางคีย์บอร์ดโจทย์ปัญหา Pbl 8.1เรื่อง  การรับข้อมู]ทางคีย์บอร์ด
โจทย์ปัญหา Pbl 8.1เรื่อง การรับข้อมู]ทางคีย์บอร์ดnattapon Arsapanom
 
โจทย์ปัญหา PBL 3 เรื่อง ขั้นตอนการพัฒนาโปรแกรม
โจทย์ปัญหา PBL 3 เรื่อง ขั้นตอนการพัฒนาโปรแกรม โจทย์ปัญหา PBL 3 เรื่อง ขั้นตอนการพัฒนาโปรแกรม
โจทย์ปัญหา PBL 3 เรื่อง ขั้นตอนการพัฒนาโปรแกรม nattapon Arsapanom
 
Pbl 3
Pbl 3Pbl 3
ใบงานPbl1
ใบงานPbl1ใบงานPbl1
ใบงานPbl1Sumitrazaza
 
ใบงานPbl1.2
ใบงานPbl1.2ใบงานPbl1.2
ใบงานPbl1.2
Sumitrazaza
 
โจทย์ปัญหา Pbl 4
โจทย์ปัญหา Pbl 4โจทย์ปัญหา Pbl 4
โจทย์ปัญหา Pbl 4anusong
 
โจทย์ปัญหา Pbl4.1
โจทย์ปัญหา Pbl4.1โจทย์ปัญหา Pbl4.1
โจทย์ปัญหา Pbl4.1siriyaporn20099
 
วิจัยชั้นเรียน ดอยเต่า
วิจัยชั้นเรียน ดอยเต่าวิจัยชั้นเรียน ดอยเต่า
วิจัยชั้นเรียน ดอยเต่าNDuangkaew
 
โจทย์ปัญหา Pbl 4.1 เรื่อง การเขียนอัลกอริทึมแบบโฟลวชาร์ต
โจทย์ปัญหา Pbl 4.1 เรื่อง การเขียนอัลกอริทึมแบบโฟลวชาร์ตโจทย์ปัญหา Pbl 4.1 เรื่อง การเขียนอัลกอริทึมแบบโฟลวชาร์ต
โจทย์ปัญหา Pbl 4.1 เรื่อง การเขียนอัลกอริทึมแบบโฟลวชาร์ตnattapon Arsapanom
 

Similar to Pbl5 (20)

โจทย์ปัญหา Pbl5
โจทย์ปัญหา Pbl5โจทย์ปัญหา Pbl5
โจทย์ปัญหา Pbl5
 
โจทย์ปัญหา Pbl 8.1เรื่อง การรับข้อมู]ทางคีย์บอร์ด
โจทย์ปัญหา Pbl 8.1เรื่อง  การรับข้อมู]ทางคีย์บอร์ดโจทย์ปัญหา Pbl 8.1เรื่อง  การรับข้อมู]ทางคีย์บอร์ด
โจทย์ปัญหา Pbl 8.1เรื่อง การรับข้อมู]ทางคีย์บอร์ด
 
Pbl4.1
Pbl4.1 Pbl4.1
Pbl4.1
 
Pbl4.2
Pbl4.2Pbl4.2
Pbl4.2
 
Pbl7.1
Pbl7.1Pbl7.1
Pbl7.1
 
โจทย์ปัญหา PBL 3 เรื่อง ขั้นตอนการพัฒนาโปรแกรม
โจทย์ปัญหา PBL 3 เรื่อง ขั้นตอนการพัฒนาโปรแกรม โจทย์ปัญหา PBL 3 เรื่อง ขั้นตอนการพัฒนาโปรแกรม
โจทย์ปัญหา PBL 3 เรื่อง ขั้นตอนการพัฒนาโปรแกรม
 
