SlideShare a Scribd company logo
ข้อสอบ o-net ปี 2551-2552<br />ข้อสอบ O-NET ดนตรี-นาฏศิลป์ ปีการศึกษา 2550 สอบเมื่อ 1 มี.ค. 2551<br />1. เครื่องดนตรีในข้อใดที่จัดอยู่ในประเภทเดียวกัน1. Clarinet , Tuba , French Horn 2. Piccolo , Trombone , Trumpet3. Oboe , Flute , Saxophone 4. Violin , Cello , Bassoon2. ปัจจุบันการผสมวงมโหรี มีเครื่องดนตรีในข้อใดที่แสดงให้เห็นว่าวงดนตรีดังกล่าวเป็นวงมโหรี1. จะเข้ 2. ซอสามสาย3. กระจับปี่ 4. ขลุ่ยเพียงออ3. ถ้าสมโชคได้รับการไหว้วานให้ไปนำวงดนตรีมาบรรเลงในงานสวดพระอภิธรรม สมโชคควรนำวงดนตรีในข้อใดมาบรรเลง1. ปี่พาทย์มอญ หรือ ปี่พาทย์ดึกดำบรรพ์2. ปี่พาทย์ นางหงส์ หรือ ปี่พาทย์ชาตรี3. ปี่พาทย์มอญ หรือ ปี่พาทย์เสภาเครื่องใหญ่4. ปี่พาทย์ นางหงส์ หรือ ปี่พาทย์มอญ<br />4. การขับร้องในข้อใดที่ใช้เทคนิคในการขับร้องใกล้เคียงกันมากที่สุด1. การขับร้องโอเปราและการขับร้องประสานเสียง2. การขับร้องเพลงพื้นบ้านและการขับร้องประสานเสียง3. การขับร้องเพลงไทย (เดิม) และการขับร้องเพลงพื ้นบ้าน4. การขับร้องเพลงแจ๊สและการขับร้องโอเปรา<br />5. เอกลักษณ์สำคัญของการขับร้องเพลงไทย (เดิม) น่าจะเป็นข้อใด1. การใช้ส่วนต่าง ๆ ของปากและลำคอ2. การเอื้อน3. ปั้นเสียงให้กลมกล่อม4. การผ่อนและถอนลมหายใจ6. เทคนิคการบรรเลงดนตรีในข้อใดที่มีลักษณะใกล้เคียงกันมากที่สุด1. กรับพวง และ Timpani 2. ปี่ ใน และ Flute3. จะเข้ และ Guitar 4. ซอสามสาย และ Harp<br />7. บทเพลงในข้อใดที่สามารถแสดงถึงความสมบูรณ์แบบขององค์ประกอบดนตรีในเรื่องสีสันได้อย่างเด่นชัดที่สุด1. เพลงลาวสมเด็จ โดยวงเครื่องสายเครื่องคู่2. เพลงปฐม โดยวงปี่ชวากลองชนะ3. String Quartet in E flat Major , Op. 71 No. 3 by Haydn4. Symphony No. 9 in D minor , Op. 125 by Beethoven8. เครื่องดนตรีพื้นบ้านในข้อใดที่เป็นเครื่องดนตรีในภูมิภาคเดียวกันทั้งหมด1. ปี่ พิณ โปงลาง แคน และโหวด2. พิณ สะล้อ โหวด โปงลาง และซึง3. รำมะนา ฆ้องคู่ กลองโนรา และพิณ4. โทนชาตรี ปี่ ตะโพน และฆ้องวง<br />9. ก่อนการเล่นเครื่องสาย ผู้เล่นจะใช้วัสดุชนิดหนึ่งถูที่สาย วัสดุนั้นคืออะไรและมีวัตถุประสงค์เพื่ออะไร1. ยางรัก เพื่อทำให้สายไม่ขาดง่าย2. ยางสน เพื่อให้ฝืดและมีเสียงไพเราะขึ้น3. ยางรัก ให้ฝืดและมีเสียงไพเราะขึ้น4. ยางสน เพื่อทำให้สายไม่ขาดง่าย10. เสียงเพลงในข้อใดที่ชาวบ้านร้องเล่นกัน โดยมีลูกคู่ร้องรับช่วงหนึ่งว่า“เอ้า ฮ้า ไฮ้ เชี้ยบ เชี้ยบ เชี๊ยบ”1. เพลงโคราช 2. เพลงซอ3. เพลงเรือ 4. เพลงอีแซว<br />11. บทเพลงเดียวกัน แต่มีผู้นำไปขับร้องสองคน ความไพเราะของบทเพลงดังกล่าวแตกต่างกันด้วยเหตุผลสำคัญในข้อใด1. การใช้เทคนิคการขับร้องที่เหมาะสมกับยุคสมัยและประเภทของบทเพลงของผู้ขับร้องแต่ละคน2. การแสดงลีลาท่าทางประกอบการขับร้องที่แตกต่างกันของผู้ขับร้องแต่ละคน3. การขับร้องที่ถูกต้องทั้งจังหวะและทำนองของผู้ขับร้องแต่ละคน4. การเล่นลีลาและน้ำเสียงที่แตกต่างกันของผู้ขับร้องแต่ละคน<br />12. บทเพลงหนึ่งมีการขับร้องในตอนหนึ่งที่แสดงออกทางอารมณ์ที่นุ่ มนวลหวานซึ้งด้วยเสียงร้องที่แผ่วเบา ในจังหวะที่ค่อนข้างช้า ข้อใดที่แสดงถึงการขับร้องดังกล่าว1. Vivo , p , largo 2. Cantabile , pp , andante3. Dolce , p , andantino 4. Appassionato , mp , allegretto13. ถ้าต้องการประพันธ์เพลงให้มีลักษณะคล้ายเพลงลาวดวงเดือน ข้อใดเป็นคำตอบที่ถูกต้องที่สุด1. ระดับเสียงที่ใช้ คือ โด เร มี ซอล ลา2. ผสมสำเนียงเพลงล้านนาเข้าไปด้วย3. ควรใช้หน้าทับพิเศษเพื่ อให้บทเพลงมีความไพเราะมากขึ้น4. ควรใช้เสียงปี่มอญผสมวงในการบรรเลง14. ฉากหนึ่งในละครโรงเรียนที่แสดงถึงบรรยากาศที่น่าเคารพ มีความขลังควรใช้เพลงในข้อใดบรรเลงประกอบ1. นกเขามาระปี สร้อยเพลง คุกพาทย์2. ปฐม กราวนอก มหาฤกษ์3. สาธุการ เวสสุกรรม มหาชัย4. ทยอย เชิด นางนาค15. วิวัฒนาการสำคัญในการจัดวงดนตรีที่เกิดขึ้นในยุครัตนโกสินทร์แสดงถึงการติดต่อกับต่างชาติ คือวงดนตรีลักษณะใดและเกิดขึ้นในสมัยใด1. วงเครื่องสายประสมขิม สมัยรัชกาลที่ 52. วงปี่พาทย์นางหงส์ สมัยรัชกาลที่ 53. แตรวง สมัยรัชกาลที่ 64. วงเครื่องสายประสมไวโอลิน สมัยรัชกาลที่ 616. ข้อใดแสดงคุณค่าของดนตรีไทยซึ่งเป็นภูมิปัญญาที่ดุริ ยกวีได้สร้างสรรค์ไว้ อย่างเด่นชัดที่สุด1. การนำเพลงไทย (เดิม) มาดัดแปลงเป็นเพลงไทยประยุกต์2. ความไพเราะของบทเพลงที่มีสำเนียงภาษาต่าง ๆ ซึ่งเรียกว่า เพลงภาษา3. ความไพเราะของบทเพลงไทยที่เรียบเรียงให้กับวงดนตรีสากลบรรเลง4. การบรรเลงบทเพลงไทยด้วยวงดนตรีไทยผสมกับวงดนตรีชาติอื่น<br />17. วัฒนธรรมดนตรีของไทยที่มีการสร้างสรรค์แตกต่างไปจากชาติตะวันตก คือดนตรีคลาสสิกที่เด่นชัดที่ สุดคือข้อใด1. การมีทำนองหลักและการแปรทำนองได้อย่างหลากหลาย บนรากฐานของหลักการประพันธ์เพลงไทย2. การจัดวงดนตรีที่เน้นเครื่องสาย เรียกว่า วงเครื่องสาย ซึ่งมีลักษณะต่าง ๆหลากหลาย3. การจัดวงดนตรีที่มีเครื่องดนตรีประเภทดีด สี ตี เป่า ครบถ้วนทำให้ได้ความหลากหลายของสีสันเครื่องดนตรี4. การขับร้องเพลงที่ลีลาช้าและเร็วที่หลากหลาย สามารถถ่ายทอดอารมณ์ความรู้สึกได้อย่างน่าสนใจ<br />ข้อสอบ O-NET ปีการศึกษา 2551<br />สอบวันอาทิตย์ที่ 22 กุมภาพันธ์ 2552 เวลา 14.30 - 16.30 น.<br />18. การผสมวงดนตรีในข้อใดที่เกิดก่อนและหลัง เรียงลำดับตามยุคสมัย<br />ประวัติศาสตร์ไทย<br />1. วงปี่พาทย์เครื่องห้า วงปี่พาทย์ดึกดำบรรพ์ วงเครื่องสาย<br />2. วงปี่พาทย์ดึกดำบรรพ์ วงเครื่องสายผสมขิม วงมโหรี<br />3. วงขับไม้ วงปี่พาทย์ดึกดำบรรพ์ วงปี่พาทย์เครื่องห้า<br />4. วงขับไม้ วงปี่พาทย์เครื่องห้า วงเครื่องสายผสมออร์แกน<br />19. ถ้านักเรียนต้องการประพันธ์เพลงโดยการผสมวงมาตรฐานที่ใช้กันมานาน<br />ควรเป็นวงในข้อใด<br />1. Violin , violin , viola , cello 2. Violin , trumpet , clarinet , horn<br />3. Violin , viola , cello , bassoon 4. Violin , violin , oboe , cello<br />20. บทเพลงในข้อใดที่มีวัตถุประสงค์ในการประพันธ์ เพื่อใช้ประกอบกิจกรรมในสังคม<br />มิใช่การฟังเพื่อความไพเราะ<br />1. เพลงพราหมณ์ดีดน้ำเต้า 2. เพลงเดี่ยวพญาโศก<br />3. เพลงงามแสงเดือน 4. เพลงบุหลันลอยเลื่อน<br />21. ข้อใดไม่ได้เป็นความแตกต่างของการขับร้องเพลงไทยและเพลงสากล<br />1. การออกเสียงให้ตรงตามเสียงวรรณยุกต์<br />2. การเอื้อนและการหายใจ<br />3. การร้องคู่เสียงหรือประสานเสียง<br />4. การสร้างอารมณ์เพลงจากถ้อยคำ<br />22. ข้อใดไม่ใช่เทคนิคการขับร้องเพลงไทย<br />1. การกระทบเสียง 2. การโหนเสียง<br />3. การครั่น 4. การควง<br />23. ข้อใดแสดงถึงการผสมผสานขององค์ประกอบดนตรีต่าง ๆ น้อยที่สุด<br />1. เพลงนกขมิ้น โดยวงมโหรีและมีการเดี่ยวรอบวง<br />2. เพลงกราวใน โดยเดี่ยวระนาดเอก<br />3. String Quartet in E flat ajor , Op. 71 No. 3 by Haydn<br />4. Eine Kleine Nachtmusik for String Orchestra , K. 525 by Mozart<br />24. เครื่องดนตรีในข้อใดที่เกี่ยวข้องกับ quot;
หน้าทับquot;
<br />1. กลองแขก รำมะนา กลองทัด<br />2. ตะโพน กลองแขก โทน<br />3. รำมะนา กลองทัด กลองแขก<br />4. กลองทัด โทน ตะโพน<br />25. การดูแลรักษาขลุ่ยอู้ที่ถูกต้องคือข้อใด<br />1. ใช้ผ้าแห้งทำความสะอาดภายนอกตัวขลุ่ย<br />2. ใช้ผ้าเปียกทำความสะอาดภายนอกตัวขลุ่ย<br />3. ใช้ผ้าเปียกทำความสะอาดทั้งภายนอกและภายในตัวขลุ่ย<br />4. ใช้ผ้าแห้งทำความสะอาดทั้งภายนอกและภายในตัวขลุ่ย<br />26. ความไพเราะของวงปี่พาทย์ดึกดำบรรพ์ คือข้อใด<br />1. ความราบเรียบ เงียบสงบ และนุ่มนวล<br />2. การสื่ออารมณ์เด่นชัดของระนาดเอกที่ใช้ไม้แข็งบรรเลง<br />3. ความดังกึกก้อง โลดโผน และสนุกสนาน<br />4. ความดังกระหึ่ม เงียบสงบ และโลดโผน<br />27. ในการวางแผนการแสดงละครโรงเรียน ซึ่งเป็นฉากที่ตัวละครแสดงถึงความ<br />ผ่อนคลายไม่รีบร้อน หรือเร่งร้อน และมีการคุยกันเบา ๆ บทเพลงในข้อใด<br />ที่สามารถนำมาใช้ ประกอบละครฉากนี้ได้ดีที่สุด<br />1. บทเพลงท่อนที่หนึ่งจากคอนแชร์โตประพันธ์โดยเบโธเฟน<br />2. บทเพลงท่อนที่สองจากซิมโฟนีประพันธ์โดยโมสาร์ต<br />3. บทเพลงท่อนที่สามของคอนแชร์โตประพันธ์โดยไชคอฟสกี<br />4. บทเพลงท่อนที่สี่ของซิมโฟนีประพันธ์โดยดวอชาค<br />28. บทเพลงหนึ่งใช้วงซิมโฟนีออร์เคสตราขนาดใหญ่ มีผู้แสดงจำนวนมากแสดงถึง<br />พลังของดนตรีอย่างเหลือเฟือ น่าจะเป็นบทเพลงสมัยใด<br />1. โรแมนติก 2. คลาสสิก<br />3. โรโคโค 4. บาโรก<br />29. ข้อใดแสดงคุณค่าของดนตรีไทย ที่ได้รับการพัฒนามาจากภูมิปัญญาพื้นบ้าน<br />1. บทเพลงลาวคำหอม 2. บทเพลงงามแสงเดือน<br />3. บทเพลงเขมรไทรโยค 4. บทเพลงคลื่นกระทบฝั่ง<br />30. ข้อใดแสดงถึงการเผยแพร่ดนตรีไทยไปสู่นานาชาติ ที่เกิดขึ้นได้ง่ายและ<br />น่าจะพบได้เสมอ<br />1. การนำเพลงไทยไปบรรเลงโดยวงดนตรีต่าง ๆ<br />2. การนำเพลงนานาชาติมาบรรเลงโดยวงดนตรีไทย<br />3. การขับร้องเพลงไทยโดยใช้ภาษาอังกฤษ<br />4. การขับร้องและบรรเลงเพลงภาษา<br />ข้อสอบ O-NET ปีการศึกษา 2552<br />สอบวันอาทิตย์ที่ 4 กุมภาพันธ์ 2553 เวลา 12.30 - 14.30 น.<br />31. ในคำร้องของเพลงสรรเสริญพระบารมี “ข้าวรพุทธเจ้า เอามโนและศิระกราน”<br />พยางค์ใดตรงกับจังหวะหนัก<br />1. พุทธ 2. และ<br />3. ศิ 4. กราน<br />32. ถ้าท่านจัดงานเลี้ยงสังสรรค์ในห้องจัดเลี้ยงของโรงแรมแห่งหนึ่ง เพื่อแสดงความยินดี<br />ในโอกาสที่ญาติผู้ใหญ่ของท่านได้รับพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ ชั้นสูง ซึ่งจะ<br />มีแขกมาร่วมงานประมาณ 100 คน ท่านคิดว่าควรใช้วงดนตรีประเภทใดบรรเลง<br />ในงานนี้<br />1. วงโยธวาทิต 2. วงขับร้องประสานเสียง<br />3. วงสตริงควอร์เต็ต 4. วงซิมโฟนีออร์เคสตร้า<br />33. ข้อใดเป็นระดับเสียงของนักร้องหญิง<br />1. อัลโต 2. เทเนอร์<br />3. บาริโทน 4. เบส<br />34. เครื่องดนตรีในข้อใดมักใช้เล่นเสียงประสานเมื่ออยู่ในวงดนตรี<br />1. ฮอร์น 2. ฟลู้ต<br />3. คลาริเน็ต 4. ปิคโคโล<br />35. ข้อใดไม่ถูกต้องในการดูแลรักษาเครื่องดนตรี<br />1. ล้างปากเป่าทรัมเป็ตด้วยน้ำ<br />2. ล้างตัวเครื่องทรอมโบนด้วยน้ำ<br />3. ล้างตัวเครื่องแซกโซโฟนด้วยน้ำ<br />4. ล้างปากเป่าคลาริเน็ตด้วยน้ำ<br />36. ข้อใดเป็นเครื่องดนตรีของภาคกลางทั้งหมด<br />1. ซอสามสาย กระจับปี่ พิณน้ำเต้า<br />2. จะเข้ ซอด้วง พิณน้ำเต้า<br />3. จะเข้ กระจับปี่ พิณเพียะ<br />4. ซออู้ ซอด้วง ซอสามสาย<br />37. ข้อใดกล่าวถึงลักษณะของเพลงเถา ไม่ถูกต้อง<br />1. เริ่มจากทำนองที่ยาว ไปหาทำนองที่สั้น<br />2. เริ่มจากทำนองที่สั้น ไปหาทำนองที่ยาว<br />3. เริ่มจากอัตราจังหวะช้า ไปหาอัตราจังหวะเร็ว<br />4. บรรเลงโดยมีการขับร้อง หรือ ไม่มีการขับร้องก็ได้<br />38. ลักษณะของเพลงหน้าพาทย์ ที่แตกต่างจากเพลงประเภทอื่น คือ<br />1. ต้องมีบทร้องประกอบเสมอ เมื่อมีการบรรเลง<br />2. ใช้ประกอบการแสดงระบำ ในการแสดงละคร<br />3. ใช้ในพิธีกรรม หรือ ประกอบการแสดง<br />4. ใช้เฉพาะเจ้านายชั้นสูง หรือ พระราชพิธีเท่านั้น<br />39. ข้อใดคือลักษณะเด่นของดนตรีไทย<br />1. การขับร้อง ที่ต้องใช้เสียงสูงมาก<br />2. เครื่องตี ที่ใช้มือตีทั้ง 2 ข้างตีประกอบกัน<br />3. กลอง ที่สามารถตีเป็นเสียงต่างๆ ได้ในใบเดียวกัน<br />4. เครื่องเป่า ที่สามารถเป่าได้โดยไม่ต้องหยุดหายใจ<br />40. ข้อใดกล่าวถึงความสัมพันธ์ของดนตรีกับภาษาไทย ได้ถูกต้องที่สุด<br />1. ลักษณะของร้อยกรองมีลักษณะใกล้เคียงลักษณะของดนตรี<br />2. คำในภาษาไทยทุกคำสามารถร้องได้ทุกระดับเสียงโดยความหมายไม่เปลี่ยนแปลง<br />3. การเอื้อนคือการใช้คำหลายคำ เชื่อมโยงด้วยเสียงหลายเสียง<br />4. เสียงในภาษาไทยไม่มีการเน้นการออกเสียงเฉพาะที่เหมือนภาษาอังกฤษจึงไม่มีลักษณะของเสียงดนตรี<br />
ข้อสอบ O net
ข้อสอบ O net
ข้อสอบ O net
ข้อสอบ O net
ข้อสอบ O net
ข้อสอบ O net
ข้อสอบ O net
ข้อสอบ O net
ข้อสอบ O net
ข้อสอบ O net
ข้อสอบ O net

