SlideShare a Scribd company logo
ข้อสอบ O-net  สาระศิลปะ สาระดนตรี<br /> เครื่องดนตรีในข้อใดที่จัดอยู่ในประเภทเดียวกัน<br /> Clarinet , Tuba  ,  French  Horn<br />Piccolo , Trombone  , Trumpet<br />Oboe ,  Flute  , Saxophone<br />Violin , Cello , Bassoon<br />ปัจจุบันการผสมวงมโหรี มีเครื่องดนตรีในข้อใดที่แสดงให้เห็นว่าวงดนตรีดังกล่าวเป็นวงมโหรี<br /> จะเข้<br />ซอสามสาย<br />กระจับปี่<br />ขลุ่ยเพียงออ<br />ถ้าสมโชคได้รับการไหว้วานให้นำวงดนตรีมาบรรเลงในงานสวดพระอภิธรรม  สมโชคควรนำวงดนตรีในข้อใดมาบรรเลง<br /> ปี่พาทย์มอญ  หรือ  ปี่พาทย์ดึกดำบรรพ์<br />ปี่พาทย์นางหงส์  หรือ  ปี่พาทย์ชาตรี<br />ปี่พาทย์มอญ  หรือ  ปี่พาทย์เสภาเครื่องใหญ่<br />ปี่พาทย์นางหงส์  หรือ  ปี่พาทย์มอญ<br />การขับร้องในข้อใดในเทคนิคการขับร้องใกล้เคียงกันมากที่สุด<br /> การขับร้องโอเปราและการขับร้องประสานเสียง<br />การขับร้องเพลงพื้นบ้านและการขับร้องประสานเสียง<br />การขับร้องเพลงไทย (เดิม) และการขับร้องเพลงพื้นบ้าน<br />การขับร้องเพลงแจ๊สและการขับร้องโอเปรา<br />เอกลักษณ์สำคัญของการขับร้องเพลงไทย (เดิม) น่าจะเป็นข้อใด<br /> การใช้ส่วนต่าง ๆ ของปากและคอ<br />การเอื้อน<br />ปั้นเสียงให้กลมกล่อม<br />การผ่อนและการถอนลมหายใจ<br />เทคนิคการบรรเลงดนตรีในข้อใดที่มีลักษณะใกล้เคียงกันมากที่สุด<br /> กรับพวง  และ  Timpani<br />ปี่ใน  และ  Flute<br />จะเข้  และ  Guitar<br />ซอสามสาย  และ  Harp<br />บทเพลงในข้อใดที่สามารถแสดงถึงความสมบูรณ์แบบขององค์ประกอบดนตรีในเรื่องสีสันได้อย่างชัดเจนที่สุด<br /> เพลงลาวสมเด็จ  โดยวงเครื่องสายเครื่องคู่<br />เพลงปฐม  โดยวงปี่ชวากลองชนะ<br />String Quartet  in E  flat Major , Op. 71 No.3 by Haydn<br />Symphony No.9 in D minor , Op.125 by Beethoven<br />เครื่องดนตรีพื้นบ้านในข้อใดที่เป็นเครื่องดนตรีในภูมิภาคเดียวกันทั้งหมด<br /> ปี่  พิณ  โปงลาง  แคน  และโหวด<br />พิณ  สะล้อ  โหวด  โปงลาง  และซึง<br />รำมะนา  ฆ้องคู่  กลองโนรา  และพิณ<br />โทนชาตรี  ปี่  ตะโพน  และฆ้องวง<br />ก่อนการเล่นเครื่องสายผู้เล่นจะใช้วัสดุชนิดหนึ่งถูที่สาย  วัสดุนั้นคืออะไร<br /> ยางรัก  เพื่อทำให้สายไม่ขาดง่าย<br />ยางสน  เพื่อให้ฝืดและมีเสียงไพเราะขึ้น<br />ยางรัก  เพื่อให้ฝืดและมีเสียงไพเราะขึ้น<br />ยางสน  เพื่อทำให้สายไม่ขาดง่าย<br />เสียงเพลงในข้อใดที่ชาวบ้านร้องเล่นกัน  โดยมีลูกคู่ร้องรับช่วงหนึ่งว่า “เอ้า ฮ้า ไฮ้ เชี้ยบ เชี้ยบ เชี๊ยบ”<br /> เพลงโคราช<br />เพลงซอ<br />เพลงเรือ<br />เพลงอีแซว<br />บทเพลงเดียวกัน แต่มีผู้นำไปขับร้องสองคน ความไพเราะของบทเพลงดังกล่าวแตกต่างกันด้วยเหตุผลสำคัญในข้อใด<br /> การใช้เทคนิคการขับร้องที่เหมาะสมกับยุคสมัยและประเภทของบทเพลงของผู้ขับร้องแต่ละคน<br />การแสดงลีลาท่าทางประกอบการขับร้องที่แตดต่างกันของผู้ขับร้องแต่ละคน<br />การขับร้องที่ถูกต้องทั้งจังหวะและทำนองของผู้ขับร้องแต่ละคน<br />การเล่นลีลาและน้ำเสียงที่แตกต่างกันของผู้ขับร้องแต่ละคน<br />บทเพลงหนึ่งมีการขับร้องในตอนหนึ่งที่แสดงออกทางอารมณ์ที่นุ่มนวลหวานซึ้งด้วยเสียงร้องที่ผ่าเบาในจังหวะที่ค่อนข้างช้า ข้อใดที่แสดงถึงการขับร้องดังกล่าว<br /> Vivo , p , largo<br />Cantabile , pp , andantino<br />Appassionato ,  mp , allegretto<br />ถ้าต้องการประพันธ์เพลงให้มีลักษณะคล้ายเพลงลาวดวงเดือน ข้อใดเป็นคำตอบที่ถูกต้องที่สุด<br /> ระดับเสียงที่ใช้คือ  โด เร มี ซอล ลา<br />ผสมสำเนียงเพลงล้านนาเข้าไปด้วย<br />ควรใช้หน้าทับพิเศษเพื่อให้บทเพลงมีความไพเราะมากขึ้น<br />ควรใช้เสียงปี่มอญผสมวงในการบรรเลง<br />ฉากหนึ่งในละครโรงเรียนที่แสดงถึงบรรยากาศที่น่าเคารพ มีความขลังควรใช้เพลงในข้อใดบรรเลงประกอบ<br /> นกเขามาระปี  สร้อยเพลง  คุกพาทย์<br />ปฐม          กราวนอก   มหาฤกษ์<br />สาธุการ          เวสสุกรรม   มหาชัย<br />ทยอย              เชิด              