SlideShare a Scribd company logo
73




The 60 Fallacies
60 ประการแห่งการใช้เหตุผลที่ผิดพลาด

1. Irrelevant or Questionable Authority (citing one who is neither an authority or is
   biased or is unknown)

      ยกหลักฐานอ้างอิงทีไม่เกี่ยวข้อง หรือเป็นหลักฐานที่เป็นที่น่าสงสัย อาจจะเนื่องจาก ผู้ที่
                        ่
ถูกอ้างอิงเพื่อเป็นหลักฐานนั้นไม่ใช่ผู้ที่เชี่ยวชาญในด้านนั้นๆโดยตรง หรือ ไม่ก็ไม่มีใคร
รู้จักเขา หรือ อาจจะเป็นผู้ที่มีอคติในเรื่องนั้นๆ

2. Appeal to Common Opinion (argues that most people accept or reject it)

      เอาคนส่วนมาก หรือ ส่วนใหญ่มาเป็นเหตุผล หรือหลักฐาน เพื่อสนับสนุนจุดยืนของตัว
เอง

3. Genetic Fallacy (evaluating something in earlier context and carrying it over to
   present)

     ทึกทักว่าสิ่งหนึ่งสิ่งใด หรือ คนหนึ่งคนใด เคยมีสภาพหนึ่งๆมาก่อน ก็จะต้องมีสภาพเช่น
นั้นด้วยจนถึงปัจจุบัน (ทังๆที่ไม่จำาเป็นจะต้องเป็นเช่นนั้นเลย) โดยละเลยที่บางสิ่งทีได้
                             ้                                                     ่
เปลี่ยนแปลงไปที่เกี่ยวข้องกับเรื่องนั้นๆ เช่น พูดว่า “ ผมจะไม่มีทางเลือกเขาเป็นหัวหน้า
พรรคการเมือง เพราะผมโตมากับเขา เรียนห้องเดียวกัน เขาทำาตัวไม่ได้เรื่องเลย หาเรื่องคน
อื่นไปทั่ว คนอย่างนี้พึ่งพาอะไร หรือ หวังอะไรไม่ได้มาก” จะเห็นได้ว่า คนที่พูดเช่นนี้
ทึกทักเอาเองว่า คนๆหนึ่ง หรือ สิงๆหนึ่งมีสภาพในอดีตอย่ารไร ปัจจุบันก็จะต้องเหมือนเดิม
                                    ่
ด้วย ซึงไม่จำาเป็นเลยว่าจะต้องเป็นเช่นนั้น
        ่

4. Rationalization (saving face; using false reasons to justify)

     อ้างเหตุผลที่ไม่ใช่เหตุผล (แก้ตัว) โดยแต่งเหตุผลขึ้นมาเอง โดยทำาให้ดูสมเหตุสมผล
เพื่อต้องการรักษาหน้าตัวเอง หรือ เพื่อรักษาจุดยืนของตนเองที่ไม่คอยมีนำ้าหนักของตนเอง
                                                                   ่
เอาไว้ ทั้งๆทีในความเป็นจริงแล้ว เหตุผลที่ให้มานั้นในความเป็นจริงแล้ว ไม่มีความ
              ่
เกี่ยวข้อง หรือ แทบจะไม่มีความเกี่ยวข้องอย่างแท้จริงที่จะไปสนับสนุนจุดยืนนั้นๆได้ เพราะ
มันไม่ใช่เหตุผลที่แท้จริง แต่สาเหตุหรือเหตุผลที่แท้จริงนั้นถูกปกปิดเอาไว้ จะเนื่องด้วยเหตุ
ใดก็แล้วแต่ ในการใช้เหตุผลที่ถูกต้องนั้น จุดยืน หรือ ความเชือ จะเกิดขึ้นหรือมีขึ้นภาย
                                                                ่
หลังจากที่ได้มีการนำาเสนอเหตุผล และหลักฐานแล้ว แต่ในกรณีนี้ (อ้างเหตุผลที่ไม่ใช่
เหตุผล) การนำาเสนอเหตุผล และหลักฐาน จะเกิดขึ้นหรือมีขึ้น ภายหลังจากที่ได้มความเชื่อ
                                                                                 ี
หรือ จุดยืนนั้นๆอยู่ก่อนแล้ว เพียงแต่ต้องการแสวงหาเหตุผลเพื่อมาสนับสนุนจุดยืนตนเองที่
กำาลังเป็นประเด็นอยู่ เพื่อให้ดูมีเหตุมีผลที่จะมีจุดยืนเช่นนั้น