More Related Content

What's hot

รายวิชาสังคมศึกษาพื้นฐาน รหัสวิชา ส 21101
รายวิชาสังคมศึกษาพื้นฐาน รหัสวิชา ส 21101รายวิชาสังคมศึกษาพื้นฐาน รหัสวิชา ส 21101
รายวิชาสังคมศึกษาพื้นฐาน รหัสวิชา ส 21101
spk906
 
ข้อสอบ LAS ปี ๒๕๕๗ วิทยาศาสตร์ ป.5
ข้อสอบ LAS ปี ๒๕๕๗ วิทยาศาสตร์ ป.5ข้อสอบ LAS ปี ๒๕๕๗ วิทยาศาสตร์ ป.5
ข้อสอบ LAS ปี ๒๕๕๗ วิทยาศาสตร์ ป.5
Khunnawang Khunnawang
 
การประยุกต์ใช้ดนตรีในงานอื่นๆ
การประยุกต์ใช้ดนตรีในงานอื่นๆการประยุกต์ใช้ดนตรีในงานอื่นๆ
การประยุกต์ใช้ดนตรีในงานอื่นๆ
leemeanshun minzstar
 
กรณฑ์ที่สอง
กรณฑ์ที่สองกรณฑ์ที่สอง
กรณฑ์ที่สอง
Ritthinarongron School
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10Aon Narinchoti
 
คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์
คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์
คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์
niralai
 
ใบงานรูปเรขาคณิตสามมิติ
ใบงานรูปเรขาคณิตสามมิติใบงานรูปเรขาคณิตสามมิติ
ใบงานรูปเรขาคณิตสามมิติkanjana2536
 
ศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลามศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลามพัน พัน
 
ข้อสอบสุขศึกษา
ข้อสอบสุขศึกษาข้อสอบสุขศึกษา
ข้อสอบสุขศึกษาPhichak Penpattanakul
 
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง วรจรไฟฟ้า+ป.6+290+dltvscip6+P...
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง วรจรไฟฟ้า+ป.6+290+dltvscip6+P...ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง วรจรไฟฟ้า+ป.6+290+dltvscip6+P...
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง วรจรไฟฟ้า+ป.6+290+dltvscip6+P...
Prachoom Rangkasikorn
 
ศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบthnaporn999
 
ใบความรู้ สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheet
ใบความรู้  สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheetใบความรู้  สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheet
ใบความรู้ สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheet
Prachoom Rangkasikorn
 
เอกสารประกอบการเรียน ชุดที่ 1-ประวัติบุคคลสำคัญในนาฏศิลป์และการแสดง
เอกสารประกอบการเรียน ชุดที่ 1-ประวัติบุคคลสำคัญในนาฏศิลป์และการแสดงเอกสารประกอบการเรียน ชุดที่ 1-ประวัติบุคคลสำคัญในนาฏศิลป์และการแสดง
เอกสารประกอบการเรียน ชุดที่ 1-ประวัติบุคคลสำคัญในนาฏศิลป์และการแสดง
ครูเย็นจิตร บุญศรี
 
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา ม.๒
 หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา ม.๒ หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา ม.๒
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา ม.๒
เพ็ญลักษณ์ สุวรรณาโชติ
 

What's hot (20)

รายวิชาสังคมศึกษาพื้นฐาน รหัสวิชา ส 21101
รายวิชาสังคมศึกษาพื้นฐาน รหัสวิชา ส 21101รายวิชาสังคมศึกษาพื้นฐาน รหัสวิชา ส 21101
รายวิชาสังคมศึกษาพื้นฐาน รหัสวิชา ส 21101
 
ข้อสอบ LAS ปี ๒๕๕๗ วิทยาศาสตร์ ป.5
ข้อสอบ LAS ปี ๒๕๕๗ วิทยาศาสตร์ ป.5ข้อสอบ LAS ปี ๒๕๕๗ วิทยาศาสตร์ ป.5
ข้อสอบ LAS ปี ๒๕๕๗ วิทยาศาสตร์ ป.5
 
แบบทดสอบ เรื่องพหุนาม
แบบทดสอบ เรื่องพหุนามแบบทดสอบ เรื่องพหุนาม
แบบทดสอบ เรื่องพหุนาม
 
การประยุกต์ใช้ดนตรีในงานอื่นๆ
การประยุกต์ใช้ดนตรีในงานอื่นๆการประยุกต์ใช้ดนตรีในงานอื่นๆ
การประยุกต์ใช้ดนตรีในงานอื่นๆ
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๑
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๑แผนการจัดการเรียนรู้ที่๑
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๑
 
กรณฑ์ที่สอง
กรณฑ์ที่สองกรณฑ์ที่สอง
กรณฑ์ที่สอง
 
การแบ่งภูมิภาคทวีปยุโรป2.1
การแบ่งภูมิภาคทวีปยุโรป2.1การแบ่งภูมิภาคทวีปยุโรป2.1
การแบ่งภูมิภาคทวีปยุโรป2.1
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
 
O-NET ม.6-สถิติ
O-NET ม.6-สถิติO-NET ม.6-สถิติ
O-NET ม.6-สถิติ
 
คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์
คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์
คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์
 
ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 1
ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 1ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 1
ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 1
 
ใบงานรูปเรขาคณิตสามมิติ
ใบงานรูปเรขาคณิตสามมิติใบงานรูปเรขาคณิตสามมิติ
ใบงานรูปเรขาคณิตสามมิติ
 
ศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลามศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลาม
 
ข้อสอบสุขศึกษา
ข้อสอบสุขศึกษาข้อสอบสุขศึกษา
ข้อสอบสุขศึกษา
 
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง วรจรไฟฟ้า+ป.6+290+dltvscip6+P...
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง วรจรไฟฟ้า+ป.6+290+dltvscip6+P...ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง วรจรไฟฟ้า+ป.6+290+dltvscip6+P...
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง วรจรไฟฟ้า+ป.6+290+dltvscip6+P...
 
ศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบ
 
ใบความรู้ สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheet
ใบความรู้  สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheetใบความรู้  สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheet
ใบความรู้ สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheet
 
เอกสารประกอบการเรียน ชุดที่ 1-ประวัติบุคคลสำคัญในนาฏศิลป์และการแสดง
เอกสารประกอบการเรียน ชุดที่ 1-ประวัติบุคคลสำคัญในนาฏศิลป์และการแสดงเอกสารประกอบการเรียน ชุดที่ 1-ประวัติบุคคลสำคัญในนาฏศิลป์และการแสดง
เอกสารประกอบการเรียน ชุดที่ 1-ประวัติบุคคลสำคัญในนาฏศิลป์และการแสดง
 
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา ม.๒
 หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา ม.๒ หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา ม.๒
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา ม.๒
 
ใบงานวิทย์ ม.1
ใบงานวิทย์ ม.1ใบงานวิทย์ ม.1
ใบงานวิทย์ ม.1
 

Similar to ข้อสอบ O net

ดนตรี ม.3
ดนตรี ม.3ดนตรี ม.3
ดนตรี ม.3Kruanchalee
 
ดนตรี ม.3
ดนตรี ม.3ดนตรี ม.3
ดนตรี ม.3Kruanchalee
 
บทที่ 2 ดนตรีกศน
บทที่ 2 ดนตรีกศนบทที่ 2 ดนตรีกศน
บทที่ 2 ดนตรีกศนpeter dontoom
 
บทที่ 2 ดนตรี
บทที่ 2 ดนตรีบทที่ 2 ดนตรี
บทที่ 2 ดนตรี
peter dontoom
 
แพท ๖
แพท ๖แพท ๖
แพท ๖snitcher
 
รหัสวิชา 76 ความถนัดทางศิลปกรรมศาสตร์ (PAT 6)
รหัสวิชา 76 ความถนัดทางศิลปกรรมศาสตร์ (PAT 6)รหัสวิชา 76 ความถนัดทางศิลปกรรมศาสตร์ (PAT 6)
รหัสวิชา 76 ความถนัดทางศิลปกรรมศาสตร์ (PAT 6)woottipol2
 
Pat6 ความถนัดทางศิลปกรรมศาสตร์
Pat6 ความถนัดทางศิลปกรรมศาสตร์Pat6 ความถนัดทางศิลปกรรมศาสตร์
Pat6 ความถนัดทางศิลปกรรมศาสตร์Theyok Tanya
 
Music drama
Music dramaMusic drama
Music drama
manasakpoto
 
ติวเตรียมสอบ O net
ติวเตรียมสอบ O netติวเตรียมสอบ O net
ติวเตรียมสอบ O net
vanichar
 
พิณ
พิณพิณ
พิณbawtho
 
แบบฝึกรวม ไม่มีเฉลย
แบบฝึกรวม ไม่มีเฉลยแบบฝึกรวม ไม่มีเฉลย
แบบฝึกรวม ไม่มีเฉลย
Ruangrat Watthanasaowalak
 
แบบการเรียนรู้ศิลปะ ม.ต้น กศน
แบบการเรียนรู้ศิลปะ ม.ต้น กศนแบบการเรียนรู้ศิลปะ ม.ต้น กศน
แบบการเรียนรู้ศิลปะ ม.ต้น กศน
peter dontoom
 

Similar to ข้อสอบ O net (20)

ดนตรี ม.3
ดนตรี ม.3ดนตรี ม.3
ดนตรี ม.3
 
ดนตรี ม.3
ดนตรี ม.3ดนตรี ม.3
ดนตรี ม.3
 
หลักสูตรศิลปะ มัธยมศึกษาตอนปลาย
หลักสูตรศิลปะ มัธยมศึกษาตอนปลายหลักสูตรศิลปะ มัธยมศึกษาตอนปลาย
หลักสูตรศิลปะ มัธยมศึกษาตอนปลาย
 
บทที่ 2 ดนตรีกศน
บทที่ 2 ดนตรีกศนบทที่ 2 ดนตรีกศน
บทที่ 2 ดนตรีกศน
 
Art
ArtArt
Art
 
Art
ArtArt
Art
 
บทที่ 2 ดนตรี
บทที่ 2 ดนตรีบทที่ 2 ดนตรี
บทที่ 2 ดนตรี
 
แพท ๖
แพท ๖แพท ๖
แพท ๖
 
รหัสวิชา 76 ความถนัดทางศิลปกรรมศาสตร์ (PAT 6)
รหัสวิชา 76 ความถนัดทางศิลปกรรมศาสตร์ (PAT 6)รหัสวิชา 76 ความถนัดทางศิลปกรรมศาสตร์ (PAT 6)
รหัสวิชา 76 ความถนัดทางศิลปกรรมศาสตร์ (PAT 6)
 
Pat6 ความถนัดทางศิลปกรรมศาสตร์
Pat6 ความถนัดทางศิลปกรรมศาสตร์Pat6 ความถนัดทางศิลปกรรมศาสตร์
Pat6 ความถนัดทางศิลปกรรมศาสตร์
 
Pat6 2
Pat6 2Pat6 2
Pat6 2
 
Music drama
Music dramaMusic drama
Music drama
 
Generation
GenerationGeneration
Generation
 
Korat
KoratKorat
Korat
 
ติวเตรียมสอบ O net
ติวเตรียมสอบ O netติวเตรียมสอบ O net
ติวเตรียมสอบ O net
 
พิณ
พิณพิณ
พิณ
 
วงดนตรีสากล
วงดนตรีสากลวงดนตรีสากล
วงดนตรีสากล
 
แบบฝึกรวม ไม่มีเฉลย
แบบฝึกรวม ไม่มีเฉลยแบบฝึกรวม ไม่มีเฉลย
แบบฝึกรวม ไม่มีเฉลย
 
แบบการเรียนรู้ศิลปะ ม.ต้น กศน
แบบการเรียนรู้ศิลปะ ม.ต้น กศนแบบการเรียนรู้ศิลปะ ม.ต้น กศน
แบบการเรียนรู้ศิลปะ ม.ต้น กศน
 