นางนาค<br />วิวัฒนาการสำคัญในการจัดวงดนตรีที่เกิดขึ้นในยุครัตนโกสินทร์แสดงถึงการติดต่อกับต่างชาติ คือวงดนตรีลักษณะใดและเกิดขึ้นในสมัยใด<br /> วงเครื่องสายประสมขิม  สมัยรัชกาลที่  5<br />วงปี่พาทย์นางหงส์  สมัยรัชการที่  5<br />แตรวง  สมัยรัชกาลที่  6<br />วงเครื่องสายประสมไวโอลิน  สมัยรัชกาลที่  6<br />ข้อใดแสดงคุณค่าของดนตรีไทยซึ่งเป็นภูมิปัญญาที่ดุรยกวีได้สร้างสรรค์ไว้อย่างเด่นชัดที่สุด<br /> การนำเพลงไทย (เดิม)  มาดัดแปลงเป็นเพลงไทยประยุกต์<br />ความไพเราะของบทเพลงที่มีสำเนียงภาษาต่าง ๆ ซึ่งเรียกว่า  เพลงภาษา<br />ความไพเราะของบทเพลงไทยที่เรียบเรียงให้กับวงดนตรีสากลบรรเลง<br />การบรรเลงบทเพลงไทยด้วยวงดนตรีไทยผสมกับวงดนตรีชาติอื่น <br />วัฒนธรรมดนตรีของไทยที่มีการสร้างสรรค์แตกต่างไปจากชาติตะวันตก คือดนตรีคลาสสิกที่เด่นชัดที่สุดคือข้อใด<br /> การมีทำนองหลักและแปรทำนองได้อย่างหลากหลาย  บนรากฐานของหลักการประพันธ์เพลงไทย<br />การจัดวงดนตรีที่เน้นเครื่องสาย  เรียกว่า  วงเครื่องสาย  ซึ่งมีลักษณะต่าง ๆ หลากหลาย<br />การจัดวงดนตรีที่มีเครื่องดนตรีประเภทดีด สี ตี เป่า  ครบถ้วนทำให้ได้ความหลากหลายของสีสันเครื่องดนตรี<br />การขับร้องเพลงที่ลีลาช้าและเร็วที่หลากหลาย  สามารถถ่ายทอดอารมณ์ความรู้สึกได้อย่างน่าสนใจ<br /> ในคำร้องของเพลงสรรเสริญพระบารมี “ข้าวรพุทธเจ้า  เอามโนและศิระกราน”  พยางค์ใดตรงกับจังหวะหนัก<br /> พุทธ<br />และศิ<br />กราน<br />ถ้าท่านจัดงานเลี้ยงสังสรรค์ในห้องจัดเลี้ยงของโรงแรมแห่งหนึ่ง  เพื่อแสดงความยินดีในโอกาสที่ญาติผู้ใหญ่ของท่านได้รับพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ชั้นสูง  ซึ่งจะมีแขกมาร่วมงานประมาณ  100 คน  ท่านคิดว่าควรใช้วงดนตรีประเภทใดบรรเลง<br /> วงโยธวาธิต<br />วงขับร้องประสานเสียง<br />วงตริงควอร์เต็ด<br />วงซิมโฟนีออร์เคสตร้า<br />ข้อใดเป็นระดับเสียงของนักร้องหญิง<br /> อัลโต<br />เทเนอร์<br />บาริโทน<br />เบส<br />เครื่องดนตรีในข้อใดมักใช้เล่นเสียงประสานเมื่ออยู่ในวงดนตรี<br /> ฮอรณืน<br />ฟลุ้ต<br />คลาริเน็ต<br />ปิคโคโล<br />ข้อใด ไม่ ถูกต้องในการดูแลรักษาเครื่องดนตรี<br /> ล้างปากเป่าทรัมเป็ตด้วยน้ำ<br />ล้างตัวเครื่องทรอมโบนด้วยน้ำ<br />ล้างตัวเครื่องแซกโซโฟนด้วยน้ำ<br />ล้างปากคลาริเน็ตด้วยน้ำ<br />ข้อใดเป็นเครื่องดนตรีของภาคกลางทั้งหมด<br /> ซอสามสาย  กระจับปี่  พิณน้ำเต้า<br />จะเข้              ซอด้วง    พิณน้ำเต้า<br />จะเข้              กระจับปี่  พิณเพียะ<br />ซออู้              ซอด้วง     ซอสามสาย<br />ข้อใดกล่าวถึงลักษณะของเพลงเถา  ไม่ถูกต้อง<br /> เริ่มจากทำนองที่ยาว  ไปหาทำนองที่สั้น<br />เริ่มจากทำนองที่สั้น  ไปหาทำนองที่ยาว<br />เริ่มจากอัตราจังหวะช้า  ไปหาอัตราจังหวะเร็ว<br />บรรเลงโดยมีการขับร้อง  หรือ  ไม่มีการขับร้องก็ได้<br /> ลักษณะของเพลงหน้าพาทย์ที่แตกต่างจากเพลงประเภทอื่นคือ<br /> ต้องมีบทร้องประกอบเสมอ  เมื่อมีการบรรเลง<br />ใช้ประกอบการแสดงระบำ  ในการแสดงละคร<br />ใช้ในพิธีกรรม  หรือ  ประกอบการแสดง<br />ใช้เฉพาะเจ้านายชั้นสูง หรือ พระราชพิธีเท่านั้น<br />ข้อใดคือลักษณะเด่นของดนตรีไทย<br /> การขับร้องที่ต้องใช้เสียงสูงมาก<br />เครื่องตี ที่ใช้มือตีทั้งสองข้างตีประกอบกัน<br />กลอง ที่สามารถตีเป็นเสียงต่าง ๆ ได้ในใบเดียวกัน<br />เครื่องเป่า  ที่สามารถเป่าได้โดยไม่ต้องหยุดหายใจ<br />ข้อใดกล่าวถึงความสัมพันธ์ของดนตรีกับภาษาไทย  ได้ถูกต้องที่สุด<br /> ลักษณะของร้อยกรองมีลักษณะใกล้เคียงลักษณะของดนตรี<br />คำในภาษาไทยทุกคำสามารถร้องได้ทุกระดับเสียงโดยความหมายไม่เปลี่ยนแปลง<br />การเอื้อนคำ  การใช้คำหลายคำ  เชื่อมโยงด้วยเสียงหลายเสียง<br />เสียงในภาษาไทยไม่มีการเน้นการออกเสียงเฉพาะที่เหมือนภาษาอังกฤษจึงไม่มีลักษณะของเสียงดนตรี<br />
ดนตรี ม.3
ดนตรี ม.3
ดนตรี ม.3
ดนตรี ม.3
ดนตรี ม.3
ดนตรี ม.3
ดนตรี ม.3
ดนตรี ม.3
ดนตรี ม.3
ดนตรี ม.3