5. Drawing the Wrong Conclusion (it’s not supported by the evidence)
74

   ผิดพลาดในข้อสรุปที่ได้มา ทั้งนี้ก็เพราะ หลักฐานหรือ เหตุผลที่ยกมานั้น ไม่ได้ไป
   สนับสนุนจุดยืน หรือ ข้อสรุปนั้นๆ

6. Using the Wrong Reasons (they don’t support the conclusion)

    ใช้เหตุผลทีผิด ( premise) เพื่อสนับสนุนข้อสรุป หรือ จุดยืนหนึ่ง โดยที่เหตุผลที่นำาเสนอ
               ่
ไม่สามารถไปสนับสนุนจุดยืนนั้นๆได้

7. Appeal to Pity (sympathy replaces good evidence)

    นำาเอาความน่าสงสาร มาเป็นเหตุผลสนับสนุนจุดยืนของตนเอง แทนการใช้เหตุผล หรือ
หลักฐานที่ถูกต้อง ที่จะไปสนับสนุนจุดยืนของตนเองได้

8. Appeal to Force or Threat (persuasion by warning)

    ใช้การข่มขู่ ถึงผลร้ายที่จะตามมา ถ้าไม่ทำาตามสิงนั้น มาเป็นเหตุผลให้อีกฝ่ายเชื่อ หรือ
                                                   ่
ทำาตามจุดยืนของตนเอง

9. Appeal to Tradition (custom/heritage are used as evidence)

     ใช้ประเพณี หรือ วัฒนธรรม หรือ มรดกตกทอดไม่ว่าจะในด้าน การกระทำาหรือความ
คิด มาเป็นเหตุผล หรือ หลักฐาน สนับสนุนจุดยืนของตนเอง

10. Appeal to Personal Circumstances or Motives (to self-interest instead of real
   issues)

   ใช้ผลประโยชน์ หรือ สภาพส่วนตัวมาเป็นเหตุผล เพื่อให้เกิดการยอมรับจุดยืนของ
ตนเอง ทังๆที่ยงมีสิ่งอื่นๆที่สำาคัญกว่าที่จะต้องนำามาวิเคราะห์ และพิจารณา
        ้     ั

11. Exploitation of Strong Feelings and Attitudes (manipulation of deep-seated
   feelings)

    ใช้ความอ่อนไหวทางอารมณ์ หรือ ความรู้สึกมาเป็นเหตุผล เพื่อให้เกิดการยอมรับ
จุดยืนของตน

12.    Use of Flattery (praise replaces evidence)

   เอาการชมเชย หรือ การยกย่อง มาเป็นเหตุผลเพื่อให้ได้มาในสิงที่ตนเองต้องการ ไม่วา
                                                                 ่                     ่
จะให้ได้มาซึ่งในด้านความเชื่อทีตนเองต้องการให้ผู้อื่นเชื่อย่างตน หรือ ให้ได้มาซึงวัตถุที่
                               ่                                                ่
ตนเองต้องการ แทนการใช้เหตุผลที่เกี่ยวข้องกัน

13. Assigning Guilt by Association (argues that those with opposite view are viewed
    negatively)

     ใช้การที่อีกฝ่ายถูกมองด้วยภาพลบไม่ว่าเรื่องหนึ่งเรื่องใดมาเป็นเหตุผล หรือ หลักฐาน
เพื่อสนับสนุนจุดยืนของตนเอง ทีอาจจะไปขัดแย้งกับอีกฝ่าย
                               ่
75



14. Equivocation (word or phrase with two distinct meanings made to appear
   equivalent)

   ใช้คำาหรือกลุ่มคำาที่มีความหมายต่างกัน แต่ทำาราวกับว่าทั้งสองคำา หรือ กลุ่มคำา มีความ
หมายเดียวกัน

15.    Ambiguity (word or phrase subject to more than one interpretation)

    ใช้คำาที่อาจะมีความหายมากกว่าหนึ่ง หรือใช้ถ้อยคำาที่อาจเข้าใจไปได้มากกว่าหนึ่ง
อย่าง โดยไม่กล่าวให้ชัดเจนว่า ตนเองกำาลังเข้าใจอย่างไรกับคำา หรือถ้อยคำานั้นๆ

