SlideShare a Scribd company logo
1 of 33
Download to read offline
ชั้นประถมศึกษาปีที่	๑	-	๓	เล่ม	๑
735
á¼¹¡ÒÃÊ͹ª‹Ç§ªÑé¹µÒÁÇѯ¨Ñ¡Ã¡ÒÃàÃÕ¹Ì٠ô MAT
à¾×èÍÊÌҧ¤Ø³ÅѡɳÐ
´Õ à¡‹§ ÁÕÊØ¢
หน่วยการเรียนรู้ที่
Áô¡ä·Â
àÃ×èͧ áç
¡ÅØ‹ÁÊÒÃСÒÃàÃÕ¹ÌÙÇÔ·ÂÒÈÒʵÏ
ªÑé¹ ».ñ - ó
๖
คู่มือครูสอนทางไกลผ่านดาวเทียมสำาหรับโรงเรียนปลายทาง
736
แผนการจัดการเรียนรู้	
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร
ป.๑-๓
หน่วยการเรียนรู้ที่	๖	มรดกไทย	เรื่อง	แรง	
ระยะเวลาในการสอน	๑๒	ชั่วโมง
๑.	มาตรฐานการเรียนรู้	/	ตัวชี้วัด
มาตรฐาน ว ๔.๑	 เข้าใจธรรมชาติของแรงแม่เหล็กไฟฟ้า	แรงโน้มถ่วง	และแรงนิวเคลียร์	มีกระบวนการ
สืบเสาะหาความรู้	สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และนำาความรู้ไปใช้ประโยชน์อย่างถูกต้องและมีคุณธรรม
ตัวชี้วัด
ป.	๓/๑	 ทดลองและอธิบายผลของการออกแรงที่กระทำาต่อวัตถุ
ป.	๓/๒	 ทดลองการตกของวัตถุสู่พื้นโลกและอธิบายแรงที่โลกดึงดูดวัตถุ
มาตรฐาน ว ๗.๑	 เข้าใจวิวัฒนาการของระบบสุริยะ	กาแล็กซี่และอวกาศ	การปฏิสัมพันธ์ภายในระบบสุริยะ
และผลต่อสิ่งมีชีวิตบนโลก	มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู้และจิตวิทยาศาสตร์	สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และนำาความรู้ไป
ใช้ประโยชน์
ตัวชี้วัด
ป.	๓/๑	 สังเกตและอธิบายการขึ้นตกของดวงอาทิตย์	ดวงจันทร์	การเกิดกลางวันกลางคืนและการกำาหนดทิศ
๒.	การกำาหนดสาระสำาคัญของการเรียนรู้
วัสดุเกิดการเปลี่ยนแปลงได้เมื่อบีบ	บิด	ทุบ	ดัด	ดึงหรือทำาให้ร้อนขึ้นหรือทำาให้เย็นลง	การเปลี่ยนแปลงของ
วัสดุสามารถนำาไปใช้ประโยชน์หรืออาจทำาให้เกิดอันตรายได้
เมื่อมีการดึงหรือผลักวัตถุ	จะต้องออกแรงเมื่อมีแรงกระทำาต่อวัตถุอาจทำาให้วัตถุเคลื่อนที่	หรือทำาให้วัตถุที่
กำาลังเคลื่อนที่มีการเคลื่อนที่เร็วขึ้น	ช้าลง	เปลี่ยนทิศทางหรือทำาให้วัตถุเปลี่ยนรูปร่าง
วัตถุตกลงสู่พื้นโลกเสมอ	เนื่องจากมีแรงดึงดูดโลกกระทำาต่อวัตถุ	แรงดึงดูดของโลกที่กระทำาต่อวัตถุทำาให้วัตถุ
มีนำ้าหนัก
๓.	คุณลักษณะที่ต้องการพัฒนา
	 ๑.	นักเรียนเป็นคนดีโดย
	 	–	 มีความสนใจใฝ่รู้	มีความรับผิดชอบให้ความร่วมมือกับกลุ่ม	มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดี	ยอมรับความคิดเห็น
	 ของผู้อื่นปรับปรุงแก้ไขงาน
ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ - ๓ เล่ม ๑
737
ภาษาไทย
–	 เขียนคำ�ยาก
–	 เขียนข้อเตือนใจ
–	 การนำ�เสนอผลงาน
–	 การเล่านิทาน
แรง
ศิลปะ
–	 วาดภาพวัสดุที่เกิด
	 จากแรงมากระทำ�
–	 วาดภาพจากนิทาน
–	 ร้องเพลงสัตว์
คณิตศาสตร์
–	 คำ�นวณวัตถุที่ชั่งได้
–	 ศึกษาตัวเลขและ
	 หน่วยบนตาชั่ง
สุขศึกษาและพลศึกษา
–	 เกมเสียงสัตว์
	 ๒.	นักเรียนเป็นคนเก่งโดย
	 	–	 สามารถในการเข้าร่วมกิจกรรมกลุ่มเขียนคำ�ยาก วาดภาพเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงของวัสดุเมื่อมีแรง
	 มากระทำ� วาดภาพจากนิทานกระต่ายตื่นตูมได้ คำ�นวณนํ้าหนักของวัตถุจากตาชั่งสปริง อภิปรายสรุป
	 ความรู้
	 ๓.	นักเรียนเป็นคนมีความสุขโดย
	 	–	 มีความสุขในการเรียน เห็นคุณค่าของตนเองและผู้อื่น ภูมิใจในผลงานของตนเอง
๔.	การวางแผนผังการจัดกิจกรรมแบบบูรณาการ
คู่มือครูสอนทางไกลผ่านดาวเทียมสำ�หรับโรงเรียนปลายทาง
738
กิจกรรมโรงเรียนต้นทาง
	๑.	 ครูนำ�ดินนํ้ามัน ลวดกำ�มะหยี่ หนังยาง กระดาษ มาให้ดูทีละชิ้นแล้ว
ถามว่าสิ่งนี้คืออะไรเมื่อนักเรียนตอบแล้วให้เขียนให้ถูกต้อง
	๒.	 ครูออกแรงกระทำ�ต่อวัสดุที่นำ�มาให้ดูในข้อ ๕.๑ โดยตั้งคำ�ถามและให้
นักเรียนวาดภาพที่จะเกิดขึ้นเมื่อมีแรงกระทำ�ดังนี้
	 –	 ปั้นดินนํ้ามันเป็นรูปกลุ่มๆ แล้วถามผู้เรียนว่าถ้าครูบีบหรือทุบก้อน
ดินนํ้ามันจะเปลี่ยนแปลงอย่างไรให้วาดภาพ
	 –	 นำ�ลวดหรือลวดกำ�มะหยี่ ถามว่าถ้าครูมาบิดหรือดัดเป็นรูปต่างๆ ให้
นักเรียนวาดภาพที่เกิดจากการบิดหรือดัด
	 –	 นำ�หนังยาง ถามว่าถ้าครูดึงหนังยางออก รูปร่างของหนังยางจะ
เปลี่ยนแปลงอย่างไร ให้วาดภาพ
กิจกรรมโรงเรียนปลายทาง
–	 นักเรียนสังเกตและตอบ
คำ�ถาม
–	 นักเรียนตอบคำ�ถาม
๘
๗
๑
๒
๓
๕ ๔
๖
–นำ�วัสดุมา
ออกแรงกระทำ�ด้วย
การบีบบิดทุบดัดดึง
–การผลักดึงหนังสือ
–เล่านิทานเรื่องกระต่าย
ตื่นตูม
แรง
                               –การอภิปราย
                     สรุปจากประสบการณ์
–วาดภาพวัสดุที่เกิดจาก
       แรงมากระทำ�
–แบ่งกลุ่มศึกษาและทำ�กิจกรรม
ในใบกิจกรรม
ผู้เรียนวางวัตถุ
ลงบนฝ่ามือสังเกต
แรงที่กดลงบนฝ่ามือ
ครูอธิบายเพิ่มเติมว่าแรงนี้
เกิดจากแรงที่โลกดึงดูดวัตถุ
เรียกแรงที่โลกดึงดูดวัตถุนี้
ว่านํ้าหนักแนะนำ�การ
ใช้ตาชั่งสปริง
นำ�ผลงานมาตั้งแสดงหรือ
จัดนิทรรศการในห้องเรียน
ให้แลกเปลี่ยนเรียนรู้และ
    ประเมินผลงาน
–เล่านิทานเกี่ยวกับ
แรงดึงดูดของโลก
–การนำ�เสนอผลงาน
หน้าชั้นเรียน
ร่วมกันอภิปรายให้ระมัดระวังเขียน
ข้อความเตือนใจเกี่ยวกับผลการ
   เปลี่ยนแปลงที่อาจเกิด
      อันตราย
ฝึกชั่งวัตถุ
คำ�นวณนํ้าหนัก
บนตาชั่งปริง
๕.	ผังการวางแผนตามแนววัฏจักรการเรียนรู้
๖.	รายละเอียดของกิจกรรม
ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ - ๓ เล่ม ๑
739
กิจกรรมโรงเรียนต้นทาง กิจกรรมโรงเรียนปลายทาง
	 –	 นำ�กระดาษมาฉีกเป็นรูปสัตว์ โดยถ้าครูฉีกเป็นรูปอะไรให้ผู้เรียนร้อง
เสียงสัตว์ชนิดนั้น เช่น ครูฉีกเป็นรูปแมว ผู้เรียนจะร้องเหมียวๆ
เป็นต้น
	 –	 ครูถามต่อไปว่าถ้าครูจุดไฟเผากระดาษ กระดาษจะเปลี่ยนแปลง
อย่างไร
	 –	 ถ้าครูนำ�นํ้าไปแช่ในช่องแข็งในตู้เย็น นํ้าจะเปลี่ยนแปลงอย่างไร
	๓.	 ให้ผู้เรียนดึงหรือผลักหนังสือบนโต๊ะแล้วร่วมกันอภิปรายว่าการดึงหรือ
ผลักออกแรงหรือไม่
	๔.	 ครูเล่านิทานเกี่ยวกับวัตถุที่ตกสู่พื้นโลก เช่น เรื่องกระต่ายตื่นตูมให้นักเรียน
ฟัง จากนั้นตั้งคำ�ถาม เช่น ทำ�ไมลูกมะพร้าวจึงตกสู่พื้นโลก ให้วาดรูป
กระต่ายหรือต้นมะพร้าวลูกมะพร้าว
	๕.	 แบ่งกลุ่มผู้เรียนให้ทำ�ใบกิจกรรม ๒.๓ แล้วช่วยกันคิดและเขียนคำ�ตอบ
แล้วส่งตัวแทนมานำ�เสนอ คำ�ตอบและคำ�สรุปของกลุ่มแล้วร่วมอภิปราย
และสรุปให้ได้ว่าเมื่อมีแรงมากระทำ�ต่อวัสดุ เช่น บิด ดัด ทุบหรือทำ�ให้
ร้อนขึ้นหรือทำ�ให้เย็นลงวัสดุจะเกิดการเปลี่ยนแปลง
	๖.	 ให้ผู้เรียนพิจารณาสถานการณ์ตัวอย่างและตอบคำ�ถามในใบกิจกรรม
๒.๓/๑ ต่อจากนั้นครูสุ่มเลือกตัวแทนกลุ่มให้ตอบคำ�ถามกลุ่มละ ๑
สถานการณ์ว่าอะไรจะเกิดขึ้นแล้วให้แต่ละกลุ่มเปรียบเทียบกับคำ�ตอบ
ในกลุ่มของตน
	๗.	 แบ่งกลุ่มแจกใบกิจกรรมที่ ๒.๔, ๒.๔/๑ และ ๒.๔/๒ ส่งตัวแทนมา
นำ�เสนอผลงานหน้าชั้น ร่วมกันอภิปรายสรุปว่าการดึงหรือผลักวัตถุ
ต้องออกแรงทำ�ให้วัตถุเปลี่ยนแปลงการเคลื่อนที่โดยเปลี่ยนจากหยุดนิ่ง
เป็นเคลื่อนที่หรือวัตถุที่เคลื่อนที่อยู่เคลื่อนที่เร็วขึ้นหรือช้าลง
	๘.	 ให้ผู้เรียนแต่ละคนปั้นดินนํ้ามันเป็นรูปต่างๆ แล้ววาดรูปสิ่งที่นักเรียน
ปั้นได้ลงในใบกิจกรรม ๒.๔/๓ และ ๒.๔/๔ แล้วร่วมอภิปรายจนได้
ข้อสรุปว่าแรงทำ�ให้วัตถุเปลี่ยนแปลงรูปร่าง
	๙.	 ให้ผู้เรียนทำ�กิจกรรม ๒.๕ แล้วร่วมอภิปรายเพื่อให้ได้ข้อสรุปว่าวัตถุจะ
ตกลงสู่พื้นโลกเสมอเนื่องจากแรงดึงดูดที่โลกกระทำ�ต่อวัตถุ
	๑๐.	 ผู้เรียนวางวัตถุลงบนฝ่ามือ สังเกตแรงที่ตกลงบนฝ่ามือหรือนำ�วัตถุใส่ถุง
หิ้วแล้วถือถุงไว้ สังเกตแรงที่วัตถุถึงมือ ครูอธิบายเพิ่มเติมว่าแรงนี้เกิด
จากแรงที่โลกดึงดูดวัตถุเรียกแรงที่โลกดึงดูดวัตถุนี้ว่านํ้าหนัก แนะนำ�
การใช้ตาชั่งสปริง จากนั้นสาธิตการใช้ตาชั่งสปริงชั่งนํ้าหนักของวัตถุ
โดยมีหน่วยเป็นนิวตัน ฝึกการคำ�นวณด้วยการบวกหรือลบนํ้าหนักที่ชั่งได้
เน้นให้ผู้เรียนสังเกตการยึดของสปริง และอภิปรายจนสรุปได้ว่าเมื่อนำ�
–	 นักเรียนปฏิบัติ และอภิปราย
ตอบคำ�ถาม
–	 นักเรียนวาดรูป
–	 นักเรียนร่วมกันสรุป,
จดบันทึก
–	 ตัวแทนกลุ่มออกมานำ�เสนอ
หน้าชั้น
–	 แบ่งกลุ่มทำ�ใบกิจกรรม
ตัวแทนออกมานำ�เสนอ
หน้าชั้นและสรุป
–	 นักเรียนปั้นดินนํ้ามันและ
วาดภาพ
–	 นักเรียนสรุปจดบันทึก
–	 นักเรียนปฏิบัติการทดลอง,
สังเกต ตอบคำ�ถาม, ทำ�ใบ
กิจกรรม
คู่มือครูสอนทางไกลผ่านดาวเทียมสำ�หรับโรงเรียนปลายทาง
740
๗.	สื่อการเรียนการสอน
	 ๑.	ใบกิจกรรม ๒.๓, ๒.๓/๑, ๒.๔, ๒.๔/๑, ๒.๔/๒, ๒.๕, ๒.๕/๑	
	 ๒.	ดินนํ้ามัน ลวดกำ�มะหยี่ หนังยาง แผ่นกระดาษ
	 ๓.	เชือกชักเย่อ ลูกฟุตบอล รถเด็กเล่น	
	 ๔.	ลูกปิงปอง ยางลบ ตาชั่งสปริง
	 ๕.	สนาม บริเวณโรงเรียน
	 ๖.	ห้องสมุด
๘.	การประเมินผลตามสภาพจริง
กิจกรรม/พฤติกรรม/ผลงานที่ต้องการประเมิน วิธีการ เครื่องมือ
๑.	 การตอบคำ�ถาม การนำ�เสนอผลงาน
    	 การแสดงความคิดเห็น
สังเกต
สังเกตพฤติกรรม
แบบบันทึกการ
๒.	 ตรวจผลงาน
	 ๑)	 เขียนคำ�ยาก
	 ๒)	เขียนข้อความเตือนใจ
	 ๓)	 วาดภาพวัสดุ
	 ๔)	 วาดภาพกระต่าย ต้นมะพร้าว
	 ๕)	 ใบกิจกรรม
ตรวจผลงาน
ตรวจผลงาน
บันทึกการ
๓.	 ความตั้งใจในการแสดงผลงาน สังเกต แบบบันทึกการสังเกต
ผู้ประเมิน	 –	 ครู
	 –	 นักเรียน และเพื่อนนักเรียน
กิจกรรมโรงเรียนต้นทาง กิจกรรมโรงเรียนปลายทาง
วัตถุไปแขวนกับตาชั่งสปริง วัตถุจะดึงสปริง วัตถุจะดึงสปริงให้ยืด ถ้า
วัตถุมีนํ้าหนักมากสปริงจะยืดมากถ้าวัตถุมีนํ้าหนักน้อยสปริงจะยืดน้อย
ให้ทำ�กิจกรรม ๒.๕/๑
	๑๑.	 ร่วมกันอภิปรายให้ระมัดระวัง เขียนข้อความเตือนใจเกี่ยวกับผลการ
เปลี่ยนแปลงที่อาจเกิดอันตรายเพื่อนำ�ไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจำ�วัน
และเล่านิทานที่เกี่ยวกับแรงดึงดูดของโลก
	๑๒.	ผู้เรียนนำ�ผลงานมาตั้งแสดงหรือจัดนิทรรศการในห้องเรียนให้แลกเปลี่ยน
เรียนรู้และฝึกประเมินผลของผู้อื่น ครูจะตรวจประเมินผลงาน
–	 นักเรียนร่วมกันอภิปราย
เขียนคำ�ขวัญเตือนใจ
–	 นำ�เสนอผลงาน
ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ - ๓ เล่ม ๑
741
๙.	สรุปผลการเรียนการสอน
..............................................................................................................................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................................................................................................................
w w w w w w w w
คู่มือครูสอนทางไกลผ่านดาวเทียมสำาหรับโรงเรียนปลายทาง
742
แผนการจัดการเรียนรู้	
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร
ป.๑
หน่วยการเรียนรู้ที่	๖	มรดกไทย	เรื่อง	ของเล่น	ของใช้	
ระยะเวลาในการสอน	๑	ชั่วโมง
๑.	มาตรฐานการเรียนรู้	/	ตัวชี้วัด
มาตรฐาน ว ๓.๑	 เข้าใจสมบัติของสาร	ความสัมพันธ์ระหว่างสมบัติของสารกับโครงสร้างและแรงยึดเหนี่ยว
ระหว่างอนุภาค	มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู้และจิตวิทยาศาสตร์	สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และนำาความรู้ไปใช้ประโยชน์
ตัวชี้วัด
ป.	๑/๑	 สังเกตและระบุลักษณะที่ปรากฏหรือสมบัติของวัสดุที่ใช้ทำาของเล่นของใช้ในชีวิตประจำาวัน
ป.	๑/๒	 จำาแนกวัสดุที่ใช้ทำาของเล่นของใช้ในชีวิตประจำาวันรวมทั้งระบุเกณฑ์ที่ใช้จำาแนก
๒.	สาระการเรียนรู้
	 ๑.	วัสดุที่ใช้ทำาของเล่นของใช้ในชีวิตประจำาวันมีลักษณะหรือสมบัติต่างกัน
	 ๒.	ลักษณะหรือสมบัติของวัสดุสามารถนำามาใช้เป็นเกณฑ์ในการจำาแนกวัสดุที่ใช้ทำาของเล่นของใช้ใน
ชีวิตประจำาวัน
๓.	คุณลักษณะที่ต้องการพัฒนา
	 ๑.	สังเกต	เปรียบเทียบและจำาแนกสิ่งที่เป็นของเล่น	ของใช้ของกลุ่ม	โดยใช้ลักษณะหรือสมบัติที่คล้ายกันหรือ
แตกต่างกันเป็นเกณฑ์
	 ๒.	สำารวจตรวจสอบ	และนำาความรู้จากการจัดกลุ่มไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจำาวันได้
๔.	กระบวนการจัดการเรียนรู้
กิจกรรมโรงเรียนต้นทาง
	๑.	 นักเรียนเคลื่อนไหวประกอบเพลง	เพื่อเตรียมความพร้อมก่อนเรียน
	๒.	 ครูถามนักเรียนเกี่ยวกับการเล่นของเด็กในสมัยเก่า	ว่ามีการละเล่นอย่างไร
นักเรียนเล่นเป็นหรือไม่	แล้วให้นักเรียนร่วมกันเล่น	เช่น	การเล่นกาฟักไข่	
การเล่นงูกินหาง	เป็นต้น
	๓.	 ครูนำาสนทนาเกี่ยวกับเรื่องการละเล่นในอดีตว่า	เด็กๆ	ในอดีตจะเล่น	
โดยที่ไม่มีอุปกรณ์หรืออาจมีแต่น้อยชิ้นและหาง่าย	เช่น	หมากเก็บ	
กิจกรรมโรงเรียนปลายทาง
–	 นักเรียนเคลื่อนไหวประกอบ
เพลงพร้อมๆ	กัน
–	 นักเรียนร่วมกันเล่นการละเล่น
นั้นๆ
ของเล่น	ของใช้	ของเล่น	ของใช้
ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ - ๓ เล่ม ๑
743
กิจกรรมโรงเรียนต้นทาง กิจกรรมโรงเรียนปลายทาง
๕.	สื่อและแหล่งการเรียนรู้
	 ๑.	ภาพของเล่น ของใช้	
	 ๒.	ใบกิจกรรม
๖.	การวัดผลประเมินผล
	 ๑.	การตอบคำ�ถาม	
	 ๒.	การร่วมกิจกรรม
	 ๓.	ประเมินผลใบกิจกรรม
มอญซ่อนผ้า ตี่จับ งูกินหาง ฯลฯ แต่ในยุคปัจจุบันการเล่นของเด็ก
เปลี่ยนไป ซึ่งจะมีอุปกรณ์ในการเล่นมากขึ้นและหลากหลาย ครูถาม
นักเรียนว่ามีของเล่นอะไรบ้าง
	๔.	 นักเรียนยกตัวอย่างของเล่นที่ชอบคนละ ๑ ชนิด
	๕.	 ครูอธิบายเพิ่มเติมว่า วัตถุบางอย่างเป็นของเล่นเล่นได้ บางอย่างเล่นไม่ได้
เพราะเป็นของใช้ หากเล่นแล้วอาจทำ�ให้เกิดอันตรายได้ เช่น มีด
	๖.	 ให้นักเรียนดูภาพแล้วช่วยกันตอบว่าภาพที่เห็นเป็นของเล่นหรือของใช้
	๗.	 นักเรียนเขียนตารางต่อไปนี้ลงในสมุด
	๘.	 นักเรียนดูภาพแล้วบันทึกผลว่าภาพที่เห็นเป็นของเล่นหรือของใช้ แล้ว
บันทึกลงในตาราง
	๙.	 ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายการแบ่งกลุ่มของเล่นเพื่อสรุปว่า ในการ
แบ่งกลุ่มของเล่นของใช้ สามารถใช้การใช้ประโยชน์ต่างๆ เป็นเกณฑ์ได้
ซึ่งสามารถแบ่งเป็น ๒ กลุ่ม ได้แก่ กลุ่มของเล่น คือ สิ่งที่เล่นแล้วทำ�ให้
เกิดความสนุกสนานเพลิดเพลิน และกลุ่มของใช้ คือ สิ่งที่ใช้ในการ
ใช้สอยหรือในการทำ�งานในชีวิตประจำ�วัน
–	 นักเรียนยกตัวอย่างคนละ
๑ ชนิด
–	 นักเรียนดูภาพแล้วตอบคำ�ถาม
–	 นักเรียนทำ�ตารางลงในสมุด
แล้วดูภาพ บันทึกผลใน
ตาราง
–	 นักเรียนร่วมกันอภิปรายเพื่อ
สรุปผล
ของเล่น ของใช้
คู่มือครูสอนทางไกลผ่านดาวเทียมสำ�หรับโรงเรียนปลายทาง
744
๗.	สรุปผลหลังการสอน
..............................................................................................................................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................................................................................................................
w w w w w w w w
ชั้นประถมศึกษาปีที่	๑	-	๓	เล่ม	๑
745
แผนการจัดการเรียนรู้	
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร
ป.๒
๑.	มาตรฐานการเรียนรู้	/	ตัวชี้วัด
มาตรฐาน ว ๓.๑	 เข้าใจสมบัติของสาร	ความสัมพันธ์ระหว่างสมบัติของสารกับโครงสร้างและแรงยึดเหนี่ยว
ระหว่างอนุภาค	มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู้และจิตวิทยาศาสตร์	สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และนำาความรู้ไปใช้ประโยชน์
ตัวชี้วัด
ป.	๒/๑	 ระบุชนิดและเปรียบเทียบสมบัติของวัสดุที่นำามาทำาของเล่นของใช้ในชีวิตประจำาวัน
ป.	๒/๒	 เลือกใช้วัสดุและสิ่งของต่างๆ	ได้อย่างเหมาะสมและปลอดภัย
๒.	สาระการเรียนรู้
	 ๑.	ของเล่นของใช้ทุกชนิดเป็นวัตถุ	ซึ่งทำาจากวัสดุต่างๆ
๓.	จุดประสงคการเรียนรู้
	 ๑.	อธิบายและบอกความแตกต่างระหว่างวัตถุกับวัสดุ
	 ๒.	สำารวจและบอกชื่อวัสดุที่ใช้ทำาของเล่นของใช้
๔.	กระบวนการจัดการเรียนรู้
กิจกรรมโรงเรียนต้นทาง
	๑.	 นักเรียนเคลื่อนไหวประกอบเพลง	เพื่อเตรียมความพร้อมก่อนเรียน
	๒.	 ครูและนักเรียนร่วมกันสนทนาเพื่อแบ่งกลุ่มของเล่นของใช้	โดยใช้ลักษณะ
ภายนอกเป็นเกณฑ์	ซึ่งได้แก่	การใช้สี	ขนาด	รูปร่าง	นำ้าหนัก	เป็นเกณฑ์
เป็นต้น
	๓.	 นักเรียนนำาของเล่นของใช้ที่เตรียมมามารวมกัน	แล้วสังเกตลักษณะที่
ภายนอกที่เหมือนและต่างกัน	เพื่อแบ่งกลุ่ม
	๔.	 ครูให้นักเรียนสังเกตดูของเล่นของใช้	เช่น	ตุ๊กตาหมี	แล้วให้นักเรียน
ตอบคำาถามว่าทำาจากวัสดุใดบ้าง
	๕.	 ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายว่า	ตัวตุ๊กตาหมีทำาจากผ้า	ส่วนตาทำาจาก
พลาสติก
กิจกรรมโรงเรียนปลายทาง
–	 นักเรียนเคลื่อนไหวประกอบ
เพลงพร้อมๆ	กัน
–	 สังเกตของเล่นของใช้ที่เตรียม
มาแล้ว	แบ่งกลุ่มโดยใช้เกณฑ์
ต่างๆ
–	 สังเกตสิ่งของแล้วตอบว่า
ทำามาจากอะไร
หน่วยการเรียนรู้ที่	๖	มรดกไทย	เรื่อง	ของเล่น	ของใช้	
ระยะเวลาในการสอน	๑	ชั่วโมง
คู่มือครูสอนทางไกลผ่านดาวเทียมสำ�หรับโรงเรียนปลายทาง
746
กิจกรรมโรงเรียนต้นทาง กิจกรรมโรงเรียนปลายทาง
๕.	สื่อและแหล่งการเรียนรู้
	 ๑.	ตัวอย่างของเล่น ของใช้	
	 ๒.	ใบกิจกรรม
๖.	การวัดผลประเมินผล
	 ๑.	การตอบคำ�ถาม	
	 ๒.	การร่วมกิจกรรม
	 ๓.	ประเมินผลใบกิจกรรม
	๖.	 ให้นักเรียนสังเกตของเล่นของใช้ทีละชนิดแล้วช่วยกันตอบว่าทำ�จาก
วัสดุใดบ้าง เช่น
	 –	 มีด ตัวมีดทำ�จากโลหะ ด้ามทำ�จากพลาสติกหรือไม้
	 –	 รถของเล่นตัวรถทำ�จากพลาสติกและยังมีส่วนของโลหะคือน๊อตที่ใช้
ยึดรถ
	 –	 ไม้กวาด ด้ามไม้กวาดทำ�จากไม้ และมีเชือกร้อยดอกหญ้าให้ติดกัน
	 –	 ยางลบทำ�จากยางเพียงอย่างเดียว
	๗.	 นักเรียนเขียนตารางต่อไปนี้ลงในสมุด
	๘.	 ตัวแทนนักเรียนหยิบของเล่นของใช้ทีละชนิดให้เพื่อนนักเรียนดู แล้วให้
สังเกตว่าสิ่งของชนิดนั้นทำ�จากวัสดุอะไร บันทึกผลในตาราง
	๙.	 ครูให้ความรู้เพิ่มเติมว่า มีด โต๊ะ เก้าอี้ ถังขยะ ไม้กวาด ลูกฟุตบอล เหล่านี้
เป็น วัตถุ ส่วนยาง ไม้ ผ้า ดอกหญ้า เชือก โลหะ พลาสติก เป็นวัสดุ
	๑๐.	 ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายว่าวัตถุต่างชนิดกันจะทำ�จากวัสดุแตกต่าง
กันออกไป วัตถุบางชนิดทำ�จากวัสดุชนิดเดียว วัตถุบางชนิดทำ�จากวัสดุ
หลายชนิด
–	 ทำ�ตารางลงสมุด สังเกต
สิ่งของว่าทำ�จากอะไร แล้ว
บันทึกผลในตาราง
–	 ร่วมกันอภิปรายเพื่อสรุป
ของเล่น ของใช้
ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ - ๓ เล่ม ๑
747
๗.	สรุปผลหลังการสอน
..............................................................................................................................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................................................................................................................
w w w w w w w w
คู่มือครูสอนทางไกลผ่านดาวเทียมสำาหรับโรงเรียนปลายทาง
748
แผนการจัดการเรียนรู้	
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร
ป.๓
หน่วยการเรียนรู้ที่	๖	มรดกไทย	เรื่อง	ของเล่น	ของใช้	
ระยะเวลาในการสอน	๖	ชั่วโมง
๑.	มาตรฐานการเรียนรู้	/	ตัวชี้วัด
มาตรฐาน ว ๔.๑	 เข้าใจธรรมชาติของแรงแม่เหล็กไฟฟ้า	แรงโน้มถ่วง	และแรงนิวเคลียร์	มีกระบวนการ
สืบเสาะหาความรู้	สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และนำาความรู้ไปใช้ประโยชน์อย่างถูกต้องและมีคุณธรรม
ตัวชี้วัด
ป.	๓/๑	 ทดลองและอธิบายผลของการออกแรงที่กระทำาต่อวัตถุ
ป.	๓/๒	 ทดลองการตกของวัตถุสู่พื้นโลก	และอธิบายแรงที่โลกดึงดูวัตถุ
มาตรฐาน ว ๗.๑	 เข้าใจวิวัฒนาการของระบบสุริยะ	กาแล็กซีและเอกภพ	การปฏิสัมพันธ์ภายในระบบสุริยะ
และผลต่อสิ่งมีชีวิตบนโลก	มีกระบวนการสืบเสาะ	หาความรู้และจิตวิทยาศาสตร์	การสื่อสารที่เรียนรู้และนำาความรู้
ไปใช้ประโยชน์
ตัวชี้วัด
ป.	๓/๑	 สังเกต	และอธิบายการขึ้นตกของดวงอาทิตย์	ดวงจันทร์	การเกิดกลางวันกลางคืน	และการกำาหนดทิศ	
๒.	สาระสำาคัญ
	 ๑.	อธิบายการเปลี่ยนแปลงการเคลื่อนที่ของวัตถุเมื่อถูกแรงกระทำา
	 ๒.	อธิบายแรงดึงดูดของโลกทำาให้วัตถุตกลงสู่พื้นโลกและทำาให้วัตถุมีนำ้าหนัก
๓.	สาระการเรียนรู้
ความรู้
	 ๑.	เมื่อมีแรงกระทำาต่อวัตถุ	จะทำาให้วัตถุมีการเปลี่ยนแปลงการเคลื่อนที่	เช่น	ทำาให้วัตถุที่หยุดนิ่งมีการ
เคลื่อนที่	หรือทำาให้วัตถุกำาลังเคลื่อนที่เร็วขึ้น	ช้าลง	หยุดนิ่ง	หรือเปลี่ยนทิศการเคลื่อนที่	แรงมีหน่วย
เป็นนิวตัน	การวัดขนาดของแรงทำาได้โดยใช้ตาชั่งสปริง
	 ๒.	วัตถุตกลงสู่โลกเสมอ	เนื่องจากมีแรงดึงดูดของโลกกระทำาต่อวัตถุ	แรงดึงดูดของโลกที่กระทำาต่อวัตถุทำาให้
มีนำ้าหนัก
	 ๓.	นำ้าของวัตถุคือแรงที่โลกดึงดูดวัตถุ	มีหน่วยเป็นนิวตัน	นำ้าของวัตถุวัดได้โดยใช้ตาชั่งสปริง
ของเล่น	ของใช้	ของเล่น	ของใช้
ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ - ๓ เล่ม ๑
749
ทักษะกระบวนการ
	 ๑.	อภิปราย
	 ๒.	อธิบาย
	 ๓.	การสืบค้นข้อมูล
	 ๔.	การสังเกต
คุณลักษณะที่พึงประสงค์
	 ๑.	สนใจใฝ่เรียนรู้
	 ๒.	การนำ�ไปใช้ประโยชน์
๔.	การประเมินผลรวบยอด
ชิ้นงานหรือภาระงาน
	 ๑.	แบบฝึกหัด	
	 ๒.	ภาพวาด
เกณฑ์การให้คะแนนผลงาน
ประเด็น
ที่ประเมิน
คะแนน
๔ ๓ ๒ ๑
๑. ผลงานตรง
กับจุดประสงค์
ที่กำ�หนด
ผลงานสอดคล้องกับ
จุดประสงค์ทุกประเด็น
ผลงานสอดคล้อง
กับจุดประสงค์
เป็นส่วนใหญ่
ผลงานสอดคล้องกับ
จุดประสงค์บาง
ประเด็น
ผลงานไม่สอดคล้องกับ
จุดประสงค์
๒. ผลงานมี
ความถูกต้อง
สมบูรณ์
เนื้อหาสาระของผลงาน
ถูกต้องครบถ้วน
เนื้อหาสาระของ
ผลงานถูกต้องเป็น
ส่วนใหญ่
เนื้อหาสาระของ
ผลงานถูกต้องเป็น
บางประเด็น
เนื้อหาสาระของผลงาน
ไม่ถูกต้องเป็นส่วนใหญ่
๓. ผลงาน
มีความคิด
สร้างสรรค์
ผลงานแสดงออกถึง
ความคิดสร้างสรรค์
แปลกใหม่และเป็นระบบ
ผลงานมีแนวคิด
แปลกใหม่ แต่ยัง
ไม่เป็นระบบ
ผลงานมีความ
น่าสนใจ แต่ยังไม่มี
แนวคิดแปลกใหม่
ผลงานไม่แสดงแนวคิด
ใหม่
๔. ผลงาน
มีความ
เป็นระเบียบ
ผลงานมีความเป็น
ระเบียบแสดงออกถึง
ความประณีต
ผลงานส่วนใหญ่
มีความเป็นระเบียบ
แต่ยังมีข้อบกพร่อง
เล็กน้อย
ผลงานมีความ
เป็นระเบียบ
แต่มีข้อบกพร่อง
บางส่วน
ผลงานส่วนใหญ่
ไม่เป็นระเบียบและ
มีข้อบกพร่องมาก
คู่มือครูสอนทางไกลผ่านดาวเทียมสำ�หรับโรงเรียนปลายทาง
750
เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ
ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ
๑๔ - ๑๖ ดีมาก
๑๐ - ๑๓ ดี
๖ - ๙ ปานกลาง
๔ - ๕ ปรับปรุง
๕.	กิจกรรมการเรียนรู้
	 ๑.	นำ�เข้าสู่บทเรียน	
	 ๒.	ศึกษา อธิบาย สำ�รวจ จำ�แนก ทดลองการเปลี่ยนแปลงการเคลื่อนที่ของวัตถุเมื่อถูกแรงกระทำ� แรงดึงดูด
ของโลกทำ�ให้วัตถุตกลงสู่พื้นโลกและทำ�ให้วัตถุมีนํ้าหนัก
	 ๓.	เทคนิคการสอน แบบร่วมมือ โดยใช้เทคนิคการเรียนร่วมกัน	
	 ๔.	ทำ�ภาระงานและชิ้นงาน
	 ๕.	ประเมินผลการทำ�งาน
๖.	สื่อการเรียนรู้
	 ๑.	แหล่งสืบค้นข้อมูล	
	 ๒.	วัสดุอุปกรณ์การทดลอง
	 ๓.	ใบงาน	
	 ๔.	แบบบันทึกกิจกรรม
	 ๕.	หนังสือเรียนกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
w w w w w w w w
ชั้นประถมศึกษาปีที่	๑	-	๓	เล่ม	๑
751
ชื่อ - สกุล
เข้าร่วมกิจกรรมกลุ่ม
สื่อความหมายด้วยภาพ
คำานวณนำ้าหนักของวัตถุได้ถูกต้อง
รวบรวมและอภิปรายสรุปความรู้
มีความสนใจใฝ่รู้
มีความรับผิดชอบ
มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดี
รับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
มีความสุขในการเรียน
เห็นคุณค่าของตนเองและผู้อื่น
ภูมิใจในผลงานตนเอง
ผ่าน
ไม่ผ่าน
เก่งดีมีสุขสรุป
w w w w w w w w
แบบสังเกตพฤติกรรมการเรียนรู้
พฤติกรรมการเรียนรู้
คู่มือครูสอนทางไกลผ่านดาวเทียมสำาหรับโรงเรียนปลายทาง
752
กลุ่มสาระการเรียนรู้	
วิทยาศาสตร
Ἃ¹·Õè
๑
㺡Ԩ¡ÃÃÁ·Õè ñ
คําชี้แจง ให้นักเรียนเขียนคำาตอบในตาราง
การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น วัสดุเปลี่ยนแปลง
อย่างไร
อะไรทําให้เกิด
การเปลี่ยนแปลง
การต้มนำ้า
การเผาไหม้
การทำานำ้าแข็ง
การดัดลวดให้เป็นรูปต่างๆ
การทำามีด
ฉันรู้อะไรบ้าง
สิ่งที่ทำาให้วัสดุเกิดการเปลี่ยนแปลง	ได้แก่
	 	 	 ...........................................................................................................................................................................................................................................................................
	 	 	 ...........................................................................................................................................................................................................................................................................
àÃ×èͧ ÍÐä÷íÒãËŒÇÑÊ´Øà¡Ô´¡ÒÃà»ÅÕè¹á»Å§
ª×èÍ..................................................................................................................ªÑé¹............................................àÅ¢·Õè.................................
ชั้นประถมศึกษาปีที่	๑	-	๓	เล่ม	๑
753
กลุ่มสาระการเรียนรู้	
วิทยาศาสตร
Ἃ¹·Õè
๑
㺡Ԩ¡ÃÃÁ·Õè ò
คําชี้แจง ให้นักเรียนเขียนคำาตอบลงในช่องว่าง
	 การแกะสลักไม้หรือเลื่อยไม้	 	 รินนำ้าร้อนเดือดลงในแก้วหนาๆ
	 โดยไม่ระมัดระวัง	อะไรจะเกิดขึ้น	 	 อะไรจะเกิดขึ้น
ผลของการเปลี่ยนแปลง
ที่อาจเกิดอันตราย
	 การเผาพลาสติกหรือการเผาไหม้	 	 ผูกชิงช้าด้วยเชือกกับกิ่งไม้แล้ว
	 ในอากาศ	อะไรจะเกิดขึ้น	 	 แย่งกันนั่งหลายคน	อะไรจะเกิดขึ้น
คําชี้แจง เติมคำาให้สมบูรณ์
	 ๑.		 นำ้าอัดลมบรรจุไม่เต็มขวด	เพื่อป้องกันไม่ให้ขวด....................................................เมื่อนำ้ากลายเป็น................................................................
๒.		 การวางรางรถไฟต้องให้มีช่องว่างระหว่างรางเหล็ก	เพื่อป้องกันไม่ให้รถไฟ...........................................................เมื่อเหล็กได้รับ
	 	 	 ความร้อนแล้วขยายตัว
๓.		 รั้วบ้านที่ทำาด้วยเหล็กต้องทาสี	เพื่อป้องกันไม่ให้เหล็กเกิด..........................................................ซึ่งจะทำาให้เหล็กผุกร่อนเสียหาย
w w w w w w w w
__
__
ª×èÍ..................................................................................................................ªÑé¹............................................àÅ¢·Õè.................................
คู่มือครูสอนทางไกลผ่านดาวเทียมสำาหรับโรงเรียนปลายทาง
754
กลุ่มสาระการเรียนรู้	
วิทยาศาสตร
Ἃ¹·Õè
๑
㺡Ԩ¡ÃÃÁ·Õè ó
คําชี้แจง ทดลองทำาตามภาพต่อไปนี้และตอบคำาถาม
๑.	 	 ๒.
	 	 เปิดประตู	 	 การเลื่อนโต๊ะ
	 ๓.	 	 ๔.
	 	 การชักเย่อ	 	 การเล่นชิงช้า
	 ๑.		 การทดลองตามหมายเลขใดเป็นการออกแรงดึง
	 	 	 ...........................................................................................................................................................................................................................................................................
	 ๒.		 การทดลองตามหมายเลขใดเป็นการออกแรงผลัก
	 	 	 ...........................................................................................................................................................................................................................................................................
	 ๑.		 การทดลองตามหมายเลขใดบ้างที่ต้องออกแรง
	 	 	 ...........................................................................................................................................................................................................................................................................
ฉันรู้อะไรบ้าง
ในการดึงหรือผลักวัตถุต้อง
	 	 	 ...........................................................................................................................................................................................................................................................................
คําชี้แจง ทดลองทำาตามภาพต่อไปนี้และตอบคำาถาม
àÃ×èͧ ÁÒÍÍ¡áç¡Ñ¹à¶ÍÐ
ª×èÍ..................................................................................................................ªÑé¹............................................àÅ¢·Õè.................................
ชั้นประถมศึกษาปีที่	๑	-	๓	เล่ม	๑
755
กลุ่มสาระการเรียนรู้	
วิทยาศาสตร
Ἃ¹·Õè
๑
㺡Ԩ¡ÃÃÁ·Õè ô
คําชี้แจง ทำาการทดลองต่อไปนี้	สังเกตการเปลี่ยนแปลงและตอบคำาถาม
	 ๑.	 เตะลูกฟุตบอลที่อยู่นิ่ง	แรงทำาให้ลูกฟุตบอลเป็นอย่างไร
¨	 เคลื่อนที่
¨	 หยุดนิ่ง
	 ๒.		 เตะลูกฟุตบอลไปทางเดียวกับที่ลูกฟุตบอลกำาลังเคลื่อนที่
	 ๓.		 แรงทำาให้ลูกฟุตบอลที่กำาลังเคลื่อนที่เป็นอย่างไร
¨	 เคลื่อนที่เร็วขึ้น
¨	 เคลื่อนที่ช้าลง
¨	 หยุดนิ่ง
w w w w w w w w
ª×èÍ..................................................................................................................ªÑé¹............................................àÅ¢·Õè.................................
คู่มือครูสอนทางไกลผ่านดาวเทียมสำาหรับโรงเรียนปลายทาง
756
กลุ่มสาระการเรียนรู้	
วิทยาศาสตร
Ἃ¹·Õè
๑
㺡Ԩ¡ÃÃÁ·Õè õ
	 ๓.		 ผลักให้รถแล่นไปข้างหน้าแล้วดึงเชือก
	 	 	 แรงดึงเชือกทำาให้รถที่กำาลังเคลื่อนที่เป็นอย่างไร
¨	 เคลื่อนที่เร็วขึ้น
¨	 เคลื่อนที่ช้าลง
ฉันรู้อะไรบ้าง
	 	๑.	 เมื่อออกแรงกับวัตถุที่หยุดนิ่ง	วัตถุจะเป็นอย่างไร
	 	 	 ...........................................................................................................................................................................................................................................................................
	 	 	 ...........................................................................................................................................................................................................................................................................
	 	๒.	 ถ้าออกแรงกับวัตถุไปทางเดียวกับที่วัตถุเคลื่อนที่	วัตถุจะเป็นอย่างไร
	 	 	 ...........................................................................................................................................................................................................................................................................
	 	 	 ...........................................................................................................................................................................................................................................................................
	 	๓.	 ถ้าออกแรงกับวัตถุให้สวนทางกับการเคลื่อนที่ของวัตถุ	วัตถุจะเป็นอย่างไร
	 	 	 ...........................................................................................................................................................................................................................................................................
	 	 	 ...........................................................................................................................................................................................................................................................................
w w w w w w w w
ª×èÍ..................................................................................................................ªÑé¹............................................àÅ¢·Õè.................................
ชั้นประถมศึกษาปีที่	๑	-	๓	เล่ม	๑
757
กลุ่มสาระการเรียนรู้	
วิทยาศาสตร
Ἃ¹·Õè
๑
㺡Ԩ¡ÃÃÁ·Õè ö
คําชี้แจง ปั้นดินนำ้ามันเป็นก้อนกลม	แล้วตอบคำาถามต่อไปนี้
	 	๑.	 ทำาอย่างไรก้อนดินนำ้ามันจึงจะแบน
	 	 	 ...........................................................................................................................................................................................................................................................................
	 	 	 ...........................................................................................................................................................................................................................................................................
	 	๒.	 ทำาอย่างไรก้อนดินนำ้ามันจึงจะเป็นก้อนสี่เหลี่ยม
	 	 	 ...........................................................................................................................................................................................................................................................................
	 	 	 ...........................................................................................................................................................................................................................................................................
	 	๓.	 ทำาอย่างไรก้อนดินนำ้ามันจึงจะเป็นเส้นกลมยาว
	 	 	 ...........................................................................................................................................................................................................................................................................
	 	 	 ...........................................................................................................................................................................................................................................................................
	 	๔.	 เราจะเปลี่ยนแปลงรูปร่างดินนำ้ามันได้อย่างไร
	 	 	 ...........................................................................................................................................................................................................................................................................
	 	 	 ...........................................................................................................................................................................................................................................................................
	 	๕.	 ปั้นดินนำ้ามันให้เป็นรูปตามต้องการแล้ววาดรูปผลงาน
ฉันรู้อะไรบ้าง
	 	 	 วัตถุบางชนิดเปลี่ยนรูปร่างได้เพราะอะไร
	 	 	 ...........................................................................................................................................................................................................................................................................
	 	 	 ...........................................................................................................................................................................................................................................................................
ª×èÍ..................................................................................................................ªÑé¹............................................àÅ¢·Õè.................................
คู่มือครูสอนทางไกลผ่านดาวเทียมสำาหรับโรงเรียนปลายทาง
758
กลุ่มสาระการเรียนรู้	
วิทยาศาสตร
Ἃ¹·Õè
๑
㺡Ԩ¡ÃÃÁ·Õè ÷
คําชี้แจง ทดลองตามภาพแล้วสังเกตผลและวาดรูปแสดงการเคลื่อนที่ของวัตถุ
๑.	 ปล่อยลูกปิงปอง	 ๒.	 โยนดินนำ้ามัน
	 ๓.	 โยนยางลบ	 ๔.	 ปล่อยแผ่นกระดาษ
ฉันรู้อะไรบ้าง
	 ๑.		 เมื่อปล่อยวัตถุ	วัตถุจะ............................................................................................................สู่พื้นด้วยแรง.............................................................................
๒.		 เมื่อโยนวัตถุขึ้น	วัตถุจะ............................................................................................................สู่พื้นด้วยแรง..........................................................................
๓.		 หลังจากปล่อยหรือโยนวัตถุแล้ว	วัตถุจะ......................................................................................................................................................................เสมอ
w w w w w w w w
ª×èÍ..................................................................................................................ªÑé¹............................................àÅ¢·Õè.................................
ชั้นประถมศึกษาปีที่	๑	-	๓	เล่ม	๑
759
กลุ่มสาระการเรียนรู้	
วิทยาศาสตร
Ἃ¹·Õè
๑
㺡Ԩ¡ÃÃÁ·Õè ø
คําชี้แจง ชั่งนำ้าหนักสิ่งของที่เตรียมมาและบันทึกผล
ลําดับที่ ชื่อสิ่งของ นํ้าหนักโดย
ประมาณ (นิวตัน)
นํ้าหนักที่ชั่งได้
(นิวตัน)
๑.
๒.
๓.
๔.
ฉันรู้อะไรบ้าง
	 	๑.	 นำ้าหนักของวัตถุเกิดจาก..................................................................................................................................................................................................................
	 	 	 ...........................................................................................................................................................................................................................................................................
	 	 	 ...........................................................................................................................................................................................................................................................................
	 	๒.	 เราสามารถชั่งนำ้าหนักของวัตถุได้โดยใช้.............................................................................................................................................................................
และมีหน่วยวัดเป็น..............................................................................................................................................................................................................................
	 	๓.	 ถ้าวัตถุมีนำ้าหนักมาก	แรงดึงดูดของโลกที่กระทำาต่อวัตถุจะเป็นอย่างไร
	 	 	 ...........................................................................................................................................................................................................................................................................
	 	 	 ..........................................................................................................................................................................................................................................................................
	 	๔.	 ถ้าวัตถุมีนำ้าหนักน้อย	แรงดึงดูดของโลกที่กระทำาต่อวัตถุจะเป็นอย่างไร
	 	 	 ...........................................................................................................................................................................................................................................................................
	 	 	 ...........................................................................................................................................................................................................................................................................
w w w w w w w w
ª×èÍ..................................................................................................................ªÑé¹............................................àÅ¢·Õè.................................
คู่มือครูสอนทางไกลผ่านดาวเทียมสำาหรับโรงเรียนปลายทาง
760
กลุ่มสาระการเรียนรู้	
วิทยาศาสตร
Ἃ¹·Õè
๑
㺡Ԩ¡ÃÃÁ·Õè ù
คําชี้แจง	 แบ่งนักเรียนออกเป็น	๒	ฝ่าย	ฝ่ายละเท่าๆ	กัน	แล้วเล่นโยนห่วงยาง	โดยผลัดกันรับส่งห่วงยางให้ฝ่าย
	 ตรงข้ามสังเกต	บันทึกผล	และตอบคำาถาม
๑.	 ถ้าต้องการให้ห่วงยางที่หยุดนิ่งเคลื่อนที่ไปได้ต้องทำาอย่างไร
	 	 	 ...........................................................................................................................................................................................................................................................................
	 	 	 ...........................................................................................................................................................................................................................................................................
	 	๒.	 ถ้าต้องการให้ห่วงยางเคลื่อนที่ไปได้เร็วขึ้นต้องทำาอย่างไร
	 	 	 ...........................................................................................................................................................................................................................................................................
	 	 	 ...........................................................................................................................................................................................................................................................................
	 	๓.	 ขณะที่ห่วงยางเคลื่อนที่เข้ามา	แล้วนักเรียนใช้มือรับห่วงยางต้องออกแรงหรือไม่	และห่วงยางมีการเปลี่ยนแปลง
	 	 	 การเคลื่อนที่อย่างไร
	 	 	 ...........................................................................................................................................................................................................................................................................
	 	 	 ...........................................................................................................................................................................................................................................................................
	 	๔.	 การที่ห่วงยางมีการเคลื่อนที่กลับไปกลับมาได้	เพราะมี......................................................................................ที่เรากระทำาต่อห่วงยาง
ฉันรู้อะไรบ้าง
	 	๑.	 เมื่อม่ีแรงกระทำาต่อวัตถุ	ทำาให้วัตถุมีการเปลี่ยนแปลงการเคลื่อนที่โดย
	 	 	 –	 เปลี่ยนจากนิ่งอยู่กับที่เป็น......................................................................................................................................................................................................
	 	 	 –	 เปลี่ยนจากเคลื่อนที่เป็น...........................................................................................................................................................................................................
	 	๒.	 ถ้าต้องการให้ห่วงยางเปลี่ยนทิศการเคลื่อนที่จะต้อง..................................................................................................................................................
àÃ×èͧ Çѵ¶Øà»ÅÕè¹á»Å§¡ÒÃà¤Å×è͹·Õèä´Œà¾ÃÒÐà˵Øã´
ª×èÍ..................................................................................................................ªÑé¹............................................àÅ¢·Õè.................................
ชั้นประถมศึกษาปีที่	๑	-	๓	เล่ม	๑
761
กลุ่มสาระการเรียนรู้	
วิทยาศาสตร
Ἃ¹·Õè
๑
㺡Ԩ¡ÃÃÁ·Õè ñð
คําชี้แจง ทำาการทดลองต่อไปนี้
	 	๑.	 ถือตาชั่งสปริงให้อยู่ในแนวดิ่ง
	 	๒.	 จับที่ขอเกี่ยวของตาชั่งสปริงและออกแรงดึงตาชั่งสปริงให้ยืด	โดยออกแรงมากน้อยต่างกัน	อ่านค่าของแรงจาก
	 	 	 ตาชั่งสปริง	สังเกต	และบันทึกผล
	 	๑.	 เมื่อออกแรงน้อย	อ่านค่าของแรงได้......................................................................................นิวตัน
	 	๒.	 เมื่อออกแรงมาก	อ่านค่าของแรงได้......................................................................................นิวตัน
	 	๓.	 เมื่อออกแรงดึงสปริงมากน้อยต่างกัน	สปริงจะยืดต่างกันหรือไม่	อย่างไร
	 	 	 ...........................................................................................................................................................................................................................................................................
	 	 	 ...........................................................................................................................................................................................................................................................................
ฉันรู้อะไรบ้าง
	 	 	 เราวัดขนาดของแรงได้โดยใช้
	 	 	 ...........................................................................................................................................................................................................................................................................
	 	 	 ...........................................................................................................................................................................................................................................................................
w w w w w w w w
ทำาการทดลองต่อไปนี้
àÃ×èͧ ¢¹Ò´¢Í§áçÇѴ䴌͋ҧäÃ
ª×èÍ..................................................................................................................ªÑé¹............................................àÅ¢·Õè.................................
คู่มือครูสอนทางไกลผ่านดาวเทียมสำาหรับโรงเรียนปลายทาง
762
กลุ่มสาระการเรียนรู้	
วิทยาศาสตร
Ἃ¹·Õè
๑
㺡Ԩ¡ÃÃÁ·Õè ññ
คําชี้แจง	 ปล่อยถุงทราย	และวาดรูปแสดงการเคลื่อนที่ของถุงทราย
ฉันรู้อะไรบ้าง
	 	๑.	 เมื่อปล่อยมือ	ถุงทรายจะเปลี่ยนแปลงการเคลื่อนที่จาก...........................................................................................................................................
เป็น...................................................................................................................................................................................................................................................................
	 	๒.	 การที่ถุงทรายเปลี่ยนแปลงการเคลื่อนที่แสดงว่ามี.......................................................................................................................................................
กระทำาต่อถุงทราย................................................................................................................................................................................................................................
	 	๓.	 ถุงทรายตกสู่พื้นเพราะมีแรง........................................................................................................................................................................................................
กระทำาต่อถุงทราย.................................................................................................................................................................................................................................
w w w w w w w w
àÃ×èͧ ÍÐä÷íÒãËŒÇѵ¶Øµ¡Ê‹Ù¾×é¹
ª×èÍ..................................................................................................................ªÑé¹............................................àÅ¢·Õè.................................
ชั้นประถมศึกษาปีที่	๑	-	๓	เล่ม	๑
763
กลุ่มสาระการเรียนรู้	
วิทยาศาสตร
Ἃ¹·Õè
๑
㺡Ԩ¡ÃÃÁ·Õè ñò
คําชี้แจง	 ใช้ตาชั่งสปริง	ชั่งนำ้าหนักสิ่งของต่างๆ	และบันทึกผล
สิ่งของ นํ้าหนักที่ชั่งได้ (นิวตัน)
ฉันรู้อะไรบ้าง
	 	๑.	 นำ้าหนักของวัตถุมีหน่วยเป็น........................................................................................................................................................................................................
	 	๒.	 นำ้าหนักของวัตถุวัดได้โดยใช้........................................................................................................................................................................................................
w w w w w w w w
àÃ×èͧ ªÑ觹íéÒ˹ѡ¢Í§Çѵ¶Ø䴌͋ҧäÃ
ª×èÍ..................................................................................................................ªÑé¹............................................àÅ¢·Õè.................................
คู่มือครูสอนทางไกลผ่านดาวเทียมสำาหรับโรงเรียนปลายทาง
764
กลุ่มสาระการเรียนรู้	
วิทยาศาสตร
Ἃ¹·Õè
๑
㺡Ԩ¡ÃÃÁ·Õè ñó
คําชี้แจง	 หมุนแท่งแม่เหล็กที่อยู่ระหว่างขดลวด	สังเกต	และบันทึกผล
	 	๑.	 ขณะที่หมุนแท่งแม่เหล็กจะเกิดอะไรบ้าง
	 	 	 ...........................................................................................................................................................................................................................................................................
	 	 	 ...........................................................................................................................................................................................................................................................................
	 	๒.	 ถ้าหมุนแท่งแม่เหล็กเร็วขึ้น	ช้าลง	ผลที่ได้แตกต่างกันหรือไม่	อย่างไร
	 	 	 ...........................................................................................................................................................................................................................................................................
	 	 	 ...........................................................................................................................................................................................................................................................................
	 	๓.	 ถ้าแท่งแม่เหล็กหยุดนิ่งจะเกิดอะไรบ้าง
	 	 	 ...........................................................................................................................................................................................................................................................................
	 	 	 ...........................................................................................................................................................................................................................................................................
ฉันรู้อะไรบ้าง
	 	 	 เราสามารถผลิตพลังงานไฟฟ้าได้โดยวิธีใด
	 	 	 ...........................................................................................................................................................................................................................................................................
	 	 	 ...........................................................................................................................................................................................................................................................................
w w w w w w w w
àÃ×èͧ ¾Åѧ§Ò¹ä¿¿‡Òä´ŒÁÒÍ‹ҧäÃ
ª×èÍ..................................................................................................................ªÑé¹............................................àÅ¢·Õè.................................
ชั้นประถมศึกษาปีที่	๑	-	๓	เล่ม	๑
765
กลุ่มสาระการเรียนรู้	
วิทยาศาสตร
Ἃ¹·Õè
๑
㺡Ԩ¡ÃÃÁ·Õè ñô
คําชี้แจง	 ให้ระบุแหล่งพลังงานที่ใช้ในการผลิตพลังงานไฟฟ้า	และจำาแนกว่าแหล่งพลังงานนั้นๆ	เป็นแหล่งพลังงานที่มี
จำากัด	หรือที่หมุนเวียนได้
แหล่งพลังงานที่ใช้ผลิตพลังงานไฟฟา พลังงานมีจํากัด พลังงานหมุนเวียน
ฉันรู้อะไรบ้าง
	 	 	 แหล่งพลังงานที่ใช้ผลิตพลังงานไฟฟ้าส่วนใหญ่มีจำากัด	เราควรใช้อย่างไร	จึงไม่ขาดแคลน
	 	 	 ...........................................................................................................................................................................................................................................................................
	 	 	 ...........................................................................................................................................................................................................................................................................
	 	 	 ...........................................................................................................................................................................................................................................................................
	 	 	 ...........................................................................................................................................................................................................................................................................
	 	 	 ...........................................................................................................................................................................................................................................................................
	 	 	 ...........................................................................................................................................................................................................................................................................
	 	 	 ............................................................................................................................................................................................................................................................................
w w w w w w w w
àÃ×èͧ áËÅ‹§¾Åѧ§Ò¹·Õè㪌¼ÅÔµ¾Åѧ§Ò¹ä¿¿‡ÒÁÕÍÐäúŒÒ§
ª×èÍ..................................................................................................................ªÑé¹............................................àÅ¢·Õè.................................
คู่มือครูสอนทางไกลผ่านดาวเทียมสำาหรับโรงเรียนปลายทาง
766
กลุ่มสาระการเรียนรู้	
วิทยาศาสตร
Ἃ¹·Õè
๑
㺡Ԩ¡ÃÃÁ·Õè ñõ
คําชี้แจง	 จากภาพให้บอกวิธีการใช้ไฟฟ้าอย่างประหยัด
ฉันรู้อะไรบ้าง
	 	 	 มีวิธีการอื่นๆ	ที่จะประหยัดไฟฟ้าอีกหรือไม่	อย่างไร
	 	 	 ...........................................................................................................................................................................................................................................................................
	 	 	 ...........................................................................................................................................................................................................................................................................
àÃ×èͧ 㪌俿‡ÒÍ‹ҧäè֧¨Ð»ÃÐËÂÑ´áÅлÅÍ´ÀÑÂ
ª×èÍ..................................................................................................................ªÑé¹............................................àÅ¢·Õè.................................
ชั้นประถมศึกษาปีที่	๑	-	๓	เล่ม	๑
767
กลุ่มสาระการเรียนรู้	
วิทยาศาสตร
Ἃ¹·Õè
๒
㺡Ԩ¡ÃÃÁ·Õè ñõ
คําชี้แจง	 กากบาท	(	Î	)	ทับภาพที่แสดงความไม่ปลอดภัยในการใช้ไฟฟ้า
ฉันรู้อะไรบ้าง
	 	 	 บอกวิธีการใช้ไฟฟ้าอย่างปลอดภัย	(อย่างน้อย	๓	วิธี)
	 	 	 ...........................................................................................................................................................................................................................................................................
	 	 	 ...........................................................................................................................................................................................................................................................................
	 	 	 ...........................................................................................................................................................................................................................................................................
	 	 	 ...........................................................................................................................................................................................................................................................................
	 	 	 ...........................................................................................................................................................................................................................................................................
	 	 	 ...........................................................................................................................................................................................................................................................................
w w w w w w w w
ª×èÍ..................................................................................................................ªÑé¹............................................àÅ¢·Õè.................................