More Related Content

What's hot

ประเภทวงดนตรีสากล
ประเภทวงดนตรีสากลประเภทวงดนตรีสากล
ประเภทวงดนตรีสากลditmusix
 
การผสมวงดนตรีไทย
การผสมวงดนตรีไทยการผสมวงดนตรีไทย
การผสมวงดนตรีไทยพัน พัน
 
ลักษณะเด่นของดนตรีในแต่ละวัฒนธรรม
ลักษณะเด่นของดนตรีในแต่ละวัฒนธรรมลักษณะเด่นของดนตรีในแต่ละวัฒนธรรม
ลักษณะเด่นของดนตรีในแต่ละวัฒนธรรมอำนาจ ศรีทิม
 
วงดนตรีสากล
วงดนตรีสากลวงดนตรีสากล
วงดนตรีสากลPasit Suwanichkul
 
ดนตรีสากล
ดนตรีสากลดนตรีสากล
ดนตรีสากลTua Acoustic
 
บทที่ 2 ดนตรี
บทที่ 2 ดนตรีบทที่ 2 ดนตรี
บทที่ 2 ดนตรีpeter dontoom
 
ดนตรีสากล
ดนตรีสากลดนตรีสากล
ดนตรีสากลmanoprd
 
บทที่ 2 ดนตรีกศน
บทที่ 2 ดนตรีกศนบทที่ 2 ดนตรีกศน
บทที่ 2 ดนตรีกศนpeter dontoom
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากลใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากลleemeanshun minzstar
 