Pbl 3
Pbl 3Pbl 3
Pbl 3
 
Pbl 3
Pbl 3Pbl 3
Pbl 3
 
ใบงานPbl1.2
ใบงานPbl1.2ใบงานPbl1.2
ใบงานPbl1.2
 
ใบงานPbl1
ใบงานPbl1ใบงานPbl1
ใบงานPbl1
 
ใบงานPbl1.2
ใบงานPbl1.2ใบงานPbl1.2
ใบงานPbl1.2
 
โจทย์ปัญหา Pbl 4
โจทย์ปัญหา Pbl 4โจทย์ปัญหา Pbl 4
โจทย์ปัญหา Pbl 4
 
Pbl4.1
Pbl4.1Pbl4.1
Pbl4.1
 
โจทย์ปัญหา Pbl4.1
โจทย์ปัญหา Pbl4.1โจทย์ปัญหา Pbl4.1
โจทย์ปัญหา Pbl4.1
 
วิจัยชั้นเรียน ดอยเต่า
วิจัยชั้นเรียน ดอยเต่าวิจัยชั้นเรียน ดอยเต่า
วิจัยชั้นเรียน ดอยเต่า
 
งานPbl5
งานPbl5งานPbl5
งานPbl5
 
งานPbl5
งานPbl5งานPbl5
งานPbl5
 
Pbl4.2
Pbl4.2Pbl4.2
Pbl4.2
 
Pbl7.1
Pbl7.1Pbl7.1
Pbl7.1
 
โจทย์ปัญหา Pbl 4.1 เรื่อง การเขียนอัลกอริทึมแบบโฟลวชาร์ต
โจทย์ปัญหา Pbl 4.1 เรื่อง การเขียนอัลกอริทึมแบบโฟลวชาร์ตโจทย์ปัญหา Pbl 4.1 เรื่อง การเขียนอัลกอริทึมแบบโฟลวชาร์ต
โจทย์ปัญหา Pbl 4.1 เรื่อง การเขียนอัลกอริทึมแบบโฟลวชาร์ต
 