16. Improper Accent (word or phrase emphasized to alter meaning; lifting partial
   quote and using it out of context)

    ใช้การเน้นคำาหนึ่งคำาใด หรือ ส่วนหนึ่งส่วนใดของประโยคเป็นพิเศษ เพื่อต้องการจะสื่อ
ให้เกิดความเข้าใจผิดอะไรบางอย่าง หรือ ยกคำาพูดมาไม่หมด เพื่อต้องการเน้นเฉพาะส่วน
ที่ยก เพื่อให้เกิดความเข้าใจไปตามทีตนเองต้องการ เพราะถ้ายกคำาพูดมาทังหมดก็จะทำาให้
                                    ่                                  ้
ไม่ได้อย่างที่ตนเองต้องการได้

17.    Illicit Contrast (listener infers from a claim a related contrasting claim)

    ทำาให้เกิดความเข้าใจที่ผดที่ตรงกันข้าม หรือ แย้งกับเจตนา หรือคาดเคลื่อนไปจาก
                            ิ
เจตนา หรือความตั้งใจที่แท้ของผู้พูด ทังนี้เพื่อที่ความเข้าใจผิดตรงนั้นจะได้มารองรับจุดยืน
                                      ้
ของตนเอง

18.    Argument by Innuendo (veiled claim, without evidence)

    พูดสิ่งหนึ่งสิ่งใดออกมาในลักษณะที่แฝงเอาไว้ด้วยการที่ต้องการแสดงจุดยืน อย่างหนึ่ง
อย่างใด โดยสื่อไปในทางที่ลบ เพื่อต้องการลดความน่าเชื่อถือของอีกฝ่าย แต่ไม่พูดออกมา
ตรงๆ แบบชัดเจน ทั้งนี้เพราะตนเองไม่สามารถนำาเหตุผล หรือหลักฐาน (premise) มาสนับ
สนุนจุดยืนที่ถูกปกปิดเอาไว้ของตนเองได้ จึงเลือกที่จะกล่าวแบบอ้อมๆ พูดว่า “ อิสลาม
อนุญาตให้มีภรรยาได้มากกว่าหนึ่งคน” โดยเน้นตรงคำาพูด “ มากกว่าหนึ่งคน” เพื่อต้องการ
แสดงจุดยืนที่แอบแฝง ว่าอิสลามกดขี่สตรี

19. Misuse of a Vague Expression (assigning a very precise meaning to a word or
   term like moral education, which is imprecise in meaning)

     ใช้คำาหรือสำานวนที่กำากวมคลุมเคลือไม่ชัดเจน ซึงถ้าไม่สร้างความชัดเจน ให้เกิดขึ้นมา
                                                      ่
เสียก่อน หรือถ้าไม่นยามให้ชัดเจนเสียก่อน ก็ไม่อาจที่จะถกกันต่อไปได้ หรือไม่อาจทีจะหัก
                      ิ                                                                ่
ล้าง หรือพิสูจน์ว่าจริงหรือเท็จได้ เช่น อ้างว่าคนหนึ่งๆเป็นวะฮะบีย์ หรือ อ้างว่า มุสลิมต้อง
สมานฉันทร์กันไว้ก่อน หรืออ้างว่า เป็นพวกหัวรุนแรง หรือ สุดโต่ง หรือ เสียมารยาท แต่
ไม่นิยามหรือตีกรอบคำานั้นๆให้ชัดเจนเสียก่อน ทั้งนี้เพื่อลดความน่าเชื่อถือของอีกฝ่าย หรือ
เพื่อต้องการรองรับกับจุดยืนของตนเอง
76


20. Distinction Without a Difference (drawing an empty distinction, one no different
   than the original)

    พยายามสร้างความแตกต่างให้เกิดขึ้นเพื่อรองรับจุดยืนของตนเอง ทั้งๆที่เหตุผลที่ให้มา
นั้นไม่ได้ทำาให้เกิดความแตกต่างอะไรให้เกิดขึ้นอย่างแท้จริงเลยกับสิ่งทีตนเองกล่าวไปก่อน
                                                                       ่
หน้านั้น เช่น นาย ก. กำาลังตำาหนิ และ พูดดูถูก นาย ข. เมื่อนาย ก. ถูกถามก็แก้ตัวว่า “ ผม
ไม่ได้ตำาหนิและดูถูกเขา แต่ผม พูดให้เขาคิดได้ / หรือ พูดเพื่อกระตุ้น ”