เพลงคลาสสิค (Classical music)
เพลงคลาสสิค (Classical music)เพลงคลาสสิค (Classical music)
เพลงคลาสสิค (Classical music)Float Jo
 
การประยุกต์ดนตรีไทยและดนตรีสากล
การประยุกต์ดนตรีไทยและดนตรีสากลการประยุกต์ดนตรีไทยและดนตรีสากล
การประยุกต์ดนตรีไทยและดนตรีสากลThanakrit Muangjun
 
E learning หน่วยที่ 2 ดนตรีตะวันตก
E learning หน่วยที่ 2 ดนตรีตะวันตกE learning หน่วยที่ 2 ดนตรีตะวันตก
E learning หน่วยที่ 2 ดนตรีตะวันตกบ.บีม ลพบุรี
 
ดนตรีไทยสมัยสุโขทัย
ดนตรีไทยสมัยสุโขทัยดนตรีไทยสมัยสุโขทัย
ดนตรีไทยสมัยสุโขทัยPitchyJelly Matee
 
ใบความรู้ ดนตรีไทย กศน
ใบความรู้ ดนตรีไทย กศนใบความรู้ ดนตรีไทย กศน
ใบความรู้ ดนตรีไทย กศนpeter dontoom
 

What's hot (20)

วงดนตรีสากล
วงดนตรีสากลวงดนตรีสากล
วงดนตรีสากล
 
ประเภทวงดนตรีสากล
ประเภทวงดนตรีสากลประเภทวงดนตรีสากล
ประเภทวงดนตรีสากล
 
การผสมวงดนตรีไทย
การผสมวงดนตรีไทยการผสมวงดนตรีไทย
การผสมวงดนตรีไทย
 
ลักษณะเด่นของดนตรีในแต่ละวัฒนธรรม
ลักษณะเด่นของดนตรีในแต่ละวัฒนธรรมลักษณะเด่นของดนตรีในแต่ละวัฒนธรรม
ลักษณะเด่นของดนตรีในแต่ละวัฒนธรรม
 
วงดนตรีสากล
วงดนตรีสากลวงดนตรีสากล
วงดนตรีสากล
 
ดนตรีสากล
ดนตรีสากลดนตรีสากล
ดนตรีสากล
 
Music
MusicMusic
Music
 
Music drama
Music dramaMusic drama
Music drama
 
บทที่ 2 ดนตรี
บทที่ 2 ดนตรีบทที่ 2 ดนตรี
บทที่ 2 ดนตรี
 
ดนตรีสากล
ดนตรีสากลดนตรีสากล
ดนตรีสากล
 
บทที่ 2 ดนตรีกศน
บทที่ 2 ดนตรีกศนบทที่ 2 ดนตรีกศน
บทที่ 2 ดนตรีกศน
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากลใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากล
 
เพลงคลาสสิค (Classical music)
เพลงคลาสสิค (Classical music)เพลงคลาสสิค (Classical music)
เพลงคลาสสิค (Classical music)
 
การประยุกต์ดนตรีไทยและดนตรีสากล
การประยุกต์ดนตรีไทยและดนตรีสากลการประยุกต์ดนตรีไทยและดนตรีสากล
การประยุกต์ดนตรีไทยและดนตรีสากล
 
E learning หน่วยที่ 2 ดนตรีตะวันตก
E learning หน่วยที่ 2 ดนตรีตะวันตกE learning หน่วยที่ 2 ดนตรีตะวันตก
E learning หน่วยที่ 2 ดนตรีตะวันตก
 
ดนตรีไทยสมัยสุโขทัย
ดนตรีไทยสมัยสุโขทัยดนตรีไทยสมัยสุโขทัย
ดนตรีไทยสมัยสุโขทัย
 
ใบความรู้ ดนตรีไทย กศน
ใบความรู้ ดนตรีไทย กศนใบความรู้ ดนตรีไทย กศน
ใบความรู้ ดนตรีไทย กศน
 
ประวัติดนตรีไทย 56
ประวัติดนตรีไทย 56ประวัติดนตรีไทย 56
ประวัติดนตรีไทย 56
 
ยุคสมัยของดนตรีไทย
ยุคสมัยของดนตรีไทยยุคสมัยของดนตรีไทย
ยุคสมัยของดนตรีไทย
 
วงดนตรีไทย ม.2 56
วงดนตรีไทย ม.2 56วงดนตรีไทย ม.2 56
วงดนตรีไทย ม.2 56
 

Similar to ดนตรี ม.3

สังคีตวิทยา.docx
สังคีตวิทยา.docxสังคีตวิทยา.docx
สังคีตวิทยา.docxpinglada1
 
วิวัฒนาการของดนตรีสากล
วิวัฒนาการของดนตรีสากลวิวัฒนาการของดนตรีสากล
วิวัฒนาการของดนตรีสากลอำนาจ ศรีทิม
 