More Related Content

What's hot

แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 11 เรื่องกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 11 เรื่องกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 11 เรื่องกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 11 เรื่องกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงWann Rattiya
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง เรียนรู้ชั้นบรรยากาศ
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง เรียนรู้ชั้นบรรยากาศชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง เรียนรู้ชั้นบรรยากาศ
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง เรียนรู้ชั้นบรรยากาศKhwankamon Changwiriya
 
ใบกิจกรรมที่ 11 ระบบภูมิคุ้มกันและความผิดปกติ
ใบกิจกรรมที่ 11 ระบบภูมิคุ้มกันและความผิดปกติใบกิจกรรมที่ 11 ระบบภูมิคุ้มกันและความผิดปกติ
ใบกิจกรรมที่ 11 ระบบภูมิคุ้มกันและความผิดปกติAomiko Wipaporn
 
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2dnavaroj
 
ระบบย่อยอาหารของสัตว์
ระบบย่อยอาหารของสัตว์ระบบย่อยอาหารของสัตว์
ระบบย่อยอาหารของสัตว์Anissa Aromsawa
 
แบบทดสอบเรื่อง ดาราศาสตร์ ชุด 1(อัตนัย)
แบบทดสอบเรื่อง ดาราศาสตร์ ชุด 1(อัตนัย)แบบทดสอบเรื่อง ดาราศาสตร์ ชุด 1(อัตนัย)
แบบทดสอบเรื่อง ดาราศาสตร์ ชุด 1(อัตนัย)Jariya Jaiyot
 