21.    Arguing in a Circle (premise = conclusion) ข้อสรุป
                                         หรือ จุดยืน
   (conclusion) ที่ถูกทำาให้เป็น เหตุผลสนับสนุน
   (premise) เสียเอง แต่ในความเป็นจริงแล้วมันคือ ข้อ
   สรุป หรือ จุดยืน (conclusion) อีกอันหนึ่ง ตรงนี้เป็น
   อะไรที่แยบยลมากถ้าไม่สังเกตุให้ดี
ดูการสนทนาระหว่าง นาย เอ กับ นาย บี
       A1: เราเชื่อว่าพระเจ้ามีอยู่จริง เพราะคัมภีร์ไบเบิ้ลกล่าวว่า
       พระเจ้ามีจริง

       B1: แล้วทำาไมผมจะต้องเชื่อในคัมภีร์ ไบเบิ้ลด้วย

       A2: เพราะสิ่งที่คัมภีร์ไบเบิ้ลกล่าวจะต้องเป็นความจริง

       B2: แล้วผมจะเชื่อได้อย่างไรว่าสิ่งที่ในคัมภีร์ไบเบิ้ลเป็นความ
       จริง

       A3: เพราะพระเจ้าเขียนคัมภีร์ไบเบิ้ล และพระเจ้าไม่มีทางที่จะ
       พูดโกหก

            จากข้อความข้างต้นนั้น ถ้าเราจะถามว่า ข้อความ
       ไหนถือว่าเป็น การแสดงจุดยืน หรือ ถือเป็นข้อสรุป (
       conclusion) ที่ตัวมันเอง จะต้องมีเหตุผล หรือ หลัก
       ฐาน (premise) มาสนับสนุนอีกที โดยที่เราไม่อาจที่จะ
       ทึกทักให้เป็นจริงก่อนได้
             คำาตอบก็คือข้อความที่ว่า 1. เราเชื่อ ว่า พระเจ้า มี
       อยู่จ ริง 2. พระเจ้า เขีย นคัม ภีร ์ไ บเบิ้ล / ส่วน
77


     ข้อความที่เหลือถือเป็นประเด็นปลีกย่อย เพราะถ้า
     สมมุติว่า (ข้อยำ้าว่าสมมุติ) มีการพิสูจน์แล้วว่าพระเจ้า
     ไม่มีจริง ข้อความทั้งหมดที่กล่าวมาก็จะถือว่าไร้ความ
     หมาย และเราจะเห็นได้ว่า ข้อความ “ เพราะคัมภีร์
     ไบเบิ้ลกล่าวว่าพระเจ้ามีจริง” และ “ เพราะสิ่งที่คัมภีร์
     ไบเบิ้ลกล่าวจะต้องเป็นความจริง” จะไม่แตกต่างอะไร
     กันมากนัก เพราะต่างก็ถูกสนับสนุนด้วยข้อความที่ว่า “
     พระเจ้าเขียนคัมภีร์ไบเบิ้ล และพระเจ้าไม่มีทางที่จะพูด
     โกหก ” อีกที
     เราสามารถเขียนแยกออกจากกันเพื่อให้เห็นภาพชัดได้
     ดังนี้:
     “ เราเชื่อว่าพระเจ้ามีอยู่จริง” ( ข้อความนี้เป็น จุดยืน
หรือ ข้อสรุป conclusion )
     “ คัมภีร์ไบเบิ้ลกล่าวว่าพระเจ้ามีจริง ” (ข้อความนี้เป็น
เหตุผล ( premise ) ไป
      สนับสนุนประโยคบน นั่นคือ ข้อสรุปอีกที )
     “ สิ่งที่คัมภีร์ไบเบิ้ลกล่าวจะต้องเป็นความจริง ” (
     ข้อความนี้เป็น เหตุผลย่อย               ( premise )
     เพื่อไปสนับสนุนเหตุผล( premise ) ข้างบนอีกที )
     “ พระเจ้าเขียนคัมภีร์ไบเบิ้ล และพระเจ้าไม่มีทางที่จะพูด
     โกหก” ( ข้อความนี้เป็น เหตุผลย่อย ( premise ) ลงมาอีก
     เพื่อไปสนับสนุนเหตุผล ( premise ) ย่อยข้างบนอีกที )
          เพราะฉะนั้นถ้าเหตุผลที่ “ย่อยลงมาอีก” ด้านล่าง
     สุด ถูกพิสูจน์ว่าไม่เป็นจริง เหตุผลที่เหลือข้างบน
     ทั้งหมดจะผิดไปโดยปริยาย และเมื่อเป็นเช่นนั้น ข้อสรุป
     หรือจุดยืนที่ว่าพระเจ้ามีจริงโดยใช้ไบเบิ้ลพิสูจน์นั้นก็ไร้
78