คีตกวีเอกของโลก.pdf
คีตกวีเอกของโลก.pdfคีตกวีเอกของโลก.pdf
คีตกวีเอกของโลก.pdfpinglada
 
เอกสารสังคีตนิยม
เอกสารสังคีตนิยมเอกสารสังคีตนิยม
เอกสารสังคีตนิยมRuz' Glaow
 
ศิลปินในดวงใจ
ศิลปินในดวงใจศิลปินในดวงใจ
ศิลปินในดวงใจPata_tuo
 
เพลงชาติไทย
เพลงชาติไทยเพลงชาติไทย
เพลงชาติไทยKrumai Kjna
 
เครื่องดนตรีสากล
เครื่องดนตรีสากลเครื่องดนตรีสากล
เครื่องดนตรีสากลพัน พัน
 
เครื่องสาย 2
เครื่องสาย 2เครื่องสาย 2
เครื่องสาย 2bassarakum
 
งานแสดงประวัติดนตรีศักดิ์สิทธิ์
งานแสดงประวัติดนตรีศักดิ์สิทธิ์งานแสดงประวัติดนตรีศักดิ์สิทธิ์
งานแสดงประวัติดนตรีศักดิ์สิทธิ์Bird Pongburut
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 1 เรื่อง ประวัติดนตรีสากล.pdf
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 1 เรื่อง ประวัติดนตรีสากล.pdfใบความรู้ที่ 1 บทที่ 1 เรื่อง ประวัติดนตรีสากล.pdf
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 1 เรื่อง ประวัติดนตรีสากล.pdfPingladaPingladaz
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 1 เรื่อง ประวัติดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 1 เรื่อง ประวัติดนตรีสากลใบความรู้ที่ 1 บทที่ 1 เรื่อง ประวัติดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 1 เรื่อง ประวัติดนตรีสากลsangkeetwittaya stourajini
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 1 เรื่อง ประวัติดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 1 เรื่อง ประวัติดนตรีสากลใบความรู้ที่ 1 บทที่ 1 เรื่อง ประวัติดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 1 เรื่อง ประวัติดนตรีสากลleemeanxun
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 1 เรื่อง ประวัติดนตรีสากล.pdf
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 1 เรื่อง ประวัติดนตรีสากล.pdfใบความรู้ที่ 1 บทที่ 1 เรื่อง ประวัติดนตรีสากล.pdf
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 1 เรื่อง ประวัติดนตรีสากล.pdfเวียงพิงค์ พิงค์ลดา
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 1 เรื่อง ประวัติดนตรีสากล.pdf
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 1 เรื่อง ประวัติดนตรีสากล.pdfใบความรู้ที่ 1 บทที่ 1 เรื่อง ประวัติดนตรีสากล.pdf
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 1 เรื่อง ประวัติดนตรีสากล.pdfpinglada
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 1 เรื่อง ประวัติดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 1 เรื่อง ประวัติดนตรีสากลใบความรู้ที่ 1 บทที่ 1 เรื่อง ประวัติดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 1 เรื่อง ประวัติดนตรีสากลleemeanshun minzstar
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 1 เรื่อง ประวัติดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 1 เรื่อง ประวัติดนตรีสากลใบความรู้ที่ 1 บทที่ 1 เรื่อง ประวัติดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 1 เรื่อง ประวัติดนตรีสากลleemeanshun minzstar
 

Similar to ดนตรี ม.3 (20)

สังคีตวิทยา.docx
สังคีตวิทยา.docxสังคีตวิทยา.docx
สังคีตวิทยา.docx
 
วิวัฒนาการของดนตรีสากล
วิวัฒนาการของดนตรีสากลวิวัฒนาการของดนตรีสากล
วิวัฒนาการของดนตรีสากล
 