โครงสร้างรายวิชาวิทยาศาสตร์ ป.3
โครงสร้างรายวิชาวิทยาศาสตร์ ป.3โครงสร้างรายวิชาวิทยาศาสตร์ ป.3
โครงสร้างรายวิชาวิทยาศาสตร์ ป.3Mam Chongruk
 
10แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 1)
10แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 1)10แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 1)
10แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 1)สำเร็จ นางสีคุณ
 
บทที่ 1 พันธุกรรมกับหมู่เลือด
บทที่ 1 พันธุกรรมกับหมู่เลือดบทที่ 1 พันธุกรรมกับหมู่เลือด
บทที่ 1 พันธุกรรมกับหมู่เลือดPinutchaya Nakchumroon
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 เรื่องความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิต
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 เรื่องความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 เรื่องความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิต
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 เรื่องความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตMam Chongruk
 
บรรยากาศ
บรรยากาศบรรยากาศ
บรรยากาศSupaluk Juntap
 
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะแบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะJariya Jaiyot
 
แบบทดสอบ บทที่ 1
แบบทดสอบ บทที่ 1แบบทดสอบ บทที่ 1
แบบทดสอบ บทที่ 1Jariya Jaiyot
 
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 6 การแพร่
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 6 การแพร่แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 6 การแพร่
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 6 การแพร่Wann Rattiya
 
สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์
สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์
สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์แวมไพร์ แวมไพร์
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการจำแนกสาร ชุดที่ 1 การแยกสารด้วยวิธีการกรอง
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการจำแนกสาร ชุดที่ 1 การแยกสารด้วยวิธีการกรองชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการจำแนกสาร ชุดที่ 1 การแยกสารด้วยวิธีการกรอง
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการจำแนกสาร ชุดที่ 1 การแยกสารด้วยวิธีการกรองชลธิกาญจน์ จินาจันทร์
 
3ชีววิทยาม. 5 เทอม 1 การบูรณาการภาษาอังกฤษ (ไฟล์ที่ 3)
3ชีววิทยาม. 5 เทอม 1 การบูรณาการภาษาอังกฤษ (ไฟล์ที่ 3)3ชีววิทยาม. 5 เทอม 1 การบูรณาการภาษาอังกฤษ (ไฟล์ที่ 3)
3ชีววิทยาม. 5 เทอม 1 การบูรณาการภาษาอังกฤษ (ไฟล์ที่ 3)กมลรัตน์ ฉิมพาลี
 
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2dnavaroj
 
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 7 การออสโมซิส
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 7 การออสโมซิสแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 7 การออสโมซิส
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 7 การออสโมซิสWann Rattiya
 

What's hot (20)

แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 11 เรื่องกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 11 เรื่องกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 11 เรื่องกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 11 เรื่องกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง เรียนรู้ชั้นบรรยากาศ
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง เรียนรู้ชั้นบรรยากาศชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง เรียนรู้ชั้นบรรยากาศ
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง เรียนรู้ชั้นบรรยากาศ
 
ใบกิจกรรมที่ 11 ระบบภูมิคุ้มกันและความผิดปกติ
ใบกิจกรรมที่ 11 ระบบภูมิคุ้มกันและความผิดปกติใบกิจกรรมที่ 11 ระบบภูมิคุ้มกันและความผิดปกติ
ใบกิจกรรมที่ 11 ระบบภูมิคุ้มกันและความผิดปกติ
 
ระบบประสาท (Nervous System)
ระบบประสาท (Nervous System)ระบบประสาท (Nervous System)
ระบบประสาท (Nervous System)
 
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2
 
ระบบย่อยอาหารของสัตว์
ระบบย่อยอาหารของสัตว์ระบบย่อยอาหารของสัตว์
ระบบย่อยอาหารของสัตว์
 
แบบทดสอบเรื่อง ดาราศาสตร์ ชุด 1(อัตนัย)
แบบทดสอบเรื่อง ดาราศาสตร์ ชุด 1(อัตนัย)แบบทดสอบเรื่อง ดาราศาสตร์ ชุด 1(อัตนัย)
แบบทดสอบเรื่อง ดาราศาสตร์ ชุด 1(อัตนัย)
 
โครงสร้างรายวิชาวิทยาศาสตร์ ป.3
โครงสร้างรายวิชาวิทยาศาสตร์ ป.3โครงสร้างรายวิชาวิทยาศาสตร์ ป.3
โครงสร้างรายวิชาวิทยาศาสตร์ ป.3
 
10แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 1)
10แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 1)10แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 1)
10แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 1)
 
บทที่ 1 พันธุกรรมกับหมู่เลือด
บทที่ 1 พันธุกรรมกับหมู่เลือดบทที่ 1 พันธุกรรมกับหมู่เลือด
บทที่ 1 พันธุกรรมกับหมู่เลือด
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 เรื่องความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิต
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 เรื่องความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 เรื่องความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิต
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 เรื่องความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิต
 
บรรยากาศ
บรรยากาศบรรยากาศ
บรรยากาศ
 
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะแบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
 
แบบทดสอบ บทที่ 1
แบบทดสอบ บทที่ 1แบบทดสอบ บทที่ 1
แบบทดสอบ บทที่ 1
 
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 6 การแพร่
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 6 การแพร่แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 6 การแพร่
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 6 การแพร่
 
สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์
สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์
สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการจำแนกสาร ชุดที่ 1 การแยกสารด้วยวิธีการกรอง
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการจำแนกสาร ชุดที่ 1 การแยกสารด้วยวิธีการกรองชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการจำแนกสาร ชุดที่ 1 การแยกสารด้วยวิธีการกรอง
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการจำแนกสาร ชุดที่ 1 การแยกสารด้วยวิธีการกรอง
 
3ชีววิทยาม. 5 เทอม 1 การบูรณาการภาษาอังกฤษ (ไฟล์ที่ 3)
3ชีววิทยาม. 5 เทอม 1 การบูรณาการภาษาอังกฤษ (ไฟล์ที่ 3)3ชีววิทยาม. 5 เทอม 1 การบูรณาการภาษาอังกฤษ (ไฟล์ที่ 3)
3ชีววิทยาม. 5 เทอม 1 การบูรณาการภาษาอังกฤษ (ไฟล์ที่ 3)
 
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
 
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 7 การออสโมซิส
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 7 การออสโมซิสแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 7 การออสโมซิส
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 7 การออสโมซิส
 

Viewers also liked

ใบความรู้ แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม 1-3 เรื่อง แม่เหล็กไฟฟ้า ป.2+222+dltv...
ใบความรู้ แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม 1-3 เรื่อง  แม่เหล็กไฟฟ้า  ป.2+222+dltv...ใบความรู้ แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม 1-3 เรื่อง  แม่เหล็กไฟฟ้า  ป.2+222+dltv...
ใบความรู้ แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม 1-3 เรื่อง แม่เหล็กไฟฟ้า ป.2+222+dltv...Prachoom Rangkasikorn
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ผลของแรง ป.1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ผลของแรง ป.1แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ผลของแรง ป.1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ผลของแรง ป.1Kook Su-Ja
 
แผนการสอนปรับพื้นฐานม.4 การเคลื่อนที่
แผนการสอนปรับพื้นฐานม.4 การเคลื่อนที่แผนการสอนปรับพื้นฐานม.4 การเคลื่อนที่
แผนการสอนปรับพื้นฐานม.4 การเคลื่อนที่เกษรา จุ้งลก
 
แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม 1-3 เรือง สารรอบตัวเรา ของเล่นของใช้+ป.3+239+dltv...
แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม 1-3 เรือง สารรอบตัวเรา ของเล่นของใช้+ป.3+239+dltv...แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม 1-3 เรือง สารรอบตัวเรา ของเล่นของใช้+ป.3+239+dltv...
แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม 1-3 เรือง สารรอบตัวเรา ของเล่นของใช้+ป.3+239+dltv...Prachoom Rangkasikorn
 
จังหวัดกับตัวสะกด
จังหวัดกับตัวสะกดจังหวัดกับตัวสะกด
จังหวัดกับตัวสะกดTasnee Punyothachat
 
ใบเก็บคะแนนปรับระหว่างเรียนรายวิชาวิทยาศาสตร์ ว 23102_ชั้นมัธยมศึกษาปีที่_3
ใบเก็บคะแนนปรับระหว่างเรียนรายวิชาวิทยาศาสตร์ ว 23102_ชั้นมัธยมศึกษาปีที่_3ใบเก็บคะแนนปรับระหว่างเรียนรายวิชาวิทยาศาสตร์ ว 23102_ชั้นมัธยมศึกษาปีที่_3
ใบเก็บคะแนนปรับระหว่างเรียนรายวิชาวิทยาศาสตร์ ว 23102_ชั้นมัธยมศึกษาปีที่_3krupornpana55
 
ภูมิศาสตร์
ภูมิศาสตร์ภูมิศาสตร์
ภูมิศาสตร์koorimkhong
 

Viewers also liked (10)

ใบความรู้ แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม 1-3 เรื่อง แม่เหล็กไฟฟ้า ป.2+222+dltv...
ใบความรู้ แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม 1-3 เรื่อง  แม่เหล็กไฟฟ้า  ป.2+222+dltv...ใบความรู้ แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม 1-3 เรื่อง  แม่เหล็กไฟฟ้า  ป.2+222+dltv...
ใบความรู้ แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม 1-3 เรื่อง แม่เหล็กไฟฟ้า ป.2+222+dltv...
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ผลของแรง ป.1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ผลของแรง ป.1แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ผลของแรง ป.1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ผลของแรง ป.1
 
แผนการสอนปรับพื้นฐานม.4 การเคลื่อนที่
แผนการสอนปรับพื้นฐานม.4 การเคลื่อนที่แผนการสอนปรับพื้นฐานม.4 การเคลื่อนที่
แผนการสอนปรับพื้นฐานม.4 การเคลื่อนที่
 
Plan(7)
Plan(7)Plan(7)
Plan(7)
 
ประโยชน์ของวัสดุ
ประโยชน์ของวัสดุประโยชน์ของวัสดุ
ประโยชน์ของวัสดุ
 
แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม 1-3 เรือง สารรอบตัวเรา ของเล่นของใช้+ป.3+239+dltv...
แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม 1-3 เรือง สารรอบตัวเรา ของเล่นของใช้+ป.3+239+dltv...แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม 1-3 เรือง สารรอบตัวเรา ของเล่นของใช้+ป.3+239+dltv...
แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม 1-3 เรือง สารรอบตัวเรา ของเล่นของใช้+ป.3+239+dltv...
 
จังหวัดกับตัวสะกด
จังหวัดกับตัวสะกดจังหวัดกับตัวสะกด
จังหวัดกับตัวสะกด
 
ใบเก็บคะแนนปรับระหว่างเรียนรายวิชาวิทยาศาสตร์ ว 23102_ชั้นมัธยมศึกษาปีที่_3
ใบเก็บคะแนนปรับระหว่างเรียนรายวิชาวิทยาศาสตร์ ว 23102_ชั้นมัธยมศึกษาปีที่_3ใบเก็บคะแนนปรับระหว่างเรียนรายวิชาวิทยาศาสตร์ ว 23102_ชั้นมัธยมศึกษาปีที่_3
ใบเก็บคะแนนปรับระหว่างเรียนรายวิชาวิทยาศาสตร์ ว 23102_ชั้นมัธยมศึกษาปีที่_3
 
ป.5
ป.5ป.5
ป.5
 
ภูมิศาสตร์
ภูมิศาสตร์ภูมิศาสตร์
ภูมิศาสตร์
 

Similar to แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม 1-3 เรือง แรง+ป.3+239+dltvscip3+P1 3 u06

แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม 1-3 เรื่อง สารรอบคัวเรา(ของเล่นของใช้)+205+dltvsc...
แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม 1-3 เรื่อง สารรอบคัวเรา(ของเล่นของใช้)+205+dltvsc...แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม 1-3 เรื่อง สารรอบคัวเรา(ของเล่นของใช้)+205+dltvsc...
แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม 1-3 เรื่อง สารรอบคัวเรา(ของเล่นของใช้)+205+dltvsc...Prachoom Rangkasikorn
 
ใบความรู้ แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม 1-3 เรื่อง สารรอบตัวเราของเล่นของใช้ ...
ใบความรู้  แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม 1-3 เรื่อง  สารรอบตัวเราของเล่นของใช้ ...ใบความรู้  แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม 1-3 เรื่อง  สารรอบตัวเราของเล่นของใช้ ...
ใบความรู้ แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม 1-3 เรื่อง สารรอบตัวเราของเล่นของใช้ ...Prachoom Rangkasikorn
 
แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม 1-3 เรือง ดิน น้ำ อากาศ บ้านเรา+ป.3+239+dltvscip3...
แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม 1-3 เรือง ดิน น้ำ อากาศ บ้านเรา+ป.3+239+dltvscip3...แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม 1-3 เรือง ดิน น้ำ อากาศ บ้านเรา+ป.3+239+dltvscip3...
แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม 1-3 เรือง ดิน น้ำ อากาศ บ้านเรา+ป.3+239+dltvscip3...Prachoom Rangkasikorn
 
แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม 1-3 เรื่อง ดิน ฟ้า อากาศ บ้านเรา+205+dltvscip1+P1...
แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม 1-3 เรื่อง ดิน ฟ้า อากาศ บ้านเรา+205+dltvscip1+P1...แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม 1-3 เรื่อง ดิน ฟ้า อากาศ บ้านเรา+205+dltvscip1+P1...
แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม 1-3 เรื่อง ดิน ฟ้า อากาศ บ้านเรา+205+dltvscip1+P1...Prachoom Rangkasikorn
 
ใบความรู้ แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม 1-3 เรื่อง ดิน น้ำ อากาศ บ้านเรา ป.2+...
ใบความรู้  แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม 1-3 เรื่อง ดิน น้ำ อากาศ บ้านเรา  ป.2+...ใบความรู้  แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม 1-3 เรื่อง ดิน น้ำ อากาศ บ้านเรา  ป.2+...
ใบความรู้ แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม 1-3 เรื่อง ดิน น้ำ อากาศ บ้านเรา ป.2+...Prachoom Rangkasikorn
 
แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม 1-3 เรือง ท้องฟ้าบ้านเรา+ป.3+239+dltvscip3+P1 3 u05
แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม 1-3 เรือง ท้องฟ้าบ้านเรา+ป.3+239+dltvscip3+P1 3 u05แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม 1-3 เรือง ท้องฟ้าบ้านเรา+ป.3+239+dltvscip3+P1 3 u05
แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม 1-3 เรือง ท้องฟ้าบ้านเรา+ป.3+239+dltvscip3+P1 3 u05Prachoom Rangkasikorn
 
แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม 1-3 เรื่อง ท้องฟ้าบ้านเรา+205+dltvscip1+P1 3 u05
แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม 1-3 เรื่อง ท้องฟ้าบ้านเรา+205+dltvscip1+P1 3 u05แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม 1-3 เรื่อง ท้องฟ้าบ้านเรา+205+dltvscip1+P1 3 u05
แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม 1-3 เรื่อง ท้องฟ้าบ้านเรา+205+dltvscip1+P1 3 u05Prachoom Rangkasikorn
 
ใบความรู้ แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม 1-3 เรื่อง ท้องฟ้ากับเงา ป.2+222+dltv...
ใบความรู้  แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม 1-3 เรื่อง ท้องฟ้ากับเงา  ป.2+222+dltv...ใบความรู้  แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม 1-3 เรื่อง ท้องฟ้ากับเงา  ป.2+222+dltv...
ใบความรู้ แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม 1-3 เรื่อง ท้องฟ้ากับเงา ป.2+222+dltv...Prachoom Rangkasikorn
 
แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม 1-3 เรือง แม่เหล็กไฟฟ้า+ป.3+239+dltvscip3+P1 3 u04
แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม 1-3 เรือง แม่เหล็กไฟฟ้า+ป.3+239+dltvscip3+P1 3 u04แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม 1-3 เรือง แม่เหล็กไฟฟ้า+ป.3+239+dltvscip3+P1 3 u04
แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม 1-3 เรือง แม่เหล็กไฟฟ้า+ป.3+239+dltvscip3+P1 3 u04Prachoom Rangkasikorn
 
แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม 1-3 เรื่อง แม่เหล็กไฟฟ้า+205+dltvscip1+P1 3 u04
แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม 1-3 เรื่อง แม่เหล็กไฟฟ้า+205+dltvscip1+P1 3 u04แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม 1-3 เรื่อง แม่เหล็กไฟฟ้า+205+dltvscip1+P1 3 u04
แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม 1-3 เรื่อง แม่เหล็กไฟฟ้า+205+dltvscip1+P1 3 u04Prachoom Rangkasikorn
 
1ความรู้เกี่ยวกับห้องสมุดpdf
1ความรู้เกี่ยวกับห้องสมุดpdf1ความรู้เกี่ยวกับห้องสมุดpdf
1ความรู้เกี่ยวกับห้องสมุดpdfkrujee
 
1ความรู้เกี่ยวกับห้องสมุดpdf
1ความรู้เกี่ยวกับห้องสมุดpdf1ความรู้เกี่ยวกับห้องสมุดpdf
1ความรู้เกี่ยวกับห้องสมุดpdfkrujee
 
1ความรู้เกี่ยวกับห้องสมุดpdf
1ความรู้เกี่ยวกับห้องสมุดpdf1ความรู้เกี่ยวกับห้องสมุดpdf
1ความรู้เกี่ยวกับห้องสมุดpdfkrujee
 
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.1-3 หน่วยที่ 4+443+dltvsocp3+T2 p1 3-u4_soc
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.1-3 หน่วยที่ 4+443+dltvsocp3+T2 p1 3-u4_socแผนการจัดการเรียนรู้ ป.1-3 หน่วยที่ 4+443+dltvsocp3+T2 p1 3-u4_soc
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.1-3 หน่วยที่ 4+443+dltvsocp3+T2 p1 3-u4_socPrachoom Rangkasikorn
 
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.1-3 หน่วยที่ 4+426+dltvsocp2+T2 p1 3-u4_soc
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.1-3 หน่วยที่ 4+426+dltvsocp2+T2 p1 3-u4_socแผนการจัดการเรียนรู้ ป.1-3 หน่วยที่ 4+426+dltvsocp2+T2 p1 3-u4_soc
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.1-3 หน่วยที่ 4+426+dltvsocp2+T2 p1 3-u4_socPrachoom Rangkasikorn
 
แผนการจัดการเรียนรู้ ประถม 1-3 หน่วย 4+409+dltvsocp1+T2 p1 3-u4_soc
แผนการจัดการเรียนรู้ ประถม 1-3 หน่วย 4+409+dltvsocp1+T2 p1 3-u4_socแผนการจัดการเรียนรู้ ประถม 1-3 หน่วย 4+409+dltvsocp1+T2 p1 3-u4_soc
แผนการจัดการเรียนรู้ ประถม 1-3 หน่วย 4+409+dltvsocp1+T2 p1 3-u4_socPrachoom Rangkasikorn
 
แผนการอ่าน
แผนการอ่านแผนการอ่าน
แผนการอ่านSerena Sunisa
 
ตัวอย่างแผนการสอนเรื่องพื้นที่ผิวและปริมาตร
ตัวอย่างแผนการสอนเรื่องพื้นที่ผิวและปริมาตรตัวอย่างแผนการสอนเรื่องพื้นที่ผิวและปริมาตร
ตัวอย่างแผนการสอนเรื่องพื้นที่ผิวและปริมาตรทับทิม เจริญตา
 
แผนการจัดประสบการณ์ ฉันรักฤดูหนาว- กิจกรรมเสริมประสบการณ์
แผนการจัดประสบการณ์   ฉันรักฤดูหนาว- กิจกรรมเสริมประสบการณ์แผนการจัดประสบการณ์   ฉันรักฤดูหนาว- กิจกรรมเสริมประสบการณ์
แผนการจัดประสบการณ์ ฉันรักฤดูหนาว- กิจกรรมเสริมประสบการณ์krutitirut
 

Similar to แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม 1-3 เรือง แรง+ป.3+239+dltvscip3+P1 3 u06 (20)

แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม 1-3 เรื่อง สารรอบคัวเรา(ของเล่นของใช้)+205+dltvsc...
แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม 1-3 เรื่อง สารรอบคัวเรา(ของเล่นของใช้)+205+dltvsc...แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม 1-3 เรื่อง สารรอบคัวเรา(ของเล่นของใช้)+205+dltvsc...
แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม 1-3 เรื่อง สารรอบคัวเรา(ของเล่นของใช้)+205+dltvsc...
 