     ผล ใช้ไม่ได้ไปโดยปริยาย เพราะฉะนั้นประโยคนี้ถ้าจะ
     ลดลงให้เหลือสั้นๆจะได้ดังนี้:
     “ เราเชื่อว่าพระเจ้ามีอยู่จริง”   ( ข้อความนี้เป็น จุดยืน
หรือ ข้อสรุป conclusion )
     “ เพราะพระเจ้าเป็นผู้เขียนคัมภีร์ไบเบิ้ล ” ( ข้อความนี้
     เป็น เหตุผล ( premise ) เพื่อไปสนับสนุนจุดยืนข้าง
     บน )
          แต่ Premise นี้ในความเป็นจริงแล้วมันไม่ได้เป็น
     Premise แต่มันเป็น Conclusion อีกอันหนึ่ง ที่ต้อง
     ถูกสนับสนุนด้วยเหตุผล ( premise ) และหลักฐาน
     อีกที ทั้งสองข้อความ เป็น Conclusion ทั้งคู่ เพราะ
     ฉะนั้น ข้อความข้างต้นยังไม่อาจจะเป็นที่ยอมรับได้ว่า
     เป็นความจริง ( แต่เรื่องพระเจ้านั้นได้มีการพิสูจน์อย่าง
     ชัดเจนแล้วว่ามีอยู่จริงอย่างแน่นอน
      หรือ เช่นพูดว่า “ เราจะต้องไม่ฆ่าสัตว์ตัดชีวิตเพราะมัน
  เป็นบาป มิเช่นนั้นแล้ว ชาติหน้าเราจะต้องเกิดเป็นสัตว์
  นั้นๆแล้วถูกฆ่าเหมือนกัน ” ข้อความที่ว่า “ เราจะต้องไม่
  ฆ่าสัตว์ตัดชีวิตเพราะมันเป็นบาป ” ถือว่าเป็น ข้อสรุป หรือ
  จุดยืน (conclusion) ส่วนข้อความ “มิเช่นนั้นแล้ว ชาติ
  หน้าเราจะต้องเกิดเป็นสัตว์นั้นๆแล้วถูกฆ่าบ้าง ” ก็เป็นข้อ
  สรุป หรือจุดยืน (conclusion) อีกอันหนึ่ง สรุปแล้วทั้งคู่
  ต่างก็จะต้องมี เหตุผล (premise) มาพิสูจน์การขั้นตอน
  / มีอะไรมายืนยันว่า ฆ่าสัตว์แล้วจะเป็นบาป และ สมมุติ
  ว่าการฆ่าสัตว์เป็นบาปจริงแล้ว มีอะไรมายืนยันว่า ผู้ที่ฆ่า
  จะต้องเกิดไปเป็นสัตว์และถูกฆ่าบ้างในชาติหน้า ถ้าพิสูจน์
  ทั้งสอง conclusion ไม่ได้ก็ถือว่าไร้ผล ใช่ไม่ได้
79