คีตกวีเอกของโลก.pdf
คีตกวีเอกของโลก.pdfคีตกวีเอกของโลก.pdf
คีตกวีเอกของโลก.pdf
 
เอกสารสังคีตนิยม
เอกสารสังคีตนิยมเอกสารสังคีตนิยม
เอกสารสังคีตนิยม
 
TeST
TeSTTeST
TeST
 
พระเจนดุริยางค์
พระเจนดุริยางค์พระเจนดุริยางค์
พระเจนดุริยางค์
 
ศิลปินในดวงใจ
ศิลปินในดวงใจศิลปินในดวงใจ
ศิลปินในดวงใจ
 
Art
ArtArt
Art
 
Art
ArtArt
Art
 
เพลงชาติไทย
เพลงชาติไทยเพลงชาติไทย
เพลงชาติไทย
 
เครื่องดนตรีสากล
เครื่องดนตรีสากลเครื่องดนตรีสากล
เครื่องดนตรีสากล
 
เครื่องสาย 2
เครื่องสาย 2เครื่องสาย 2
เครื่องสาย 2
 
งานแสดงประวัติดนตรีศักดิ์สิทธิ์
งานแสดงประวัติดนตรีศักดิ์สิทธิ์งานแสดงประวัติดนตรีศักดิ์สิทธิ์
งานแสดงประวัติดนตรีศักดิ์สิทธิ์
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 1 เรื่อง ประวัติดนตรีสากล.pdf
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 1 เรื่อง ประวัติดนตรีสากล.pdfใบความรู้ที่ 1 บทที่ 1 เรื่อง ประวัติดนตรีสากล.pdf
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 1 เรื่อง ประวัติดนตรีสากล.pdf
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 1 เรื่อง ประวัติดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 1 เรื่อง ประวัติดนตรีสากลใบความรู้ที่ 1 บทที่ 1 เรื่อง ประวัติดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 1 เรื่อง ประวัติดนตรีสากล
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 1 เรื่อง ประวัติดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 1 เรื่อง ประวัติดนตรีสากลใบความรู้ที่ 1 บทที่ 1 เรื่อง ประวัติดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 1 เรื่อง ประวัติดนตรีสากล
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 1 เรื่อง ประวัติดนตรีสากล.pdf
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 1 เรื่อง ประวัติดนตรีสากล.pdfใบความรู้ที่ 1 บทที่ 1 เรื่อง ประวัติดนตรีสากล.pdf
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 1 เรื่อง ประวัติดนตรีสากล.pdf
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 1 เรื่อง ประวัติดนตรีสากล.pdf
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 1 เรื่อง ประวัติดนตรีสากล.pdfใบความรู้ที่ 1 บทที่ 1 เรื่อง ประวัติดนตรีสากล.pdf
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 1 เรื่อง ประวัติดนตรีสากล.pdf
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 1 เรื่อง ประวัติดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 1 เรื่อง ประวัติดนตรีสากลใบความรู้ที่ 1 บทที่ 1 เรื่อง ประวัติดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 1 เรื่อง ประวัติดนตรีสากล
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 1 เรื่อง ประวัติดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 1 เรื่อง ประวัติดนตรีสากลใบความรู้ที่ 1 บทที่ 1 เรื่อง ประวัติดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 1 เรื่อง ประวัติดนตรีสากล
 