ใบความรู้ แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม 1-3 เรื่อง สารรอบตัวเราของเล่นของใช้ ...
ใบความรู้  แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม 1-3 เรื่อง  สารรอบตัวเราของเล่นของใช้ ...ใบความรู้  แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม 1-3 เรื่อง  สารรอบตัวเราของเล่นของใช้ ...
ใบความรู้ แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม 1-3 เรื่อง สารรอบตัวเราของเล่นของใช้ ...
 
แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม 1-3 เรือง ดิน น้ำ อากาศ บ้านเรา+ป.3+239+dltvscip3...
แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม 1-3 เรือง ดิน น้ำ อากาศ บ้านเรา+ป.3+239+dltvscip3...แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม 1-3 เรือง ดิน น้ำ อากาศ บ้านเรา+ป.3+239+dltvscip3...
แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม 1-3 เรือง ดิน น้ำ อากาศ บ้านเรา+ป.3+239+dltvscip3...
 
แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม 1-3 เรื่อง ดิน ฟ้า อากาศ บ้านเรา+205+dltvscip1+P1...
แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม 1-3 เรื่อง ดิน ฟ้า อากาศ บ้านเรา+205+dltvscip1+P1...แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม 1-3 เรื่อง ดิน ฟ้า อากาศ บ้านเรา+205+dltvscip1+P1...
แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม 1-3 เรื่อง ดิน ฟ้า อากาศ บ้านเรา+205+dltvscip1+P1...
 
ใบความรู้ แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม 1-3 เรื่อง ดิน น้ำ อากาศ บ้านเรา ป.2+...
ใบความรู้  แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม 1-3 เรื่อง ดิน น้ำ อากาศ บ้านเรา  ป.2+...ใบความรู้  แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม 1-3 เรื่อง ดิน น้ำ อากาศ บ้านเรา  ป.2+...
ใบความรู้ แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม 1-3 เรื่อง ดิน น้ำ อากาศ บ้านเรา ป.2+...
 
แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม 1-3 เรือง ท้องฟ้าบ้านเรา+ป.3+239+dltvscip3+P1 3 u05
แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม 1-3 เรือง ท้องฟ้าบ้านเรา+ป.3+239+dltvscip3+P1 3 u05แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม 1-3 เรือง ท้องฟ้าบ้านเรา+ป.3+239+dltvscip3+P1 3 u05
แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม 1-3 เรือง ท้องฟ้าบ้านเรา+ป.3+239+dltvscip3+P1 3 u05
 
แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม 1-3 เรื่อง ท้องฟ้าบ้านเรา+205+dltvscip1+P1 3 u05
แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม 1-3 เรื่อง ท้องฟ้าบ้านเรา+205+dltvscip1+P1 3 u05แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม 1-3 เรื่อง ท้องฟ้าบ้านเรา+205+dltvscip1+P1 3 u05
แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม 1-3 เรื่อง ท้องฟ้าบ้านเรา+205+dltvscip1+P1 3 u05
 
ใบความรู้ แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม 1-3 เรื่อง ท้องฟ้ากับเงา ป.2+222+dltv...
ใบความรู้  แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม 1-3 เรื่อง ท้องฟ้ากับเงา  ป.2+222+dltv...ใบความรู้  แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม 1-3 เรื่อง ท้องฟ้ากับเงา  ป.2+222+dltv...
ใบความรู้ แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม 1-3 เรื่อง ท้องฟ้ากับเงา ป.2+222+dltv...
 
แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม 1-3 เรือง แม่เหล็กไฟฟ้า+ป.3+239+dltvscip3+P1 3 u04
แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม 1-3 เรือง แม่เหล็กไฟฟ้า+ป.3+239+dltvscip3+P1 3 u04แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม 1-3 เรือง แม่เหล็กไฟฟ้า+ป.3+239+dltvscip3+P1 3 u04
แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม 1-3 เรือง แม่เหล็กไฟฟ้า+ป.3+239+dltvscip3+P1 3 u04
 
แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม 1-3 เรื่อง แม่เหล็กไฟฟ้า+205+dltvscip1+P1 3 u04
แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม 1-3 เรื่อง แม่เหล็กไฟฟ้า+205+dltvscip1+P1 3 u04แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม 1-3 เรื่อง แม่เหล็กไฟฟ้า+205+dltvscip1+P1 3 u04
แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม 1-3 เรื่อง แม่เหล็กไฟฟ้า+205+dltvscip1+P1 3 u04
 
1ความรู้เกี่ยวกับห้องสมุดpdf
1ความรู้เกี่ยวกับห้องสมุดpdf1ความรู้เกี่ยวกับห้องสมุดpdf
1ความรู้เกี่ยวกับห้องสมุดpdf
 
1ความรู้เกี่ยวกับห้องสมุดpdf
1ความรู้เกี่ยวกับห้องสมุดpdf1ความรู้เกี่ยวกับห้องสมุดpdf
1ความรู้เกี่ยวกับห้องสมุดpdf
 
1ความรู้เกี่ยวกับห้องสมุดpdf
1ความรู้เกี่ยวกับห้องสมุดpdf1ความรู้เกี่ยวกับห้องสมุดpdf
1ความรู้เกี่ยวกับห้องสมุดpdf
 
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.1-3 หน่วยที่ 4+443+dltvsocp3+T2 p1 3-u4_soc
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.1-3 หน่วยที่ 4+443+dltvsocp3+T2 p1 3-u4_socแผนการจัดการเรียนรู้ ป.1-3 หน่วยที่ 4+443+dltvsocp3+T2 p1 3-u4_soc
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.1-3 หน่วยที่ 4+443+dltvsocp3+T2 p1 3-u4_soc
 
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.1-3 หน่วยที่ 4+426+dltvsocp2+T2 p1 3-u4_soc
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.1-3 หน่วยที่ 4+426+dltvsocp2+T2 p1 3-u4_socแผนการจัดการเรียนรู้ ป.1-3 หน่วยที่ 4+426+dltvsocp2+T2 p1 3-u4_soc
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.1-3 หน่วยที่ 4+426+dltvsocp2+T2 p1 3-u4_soc
 
แผนการจัดการเรียนรู้ ประถม 1-3 หน่วย 4+409+dltvsocp1+T2 p1 3-u4_soc
แผนการจัดการเรียนรู้ ประถม 1-3 หน่วย 4+409+dltvsocp1+T2 p1 3-u4_socแผนการจัดการเรียนรู้ ประถม 1-3 หน่วย 4+409+dltvsocp1+T2 p1 3-u4_soc
แผนการจัดการเรียนรู้ ประถม 1-3 หน่วย 4+409+dltvsocp1+T2 p1 3-u4_soc
 
แผนการอ่าน
แผนการอ่านแผนการอ่าน
แผนการอ่าน
 
ตัวอย่างแผนการสอนเรื่องพื้นที่ผิวและปริมาตร
ตัวอย่างแผนการสอนเรื่องพื้นที่ผิวและปริมาตรตัวอย่างแผนการสอนเรื่องพื้นที่ผิวและปริมาตร
ตัวอย่างแผนการสอนเรื่องพื้นที่ผิวและปริมาตร
 
Add m1-1-chapter1
Add m1-1-chapter1Add m1-1-chapter1
Add m1-1-chapter1
 
แผนการจัดประสบการณ์ ฉันรักฤดูหนาว- กิจกรรมเสริมประสบการณ์
แผนการจัดประสบการณ์   ฉันรักฤดูหนาว- กิจกรรมเสริมประสบการณ์แผนการจัดประสบการณ์   ฉันรักฤดูหนาว- กิจกรรมเสริมประสบการณ์
แผนการจัดประสบการณ์ ฉันรักฤดูหนาว- กิจกรรมเสริมประสบการณ์
 

More from Prachoom Rangkasikorn

129+hisp2+dltv54+550224+b+สไลด์ พระมหากษัตริย์ไทยป.2 (4 หน้า)
129+hisp2+dltv54+550224+b+สไลด์ พระมหากษัตริย์ไทยป.2 (4 หน้า)129+hisp2+dltv54+550224+b+สไลด์ พระมหากษัตริย์ไทยป.2 (4 หน้า)
129+hisp2+dltv54+550224+b+สไลด์ พระมหากษัตริย์ไทยป.2 (4 หน้า)Prachoom Rangkasikorn
 
120+hisp2+dltv54+550210+a+สไลด์ ความภูมิใจในท้องถิ่นป.2 (1 หน้า)
120+hisp2+dltv54+550210+a+สไลด์ ความภูมิใจในท้องถิ่นป.2 (1 หน้า)120+hisp2+dltv54+550210+a+สไลด์ ความภูมิใจในท้องถิ่นป.2 (1 หน้า)
120+hisp2+dltv54+550210+a+สไลด์ ความภูมิใจในท้องถิ่นป.2 (1 หน้า)Prachoom Rangkasikorn
 
116+hisp2+dltv54+550203+a+สไลด์ โบราณวัตถุป.2 (1 หน้า)
116+hisp2+dltv54+550203+a+สไลด์ โบราณวัตถุป.2 (1 หน้า)116+hisp2+dltv54+550203+a+สไลด์ โบราณวัตถุป.2 (1 หน้า)
116+hisp2+dltv54+550203+a+สไลด์ โบราณวัตถุป.2 (1 หน้า)Prachoom Rangkasikorn
 
114+hisp2+dltv54+550127+a+สไลด์ โบราณสถาน ป.2 (1 หน้า)
114+hisp2+dltv54+550127+a+สไลด์ โบราณสถาน ป.2 (1 หน้า)114+hisp2+dltv54+550127+a+สไลด์ โบราณสถาน ป.2 (1 หน้า)
114+hisp2+dltv54+550127+a+สไลด์ โบราณสถาน ป.2 (1 หน้า)Prachoom Rangkasikorn
 
106+hisp2+dltv54+550106+a+สไลด์ ภูมิปัญญาด้านอาหารป.2 (1 หน้า)
106+hisp2+dltv54+550106+a+สไลด์ ภูมิปัญญาด้านอาหารป.2 (1 หน้า)106+hisp2+dltv54+550106+a+สไลด์ ภูมิปัญญาด้านอาหารป.2 (1 หน้า)
106+hisp2+dltv54+550106+a+สไลด์ ภูมิปัญญาด้านอาหารป.2 (1 หน้า)Prachoom Rangkasikorn
 
091+hisp2+dltv54+541209+a+สไลด์ วัฒนธรรมในท้องถิ่นป.2 (1 หน้า)
091+hisp2+dltv54+541209+a+สไลด์ วัฒนธรรมในท้องถิ่นป.2 (1 หน้า)091+hisp2+dltv54+541209+a+สไลด์ วัฒนธรรมในท้องถิ่นป.2 (1 หน้า)
091+hisp2+dltv54+541209+a+สไลด์ วัฒนธรรมในท้องถิ่นป.2 (1 หน้า)Prachoom Rangkasikorn
 
083+hisp2+dltv54+541125+a+สไลด์ บุคคลสำคัญของไทยป.2 (1 หน้า)
083+hisp2+dltv54+541125+a+สไลด์ บุคคลสำคัญของไทยป.2 (1 หน้า)083+hisp2+dltv54+541125+a+สไลด์ บุคคลสำคัญของไทยป.2 (1 หน้า)
083+hisp2+dltv54+541125+a+สไลด์ บุคคลสำคัญของไทยป.2 (1 หน้า)Prachoom Rangkasikorn
 
066+hisp2+dltv54+540923+a+ใบความรู้ วัฒนธรรมกับการดำเนินชีวิตป.2 (1หน้า)
066+hisp2+dltv54+540923+a+ใบความรู้ วัฒนธรรมกับการดำเนินชีวิตป.2 (1หน้า)066+hisp2+dltv54+540923+a+ใบความรู้ วัฒนธรรมกับการดำเนินชีวิตป.2 (1หน้า)
066+hisp2+dltv54+540923+a+ใบความรู้ วัฒนธรรมกับการดำเนินชีวิตป.2 (1หน้า)Prachoom Rangkasikorn
 
062+hisp2+dltv54+540916+a+ใบความรู้ เหตุการณ์สำคัญกับการเปลี่ยนแปลงป.2 (1หน้า)
062+hisp2+dltv54+540916+a+ใบความรู้ เหตุการณ์สำคัญกับการเปลี่ยนแปลงป.2 (1หน้า)062+hisp2+dltv54+540916+a+ใบความรู้ เหตุการณ์สำคัญกับการเปลี่ยนแปลงป.2 (1หน้า)
062+hisp2+dltv54+540916+a+ใบความรู้ เหตุการณ์สำคัญกับการเปลี่ยนแปลงป.2 (1หน้า)Prachoom Rangkasikorn
 
058+hisp2+dltv54+540909+a+ใบความรู้ การสื่อสารจากอดีตถึงปัจจุบันป.2 (1หน้า)
058+hisp2+dltv54+540909+a+ใบความรู้ การสื่อสารจากอดีตถึงปัจจุบันป.2 (1หน้า)058+hisp2+dltv54+540909+a+ใบความรู้ การสื่อสารจากอดีตถึงปัจจุบันป.2 (1หน้า)
058+hisp2+dltv54+540909+a+ใบความรู้ การสื่อสารจากอดีตถึงปัจจุบันป.2 (1หน้า)Prachoom Rangkasikorn
 
054+hisp2+dltv54+540902+a+ใบความรู้ การดำรงชีวิตของคนในปัจจุบันป.2 (1หน้า)
054+hisp2+dltv54+540902+a+ใบความรู้ การดำรงชีวิตของคนในปัจจุบันป.2 (1หน้า)054+hisp2+dltv54+540902+a+ใบความรู้ การดำรงชีวิตของคนในปัจจุบันป.2 (1หน้า)
054+hisp2+dltv54+540902+a+ใบความรู้ การดำรงชีวิตของคนในปัจจุบันป.2 (1หน้า)Prachoom Rangkasikorn
 
050+hisp2+dltv54+540826+a+ใบความรู้ การดำเนินชีวิตของคนในอดีตป.2 (1หน้า)
050+hisp2+dltv54+540826+a+ใบความรู้ การดำเนินชีวิตของคนในอดีตป.2 (1หน้า)050+hisp2+dltv54+540826+a+ใบความรู้ การดำเนินชีวิตของคนในอดีตป.2 (1หน้า)
050+hisp2+dltv54+540826+a+ใบความรู้ การดำเนินชีวิตของคนในอดีตป.2 (1หน้า)Prachoom Rangkasikorn
 
046+hisp2+dltv54+540819+a+ใบความรู้ โรงเรียนของเรากับการเปลี่ยนแปลงป.2 (1หน้า)
046+hisp2+dltv54+540819+a+ใบความรู้ โรงเรียนของเรากับการเปลี่ยนแปลงป.2 (1หน้า)046+hisp2+dltv54+540819+a+ใบความรู้ โรงเรียนของเรากับการเปลี่ยนแปลงป.2 (1หน้า)
046+hisp2+dltv54+540819+a+ใบความรู้ โรงเรียนของเรากับการเปลี่ยนแปลงป.2 (1หน้า)Prachoom Rangkasikorn
 
042+hisp2+dltv54+540805+a+ใบความรู้ การแสวงหาความรู้เกี่ยวกับโรงเรียนป.2 (1หน้า)
042+hisp2+dltv54+540805+a+ใบความรู้ การแสวงหาความรู้เกี่ยวกับโรงเรียนป.2 (1หน้า)042+hisp2+dltv54+540805+a+ใบความรู้ การแสวงหาความรู้เกี่ยวกับโรงเรียนป.2 (1หน้า)
042+hisp2+dltv54+540805+a+ใบความรู้ การแสวงหาความรู้เกี่ยวกับโรงเรียนป.2 (1หน้า)Prachoom Rangkasikorn
 
039+hisp2+dltv54+540729+a+ใบความรู้ ความสัมพันธ์ของเวลากับตนเอง และโรงเรียนป....
039+hisp2+dltv54+540729+a+ใบความรู้ ความสัมพันธ์ของเวลากับตนเอง และโรงเรียนป....039+hisp2+dltv54+540729+a+ใบความรู้ ความสัมพันธ์ของเวลากับตนเอง และโรงเรียนป....
039+hisp2+dltv54+540729+a+ใบความรู้ ความสัมพันธ์ของเวลากับตนเอง และโรงเรียนป....Prachoom Rangkasikorn
 
035+hisp2+dltv54+540722+a+ใบความรู้ ความสัมพันธ์ของเวลากับตนเอง และครอบครัวป....
035+hisp2+dltv54+540722+a+ใบความรู้ ความสัมพันธ์ของเวลากับตนเอง และครอบครัวป....035+hisp2+dltv54+540722+a+ใบความรู้ ความสัมพันธ์ของเวลากับตนเอง และครอบครัวป....
035+hisp2+dltv54+540722+a+ใบความรู้ ความสัมพันธ์ของเวลากับตนเอง และครอบครัวป....Prachoom Rangkasikorn
 
028+hisp2+dltv54+540701+a+ใบความรู้ การศึกษาวันสำคัญในปฏิทินป.2 (1หน้า)
028+hisp2+dltv54+540701+a+ใบความรู้ การศึกษาวันสำคัญในปฏิทินป.2 (1หน้า)028+hisp2+dltv54+540701+a+ใบความรู้ การศึกษาวันสำคัญในปฏิทินป.2 (1หน้า)
028+hisp2+dltv54+540701+a+ใบความรู้ การศึกษาวันสำคัญในปฏิทินป.2 (1หน้า)Prachoom Rangkasikorn
 
024+hisp2+dltv54+540624+a+ใบความรู้ การใช้ปฏิทินป.2 (1หน้า)
024+hisp2+dltv54+540624+a+ใบความรู้ การใช้ปฏิทินป.2 (1หน้า)024+hisp2+dltv54+540624+a+ใบความรู้ การใช้ปฏิทินป.2 (1หน้า)
024+hisp2+dltv54+540624+a+ใบความรู้ การใช้ปฏิทินป.2 (1หน้า)Prachoom Rangkasikorn
 
016+hisp2+dltv54+540610+a+ใบความรู้ ความสำคัญของเวลาป.2 (1หน้า)
016+hisp2+dltv54+540610+a+ใบความรู้ ความสำคัญของเวลาป.2 (1หน้า)016+hisp2+dltv54+540610+a+ใบความรู้ ความสำคัญของเวลาป.2 (1หน้า)
016+hisp2+dltv54+540610+a+ใบความรู้ ความสำคัญของเวลาป.2 (1หน้า)Prachoom Rangkasikorn
 
013+hisp2+dltv54+540603+b+ใบความรู้ ฉันเป็นใครป.2 (4หน้า)
013+hisp2+dltv54+540603+b+ใบความรู้ ฉันเป็นใครป.2 (4หน้า)013+hisp2+dltv54+540603+b+ใบความรู้ ฉันเป็นใครป.2 (4หน้า)
013+hisp2+dltv54+540603+b+ใบความรู้ ฉันเป็นใครป.2 (4หน้า)Prachoom Rangkasikorn
 

More from Prachoom Rangkasikorn (20)

129+hisp2+dltv54+550224+b+สไลด์ พระมหากษัตริย์ไทยป.2 (4 หน้า)
129+hisp2+dltv54+550224+b+สไลด์ พระมหากษัตริย์ไทยป.2 (4 หน้า)129+hisp2+dltv54+550224+b+สไลด์ พระมหากษัตริย์ไทยป.2 (4 หน้า)
129+hisp2+dltv54+550224+b+สไลด์ พระมหากษัตริย์ไทยป.2 (4 หน้า)
 
120+hisp2+dltv54+550210+a+สไลด์ ความภูมิใจในท้องถิ่นป.2 (1 หน้า)
120+hisp2+dltv54+550210+a+สไลด์ ความภูมิใจในท้องถิ่นป.2 (1 หน้า)120+hisp2+dltv54+550210+a+สไลด์ ความภูมิใจในท้องถิ่นป.2 (1 หน้า)
120+hisp2+dltv54+550210+a+สไลด์ ความภูมิใจในท้องถิ่นป.2 (1 หน้า)
 
116+hisp2+dltv54+550203+a+สไลด์ โบราณวัตถุป.2 (1 หน้า)
116+hisp2+dltv54+550203+a+สไลด์ โบราณวัตถุป.2 (1 หน้า)116+hisp2+dltv54+550203+a+สไลด์ โบราณวัตถุป.2 (1 หน้า)
116+hisp2+dltv54+550203+a+สไลด์ โบราณวัตถุป.2 (1 หน้า)
 
114+hisp2+dltv54+550127+a+สไลด์ โบราณสถาน ป.2 (1 หน้า)
114+hisp2+dltv54+550127+a+สไลด์ โบราณสถาน ป.2 (1 หน้า)114+hisp2+dltv54+550127+a+สไลด์ โบราณสถาน ป.2 (1 หน้า)
114+hisp2+dltv54+550127+a+สไลด์ โบราณสถาน ป.2 (1 หน้า)
 
106+hisp2+dltv54+550106+a+สไลด์ ภูมิปัญญาด้านอาหารป.2 (1 หน้า)
106+hisp2+dltv54+550106+a+สไลด์ ภูมิปัญญาด้านอาหารป.2 (1 หน้า)106+hisp2+dltv54+550106+a+สไลด์ ภูมิปัญญาด้านอาหารป.2 (1 หน้า)
106+hisp2+dltv54+550106+a+สไลด์ ภูมิปัญญาด้านอาหารป.2 (1 หน้า)
 