      หรือบางที conclusion จะถูกใช้อีกสำานวนหนึ่ง หรือมี
   การเปลี่ยนการใช้คำาของ conclusion จึงทำาให้ดูเหมือน
   ว่า อันหนึ่ง หรือ ข้อความหนึ่งเป็น conclusion โดยอีก
   ข้อความหนึ่งเป็น premise ที่จะมาสนับสนุน
   conclusion อีกที แต่ในความเป็นจริงแล้ว ทั้งสอง
   ข้อความต่างก็เป็น conclusion ทั้งคู่
       เช่นพูดว่า “ (1) คุณไม่มีคุณสมบัติเป็นนักฟุตบอลที่ดีได้
   (2) เพราะ คุณเล่นไม่ดี ” ซึงทั้งสองข้อความ ต่างก็มีความ
                                ่
   หมายเดียวกัน ไม่ใช่ว่าข้อความที่ 2 เป็น premise ไป
   สนับสนุนข้อความแรกที่เป็น conclusion...เปล่าเลย แต่
   ทั้งสองข้อความเป็นสิ่งเดียวกัน และ เป็น conclusion ที่
   จะต้องมี premise มาสนับสนุนว่าเป็นจริงหรือไม่

22. Question-Begging Language (word choice in premises directs listener to
   conclusion)

        ใช้คำาพูดที่จะสื่อให้เข้าใจไปว่า หรือ มีการทึกทักถูกซ้อนอยู่ว่า ประเด็นที่กำาลังจะถก
   กันนั้น ได้หาข้อสรุปได้แล้ว ทั้งๆที่ก็ยังไม่ได้มีการนำาเสนอเหตุผล หรือ หลักฐานเลย
   เช่นพูดว่า “ เราจะต้อง ไม่ฆาพี่น้องเรา ด้วยการที่เราซื้อสินค้าอเมริกา” ทั้งๆทีประเด็นที่
                                  ่                                                ่
   กำาลังจะถกกัน เพื่อหาข้อสรุปก็คือ “การซื้อสินค้าของอเมริกานั้น ถือว่าเป็นการฆ่าพี่น้อง
   มุสลิมใช่หรือไม่? ” แต่ผู้พูดได้สร้างภาพ หรือ ได้สอออกไปแล้วถึงจุดยืนที่ว่า การซื้อ
                                                         ื่
   สินค้าของอเมริกานั้น ถือว่าเป็นการฆ่าพี่น้องมุสลิมจริงๆ ทั้งๆทียังไม่ได้มีการพิสูจน์ตาม
                                                                  ่
   ขวนการใช้เหตุผลที่ถูกต้อง ที่เป็นเช่นนี้ก็อาจจะเนื่องมาจาก ผู้พูดมีความรู้สึกที่อ่อนไหว
   มากกับเรื่องดังกล่าว จึงเป็นเหตุทำาให้ นำาเอาความรู้สึกส่วนตัวมาเป็นข้อสรุปก่อนที่จะ
   เริ่มขบวนการใช้เหตุผล หรือ เช่น ชีอะฮฺพูดว่า “ วันนี้เราจะถกกันว่า ตำาแหน่งหารเป็น
   ผู้นำาหลังจากท่านนบีได้เสียชีวิตนั้น ควรจะเป็นของผู้ใดกันแน่ ระหว่าง อบูบักร กับ
   อิหม่ามอาลี ผู้มีคุณสมบัติครบถ้วนทุกอย่างในการเป็นผู้นำา ( คอลีฟะฮฺ ) ซึ่งไม่มีผใดมี  ู้
   คุณสมบัติเช่นนี้นอกจากอิหม่ามอาลี ” ทังๆที่ประเด็นที่กำาลังจะถกกัน เพื่อหาข้อสรุปก็
                                              ้
   คือ ท่านอาลี มีคุณสมบัตตามที่วาจริงหรือไม่ และ เป็นเงื่อนไขไหมว่า ถ้ามีคุณสมบัติเช่น
                              ิ      ่
   นั้นแล้ว จะหมายความว่า จะต้องเป็น คอลีฟะฮฺ แต่ ชีอะฮฺสื่อให้เข้าใจไปแล้วถึงจุดยืนที่
   ว่า ท่านอาลีเท่านั้นที่จะต้องเป็นผู้นำาภายหลังจากท่านนบี หรือ เช่น ชีอะฮฺพูดว่า “ เป็นที่
   ชัดเจนอย่างไม่ต้องสงสัยแล้วว่า สิทธิ์ในการเป็นคอลีฟะฮฺอยู่ที่อิหม่ามอาลี ” ตรงนี้ชีอะฮฺ
   ใช้คำาว่า “ อย่างไม่ต้องสงสัย”เป็นการพุดตัดบท ซึงในความจริงแล้วไม่ได้เป็นเช่นนั้น
                                                       ่
   เพราะประเด็นนี้ ตัวของมันเองเป็นที่สงสัย ที่จะต้องถูกนำามาถกกันเพื่อหาความจริง