วงดนตรีไทย ม.2 56
วงดนตรีไทย ม.2 56วงดนตรีไทย ม.2 56
วงดนตรีไทย ม.2 56
 

ข้อสอบ O net

  • 1. ข้อสอบ o-net ปี 2551-2552<br />ข้อสอบ O-NET ดนตรี-นาฏศิลป์ ปีการศึกษา 2550 สอบเมื่อ 1 มี.ค. 2551<br />1. เครื่องดนตรีในข้อใดที่จัดอยู่ในประเภทเดียวกัน1. Clarinet , Tuba , French Horn 2. Piccolo , Trombone , Trumpet3. Oboe , Flute , Saxophone 4. Violin , Cello , Bassoon2. ปัจจุบันการผสมวงมโหรี มีเครื่องดนตรีในข้อใดที่แสดงให้เห็นว่าวงดนตรีดังกล่าวเป็นวงมโหรี1. จะเข้ 2. ซอสามสาย3. กระจับปี่ 4. ขลุ่ยเพียงออ3. ถ้าสมโชคได้รับการไหว้วานให้ไปนำวงดนตรีมาบรรเลงในงานสวดพระอภิธรรม สมโชคควรนำวงดนตรีในข้อใดมาบรรเลง1. ปี่พาทย์มอญ หรือ ปี่พาทย์ดึกดำบรรพ์2. ปี่พาทย์ นางหงส์ หรือ ปี่พาทย์ชาตรี3. ปี่พาทย์มอญ หรือ ปี่พาทย์เสภาเครื่องใหญ่4. ปี่พาทย์ นางหงส์ หรือ ปี่พาทย์มอญ<br />4. การขับร้องในข้อใดที่ใช้เทคนิคในการขับร้องใกล้เคียงกันมากที่สุด1. การขับร้องโอเปราและการขับร้องประสานเสียง2. การขับร้องเพลงพื้นบ้านและการขับร้องประสานเสียง3. การขับร้องเพลงไทย (เดิม) และการขับร้องเพลงพื ้นบ้าน4. การขับร้องเพลงแจ๊สและการขับร้องโอเปรา<br />5. เอกลักษณ์สำคัญของการขับร้องเพลงไทย (เดิม) น่าจะเป็นข้อใด1. การใช้ส่วนต่าง ๆ ของปากและลำคอ2. การเอื้อน3. ปั้นเสียงให้กลมกล่อม4. การผ่อนและถอนลมหายใจ6. เทคนิคการบรรเลงดนตรีในข้อใดที่มีลักษณะใกล้เคียงกันมากที่สุด1. กรับพวง และ Timpani 2. ปี่ ใน และ Flute3. จะเข้ และ Guitar 4. ซอสามสาย และ Harp<br />7. บทเพลงในข้อใดที่สามารถแสดงถึงความสมบูรณ์แบบขององค์ประกอบดนตรีในเรื่องสีสันได้อย่างเด่นชัดที่สุด1. เพลงลาวสมเด็จ โดยวงเครื่องสายเครื่องคู่2. เพลงปฐม โดยวงปี่ชวากลองชนะ3. String Quartet in E flat Major , Op. 71 No. 3 by Haydn4. Symphony No. 9 in D minor , Op. 125 by Beethoven8. เครื่องดนตรีพื้นบ้านในข้อใดที่เป็นเครื่องดนตรีในภูมิภาคเดียวกันทั้งหมด1. ปี่ พิณ โปงลาง แคน และโหวด2. พิณ สะล้อ โหวด โปงลาง และซึง3. รำมะนา ฆ้องคู่ กลองโนรา และพิณ4. โทนชาตรี ปี่ ตะโพน และฆ้องวง<br />9. ก่อนการเล่นเครื่องสาย ผู้เล่นจะใช้วัสดุชนิดหนึ่งถูที่สาย วัสดุนั้นคืออะไรและมีวัตถุประสงค์เพื่ออะไร1. ยางรัก เพื่อทำให้สายไม่ขาดง่าย2. ยางสน เพื่อให้ฝืดและมีเสียงไพเราะขึ้น3. ยางรัก ให้ฝืดและมีเสียงไพเราะขึ้น4. ยางสน เพื่อทำให้สายไม่ขาดง่าย10. เสียงเพลงในข้อใดที่ชาวบ้านร้องเล่นกัน โดยมีลูกคู่ร้องรับช่วงหนึ่งว่า“เอ้า ฮ้า ไฮ้ เชี้ยบ เชี้ยบ เชี๊ยบ”1. เพลงโคราช 2. เพลงซอ3. เพลงเรือ 4. เพลงอีแซว<br />11. บทเพลงเดียวกัน แต่มีผู้นำไปขับร้องสองคน ความไพเราะของบทเพลงดังกล่าวแตกต่างกันด้วยเหตุผลสำคัญในข้อใด1. การใช้เทคนิคการขับร้องที่เหมาะสมกับยุคสมัยและประเภทของบทเพลงของผู้ขับร้องแต่ละคน2. การแสดงลีลาท่าทางประกอบการขับร้องที่แตกต่างกันของผู้ขับร้องแต่ละคน3. การขับร้องที่ถูกต้องทั้งจังหวะและทำนองของผู้ขับร้องแต่ละคน4. การเล่นลีลาและน้ำเสียงที่แตกต่างกันของผู้ขับร้องแต่ละคน<br />12. บทเพลงหนึ่งมีการขับร้องในตอนหนึ่งที่แสดงออกทางอารมณ์ที่นุ่ มนวลหวานซึ้งด้วยเสียงร้องที่แผ่วเบา ในจังหวะที่ค่อนข้างช้า ข้อใดที่แสดงถึงการขับร้องดังกล่าว1. Vivo , p , largo 2. Cantabile , pp , andante3. Dolce , p , andantino 4. Appassionato , mp , allegretto13. ถ้าต้องการประพันธ์เพลงให้มีลักษณะคล้ายเพลงลาวดวงเดือน ข้อใดเป็นคำตอบที่ถูกต้องที่สุด1. ระดับเสียงที่ใช้ คือ โด เร มี ซอล ลา2. ผสมสำเนียงเพลงล้านนาเข้าไปด้วย3. ควรใช้หน้าทับพิเศษเพื่ อให้บทเพลงมีความไพเราะมากขึ้น4. ควรใช้เสียงปี่มอญผสมวงในการบรรเลง14. ฉากหนึ่งในละครโรงเรียนที่แสดงถึงบรรยากาศที่น่าเคารพ มีความขลังควรใช้เพลงในข้อใดบรรเลงประกอบ1. นกเขามาระปี สร้อยเพลง คุกพาทย์2. ปฐม กราวนอก มหาฤกษ์3. สาธุการ เวสสุกรรม มหาชัย4. ทยอย เชิด นางนาค15. วิวัฒนาการสำคัญในการจัดวงดนตรีที่เกิดขึ้นในยุครัตนโกสินทร์แสดงถึงการติดต่อกับต่างชาติ คือวงดนตรีลักษณะใดและเกิดขึ้นในสมัยใด1. วงเครื่องสายประสมขิม สมัยรัชกาลที่ 52. วงปี่พาทย์นางหงส์ สมัยรัชกาลที่ 53. แตรวง สมัยรัชกาลที่ 64. วงเครื่องสายประสมไวโอลิน สมัยรัชกาลที่ 616. ข้อใดแสดงคุณค่าของดนตรีไทยซึ่งเป็นภูมิปัญญาที่ดุริ ยกวีได้สร้างสรรค์ไว้ อย่างเด่นชัดที่สุด1. การนำเพลงไทย (เดิม) มาดัดแปลงเป็นเพลงไทยประยุกต์2. ความไพเราะของบทเพลงที่มีสำเนียงภาษาต่าง ๆ ซึ่งเรียกว่า เพลงภาษา3. ความไพเราะของบทเพลงไทยที่เรียบเรียงให้กับวงดนตรีสากลบรรเลง4. การบรรเลงบทเพลงไทยด้วยวงดนตรีไทยผสมกับวงดนตรีชาติอื่น<br />17. วัฒนธรรมดนตรีของไทยที่มีการสร้างสรรค์แตกต่างไปจากชาติตะวันตก คือดนตรีคลาสสิกที่เด่นชัดที่ สุดคือข้อใด1. การมีทำนองหลักและการแปรทำนองได้อย่างหลากหลาย บนรากฐานของหลักการประพันธ์เพลงไทย2. การจัดวงดนตรีที่เน้นเครื่องสาย เรียกว่า วงเครื่องสาย ซึ่งมีลักษณะต่าง ๆหลากหลาย3. การจัดวงดนตรีที่มีเครื่องดนตรีประเภทดีด สี ตี เป่า ครบถ้วนทำให้ได้ความหลากหลายของสีสันเครื่องดนตรี4. การขับร้องเพลงที่ลีลาช้าและเร็วที่หลากหลาย สามารถถ่ายทอดอารมณ์ความรู้สึกได้อย่างน่าสนใจ<br />ข้อสอบ O-NET ปีการศึกษา 2551<br />สอบวันอาทิตย์ที่ 22 กุมภาพันธ์ 2552 เวลา 14.30 - 16.30 น.<br />18. การผสมวงดนตรีในข้อใดที่เกิดก่อนและหลัง เรียงลำดับตามยุคสมัย<br />ประวัติศาสตร์ไทย<br />1. วงปี่พาทย์เครื่องห้า วงปี่พาทย์ดึกดำบรรพ์ วงเครื่องสาย<br />2. วงปี่พาทย์ดึกดำบรรพ์ วงเครื่องสายผสมขิม วงมโหรี<br />3. วงขับไม้ วงปี่พาทย์ดึกดำบรรพ์ วงปี่พาทย์เครื่องห้า<br />4. วงขับไม้ วงปี่พาทย์เครื่องห้า วงเครื่องสายผสมออร์แกน<br />19. ถ้านักเรียนต้องการประพันธ์เพลงโดยการผสมวงมาตรฐานที่ใช้กันมานาน<br />ควรเป็นวงในข้อใด<br />1. Violin , violin , viola , cello 2. Violin , trumpet , clarinet , horn<br />3. Violin , viola , cello , bassoon 4. Violin , violin , oboe , cello<br />20. บทเพลงในข้อใดที่มีวัตถุประสงค์ในการประพันธ์ เพื่อใช้ประกอบกิจกรรมในสังคม<br />มิใช่การฟังเพื่อความไพเราะ<br />1. เพลงพราหมณ์ดีดน้ำเต้า 2. เพลงเดี่ยวพญาโศก<br />3. เพลงงามแสงเดือน 4. เพลงบุหลันลอยเลื่อน<br />21. ข้อใดไม่ได้เป็นความแตกต่างของการขับร้องเพลงไทยและเพลงสากล<br />1. การออกเสียงให้ตรงตามเสียงวรรณยุกต์<br />2. การเอื้อนและการหายใจ<br />3. การร้องคู่เสียงหรือประสานเสียง<br />4. การสร้างอารมณ์เพลงจากถ้อยคำ<br />22. ข้อใดไม่ใช่เทคนิคการขับร้องเพลงไทย<br />1. การกระทบเสียง 2. การโหนเสียง<br />3. การครั่น 4. การควง<br />23. ข้อใดแสดงถึงการผสมผสานขององค์ประกอบดนตรีต่าง ๆ น้อยที่สุด<br />1. เพลงนกขมิ้น โดยวงมโหรีและมีการเดี่ยวรอบวง<br />2. เพลงกราวใน โดยเดี่ยวระนาดเอก<br />3. String Quartet in E flat ajor , Op. 71 No. 3 by Haydn<br />4. Eine Kleine Nachtmusik for String Orchestra , K. 525 by Mozart<br />24. เครื่องดนตรีในข้อใดที่เกี่ยวข้องกับ quot; หน้าทับquot; <br />1. กลองแขก รำมะนา กลองทัด<br />2. ตะโพน กลองแขก โทน<br />3. รำมะนา กลองทัด กลองแขก<br />4. กลองทัด โทน ตะโพน<br />25. การดูแลรักษาขลุ่ยอู้ที่ถูกต้องคือข้อใด<br />1. ใช้ผ้าแห้งทำความสะอาดภายนอกตัวขลุ่ย<br />2. ใช้ผ้าเปียกทำความสะอาดภายนอกตัวขลุ่ย<br />3. ใช้ผ้าเปียกทำความสะอาดทั้งภายนอกและภายในตัวขลุ่ย<br />4. ใช้ผ้าแห้งทำความสะอาดทั้งภายนอกและภายในตัวขลุ่ย<br />26. ความไพเราะของวงปี่พาทย์ดึกดำบรรพ์ คือข้อใด<br />1. ความราบเรียบ เงียบสงบ และนุ่มนวล<br />2. การสื่ออารมณ์เด่นชัดของระนาดเอกที่ใช้ไม้แข็งบรรเลง<br />3. ความดังกึกก้อง โลดโผน และสนุกสนาน<br />4. ความดังกระหึ่ม เงียบสงบ และโลดโผน<br />27. ในการวางแผนการแสดงละครโรงเรียน