091+hisp2+dltv54+541209+a+สไลด์ วัฒนธรรมในท้องถิ่นป.2 (1 หน้า)
091+hisp2+dltv54+541209+a+สไลด์ วัฒนธรรมในท้องถิ่นป.2 (1 หน้า)091+hisp2+dltv54+541209+a+สไลด์ วัฒนธรรมในท้องถิ่นป.2 (1 หน้า)
091+hisp2+dltv54+541209+a+สไลด์ วัฒนธรรมในท้องถิ่นป.2 (1 หน้า)
 
083+hisp2+dltv54+541125+a+สไลด์ บุคคลสำคัญของไทยป.2 (1 หน้า)
083+hisp2+dltv54+541125+a+สไลด์ บุคคลสำคัญของไทยป.2 (1 หน้า)083+hisp2+dltv54+541125+a+สไลด์ บุคคลสำคัญของไทยป.2 (1 หน้า)
083+hisp2+dltv54+541125+a+สไลด์ บุคคลสำคัญของไทยป.2 (1 หน้า)
 
066+hisp2+dltv54+540923+a+ใบความรู้ วัฒนธรรมกับการดำเนินชีวิตป.2 (1หน้า)
066+hisp2+dltv54+540923+a+ใบความรู้ วัฒนธรรมกับการดำเนินชีวิตป.2 (1หน้า)066+hisp2+dltv54+540923+a+ใบความรู้ วัฒนธรรมกับการดำเนินชีวิตป.2 (1หน้า)
066+hisp2+dltv54+540923+a+ใบความรู้ วัฒนธรรมกับการดำเนินชีวิตป.2 (1หน้า)
 
062+hisp2+dltv54+540916+a+ใบความรู้ เหตุการณ์สำคัญกับการเปลี่ยนแปลงป.2 (1หน้า)
062+hisp2+dltv54+540916+a+ใบความรู้ เหตุการณ์สำคัญกับการเปลี่ยนแปลงป.2 (1หน้า)062+hisp2+dltv54+540916+a+ใบความรู้ เหตุการณ์สำคัญกับการเปลี่ยนแปลงป.2 (1หน้า)
062+hisp2+dltv54+540916+a+ใบความรู้ เหตุการณ์สำคัญกับการเปลี่ยนแปลงป.2 (1หน้า)
 
058+hisp2+dltv54+540909+a+ใบความรู้ การสื่อสารจากอดีตถึงปัจจุบันป.2 (1หน้า)
058+hisp2+dltv54+540909+a+ใบความรู้ การสื่อสารจากอดีตถึงปัจจุบันป.2 (1หน้า)058+hisp2+dltv54+540909+a+ใบความรู้ การสื่อสารจากอดีตถึงปัจจุบันป.2 (1หน้า)
058+hisp2+dltv54+540909+a+ใบความรู้ การสื่อสารจากอดีตถึงปัจจุบันป.2 (1หน้า)
 
054+hisp2+dltv54+540902+a+ใบความรู้ การดำรงชีวิตของคนในปัจจุบันป.2 (1หน้า)
054+hisp2+dltv54+540902+a+ใบความรู้ การดำรงชีวิตของคนในปัจจุบันป.2 (1หน้า)054+hisp2+dltv54+540902+a+ใบความรู้ การดำรงชีวิตของคนในปัจจุบันป.2 (1หน้า)
054+hisp2+dltv54+540902+a+ใบความรู้ การดำรงชีวิตของคนในปัจจุบันป.2 (1หน้า)
 
050+hisp2+dltv54+540826+a+ใบความรู้ การดำเนินชีวิตของคนในอดีตป.2 (1หน้า)
050+hisp2+dltv54+540826+a+ใบความรู้ การดำเนินชีวิตของคนในอดีตป.2 (1หน้า)050+hisp2+dltv54+540826+a+ใบความรู้ การดำเนินชีวิตของคนในอดีตป.2 (1หน้า)
050+hisp2+dltv54+540826+a+ใบความรู้ การดำเนินชีวิตของคนในอดีตป.2 (1หน้า)
 
046+hisp2+dltv54+540819+a+ใบความรู้ โรงเรียนของเรากับการเปลี่ยนแปลงป.2 (1หน้า)
046+hisp2+dltv54+540819+a+ใบความรู้ โรงเรียนของเรากับการเปลี่ยนแปลงป.2 (1หน้า)046+hisp2+dltv54+540819+a+ใบความรู้ โรงเรียนของเรากับการเปลี่ยนแปลงป.2 (1หน้า)
046+hisp2+dltv54+540819+a+ใบความรู้ โรงเรียนของเรากับการเปลี่ยนแปลงป.2 (1หน้า)
 
042+hisp2+dltv54+540805+a+ใบความรู้ การแสวงหาความรู้เกี่ยวกับโรงเรียนป.2 (1หน้า)
042+hisp2+dltv54+540805+a+ใบความรู้ การแสวงหาความรู้เกี่ยวกับโรงเรียนป.2 (1หน้า)042+hisp2+dltv54+540805+a+ใบความรู้ การแสวงหาความรู้เกี่ยวกับโรงเรียนป.2 (1หน้า)
042+hisp2+dltv54+540805+a+ใบความรู้ การแสวงหาความรู้เกี่ยวกับโรงเรียนป.2 (1หน้า)
 
039+hisp2+dltv54+540729+a+ใบความรู้ ความสัมพันธ์ของเวลากับตนเอง และโรงเรียนป....
039+hisp2+dltv54+540729+a+ใบความรู้ ความสัมพันธ์ของเวลากับตนเอง และโรงเรียนป....039+hisp2+dltv54+540729+a+ใบความรู้ ความสัมพันธ์ของเวลากับตนเอง และโรงเรียนป....
039+hisp2+dltv54+540729+a+ใบความรู้ ความสัมพันธ์ของเวลากับตนเอง และโรงเรียนป....
 
035+hisp2+dltv54+540722+a+ใบความรู้ ความสัมพันธ์ของเวลากับตนเอง และครอบครัวป....
035+hisp2+dltv54+540722+a+ใบความรู้ ความสัมพันธ์ของเวลากับตนเอง และครอบครัวป....035+hisp2+dltv54+540722+a+ใบความรู้ ความสัมพันธ์ของเวลากับตนเอง และครอบครัวป....
035+hisp2+dltv54+540722+a+ใบความรู้ ความสัมพันธ์ของเวลากับตนเอง และครอบครัวป....
 
028+hisp2+dltv54+540701+a+ใบความรู้ การศึกษาวันสำคัญในปฏิทินป.2 (1หน้า)
028+hisp2+dltv54+540701+a+ใบความรู้ การศึกษาวันสำคัญในปฏิทินป.2 (1หน้า)028+hisp2+dltv54+540701+a+ใบความรู้ การศึกษาวันสำคัญในปฏิทินป.2 (1หน้า)
028+hisp2+dltv54+540701+a+ใบความรู้ การศึกษาวันสำคัญในปฏิทินป.2 (1หน้า)
 
024+hisp2+dltv54+540624+a+ใบความรู้ การใช้ปฏิทินป.2 (1หน้า)
024+hisp2+dltv54+540624+a+ใบความรู้ การใช้ปฏิทินป.2 (1หน้า)024+hisp2+dltv54+540624+a+ใบความรู้ การใช้ปฏิทินป.2 (1หน้า)
024+hisp2+dltv54+540624+a+ใบความรู้ การใช้ปฏิทินป.2 (1หน้า)
 
016+hisp2+dltv54+540610+a+ใบความรู้ ความสำคัญของเวลาป.2 (1หน้า)
016+hisp2+dltv54+540610+a+ใบความรู้ ความสำคัญของเวลาป.2 (1หน้า)016+hisp2+dltv54+540610+a+ใบความรู้ ความสำคัญของเวลาป.2 (1หน้า)
016+hisp2+dltv54+540610+a+ใบความรู้ ความสำคัญของเวลาป.2 (1หน้า)
 
013+hisp2+dltv54+540603+b+ใบความรู้ ฉันเป็นใครป.2 (4หน้า)
013+hisp2+dltv54+540603+b+ใบความรู้ ฉันเป็นใครป.2 (4หน้า)013+hisp2+dltv54+540603+b+ใบความรู้ ฉันเป็นใครป.2 (4หน้า)
013+hisp2+dltv54+540603+b+ใบความรู้ ฉันเป็นใครป.2 (4หน้า)
 

แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม 1-3 เรือง แรง+ป.3+239+dltvscip3+P1 3 u06