23.   Loaded or Complex Question (question presupposes the answer)
80



     การตังคำาถามโดยที่ในคำาถามนั้น มีคำาถามอีกคำาถามหนึ่งถูกซ้อนอยู่ หรือกล่าวอีกอย่าง
           ้
คือ ในคำาถามมีการทึกทักไปเลยว่า อีกฝ่ายจะต้องมีจุดยืนเหมือนผู้ที่ถามต่อคำาถามที่ถูกซ้อน
อยู่ทยังไม่ได้ถาม โดยปราศจากเหตุผล ข้อพิสูจน์ เช่น เรากำาลังเดินดูเสื้อผ้าอยู่ในห้าง คน
      ี่
ขายก็เดินเข้ามาและถามว่า “ ต้องการจ่ายเป็นเงินสดใช่ไหมครับ” ตรงนี้จะเห็นได้ว่า คน
ขายได้ทึกทักไปแล้วว่า เราจะซื้อเสื้อผ้า ทังๆที่ไม่จำาเป็นต้องเป็นเช่นนั้นเลย คือ ก่อนที่จะ
                                             ้
ตอบว่า จะซื้อเงินสดหรือไม่ คุณจะต้องพิสูจน์ให้ได้เสียก่อนว่า ผมจะซื้อเสื้อผ้าจริงหรือไม่
หรือ คนขายจะต้อง ถามอีกคำาถามที่ถูกซ้อนอยู่ก่อนว่า “ คุณต้องการจะซื้อเสื้อใช่ไหม? ”
หรือ แม้ถามลูกว่า “ ลูกจะแต่งงานเมื่ออายุเท่าไหร่ และ หลังจากแต่งแล้วจะไปอยู่ที่ไหน? ”
ตรงนีแม่ได้ทึกทักไปว่าลูกจะต้องแต่งงาน คือ แม่จะต้องพิสูจน์ให้ได้เสียก่อนว่า ลูกต้องการ
         ้
จะแต่งงาน หรือ พูดว่า “ ทำาไมอุซามะ บินลาดิน จึงโหดร้าย ที่ฆาคนบริสุทธิ์ได้เป็นพันๆ
                                                                 ่
คนในเหตุการณ์ 9/11” ตรงนี้การที่จะตอบคำาถามได้ ผู้ถามจะต้องพิสูจน์ให้ได้ก่อนว่า อุซา
มะฮฺ บินลาดิน เป็นผู้ที่ทำาเหตุการณ์ 9/11 จริง แต่ผู้ถามกลับทึกทักไปเลย ผูถูกถาม เชื่อ
                                                                            ้
เหมือนกับผู้ถามว่า อุซามะฮฺ บินลาดิน เป็นผู้ที่ทำาเหตุการณ์ 9/11 จริง ก่อนที่จะตั้งคำาถามนี้ ผู้
ถามจะต้อง ตังคำาถามที่ถูกซ้อนอยู่ก่อนว่า “อุซามะฮฺ บินลาดิน เป็นผู้ที่ทำาเหตุการณ์ 9/11
              ้
จริงหรือไม่? ” หรือ การทีต่างศาสนิกถามว่า “ ทำาไมหลักคำาสอนของอิสลามจึงรุนแรง โหด
                            ่
ร้าย เช่น ประหารชีวตด้วยการตัดคอ” ก่อนที่จะต้องคำาถามนี้ ผู้ถามจะต้อง ตังคำาถามที่ถูก
                      ิ                                                       ้
ซ้อนอยู่ก่อนว่า “ การประหารชีวิตด้วยการตัดคอ ถือเป็นการกระทำาที่ รุนแรง และโหดร้าย
หรือไม่? ” มิเช่นนั้นจะถือว่า ผู้ถามได้สรุปทึกทักโดยปราศจากเหตุผล และ ข้อพิสูจน์ว่า การ
ประหารชีวิตด้วยการตัดคอ ถือเป็นการกระทำาที่รุนแรง และโหดร้าย หรือ การพูดว่า “ ทำาไม
คุณจึงได้ฆ่าพี่น้องคุณทางอ้อม ด้วยการซือสินค้าอเมริกา? ” ก่อนที่จะต้องคำาถามนี้ ผู้ถามจะ
                                           ้
ต้อง ตั้งคำาถามที่ถูกซ้อนอยู่ก่อนว่า “ การซื้อสินค้าของอเมริกานั้น ถือว่าเป็นการฆ่าพี่น้อง
มุสลิมทางอ้อมจริงๆใช่หรือไม่? ” หรือ เป็นสิ่งที่ถูกทึกทักขึ้นมาว่าเป็นเช่นนั้น จริง โดย
ปราศจากเหตุผล และ หลักฐานที่ เกี่ยวข้องกันตามหลักวิชาการ