ซึ่งเป็นฉากที่ตัวละครแสดงถึงความ<br />ผ่อนคลายไม่รีบร้อน หรือเร่งร้อน และมีการคุยกันเบา ๆ บทเพลงในข้อใด<br />ที่สามารถนำมาใช้ ประกอบละครฉากนี้ได้ดีที่สุด<br />1. บทเพลงท่อนที่หนึ่งจากคอนแชร์โตประพันธ์โดยเบโธเฟน<br />2. บทเพลงท่อนที่สองจากซิมโฟนีประพันธ์โดยโมสาร์ต<br />3. บทเพลงท่อนที่สามของคอนแชร์โตประพันธ์โดยไชคอฟสกี<br />4. บทเพลงท่อนที่สี่ของซิมโฟนีประพันธ์โดยดวอชาค<br />28. บทเพลงหนึ่งใช้วงซิมโฟนีออร์เคสตราขนาดใหญ่ มีผู้แสดงจำนวนมากแสดงถึง<br />พลังของดนตรีอย่างเหลือเฟือ น่าจะเป็นบทเพลงสมัยใด<br />1. โรแมนติก 2. คลาสสิก<br />3. โรโคโค 4. บาโรก<br />29. ข้อใดแสดงคุณค่าของดนตรีไทย ที่ได้รับการพัฒนามาจากภูมิปัญญาพื้นบ้าน<br />1. บทเพลงลาวคำหอม 2. บทเพลงงามแสงเดือน<br />3. บทเพลงเขมรไทรโยค 4. บทเพลงคลื่นกระทบฝั่ง<br />30. ข้อใดแสดงถึงการเผยแพร่ดนตรีไทยไปสู่นานาชาติ ที่เกิดขึ้นได้ง่ายและ<br />น่าจะพบได้เสมอ<br />1. การนำเพลงไทยไปบรรเลงโดยวงดนตรีต่าง ๆ<br />2. การนำเพลงนานาชาติมาบรรเลงโดยวงดนตรีไทย<br />3. การขับร้องเพลงไทยโดยใช้ภาษาอังกฤษ<br />4. การขับร้องและบรรเลงเพลงภาษา<br />ข้อสอบ O-NET ปีการศึกษา 2552<br />สอบวันอาทิตย์ที่ 4 กุมภาพันธ์ 2553 เวลา 12.30 - 14.30 น.<br />31. ในคำร้องของเพลงสรรเสริญพระบารมี “ข้าวรพุทธเจ้า เอามโนและศิระกราน”<br />พยางค์ใดตรงกับจังหวะหนัก<br />1. พุทธ 2. และ<br />3. ศิ 4. กราน<br />32. ถ้าท่านจัดงานเลี้ยงสังสรรค์ในห้องจัดเลี้ยงของโรงแรมแห่งหนึ่ง เพื่อแสดงความยินดี<br />ในโอกาสที่ญาติผู้ใหญ่ของท่านได้รับพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ ชั้นสูง ซึ่งจะ<br />มีแขกมาร่วมงานประมาณ 100 คน ท่านคิดว่าควรใช้วงดนตรีประเภทใดบรรเลง<br />ในงานนี้<br />1. วงโยธวาทิต 2. วงขับร้องประสานเสียง<br />3. วงสตริงควอร์เต็ต 4. วงซิมโฟนีออร์เคสตร้า<br />33. ข้อใดเป็นระดับเสียงของนักร้องหญิง<br />1. อัลโต 2. เทเนอร์<br />3. บาริโทน 4. เบส<br />34. เครื่องดนตรีในข้อใดมักใช้เล่นเสียงประสานเมื่ออยู่ในวงดนตรี<br />1. ฮอร์น 2. ฟลู้ต<br />3. คลาริเน็ต 4. ปิคโคโล<br />35. ข้อใดไม่ถูกต้องในการดูแลรักษาเครื่องดนตรี<br />1. ล้างปากเป่าทรัมเป็ตด้วยน้ำ<br />2. ล้างตัวเครื่องทรอมโบนด้วยน้ำ<br />3. ล้างตัวเครื่องแซกโซโฟนด้วยน้ำ<br />4. ล้างปากเป่าคลาริเน็ตด้วยน้ำ<br />36. ข้อใดเป็นเครื่องดนตรีของภาคกลางทั้งหมด<br />1. ซอสามสาย กระจับปี่ พิณน้ำเต้า<br />2. จะเข้ ซอด้วง พิณน้ำเต้า<br />3. จะเข้ กระจับปี่ พิณเพียะ<br />4. ซออู้ ซอด้วง ซอสามสาย<br />37. ข้อใดกล่าวถึงลักษณะของเพลงเถา ไม่ถูกต้อง<br />1. เริ่มจากทำนองที่ยาว ไปหาทำนองที่สั้น<br />2. เริ่มจากทำนองที่สั้น ไปหาทำนองที่ยาว<br />3. เริ่มจากอัตราจังหวะช้า ไปหาอัตราจังหวะเร็ว<br />4. บรรเลงโดยมีการขับร้อง หรือ ไม่มีการขับร้องก็ได้<br />38. ลักษณะของเพลงหน้าพาทย์ ที่แตกต่างจากเพลงประเภทอื่น คือ<br />1. ต้องมีบทร้องประกอบเสมอ เมื่อมีการบรรเลง<br />2. ใช้ประกอบการแสดงระบำ ในการแสดงละคร<br />3. ใช้ในพิธีกรรม หรือ ประกอบการแสดง<br />4. ใช้เฉพาะเจ้านายชั้นสูง หรือ พระราชพิธีเท่านั้น<br />39. ข้อใดคือลักษณะเด่นของดนตรีไทย<br />1. การขับร้อง ที่ต้องใช้เสียงสูงมาก<br />2. เครื่องตี ที่ใช้มือตีทั้ง 2 ข้างตีประกอบกัน<br />3. กลอง ที่สามารถตีเป็นเสียงต่างๆ ได้ในใบเดียวกัน<br />4. เครื่องเป่า ที่สามารถเป่าได้โดยไม่ต้องหยุดหายใจ<br />40. ข้อใดกล่าวถึงความสัมพันธ์ของดนตรีกับภาษาไทย ได้ถูกต้องที่สุด<br />1. ลักษณะของร้อยกรองมีลักษณะใกล้เคียงลักษณะของดนตรี<br />2. คำในภาษาไทยทุกคำสามารถร้องได้ทุกระดับเสียงโดยความหมายไม่เปลี่ยนแปลง<br />3. การเอื้อนคือการใช้คำหลายคำ เชื่อมโยงด้วยเสียงหลายเสียง<br />4. เสียงในภาษาไทยไม่มีการเน้นการออกเสียงเฉพาะที่เหมือนภาษาอังกฤษจึงไม่มีลักษณะของเสียงดนตรี<br />