  • 1. ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ - ๓ เล่ม ๑ 735 á¼¹¡ÒÃÊ͹ª‹Ç§ªÑé¹µÒÁÇѯ¨Ñ¡Ã¡ÒÃàÃÕ¹Ì٠ô MAT à¾×èÍÊÌҧ¤Ø³ÅѡɳР´Õ à¡‹§ ÁÕÊØ¢ หน่วยการเรียนรู้ที่ Áô¡ä·Â àÃ×èͧ áç ¡ÅØ‹ÁÊÒÃСÒÃàÃÕ¹ÌÙÇÔ·ÂÒÈÒʵÏ ªÑé¹ ».ñ - ó ๖
  • 2. คู่มือครูสอนทางไกลผ่านดาวเทียมสำาหรับโรงเรียนปลายทาง 736 แผนการจัดการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร ป.๑-๓ หน่วยการเรียนรู้ที่ ๖ มรดกไทย เรื่อง แรง ระยะเวลาในการสอน ๑๒ ชั่วโมง ๑. มาตรฐานการเรียนรู้ / ตัวชี้วัด มาตรฐาน ว ๔.๑ เข้าใจธรรมชาติของแรงแม่เหล็กไฟฟ้า แรงโน้มถ่วง และแรงนิวเคลียร์ มีกระบวนการ สืบเสาะหาความรู้ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และนำาความรู้ไปใช้ประโยชน์อย่างถูกต้องและมีคุณธรรม ตัวชี้วัด ป. ๓/๑ ทดลองและอธิบายผลของการออกแรงที่กระทำาต่อวัตถุ ป. ๓/๒ ทดลองการตกของวัตถุสู่พื้นโลกและอธิบายแรงที่โลกดึงดูดวัตถุ มาตรฐาน ว ๗.๑ เข้าใจวิวัฒนาการของระบบสุริยะ กาแล็กซี่และอวกาศ การปฏิสัมพันธ์ภายในระบบสุริยะ และผลต่อสิ่งมีชีวิตบนโลก มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู้และจิตวิทยาศาสตร์ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และนำาความรู้ไป ใช้ประโยชน์ ตัวชี้วัด ป. ๓/๑ สังเกตและอธิบายการขึ้นตกของดวงอาทิตย์ ดวงจันทร์ การเกิดกลางวันกลางคืนและการกำาหนดทิศ ๒. การกำาหนดสาระสำาคัญของการเรียนรู้ วัสดุเกิดการเปลี่ยนแปลงได้เมื่อบีบ บิด ทุบ ดัด ดึงหรือทำาให้ร้อนขึ้นหรือทำาให้เย็นลง การเปลี่ยนแปลงของ วัสดุสามารถนำาไปใช้ประโยชน์หรืออาจทำาให้เกิดอันตรายได้ เมื่อมีการดึงหรือผลักวัตถุ จะต้องออกแรงเมื่อมีแรงกระทำาต่อวัตถุอาจทำาให้วัตถุเคลื่อนที่ หรือทำาให้วัตถุที่ กำาลังเคลื่อนที่มีการเคลื่อนที่เร็วขึ้น ช้าลง เปลี่ยนทิศทางหรือทำาให้วัตถุเปลี่ยนรูปร่าง วัตถุตกลงสู่พื้นโลกเสมอ เนื่องจากมีแรงดึงดูดโลกกระทำาต่อวัตถุ แรงดึงดูดของโลกที่กระทำาต่อวัตถุทำาให้วัตถุ มีนำ้าหนัก ๓. คุณลักษณะที่ต้องการพัฒนา ๑. นักเรียนเป็นคนดีโดย – มีความสนใจใฝ่รู้ มีความรับผิดชอบให้ความร่วมมือกับกลุ่ม มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดี ยอมรับความคิดเห็น ของผู้อื่นปรับปรุงแก้ไขงาน
  • 3. ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ - ๓ เล่ม ๑ 737 ภาษาไทย – เขียนคำ�ยาก – เขียนข้อเตือนใจ – การนำ�เสนอผลงาน – การเล่านิทาน แรง ศิลปะ – วาดภาพวัสดุที่เกิด จากแรงมากระทำ� – วาดภาพจากนิทาน – ร้องเพลงสัตว์ คณิตศาสตร์ – คำ�นวณวัตถุที่ชั่งได้ – ศึกษาตัวเลขและ หน่วยบนตาชั่ง สุขศึกษาและพลศึกษา – เกมเสียงสัตว์ ๒. นักเรียนเป็นคนเก่งโดย – สามารถในการเข้าร่วมกิจกรรมกลุ่มเขียนคำ�ยาก วาดภาพเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงของวัสดุเมื่อมีแรง มากระทำ� วาดภาพจากนิทานกระต่ายตื่นตูมได้ คำ�นวณนํ้าหนักของวัตถุจากตาชั่งสปริง อภิปรายสรุป ความรู้ ๓. นักเรียนเป็นคนมีความสุขโดย – มีความสุขในการเรียน เห็นคุณค่าของตนเองและผู้อื่น ภูมิใจในผลงานของตนเอง ๔. การวางแผนผังการจัดกิจกรรมแบบบูรณาการ
  • 4. คู่มือครูสอนทางไกลผ่านดาวเทียมสำ�หรับโรงเรียนปลายทาง 738 กิจกรรมโรงเรียนต้นทาง ๑. ครูนำ�ดินนํ้ามัน ลวดกำ�มะหยี่ หนังยาง กระดาษ มาให้ดูทีละชิ้นแล้ว ถามว่าสิ่งนี้คืออะไรเมื่อนักเรียนตอบแล้วให้เขียนให้ถูกต้อง ๒. ครูออกแรงกระทำ�ต่อวัสดุที่นำ�มาให้ดูในข้อ ๕.๑ โดยตั้งคำ�ถามและให้ นักเรียนวาดภาพที่จะเกิดขึ้นเมื่อมีแรงกระทำ�ดังนี้ – ปั้นดินนํ้ามันเป็นรูปกลุ่มๆ แล้วถามผู้เรียนว่าถ้าครูบีบหรือทุบก้อน ดินนํ้ามันจะเปลี่ยนแปลงอย่างไรให้วาดภาพ – นำ�ลวดหรือลวดกำ�มะหยี่ ถามว่าถ้าครูมาบิดหรือดัดเป็นรูปต่างๆ ให้ นักเรียนวาดภาพที่เกิดจากการบิดหรือดัด – นำ�หนังยาง ถามว่าถ้าครูดึงหนังยางออก รูปร่างของหนังยางจะ เปลี่ยนแปลงอย่างไร ให้วาดภาพ กิจกรรมโรงเรียนปลายทาง – นักเรียนสังเกตและตอบ คำ�ถาม – นักเรียนตอบคำ�ถาม ๘ ๗ ๑ ๒ ๓ ๕ ๔ ๖ –นำ�วัสดุมา ออกแรงกระทำ�ด้วย การบีบบิดทุบดัดดึง –การผลักดึงหนังสือ –เล่านิทานเรื่องกระต่าย ตื่นตูม แรง –การอภิปราย สรุปจากประสบการณ์ –วาดภาพวัสดุที่เกิดจาก แรงมากระทำ� –แบ่งกลุ่มศึกษาและทำ�กิจกรรม ในใบกิจกรรม ผู้เรียนวางวัตถุ ลงบนฝ่ามือสังเกต แรงที่กดลงบนฝ่ามือ ครูอธิบายเพิ่มเติมว่าแรงนี้ เกิดจากแรงที่โลกดึงดูดวัตถุ เรียกแรงที่โลกดึงดูดวัตถุนี้ ว่านํ้าหนักแนะนำ�การ ใช้ตาชั่งสปริง นำ�ผลงานมาตั้งแสดงหรือ จัดนิทรรศการในห้องเรียน ให้แลกเปลี่ยนเรียนรู้และ ประเมินผลงาน –เล่านิทานเกี่ยวกับ แรงดึงดูดของโลก –การนำ�เสนอผลงาน หน้าชั้นเรียน ร่วมกันอภิปรายให้ระมัดระวังเขียน ข้อความเตือนใจเกี่ยวกับผลการ เปลี่ยนแปลงที่อาจเกิด อันตราย ฝึกชั่งวัตถุ คำ�นวณนํ้าหนัก บนตาชั่งปริง ๕. ผังการวางแผนตามแนววัฏจักรการเรียนรู้ ๖. รายละเอียดของกิจกรรม
  • 5. ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ - ๓ เล่ม ๑ 739 กิจกรรมโรงเรียนต้นทาง กิจกรรมโรงเรียนปลายทาง – นำ�กระดาษมาฉีกเป็นรูปสัตว์ โดยถ้าครูฉีกเป็นรูปอะไรให้ผู้เรียนร้อง เสียงสัตว์ชนิดนั้น เช่น ครูฉีกเป็นรูปแมว ผู้เรียนจะร้องเหมียวๆ เป็นต้น – ครูถามต่อไปว่าถ้าครูจุดไฟเผากระดาษ กระดาษจะเปลี่ยนแปลง อย่างไร – ถ้าครูนำ�นํ้าไปแช่ในช่องแข็งในตู้เย็น นํ้าจะเปลี่ยนแปลงอย่างไร ๓. ให้ผู้เรียนดึงหรือผลักหนังสือบนโต๊ะแล้วร่วมกันอภิปรายว่าการดึงหรือ ผลักออกแรงหรือไม่ ๔. ครูเล่านิทานเกี่ยวกับวัตถุที่ตกสู่พื้นโลก เช่น เรื่องกระต่ายตื่นตูมให้นักเรียน ฟัง จากนั้นตั้งคำ�ถาม เช่น ทำ�ไมลูกมะพร้าวจึงตกสู่พื้นโลก ให้วาดรูป กระต่ายหรือต้นมะพร้าวลูกมะพร้าว ๕. แบ่งกลุ่มผู้เรียนให้ทำ�ใบกิจกรรม ๒.๓ แล้วช่วยกันคิดและเขียนคำ�ตอบ แล้วส่งตัวแทนมานำ�เสนอ คำ�ตอบและคำ�สรุปของกลุ่มแล้วร่วมอภิปราย และสรุปให้ได้ว่าเมื่อมีแรงมากระทำ�ต่อวัสดุ เช่น บิด ดัด ทุบหรือทำ�ให้ ร้อนขึ้นหรือทำ�ให้เย็นลงวัสดุจะเกิดการเปลี่ยนแปลง ๖. ให้ผู้เรียนพิจารณาสถานการณ์ตัวอย่างและตอบคำ�ถามในใบกิจกรรม ๒.๓/๑ ต่อจากนั้นครูสุ่มเลือกตัวแทนกลุ่มให้ตอบคำ�ถามกลุ่มละ ๑ สถานการณ์ว่าอะไรจะเกิดขึ้นแล้วให้แต่ละกลุ่มเปรียบเทียบกับคำ�ตอบ ในกลุ่มของตน ๗. แบ่งกลุ่มแจกใบกิจกรรมที่ ๒.๔, ๒.๔/๑ และ ๒.๔/๒ ส่งตัวแทนมา นำ�เสนอผลงานหน้าชั้น ร่วมกันอภิปรายสรุปว่าการดึงหรือผลักวัตถุ ต้องออกแรงทำ�ให้วัตถุเปลี่ยนแปลงการเคลื่อนที่โดยเปลี่ยนจากหยุดนิ่ง เป็นเคลื่อนที่หรือวัตถุที่เคลื่อนที่อยู่เคลื่อนที่เร็วขึ้นหรือช้าลง ๘. ให้ผู้เรียนแต่ละคนปั้นดินนํ้ามันเป็นรูปต่างๆ แล้ววาดรูปสิ่งที่นักเรียน ปั้นได้ลงในใบกิจกรรม ๒.๔/๓ และ ๒.๔/๔ แล้วร่วมอภิปรายจนได้ ข้อสรุปว่าแรงทำ�ให้วัตถุเปลี่ยนแปลงรูปร่าง ๙. ให้ผู้เรียนทำ�กิจกรรม ๒.๕ แล้วร่วมอภิปรายเพื่อให้ได้ข้อสรุปว่าวัตถุจะ ตกลงสู่พื้นโลกเสมอเนื่องจากแรงดึงดูดที่โลกกระทำ�ต่อวัตถุ ๑๐. ผู้เรียนวางวัตถุลงบนฝ่ามือ สังเกตแรงที่ตกลงบนฝ่ามือหรือนำ�วัตถุใส่ถุง หิ้วแล้วถือถุงไว้ สังเกตแรงที่วัตถุถึงมือ ครูอธิบายเพิ่มเติมว่าแรงนี้เกิด จากแรงที่โลกดึงดูดวัตถุเรียกแรงที่โลกดึงดูดวัตถุนี้ว่านํ้าหนัก แนะนำ� การใช้ตาชั่งสปริง จากนั้นสาธิตการใช้ตาชั่งสปริงชั่งนํ้าหนักของวัตถุ โดยมีหน่วยเป็นนิวตัน ฝึกการคำ�นวณด้วยการบวกหรือลบนํ้าหนักที่ชั่งได้ เน้นให้ผู้เรียนสังเกตการยึดของสปริง และอภิปรายจนสรุปได้ว่าเมื่อนำ� – นักเรียนปฏิบัติ และอภิปราย ตอบคำ�ถาม – นักเรียนวาดรูป – นักเรียนร่วมกันสรุป, จดบันทึก – ตัวแทนกลุ่มออกมานำ�เสนอ หน้าชั้น – แบ่งกลุ่มทำ�ใบกิจกรรม ตัวแทนออกมานำ�เสนอ หน้าชั้นและสรุป – นักเรียนปั้นดินนํ้ามันและ วาดภาพ – นักเรียนสรุปจดบันทึก – นักเรียนปฏิบัติการทดลอง, สังเกต ตอบคำ�ถาม, ทำ�ใบ กิจกรรม
  • 6. คู่มือครูสอนทางไกลผ่านดาวเทียมสำ�หรับโรงเรียนปลายทาง 740 ๗. สื่อการเรียนการสอน ๑. ใบกิจกรรม ๒.๓, ๒.๓/๑, ๒.๔, ๒.๔/๑, ๒.๔/๒, ๒.๕, ๒.๕/๑ ๒. ดินนํ้ามัน ลวดกำ�มะหยี่ หนังยาง แผ่นกระดาษ ๓. เชือกชักเย่อ ลูกฟุตบอล รถเด็กเล่น ๔. ลูกปิงปอง ยางลบ ตาชั่งสปริง ๕. สนาม บริเวณโรงเรียน ๖. ห้องสมุด ๘. การประเมินผลตามสภาพจริง กิจกรรม/พฤติกรรม/ผลงานที่ต้องการประเมิน วิธีการ เครื่องมือ ๑. การตอบคำ�ถาม การนำ�เสนอผลงาน การแสดงความคิดเห็น สังเกต สังเกตพฤติกรรม แบบบันทึกการ ๒. ตรวจผลงาน ๑) เขียนคำ�ยาก ๒) เขียนข้อความเตือนใจ ๓) วาดภาพวัสดุ ๔) วาดภาพกระต่าย ต้นมะพร้าว ๕) ใบกิจกรรม ตรวจผลงาน ตรวจผลงาน บันทึกการ ๓. ความตั้งใจในการแสดงผลงาน สังเกต แบบบันทึกการสังเกต ผู้ประเมิน – ครู – นักเรียน และเพื่อนนักเรียน กิจกรรมโรงเรียนต้นทาง กิจกรรมโรงเรียนปลายทาง วัตถุไปแขวนกับตาชั่งสปริง วัตถุจะดึงสปริง วัตถุจะดึงสปริงให้ยืด ถ้า วัตถุมีนํ้าหนักมากสปริงจะยืดมากถ้าวัตถุมีนํ้าหนักน้อยสปริงจะยืดน้อย ให้ทำ�กิจกรรม ๒.๕/๑ ๑๑. ร่วมกันอภิปรายให้ระมัดระวัง เขียนข้อความเตือนใจเกี่ยวกับผลการ เปลี่ยนแปลงที่อาจเกิดอันตรายเพื่อนำ�ไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจำ�วัน และเล่านิทานที่เกี่ยวกับแรงดึงดูดของโลก ๑๒. ผู้เรียนนำ�ผลงานมาตั้งแสดงหรือจัดนิทรรศการในห้องเรียนให้แลกเปลี่ยน เรียนรู้และฝึกประเมินผลของผู้อื่น ครูจะตรวจประเมินผลงาน – นักเรียนร่วมกันอภิปราย เขียนคำ�ขวัญเตือนใจ – นำ�เสนอผลงาน
  • 7. ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ - ๓ เล่ม ๑ 741 ๙. สรุปผลการเรียนการสอน .............................................................................................................................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................................................................................................................. w w w w w w w w
  • 8. คู่มือครูสอนทางไกลผ่านดาวเทียมสำาหรับโรงเรียนปลายทาง 742 แผนการจัดการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร ป.๑ หน่วยการเรียนรู้ที่ ๖ มรดกไทย เรื่อง ของเล่น ของใช้ ระยะเวลาในการสอน ๑ ชั่วโมง ๑. มาตรฐานการเรียนรู้ / ตัวชี้วัด มาตรฐาน ว ๓.๑ เข้าใจสมบัติของสาร ความสัมพันธ์ระหว่างสมบัติของสารกับโครงสร้างและแรงยึดเหนี่ยว ระหว่างอนุภาค มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู้และจิตวิทยาศาสตร์ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และนำาความรู้ไปใช้ประโยชน์ ตัวชี้วัด ป. ๑/๑ สังเกตและระบุลักษณะที่ปรากฏหรือสมบัติของวัสดุที่ใช้ทำาของเล่นของใช้ในชีวิตประจำาวัน ป. ๑/๒ จำาแนกวัสดุที่ใช้ทำาของเล่นของใช้ในชีวิตประจำาวันรวมทั้งระบุเกณฑ์ที่ใช้จำาแนก ๒. สาระการเรียนรู้ ๑. วัสดุที่ใช้ทำาของเล่นของใช้ในชีวิตประจำาวันมีลักษณะหรือสมบัติต่างกัน ๒. ลักษณะหรือสมบัติของวัสดุสามารถนำามาใช้เป็นเกณฑ์ในการจำาแนกวัสดุที่ใช้ทำาของเล่นของใช้ใน ชีวิตประจำาวัน ๓. คุณลักษณะที่ต้องการพัฒนา ๑. สังเกต เปรียบเทียบและจำาแนกสิ่งที่เป็นของเล่น ของใช้ของกลุ่ม โดยใช้ลักษณะหรือสมบัติที่คล้ายกันหรือ แตกต่างกันเป็นเกณฑ์ ๒. สำารวจตรวจสอบ และนำาความรู้จากการจัดกลุ่มไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจำาวันได้ ๔. กระบวนการจัดการเรียนรู้ กิจกรรมโรงเรียนต้นทาง ๑. นักเรียนเคลื่อนไหวประกอบเพลง เพื่อเตรียมความพร้อมก่อนเรียน ๒. ครูถามนักเรียนเกี่ยวกับการเล่นของเด็กในสมัยเก่า ว่ามีการละเล่นอย่างไร นักเรียนเล่นเป็นหรือไม่ แล้วให้นักเรียนร่วมกันเล่น เช่น การเล่นกาฟักไข่ การเล่นงูกินหาง เป็นต้น ๓. ครูนำาสนทนาเกี่ยวกับเรื่องการละเล่นในอดีตว่า เด็กๆ ในอดีตจะเล่น โดยที่ไม่มีอุปกรณ์หรืออาจมีแต่น้อยชิ้นและหาง่าย เช่น หมากเก็บ กิจกรรมโรงเรียนปลายทาง – นักเรียนเคลื่อนไหวประกอบ เพลงพร้อมๆ กัน – นักเรียนร่วมกันเล่นการละเล่น นั้นๆ ของเล่น ของใช้ ของเล่น ของใช้
  • 9. ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ - ๓ เล่ม ๑ 743 กิจกรรมโรงเรียนต้นทาง กิจกรรมโรงเรียนปลายทาง ๕. สื่อและแหล่งการเรียนรู้ ๑. ภาพของเล่น ของใช้ ๒. ใบกิจกรรม ๖. การวัดผลประเมินผล ๑. การตอบคำ�ถาม ๒. การร่วมกิจกรรม ๓. ประเมินผลใบกิจกรรม มอญซ่อนผ้า ตี่จับ งูกินหาง ฯลฯ แต่ในยุคปัจจุบันการเล่นของเด็ก เปลี่ยนไป ซึ่งจะมีอุปกรณ์ในการเล่นมากขึ้นและหลากหลาย ครูถาม นักเรียนว่ามีของเล่นอะไรบ้าง ๔. นักเรียนยกตัวอย่างของเล่นที่ชอบคนละ ๑ ชนิด ๕. ครูอธิบายเพิ่มเติมว่า วัตถุบางอย่างเป็นของเล่นเล่นได้ บางอย่างเล่นไม่ได้ เพราะเป็นของใช้ หากเล่นแล้วอาจทำ�ให้เกิดอันตรายได้ เช่น มีด ๖. ให้นักเรียนดูภาพแล้วช่วยกันตอบว่าภาพที่เห็นเป็นของเล่นหรือของใช้ ๗. นักเรียนเขียนตารางต่อไปนี้ลงในสมุด ๘. นักเรียนดูภาพแล้วบันทึกผลว่าภาพที่เห็นเป็นของเล่นหรือของใช้ แล้ว บันทึกลงในตาราง ๙. ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายการแบ่งกลุ่มของเล่นเพื่อสรุปว่า ในการ แบ่งกลุ่มของเล่นของใช้ สามารถใช้การใช้ประโยชน์ต่างๆ เป็นเกณฑ์ได้ ซึ่งสามารถแบ่งเป็น ๒ กลุ่ม ได้แก่ กลุ่มของเล่น คือ สิ่งที่เล่นแล้วทำ�ให้ เกิดความสนุกสนานเพลิดเพลิน และกลุ่มของใช้ คือ สิ่งที่ใช้ในการ ใช้สอยหรือในการทำ�งานในชีวิตประจำ�วัน – นักเรียนยกตัวอย่างคนละ ๑ ชนิด – นักเรียนดูภาพแล้วตอบคำ�ถาม – นักเรียนทำ�ตารางลงในสมุด แล้วดูภาพ บันทึกผลใน ตาราง – นักเรียนร่วมกันอภิปรายเพื่อ สรุปผล ของเล่น ของใช้
  • 10. คู่มือครูสอนทางไกลผ่านดาวเทียมสำ�หรับโรงเรียนปลายทาง 744 ๗. สรุปผลหลังการสอน .............................................................................................................................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................................................................................................................. w w w w w w w w
  • 11. ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ - ๓ เล่ม ๑ 745 แผนการจัดการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร ป.๒ ๑. มาตรฐานการเรียนรู้ / ตัวชี้วัด มาตรฐาน ว ๓.๑ เข้าใจสมบัติของสาร ความสัมพันธ์ระหว่างสมบัติของสารกับโครงสร้างและแรงยึดเหนี่ยว ระหว่างอนุภาค มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู้และจิตวิทยาศาสตร์ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และนำาความรู้ไปใช้ประโยชน์ ตัวชี้วัด ป. ๒/๑ ระบุชนิดและเปรียบเทียบสมบัติของวัสดุที่นำามาทำาของเล่นของใช้ในชีวิตประจำาวัน ป. ๒/๒ เลือกใช้วัสดุและสิ่งของต่างๆ ได้อย่างเหมาะสมและปลอดภัย ๒. สาระการเรียนรู้ ๑. ของเล่นของใช้ทุกชนิดเป็นวัตถุ ซึ่งทำาจากวัสดุต่างๆ ๓. จุดประสงคการเรียนรู้ ๑. อธิบายและบอกความแตกต่างระหว่างวัตถุกับวัสดุ ๒. สำารวจและบอกชื่อวัสดุที่ใช้ทำาของเล่นของใช้ ๔. กระบวนการจัดการเรียนรู้ กิจกรรมโรงเรียนต้นทาง ๑. นักเรียนเคลื่อนไหวประกอบเพลง เพื่อเตรียมความพร้อมก่อนเรียน ๒. ครูและนักเรียนร่วมกันสนทนาเพื่อแบ่งกลุ่มของเล่นของใช้ โดยใช้ลักษณะ ภายนอกเป็นเกณฑ์ ซึ่งได้แก่ การใช้สี ขนาด รูปร่าง นำ้าหนัก เป็นเกณฑ์ เป็นต้น ๓. นักเรียนนำาของเล่นของใช้ที่เตรียมมามารวมกัน แล้วสังเกตลักษณะที่ ภายนอกที่เหมือนและต่างกัน เพื่อแบ่งกลุ่ม ๔. ครูให้นักเรียนสังเกตดูของเล่นของใช้ เช่น ตุ๊กตาหมี แล้วให้นักเรียน ตอบคำาถามว่าทำาจากวัสดุใดบ้าง ๕. ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายว่า ตัวตุ๊กตาหมีทำาจากผ้า ส่วนตาทำาจาก พลาสติก กิจกรรมโรงเรียนปลายทาง – นักเรียนเคลื่อนไหวประกอบ เพลงพร้อมๆ กัน – สังเกตของเล่นของใช้ที่เตรียม มาแล้ว แบ่งกลุ่มโดยใช้เกณฑ์ ต่างๆ – สังเกตสิ่งของแล้วตอบว่า ทำามาจากอะไร หน่วยการเรียนรู้ที่ ๖ มรดกไทย เรื่อง ของเล่น ของใช้ ระยะเวลาในการสอน ๑ ชั่วโมง
  • 12. คู่มือครูสอนทางไกลผ่านดาวเทียมสำ�หรับโรงเรียนปลายทาง 746 กิจกรรมโรงเรียนต้นทาง กิจกรรมโรงเรียนปลายทาง ๕. สื่อและแหล่งการเรียนรู้ ๑. ตัวอย่างของเล่น ของใช้ ๒. ใบกิจกรรม ๖. การวัดผลประเมินผล ๑. การตอบคำ�ถาม ๒. การร่วมกิจกรรม ๓. ประเมินผลใบกิจกรรม ๖. ให้นักเรียนสังเกตของเล่นของใช้ทีละชนิดแล้วช่วยกันตอบว่าทำ�จาก วัสดุใดบ้าง เช่น – มีด ตัวมีดทำ�จากโลหะ ด้ามทำ�จากพลาสติกหรือไม้ – รถของเล่นตัวรถทำ�จากพลาสติกและยังมีส่วนของโลหะคือน๊อตที่ใช้ ยึดรถ – ไม้กวาด ด้ามไม้กวาดทำ�จากไม้ และมีเชือกร้อยดอกหญ้าให้ติดกัน – ยางลบทำ�จากยางเพียงอย่างเดียว ๗. นักเรียนเขียนตารางต่อไปนี้ลงในสมุด ๘. ตัวแทนนักเรียนหยิบของเล่นของใช้ทีละชนิดให้เพื่อนนักเรียนดู แล้วให้ สังเกตว่าสิ่งของชนิดนั้นทำ�จากวัสดุอะไร บันทึกผลในตาราง ๙. ครูให้ความรู้เพิ่มเติมว่า มีด โต๊ะ เก้าอี้ ถังขยะ ไม้กวาด ลูกฟุตบอล เหล่านี้ เป็น วัตถุ ส่วนยาง ไม้ ผ้า ดอกหญ้า เชือก โลหะ พลาสติก เป็นวัสดุ ๑๐. ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายว่าวัตถุต่างชนิดกันจะทำ�จากวัสดุแตกต่าง กันออกไป วัตถุบางชนิดทำ�จากวัสดุชนิดเดียว วัตถุบางชนิดทำ�จากวัสดุ หลายชนิด – ทำ�ตารางลงสมุด สังเกต สิ่งของว่าทำ�จากอะไร แล้ว บันทึกผลในตาราง – ร่วมกันอภิปรายเพื่อสรุป ของเล่น ของใช้
  • 13. ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ - ๓ เล่ม ๑ 747 ๗. สรุปผลหลังการสอน .............................................................................................................................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................................................................................................................. w w w w w w w w
  • 14. คู่มือครูสอนทางไกลผ่านดาวเทียมสำาหรับโรงเรียนปลายทาง 748 แผนการจัดการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร ป.๓ หน่วยการเรียนรู้ที่ ๖ มรดกไทย เรื่อง ของเล่น ของใช้ ระยะเวลาในการสอน ๖ ชั่วโมง ๑. มาตรฐานการเรียนรู้ / ตัวชี้วัด มาตรฐาน ว ๔.๑ เข้าใจธรรมชาติของแรงแม่เหล็กไฟฟ้า แรงโน้มถ่วง และแรงนิวเคลียร์ มีกระบวนการ สืบเสาะหาความรู้ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และนำาความรู้ไปใช้ประโยชน์อย่างถูกต้องและมีคุณธรรม ตัวชี้วัด ป. ๓/๑ ทดลองและอธิบายผลของการออกแรงที่กระทำาต่อวัตถุ ป. ๓/๒ ทดลองการตกของวัตถุสู่พื้นโลก และอธิบายแรงที่โลกดึงดูวัตถุ มาตรฐาน ว ๗.๑ เข้าใจวิวัฒนาการของระบบสุริยะ กาแล็กซีและเอกภพ การปฏิสัมพันธ์ภายในระบบสุริยะ และผลต่อสิ่งมีชีวิตบนโลก มีกระบวนการสืบเสาะ หาความรู้และจิตวิทยาศาสตร์ การสื่อสารที่เรียนรู้และนำาความรู้ ไปใช้ประโยชน์ ตัวชี้วัด ป. ๓/๑ สังเกต และอธิบายการขึ้นตกของดวงอาทิตย์ ดวงจันทร์ การเกิดกลางวันกลางคืน และการกำาหนดทิศ ๒. สาระสำาคัญ ๑. อธิบายการเปลี่ยนแปลงการเคลื่อนที่ของวัตถุเมื่อถูกแรงกระทำา ๒. อธิบายแรงดึงดูดของโลกทำาให้วัตถุตกลงสู่พื้นโลกและทำาให้วัตถุมีนำ้าหนัก ๓. สาระการเรียนรู้ ความรู้ ๑. เมื่อมีแรงกระทำาต่อวัตถุ จะทำาให้วัตถุมีการเปลี่ยนแปลงการเคลื่อนที่ เช่น ทำาให้วัตถุที่หยุดนิ่งมีการ เคลื่อนที่ หรือทำาให้วัตถุกำาลังเคลื่อนที่เร็วขึ้น ช้าลง หยุดนิ่ง หรือเปลี่ยนทิศการเคลื่อนที่ แรงมีหน่วย เป็นนิวตัน การวัดขนาดของแรงทำาได้โดยใช้ตาชั่งสปริง ๒. วัตถุตกลงสู่โลกเสมอ เนื่องจากมีแรงดึงดูดของโลกกระทำาต่อวัตถุ แรงดึงดูดของโลกที่กระทำาต่อวัตถุทำาให้ มีนำ้าหนัก ๓. นำ้าของวัตถุคือแรงที่โลกดึงดูดวัตถุ มีหน่วยเป็นนิวตัน นำ้าของวัตถุวัดได้โดยใช้ตาชั่งสปริง ของเล่น ของใช้ ของเล่น ของใช้
  • 15. ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ - ๓ เล่ม ๑ 749 ทักษะกระบวนการ ๑. อภิปราย ๒. อธิบาย ๓. การสืบค้นข้อมูล ๔. การสังเกต คุณลักษณะที่พึงประสงค์ ๑. สนใจใฝ่เรียนรู้ ๒. การนำ�ไปใช้ประโยชน์ ๔. การประเมินผลรวบยอด ชิ้นงานหรือภาระงาน ๑. แบบฝึกหัด ๒. ภาพวาด เกณฑ์การให้คะแนนผลงาน ประเด็น ที่ประเมิน คะแนน ๔ ๓ ๒ ๑ ๑. ผลงานตรง กับจุดประสงค์ ที่กำ�หนด ผลงานสอดคล้องกับ จุดประสงค์ทุกประเด็น ผลงานสอดคล้อง กับจุดประสงค์ เป็นส่วนใหญ่ ผลงานสอดคล้องกับ จุดประสงค์บาง ประเด็น ผลงานไม่สอดคล้องกับ จุดประสงค์ ๒. ผลงานมี ความถูกต้อง สมบูรณ์ เนื้อหาสาระของผลงาน ถูกต้องครบถ้วน เนื้อหาสาระของ ผลงานถูกต้องเป็น ส่วนใหญ่ เนื้อหาสาระของ ผลงานถูกต้องเป็น บางประเด็น เนื้อหาสาระของผลงาน ไม่ถูกต้องเป็นส่วนใหญ่ ๓. ผลงาน มีความคิด สร้างสรรค์ ผลงานแสดงออกถึง ความคิดสร้างสรรค์ แปลกใหม่และเป็นระบบ ผลงานมีแนวคิด แปลกใหม่ แต่ยัง ไม่เป็นระบบ ผลงานมีความ น่าสนใจ แต่ยังไม่มี แนวคิดแปลกใหม่ ผลงานไม่แสดงแนวคิด ใหม่ ๔. ผลงาน มีความ เป็นระเบียบ ผลงานมีความเป็น ระเบียบแสดงออกถึง ความประณีต ผลงานส่วนใหญ่ มีความเป็นระเบียบ แต่ยังมีข้อบกพร่อง เล็กน้อย ผลงานมีความ เป็นระเบียบ แต่มีข้อบกพร่อง บางส่วน ผลงานส่วนใหญ่ ไม่เป็นระเบียบและ มีข้อบกพร่องมาก
  • 16. คู่มือครูสอนทางไกลผ่านดาวเทียมสำ�หรับโรงเรียนปลายทาง 750 เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ ๑๔ - ๑๖ ดีมาก ๑๐ - ๑๓ ดี ๖ - ๙ ปานกลาง ๔ - ๕ ปรับปรุง ๕. กิจกรรมการเรียนรู้ ๑. นำ�เข้าสู่บทเรียน ๒. ศึกษา อธิบาย สำ�รวจ จำ�แนก ทดลองการเปลี่ยนแปลงการเคลื่อนที่ของวัตถุเมื่อถูกแรงกระทำ� แรงดึงดูด ของโลกทำ�ให้วัตถุตกลงสู่พื้นโลกและทำ�ให้วัตถุมีนํ้าหนัก ๓. เทคนิคการสอน แบบร่วมมือ โดยใช้เทคนิคการเรียนร่วมกัน ๔. ทำ�ภาระงานและชิ้นงาน ๕. ประเมินผลการทำ�งาน ๖. สื่อการเรียนรู้ ๑. แหล่งสืบค้นข้อมูล ๒. วัสดุอุปกรณ์การทดลอง ๓. ใบงาน ๔. แบบบันทึกกิจกรรม ๕. หนังสือเรียนกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ w w w w w w w w
  • 17. ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ - ๓ เล่ม ๑ 751 ชื่อ - สกุล เข้าร่วมกิจกรรมกลุ่ม สื่อความหมายด้วยภาพ คำานวณนำ้าหนักของวัตถุได้ถูกต้อง รวบรวมและอภิปรายสรุปความรู้ มีความสนใจใฝ่รู้ มีความรับผิดชอบ มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดี รับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น มีความสุขในการเรียน เห็นคุณค่าของตนเองและผู้อื่น ภูมิใจในผลงานตนเอง ผ่าน ไม่ผ่าน เก่งดีมีสุขสรุป w w w w w w w w แบบสังเกตพฤติกรรมการเรียนรู้ พฤติกรรมการเรียนรู้
  • 18. คู่มือครูสอนทางไกลผ่านดาวเทียมสำาหรับโรงเรียนปลายทาง 752 กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร Ἃ¹·Õè ๑ 㺡Ԩ¡ÃÃÁ·Õè ñ คําชี้แจง ให้นักเรียนเขียนคำาตอบในตาราง การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น วัสดุเปลี่ยนแปลง อย่างไร อะไรทําให้เกิด การเปลี่ยนแปลง การต้มนำ้า การเผาไหม้ การทำานำ้าแข็ง การดัดลวดให้เป็นรูปต่างๆ การทำามีด ฉันรู้อะไรบ้าง สิ่งที่ทำาให้วัสดุเกิดการเปลี่ยนแปลง ได้แก่ ........................................................................................................................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................................................................................................................... àÃ×èͧ ÍÐä÷íÒãËŒÇÑÊ´Øà¡Ô´¡ÒÃà»ÅÕè¹á»Å§ ª×èÍ..................................................................................................................ªÑé¹............................................àÅ¢·Õè.................................
  • 19. ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ - ๓ เล่ม ๑ 753 กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร Ἃ¹·Õè ๑ 㺡Ԩ¡ÃÃÁ·Õè ò คําชี้แจง ให้นักเรียนเขียนคำาตอบลงในช่องว่าง การแกะสลักไม้หรือเลื่อยไม้ รินนำ้าร้อนเดือดลงในแก้วหนาๆ โดยไม่ระมัดระวัง อะไรจะเกิดขึ้น อะไรจะเกิดขึ้น ผลของการเปลี่ยนแปลง ที่อาจเกิดอันตราย การเผาพลาสติกหรือการเผาไหม้ ผูกชิงช้าด้วยเชือกกับกิ่งไม้แล้ว ในอากาศ อะไรจะเกิดขึ้น แย่งกันนั่งหลายคน อะไรจะเกิดขึ้น คําชี้แจง เติมคำาให้สมบูรณ์ ๑. นำ้าอัดลมบรรจุไม่เต็มขวด เพื่อป้องกันไม่ให้ขวด....................................................เมื่อนำ้ากลายเป็น................................................................ ๒. การวางรางรถไฟต้องให้มีช่องว่างระหว่างรางเหล็ก เพื่อป้องกันไม่ให้รถไฟ...........................................................เมื่อเหล็กได้รับ ความร้อนแล้วขยายตัว ๓. รั้วบ้านที่ทำาด้วยเหล็กต้องทาสี เพื่อป้องกันไม่ให้เหล็กเกิด..........................................................ซึ่งจะทำาให้เหล็กผุกร่อนเสียหาย w w w w w w w w __ __ ª×èÍ..................................................................................................................ªÑé¹............................................àÅ¢·Õè.................................