ดนตรี ม.3

  • 1. ข้อสอบ O-net สาระศิลปะ สาระดนตรี<br /> เครื่องดนตรีในข้อใดที่จัดอยู่ในประเภทเดียวกัน<br /> Clarinet , Tuba , French Horn<br />Piccolo , Trombone , Trumpet<br />Oboe , Flute , Saxophone<br />Violin , Cello , Bassoon<br />ปัจจุบันการผสมวงมโหรี มีเครื่องดนตรีในข้อใดที่แสดงให้เห็นว่าวงดนตรีดังกล่าวเป็นวงมโหรี<br /> จะเข้<br />ซอสามสาย<br />กระจับปี่<br />ขลุ่ยเพียงออ<br />ถ้าสมโชคได้รับการไหว้วานให้นำวงดนตรีมาบรรเลงในงานสวดพระอภิธรรม สมโชคควรนำวงดนตรีในข้อใดมาบรรเลง<br /> ปี่พาทย์มอญ หรือ ปี่พาทย์ดึกดำบรรพ์<br />ปี่พาทย์นางหงส์ หรือ ปี่พาทย์ชาตรี<br />ปี่พาทย์มอญ หรือ ปี่พาทย์เสภาเครื่องใหญ่<br />ปี่พาทย์นางหงส์ หรือ ปี่พาทย์มอญ<br />การขับร้องในข้อใดในเทคนิคการขับร้องใกล้เคียงกันมากที่สุด<br /> การขับร้องโอเปราและการขับร้องประสานเสียง<br />การขับร้องเพลงพื้นบ้านและการขับร้องประสานเสียง<br />การขับร้องเพลงไทย (เดิม) และการขับร้องเพลงพื้นบ้าน<br />การขับร้องเพลงแจ๊สและการขับร้องโอเปรา<br />เอกลักษณ์สำคัญของการขับร้องเพลงไทย (เดิม) น่าจะเป็นข้อใด<br /> การใช้ส่วนต่าง ๆ ของปากและคอ<br />การเอื้อน<br />ปั้นเสียงให้กลมกล่อม<br />การผ่อนและการถอนลมหายใจ<br />เทคนิคการบรรเลงดนตรีในข้อใดที่มีลักษณะใกล้เคียงกันมากที่สุด<br /> กรับพวง และ Timpani<br />ปี่ใน และ Flute<br />จะเข้ และ Guitar<br />ซอสามสาย และ Harp<br />บทเพลงในข้อใดที่สามารถแสดงถึงความสมบูรณ์แบบขององค์ประกอบดนตรีในเรื่องสีสันได้อย่างชัดเจนที่สุด<br /> เพลงลาวสมเด็จ โดยวงเครื่องสายเครื่องคู่<br />เพลงปฐม โดยวงปี่ชวากลองชนะ<br />String Quartet in E flat Major , Op. 71 No.3 by Haydn<br />Symphony No.9 in D minor , Op.125 by Beethoven<br />เครื่องดนตรีพื้นบ้านในข้อใดที่เป็นเครื่องดนตรีในภูมิภาคเดียวกันทั้งหมด<br /> ปี่ พิณ โปงลาง แคน และโหวด<br />พิณ สะล้อ โหวด โปงลาง และซึง<br />รำมะนา ฆ้องคู่ กลองโนรา และพิณ<br />โทนชาตรี ปี่ ตะโพน และฆ้องวง<br />ก่อนการเล่นเครื่องสายผู้เล่นจะใช้วัสดุชนิดหนึ่งถูที่สาย วัสดุนั้นคืออะไร<br /> ยางรัก เพื่อทำให้สายไม่ขาดง่าย<br />ยางสน เพื่อให้ฝืดและมีเสียงไพเราะขึ้น<br />ยางรัก เพื่อให้ฝืดและมีเสียงไพเราะขึ้น<br />ยางสน เพื่อทำให้สายไม่ขาดง่าย<br />เสียงเพลงในข้อใดที่ชาวบ้านร้องเล่นกัน โดยมีลูกคู่ร้องรับช่วงหนึ่งว่า “เอ้า ฮ้า ไฮ้ เชี้ยบ เชี้ยบ เชี๊ยบ”<br /> เพลงโคราช<br />เพลงซอ<br />เพลงเรือ<br />เพลงอีแซว<br />บทเพลงเดียวกัน แต่มีผู้นำไปขับร้องสองคน ความไพเราะของบทเพลงดังกล่าวแตกต่างกันด้วยเหตุผลสำคัญในข้อใด<br /> การใช้เทคนิคการขับร้องที่เหมาะสมกับยุคสมัยและประเภทของบทเพลงของผู้ขับร้องแต่ละคน<br />การแสดงลีลาท่าทางประกอบการขับร้องที่แตดต่างกันของผู้ขับร้องแต่ละคน<br />การขับร้องที่ถูกต้องทั้งจังหวะและทำนองของผู้ขับร้องแต่ละคน<br />การเล่นลีลาและน้ำเสียงที่แตกต่างกันของผู้ขับร้องแต่ละคน<br />บทเพลงหนึ่งมีการขับร้องในตอนหนึ่งที่แสดงออกทางอารมณ์ที่นุ่มนวลหวานซึ้งด้วยเสียงร้องที่ผ่าเบาในจังหวะที่ค่อนข้างช้า ข้อใดที่แสดงถึงการขับร้องดังกล่าว<br /> Vivo , p , largo<br />Cantabile , pp , andantino<br />Appassionato , mp , allegretto<br />ถ้าต้องการประพันธ์เพลงให้มีลักษณะคล้ายเพลงลาวดวงเดือน ข้อใดเป็นคำตอบที่ถูกต้องที่สุด<br /> ระดับเสียงที่ใช้คือ โด เร มี ซอล ลา<br />ผสมสำเนียงเพลงล้านนาเข้าไปด้วย<br />ควรใช้หน้าทับพิเศษเพื่อให้บทเพลงมีความไพเราะมากขึ้น<br />ควรใช้เสียงปี่มอญผสมวงในการบรรเลง<br />ฉากหนึ่งในละครโรงเรียนที่แสดงถึงบรรยากาศที่น่าเคารพ มีความขลังควรใช้เพลงในข้อใดบรรเลงประกอบ<br /> นกเขามาระปี สร้อยเพลง คุกพาทย์<br />ปฐม กราวนอก มหาฤกษ์<br />สาธุการ เวสสุกรรม มหาชัย<br />ทยอย เชิด นางนาค<br />วิวัฒนาการสำคัญในการจัดวงดนตรีที่เกิดขึ้นในยุครัตนโกสินทร์แสดงถึงการติดต่อกับต่างชาติ คือวงดนตรีลักษณะใดและเกิดขึ้นในสมัยใด<br /> วงเครื่องสายประสมขิม สมัยรัชกาลที่ 5<br />วงปี่พาทย์นางหงส์ สมัยรัชการที่ 5<br />แตรวง สมัยรัชกาลที่ 6<br />วงเครื่องสายประสมไวโอลิน สมัยรัชกาลที่ 6<br />ข้อใดแสดงคุณค่าของดนตรีไทยซึ่งเป็นภูมิปัญญาที่ดุรยกวีได้สร้างสรรค์ไว้อย่างเด่นชัดที่สุด<br /> การนำเพลงไทย (เดิม) มาดัดแปลงเป็นเพลงไทยประยุกต์<br />ความไพเราะของบทเพลงที่มีสำเนียงภาษาต่าง ๆ ซึ่งเรียกว่า เพลงภาษา<br />ความไพเราะของบทเพลงไทยที่เรียบเรียงให้กับวงดนตรีสากลบรรเลง<br />การบรรเลงบทเพลงไทยด้วยวงดนตรีไทยผสมกับวงดนตรีชาติอื่น <br />วัฒนธรรมดนตรีของไทยที่มีการสร้างสรรค์แตกต่างไปจากชาติตะวันตก คือดนตรีคลาสสิกที่เด่นชัดที่สุดคือข้อใด<br /> การมีทำนองหลักและแปรทำนองได้อย่างหลากหลาย บนรากฐานของหลักการประพันธ์เพลงไทย<br />การจัดวงดนตรีที่เน้นเครื่องสาย เรียกว่า วงเครื่องสาย ซึ่งมีลักษณะต่าง ๆ หลากหลาย<br />การจัดวงดนตรีที่มีเครื่องดนตรีประเภทดีด สี ตี เป่า ครบถ้วนทำให้ได้ความหลากหลายของสีสันเครื่องดนตรี<br />การขับร้องเพลงที่ลีลาช้าและเร็วที่หลากหลาย สามารถถ่ายทอดอารมณ์ความรู้สึกได้อย่างน่าสนใจ<br /> ในคำร้องของเพลงสรรเสริญพระบารมี “ข้าวรพุทธเจ้า เอามโนและศิระกราน” พยางค์ใดตรงกับจังหวะหนัก<br /> พุทธ<br />และศิ<br />กราน<br />ถ้าท่านจัดงานเลี้ยงสังสรรค์ในห้องจัดเลี้ยงของโรงแรมแห่งหนึ่ง เพื่อแสดงความยินดีในโอกาสที่ญาติผู้ใหญ่ของท่านได้รับพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ชั้นสูง ซึ่งจะมีแขกมาร่วมงานประมาณ 100 คน ท่านคิดว่าควรใช้วงดนตรีประเภทใดบรรเลง<br /> วงโยธวาธิต<br />วงขับร้องประสานเสียง<br />วงตริงควอร์เต็ด<br />วงซิมโฟนีออร์เคสตร้า<br />ข้อใดเป็นระดับเสียงของนักร้องหญิง<br /> อัลโต<br />เทเนอร์<br />บาริโทน<br />เบส<br />เครื่องดนตรีในข้อใดมักใช้เล่นเสียงประสานเมื่ออยู่ในวงดนตรี<br /> ฮอรณืน<br />ฟลุ้ต<br />คลาริเน็ต<br />ปิคโคโล<br />ข้อใด ไม่ ถูกต้องในการดูแลรักษาเครื่องดนตรี<br /> ล้างปากเป่าทรัมเป็ตด้วยน้ำ<br />ล้างตัวเครื่องทรอมโบนด้วยน้ำ<br />ล้างตัวเครื่องแซกโซโฟนด้วยน้ำ<br />ล้างปากคลาริเน็ตด้วยน้ำ<br />ข้อใดเป็นเครื่องดนตรีของภาคกลางทั้งหมด<br /> ซอสามสาย กระจับปี่ พิณน้ำเต้า<br />จะเข้ ซอด้วง พิณน้ำเต้า<br />จะเข้ กระจับปี่ พิณเพียะ<br />ซออู้ ซอด้วง ซอสามสาย<br />ข้อใดกล่าวถึงลักษณะของเพลงเถา ไม่ถูกต้อง<br /> เริ่มจากทำนองที่ยาว ไปหาทำนองที่สั้น<br />เริ่มจากทำนองที่สั้น ไปหาทำนองที่ยาว<br />เริ่มจากอัตราจังหวะช้า ไปหาอัตราจังหวะเร็ว<br />บรรเลงโดยมีการขับร้อง หรือ ไม่มีการขับร้องก็ได้<br /> ลักษณะของเพลงหน้าพาทย์ที่แตกต่างจากเพลงประเภทอื่นคือ<br /> ต้องมีบทร้องประกอบเสมอ เมื่อมีการบรรเลง<br />ใช้ประกอบการแสดงระบำ ในการแสดงละคร<br />ใช้ในพิธีกรรม หรือ ประกอบการแสดง<br />ใช้เฉพาะเจ้านายชั้นสูง หรือ พระราชพิธีเท่านั้น<br />ข้อใดคือลักษณะเด่นของดนตรีไทย<br /> การขับร้องที่ต้องใช้เสียงสูงมาก<br />เครื่องตี ที่ใช้มือตีทั้งสองข้างตีประกอบกัน<br />กลอง ที่สามารถตีเป็นเสียงต่าง ๆ ได้ในใบเดียวกัน<br />เครื่องเป่า ที่สามารถเป่าได้โดยไม่ต้องหยุดหายใจ<br />ข้อใดกล่าวถึงความสัมพันธ์ของดนตรีกับภาษาไทย ได้ถูกต้องที่สุด<br /> ลักษณะของร้อยกรองมีลักษณะใกล้เคียงลักษณะของดนตรี<br />คำในภาษาไทยทุกคำสามารถร้องได้ทุกระดับเสียงโดยความหมายไม่เปลี่ยนแปลง<br />การเอื้อนคำ การใช้คำหลายคำ เชื่อมโยงด้วยเสียงหลายเสียง<br />เสียงในภาษาไทยไม่มีการเน้นการออกเสียงเฉพาะที่เหมือนภาษาอังกฤษจึงไม่มีลักษณะของเสียงดนตรี<br />