Pbl5

  • 1. โจทย์ปัญหา PBL 5 เรื่อง ชนิดของข้อมูลกับตัวแปรในภาษาซี ภารกิจ 1. จากสถานการณ์นี้ นักเรียนสามารถอธิบายความสาคัญของการแก้ปัญหานี้ได้อย่างไร ลาดับแรก สุดที่นักเรียนควรรู้ในการแก้ปัญหานี้คือสิ่งใด (1 คะแนน) 2. ในการแก้ปัญหานี้ นักเรียนจาเป็นต้องมีความรู้เกี่ยวกับเรื่องใดบ้าง เรื่องนั้นนาไปใช้ในการ แก้ปัญหาอย่างไรบ้าง (1 คะแนน) 3. จากสถานการณ์ปัญหานี้ ถ้านักเรียนต้องการกาหนดตัวแปรให้ถูกต้องตามรูปแบบในภาษาซี นักเรียนจะต้องทาอย่างไร และควรจะประกอบด้วยสิ่งใดบ้าง (3 คะแนน)
  • 2. แบบบันทึกการศึกษาค้นคว้าและการแก้ปัญหา โจทย์ปัญหา PBL 5 เรื่อง ชนิดของข้อมูลกับตัวแปรในภาษาซี รายวิชาการเขียนโปรแกรมภาษาซีเบื้องต้น ง30201 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 สมาชิกในกลุ่ม 1. นาย กนกศักดิ์ เรือนทอง เลขที่ 2 2. นางสาว กรองกานต์ ชะอุ่มพันธ์ เลขที่ 18 3. นางสาว สุภาภรณ์ แถมศรี เลขที่ 19 ตอนที่ 1 หัวข้อปัญหา ...ชนิดของข้อมูลกับตัวแปรในภาษาซีทาความเข้าใจปัญหา... ทาความเข้าใจปัญหา - สิ่งที่ต้องการรู้ …ชนิดของข้อมูลกับตัวแปรรวมทั้งหลักการตั้งชื่อของตัวแปร… - วิธีการหาคาตอบ ...สืบค้นข้อมูลตามเว็บไซต์ต่างๆ... การศึกษาค้นคว้า / แก้ปัญหา ชื่อสมาชิก การแบ่งหน้าที่ แหล่งข้อมูล/อ้างอิง นาย กนกศักดิ์ เรือนทอง ค้นหาและ www.lks.ac.th/kuanjit รวบรวมข้อมูล นางสาวกรองกานต์ ชะอุ่มพันธ์ จัดทาเอกสาร - นางสาว สุภาภรณ์ แถมศรี วิเคราะห์โจทย์ itd.htc.ac.th/st_it50 และตอบคาถาม ตอนที่ 2 สรุปผลการศึกษาค้นคว้า / แก้ปัญหาตามภารกิจ 1. จากสถานการณ์นี้ นักเรียนสามารถอธิบายความสาคัญของการแก้ปัญหานี้ได้อย่างไร ลาดับแรกสุดที่นักเรียนควรรู้ในการแก้ปัญหานี้คือสิ่งใด ตอบ ต้องศึ ก ษาข้อมูล เกี่ ย วกั บชนิดของข้อมูล และตัวแปรในภาษาซีก่ อน แล้ว ความสาคัญของการแก้ปัญหาคือ มาช่วยกันวิเคราะห์ปัญหา และแลกเปลี่ยนความรู้กันภายในกลุ่ม
  • 3. 2. ในการแก้ปัญหานี้ นักเรียนจาเป็นต้องมีความรู้เกี่ยวกับเรื่องใดบ้าง เรื่องนั้นนาไปใช้ใน การแก้ปัญหาอย่างไรบ้าง ตอบ จาเป็นต้องรู้เรื่อง ชนิดตัวแปร รูปแบบการประกาศตัวแปร และหลักการตั้ง ชื่อตัวแปร ชนิดของข้อมูลและรหัสควบคุมรูปแบบภาษาซี เมื่อเราทราบแล้ว เราก็สามารถรู้ว่าการ กาหนดค่าตัวแปร รูปแบบการประกาศตัวแปร และการตั้งชื่อตัวแปรแบบไหนจึงจะเหมาะสมกับ การเขียนโปรแกรม 3. จากสถานการณ์ปัญหานี้ ถ้านักเรียนต้องการกาหนดตัวแปรให้ถูกต้องตามรูปแบบใน ภาษาซี นักเรียนจะต้องทาอย่างไร และควรจะประกอบด้วยสิ่งใดบ้าง ตอบ การกาหนดตัวแปรในภาษาซีสามารถทาได้ 2 แบบ คือ 1. กาหนดไว้นอกกลุ่มคาสั่ง หรือฟังก์ชัน เรียกตัวแปรนี้ว่า Global Variable กาหนดไว้นอก ฟังก์ชัน ใช้งานได้ทั้งโปรแกรม มีค่าเริ่มต้นเป็น 0 (กรณีไม่ได้กาหนดค่าเริ่มต้น) 2. กาหนดไว้ในกลุ่มคาสั่ง หรือฟังก์ชัน เรียกตัวแปรนี้ว่า Local Variable กาหนดไว้ภายใน ฟังก์ชัน ใช้งานได้ภายในฟังก์ชันนั้น และไม่ถูกกาหนดค่าเริ่มต้นโดยอัตโนมัติซึ่งประกอบด้วย -ตัวแปร (variable) เนื่องจากข้อมูลถูกเก็บอยู่ในหน่วยความจา การอ้างถึงตาแหน่งของ ข้อมูลนี้จึงมีความซับซ้อน ไม่สะดวกต่อการเขียนโปรแกรม จึงมีการเรียกหน่วยความจา ใน ตาแหน่งที่สนใจผ่านตัวแปร -การประกาศตัวแปร (variable declaration) คือการจองเนื้อที่ในหน่วยความจาสาหรับเก็บ ค่าบางอย่างพร้อมทั้งกาหนดชื่อเรียกแทนหน่วยความจาในตาแหน่งนั้นเพื่อให้ผู้เขียนโปรแกรมมี ความสะดวกในการเข้าถึงค่าที่เก็บอยู่ในหน่วยความจาดังกล่าว เกณฑ์การให้คะแนน คะแนนรวมได้ระหว่าง 5 คะแนน หมายถึง ดีมาก คะแนนรวมได้ระหว่าง 3-4 คะแนน หมายถึง ดี คะแนนรวมได้ระหว่าง 1-2 คะแนน หมายถึง ปานกลาง คะแนนรวมได้ระหว่าง 0 คะแนน หมายถึง ควรปรับปรุง