  • 20. คู่มือครูสอนทางไกลผ่านดาวเทียมสำาหรับโรงเรียนปลายทาง 754 กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร Ἃ¹·Õè ๑ 㺡Ԩ¡ÃÃÁ·Õè ó คําชี้แจง ทดลองทำาตามภาพต่อไปนี้และตอบคำาถาม ๑. ๒. เปิดประตู การเลื่อนโต๊ะ ๓. ๔. การชักเย่อ การเล่นชิงช้า ๑. การทดลองตามหมายเลขใดเป็นการออกแรงดึง ........................................................................................................................................................................................................................................................................... ๒. การทดลองตามหมายเลขใดเป็นการออกแรงผลัก ........................................................................................................................................................................................................................................................................... ๑. การทดลองตามหมายเลขใดบ้างที่ต้องออกแรง ........................................................................................................................................................................................................................................................................... ฉันรู้อะไรบ้าง ในการดึงหรือผลักวัตถุต้อง ........................................................................................................................................................................................................................................................................... คําชี้แจง ทดลองทำาตามภาพต่อไปนี้และตอบคำาถาม àÃ×èͧ ÁÒÍÍ¡áç¡Ñ¹à¶ÍÐ ª×èÍ..................................................................................................................ªÑé¹............................................àÅ¢·Õè.................................
  • 21. ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ - ๓ เล่ม ๑ 755 กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร Ἃ¹·Õè ๑ 㺡Ԩ¡ÃÃÁ·Õè ô คําชี้แจง ทำาการทดลองต่อไปนี้ สังเกตการเปลี่ยนแปลงและตอบคำาถาม ๑. เตะลูกฟุตบอลที่อยู่นิ่ง แรงทำาให้ลูกฟุตบอลเป็นอย่างไร ¨ เคลื่อนที่ ¨ หยุดนิ่ง ๒. เตะลูกฟุตบอลไปทางเดียวกับที่ลูกฟุตบอลกำาลังเคลื่อนที่ ๓. แรงทำาให้ลูกฟุตบอลที่กำาลังเคลื่อนที่เป็นอย่างไร ¨ เคลื่อนที่เร็วขึ้น ¨ เคลื่อนที่ช้าลง ¨ หยุดนิ่ง w w w w w w w w ª×èÍ..................................................................................................................ªÑé¹............................................àÅ¢·Õè.................................
  • 22. คู่มือครูสอนทางไกลผ่านดาวเทียมสำาหรับโรงเรียนปลายทาง 756 กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร Ἃ¹·Õè ๑ 㺡Ԩ¡ÃÃÁ·Õè õ ๓. ผลักให้รถแล่นไปข้างหน้าแล้วดึงเชือก แรงดึงเชือกทำาให้รถที่กำาลังเคลื่อนที่เป็นอย่างไร ¨ เคลื่อนที่เร็วขึ้น ¨ เคลื่อนที่ช้าลง ฉันรู้อะไรบ้าง ๑. เมื่อออกแรงกับวัตถุที่หยุดนิ่ง วัตถุจะเป็นอย่างไร ........................................................................................................................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................................................................................................................... ๒. ถ้าออกแรงกับวัตถุไปทางเดียวกับที่วัตถุเคลื่อนที่ วัตถุจะเป็นอย่างไร ........................................................................................................................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................................................................................................................... ๓. ถ้าออกแรงกับวัตถุให้สวนทางกับการเคลื่อนที่ของวัตถุ วัตถุจะเป็นอย่างไร ........................................................................................................................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................................................................................................................... w w w w w w w w ª×èÍ..................................................................................................................ªÑé¹............................................àÅ¢·Õè.................................
  • 23. ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ - ๓ เล่ม ๑ 757 กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร Ἃ¹·Õè ๑ 㺡Ԩ¡ÃÃÁ·Õè ö คําชี้แจง ปั้นดินนำ้ามันเป็นก้อนกลม แล้วตอบคำาถามต่อไปนี้ ๑. ทำาอย่างไรก้อนดินนำ้ามันจึงจะแบน ........................................................................................................................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................................................................................................................... ๒. ทำาอย่างไรก้อนดินนำ้ามันจึงจะเป็นก้อนสี่เหลี่ยม ........................................................................................................................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................................................................................................................... ๓. ทำาอย่างไรก้อนดินนำ้ามันจึงจะเป็นเส้นกลมยาว ........................................................................................................................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................................................................................................................... ๔. เราจะเปลี่ยนแปลงรูปร่างดินนำ้ามันได้อย่างไร ........................................................................................................................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................................................................................................................... ๕. ปั้นดินนำ้ามันให้เป็นรูปตามต้องการแล้ววาดรูปผลงาน ฉันรู้อะไรบ้าง วัตถุบางชนิดเปลี่ยนรูปร่างได้เพราะอะไร ........................................................................................................................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................................................................................................................... ª×èÍ..................................................................................................................ªÑé¹............................................àÅ¢·Õè.................................
  • 24. คู่มือครูสอนทางไกลผ่านดาวเทียมสำาหรับโรงเรียนปลายทาง 758 กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร Ἃ¹·Õè ๑ 㺡Ԩ¡ÃÃÁ·Õè ÷ คําชี้แจง ทดลองตามภาพแล้วสังเกตผลและวาดรูปแสดงการเคลื่อนที่ของวัตถุ ๑. ปล่อยลูกปิงปอง ๒. โยนดินนำ้ามัน ๓. โยนยางลบ ๔. ปล่อยแผ่นกระดาษ ฉันรู้อะไรบ้าง ๑. เมื่อปล่อยวัตถุ วัตถุจะ............................................................................................................สู่พื้นด้วยแรง............................................................................. ๒. เมื่อโยนวัตถุขึ้น วัตถุจะ............................................................................................................สู่พื้นด้วยแรง.......................................................................... ๓. หลังจากปล่อยหรือโยนวัตถุแล้ว วัตถุจะ......................................................................................................................................................................เสมอ w w w w w w w w ª×èÍ..................................................................................................................ªÑé¹............................................àÅ¢·Õè.................................
  • 25. ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ - ๓ เล่ม ๑ 759 กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร Ἃ¹·Õè ๑ 㺡Ԩ¡ÃÃÁ·Õè ø คําชี้แจง ชั่งนำ้าหนักสิ่งของที่เตรียมมาและบันทึกผล ลําดับที่ ชื่อสิ่งของ นํ้าหนักโดย ประมาณ (นิวตัน) นํ้าหนักที่ชั่งได้ (นิวตัน) ๑. ๒. ๓. ๔. ฉันรู้อะไรบ้าง ๑. นำ้าหนักของวัตถุเกิดจาก.................................................................................................................................................................................................................. ........................................................................................................................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................................................................................................................... ๒. เราสามารถชั่งนำ้าหนักของวัตถุได้โดยใช้............................................................................................................................................................................. และมีหน่วยวัดเป็น.............................................................................................................................................................................................................................. ๓. ถ้าวัตถุมีนำ้าหนักมาก แรงดึงดูดของโลกที่กระทำาต่อวัตถุจะเป็นอย่างไร ........................................................................................................................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................................................................................................................... ๔. ถ้าวัตถุมีนำ้าหนักน้อย แรงดึงดูดของโลกที่กระทำาต่อวัตถุจะเป็นอย่างไร ........................................................................................................................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................................................................................................................... w w w w w w w w ª×èÍ..................................................................................................................ªÑé¹............................................àÅ¢·Õè.................................
  • 26. คู่มือครูสอนทางไกลผ่านดาวเทียมสำาหรับโรงเรียนปลายทาง 760 กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร Ἃ¹·Õè ๑ 㺡Ԩ¡ÃÃÁ·Õè ù คําชี้แจง แบ่งนักเรียนออกเป็น ๒ ฝ่าย ฝ่ายละเท่าๆ กัน แล้วเล่นโยนห่วงยาง โดยผลัดกันรับส่งห่วงยางให้ฝ่าย ตรงข้ามสังเกต บันทึกผล และตอบคำาถาม ๑. ถ้าต้องการให้ห่วงยางที่หยุดนิ่งเคลื่อนที่ไปได้ต้องทำาอย่างไร ........................................................................................................................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................................................................................................................... ๒. ถ้าต้องการให้ห่วงยางเคลื่อนที่ไปได้เร็วขึ้นต้องทำาอย่างไร ........................................................................................................................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................................................................................................................... ๓. ขณะที่ห่วงยางเคลื่อนที่เข้ามา แล้วนักเรียนใช้มือรับห่วงยางต้องออกแรงหรือไม่ และห่วงยางมีการเปลี่ยนแปลง การเคลื่อนที่อย่างไร ........................................................................................................................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................................................................................................................... ๔. การที่ห่วงยางมีการเคลื่อนที่กลับไปกลับมาได้ เพราะมี......................................................................................ที่เรากระทำาต่อห่วงยาง ฉันรู้อะไรบ้าง ๑. เมื่อม่ีแรงกระทำาต่อวัตถุ ทำาให้วัตถุมีการเปลี่ยนแปลงการเคลื่อนที่โดย – เปลี่ยนจากนิ่งอยู่กับที่เป็น...................................................................................................................................................................................................... – เปลี่ยนจากเคลื่อนที่เป็น........................................................................................................................................................................................................... ๒. ถ้าต้องการให้ห่วงยางเปลี่ยนทิศการเคลื่อนที่จะต้อง.................................................................................................................................................. àÃ×èͧ Çѵ¶Øà»ÅÕè¹á»Å§¡ÒÃà¤Å×è͹·Õèä´Œà¾ÃÒÐà˵Øã´ ª×èÍ..................................................................................................................ªÑé¹............................................àÅ¢·Õè.................................
  • 27. ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ - ๓ เล่ม ๑ 761 กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร Ἃ¹·Õè ๑ 㺡Ԩ¡ÃÃÁ·Õè ñð คําชี้แจง ทำาการทดลองต่อไปนี้ ๑. ถือตาชั่งสปริงให้อยู่ในแนวดิ่ง ๒. จับที่ขอเกี่ยวของตาชั่งสปริงและออกแรงดึงตาชั่งสปริงให้ยืด โดยออกแรงมากน้อยต่างกัน อ่านค่าของแรงจาก ตาชั่งสปริง สังเกต และบันทึกผล ๑. เมื่อออกแรงน้อย อ่านค่าของแรงได้......................................................................................นิวตัน ๒. เมื่อออกแรงมาก อ่านค่าของแรงได้......................................................................................นิวตัน ๓. เมื่อออกแรงดึงสปริงมากน้อยต่างกัน สปริงจะยืดต่างกันหรือไม่ อย่างไร ........................................................................................................................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................................................................................................................... ฉันรู้อะไรบ้าง เราวัดขนาดของแรงได้โดยใช้ ........................................................................................................................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................................................................................................................... w w w w w w w w ทำาการทดลองต่อไปนี้ àÃ×èͧ ¢¹Ò´¢Í§áçÇѴ䴌͋ҧäà ª×èÍ..................................................................................................................ªÑé¹............................................àÅ¢·Õè.................................
  • 28. คู่มือครูสอนทางไกลผ่านดาวเทียมสำาหรับโรงเรียนปลายทาง 762 กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร Ἃ¹·Õè ๑ 㺡Ԩ¡ÃÃÁ·Õè ññ คําชี้แจง ปล่อยถุงทราย และวาดรูปแสดงการเคลื่อนที่ของถุงทราย ฉันรู้อะไรบ้าง ๑. เมื่อปล่อยมือ ถุงทรายจะเปลี่ยนแปลงการเคลื่อนที่จาก........................................................................................................................................... เป็น................................................................................................................................................................................................................................................................... ๒. การที่ถุงทรายเปลี่ยนแปลงการเคลื่อนที่แสดงว่ามี....................................................................................................................................................... กระทำาต่อถุงทราย................................................................................................................................................................................................................................ ๓. ถุงทรายตกสู่พื้นเพราะมีแรง........................................................................................................................................................................................................ กระทำาต่อถุงทราย................................................................................................................................................................................................................................. w w w w w w w w àÃ×èͧ ÍÐä÷íÒãËŒÇѵ¶Øµ¡Ê‹Ù¾×é¹ ª×èÍ..................................................................................................................ªÑé¹............................................àÅ¢·Õè.................................
  • 29. ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ - ๓ เล่ม ๑ 763 กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร Ἃ¹·Õè ๑ 㺡Ԩ¡ÃÃÁ·Õè ñò คําชี้แจง ใช้ตาชั่งสปริง ชั่งนำ้าหนักสิ่งของต่างๆ และบันทึกผล สิ่งของ นํ้าหนักที่ชั่งได้ (นิวตัน) ฉันรู้อะไรบ้าง ๑. นำ้าหนักของวัตถุมีหน่วยเป็น........................................................................................................................................................................................................ ๒. นำ้าหนักของวัตถุวัดได้โดยใช้........................................................................................................................................................................................................ w w w w w w w w àÃ×èͧ ªÑ觹íéÒ˹ѡ¢Í§Çѵ¶Ø䴌͋ҧäà ª×èÍ..................................................................................................................ªÑé¹............................................àÅ¢·Õè.................................
  • 30. คู่มือครูสอนทางไกลผ่านดาวเทียมสำาหรับโรงเรียนปลายทาง 764 กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร Ἃ¹·Õè ๑ 㺡Ԩ¡ÃÃÁ·Õè ñó คําชี้แจง หมุนแท่งแม่เหล็กที่อยู่ระหว่างขดลวด สังเกต และบันทึกผล ๑. ขณะที่หมุนแท่งแม่เหล็กจะเกิดอะไรบ้าง ........................................................................................................................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................................................................................................................... ๒. ถ้าหมุนแท่งแม่เหล็กเร็วขึ้น ช้าลง ผลที่ได้แตกต่างกันหรือไม่ อย่างไร ........................................................................................................................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................................................................................................................... ๓. ถ้าแท่งแม่เหล็กหยุดนิ่งจะเกิดอะไรบ้าง ........................................................................................................................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................................................................................................................... ฉันรู้อะไรบ้าง เราสามารถผลิตพลังงานไฟฟ้าได้โดยวิธีใด ........................................................................................................................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................................................................................................................... w w w w w w w w àÃ×èͧ ¾Åѧ§Ò¹ä¿¿‡Òä´ŒÁÒÍ‹ҧäà ª×èÍ..................................................................................................................ªÑé¹............................................àÅ¢·Õè.................................
  • 31. ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ - ๓ เล่ม ๑ 765 กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร Ἃ¹·Õè ๑ 㺡Ԩ¡ÃÃÁ·Õè ñô คําชี้แจง ให้ระบุแหล่งพลังงานที่ใช้ในการผลิตพลังงานไฟฟ้า และจำาแนกว่าแหล่งพลังงานนั้นๆ เป็นแหล่งพลังงานที่มี จำากัด หรือที่หมุนเวียนได้ แหล่งพลังงานที่ใช้ผลิตพลังงานไฟฟา พลังงานมีจํากัด พลังงานหมุนเวียน ฉันรู้อะไรบ้าง แหล่งพลังงานที่ใช้ผลิตพลังงานไฟฟ้าส่วนใหญ่มีจำากัด เราควรใช้อย่างไร จึงไม่ขาดแคลน ........................................................................................................................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................................................................................................................ w w w w w w w w àÃ×èͧ áËÅ‹§¾Åѧ§Ò¹·Õè㪌¼ÅÔµ¾Åѧ§Ò¹ä¿¿‡ÒÁÕÍÐäúŒÒ§ ª×èÍ..................................................................................................................ªÑé¹............................................àÅ¢·Õè.................................
  • 32. คู่มือครูสอนทางไกลผ่านดาวเทียมสำาหรับโรงเรียนปลายทาง 766 กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร Ἃ¹·Õè ๑ 㺡Ԩ¡ÃÃÁ·Õè ñõ คําชี้แจง จากภาพให้บอกวิธีการใช้ไฟฟ้าอย่างประหยัด ฉันรู้อะไรบ้าง มีวิธีการอื่นๆ ที่จะประหยัดไฟฟ้าอีกหรือไม่ อย่างไร ........................................................................................................................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................................................................................................................... àÃ×èͧ 㪌俿‡ÒÍ‹ҧäè֧¨Ð»ÃÐËÂÑ´áÅлÅÍ´ÀÑ ª×èÍ..................................................................................................................ªÑé¹............................................àÅ¢·Õè.................................
  • 33. ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ - ๓ เล่ม ๑ 767 กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร Ἃ¹·Õè ๒ 㺡Ԩ¡ÃÃÁ·Õè ñõ คําชี้แจง กากบาท ( Î ) ทับภาพที่แสดงความไม่ปลอดภัยในการใช้ไฟฟ้า ฉันรู้อะไรบ้าง บอกวิธีการใช้ไฟฟ้าอย่างปลอดภัย (อย่างน้อย ๓ วิธี) ........................................................................................................................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................................................................................................................... w w w w w w w w ª×èÍ..................................................................................................................ªÑé¹............................................àÅ¢·Õè.................................