24.     Leading Question (answer is planted within the question)

     ตังคำาถาม ในลักษณะที่จะทำาให้ผู้ตอบ ได้ให้คำาตอบออกมาตามที่เราต้องการ เพื่อที่จะ
       ้
มาสนับสนุนจุดยืนของตนเอง เช่น นาย ก. ทำาในสิงหนึ่งที่ทำาให้เพื่อนเกิดความไม่พอใจ จึง
                                                    ่
พูดกับเพื่อนไปว่า “ คุณเห็นด้วยใช่ไหมว่า เรื่องเล็กน้อยแค่นี้คงไม่อาจจะทำาให้ความ
สัมพันธ์ของเราแตกร้าวฉานได้ ” ตรงนี้นาย ก. ได้ทึกทักไปเองว่า เรื่องนั้นเป็นเรื่องที่เล็ก
น้อย และขอให้เพื่อนยอมรับด้วยว่าเป็นเรื่องเล็กน้อย ทั้งๆที่ เรื่องนี้ ตัวมันเองจะต้องมา
พิสูจน์กันว่าเป็นเรื่องใหญ่หรือเรื่องเล็ก หรือ นาย ก. จะลงเลือกตั้ง และพูดกับเพื่อนว่า “
เพื่อนดีๆอย่างนายคง จะไม่หักหลังผมในการเลือกตั้งครั้งนี้โดยไปเลือกให้ผู้อื่น อย่าง
แน่นอนใช่ไหม” ตรงนี้นาย ก. ได้อางจุดยืนที่แอบแฝงเอาไว้ คือ ‘การเลือกให้ผู้อื่นที่ตัวเอง
                                     ้
มั่นใจว่าจะทำาหน้าที่ได้ดี จะเท่ากับเป็นการ หักหลัง’ โดยปราศจากการพิสูจน์ หรือให้เหตุผล
ว่าทำาไมการไปเลือกผู้อื่นจึงถือว่าเป็นการ หักหลังกัน หรือ นาย ก. พูดกับเพื่อนว่า “ ผมหวัง
ว่าคุณคงจะไม่ปฏิเสธการเชิญของผมในครั้งนี้ เพื่อความสัมพันธ์ที่ดีของเราใช่ไหม ” ตรงนี้
นาย ก. ได้อางจุดยืนที่แอบแฝงเอาไว้ว่า การปฏิเสธคำาเชิญจะเท่ากับเป็นการทำาให้ความ
             ้
สัมพันธ์ได้รับผลกระทบ โดยที่ ก็ไม่ได้พิสูจน์ หรือให้เหตุผลแต่อย่างใด แต่ทึกทักที่แฝงไป
ด้วยการบังคับให้อีกฝ่ายคิดเช่นนั้นด้วย

25.     Question-Begging Definition (claim becomes “true” by questionable definition)
81

      กำาหนดคำานิยามของสิ่งหนึ่งสิ่งใดขึ้นมาเพื่อรองรับจุดยืนของตนเองว่าถูกตั้ง ซีงถ้ามี่
การกำาหนดนิยามเช่นนี้ขึ้นมา ตามความต้องการของตนเองแล้ว ก็จะไม่มีทางที่จะพิสูจน์ได้
ว่าจุดยืนของผู้ที่กำาหนดนิยามนั้นผิดพลาด เพราะฉะนั้นจุดยืนของตนเองถูกต้องหรือเป็น
จริงขึ้นมาได้ก็ด้วยนิยามทีตัวเองตังขึ้นมาก่อน เช่น นาย สมชาย นิยามรักแท้เอาไว้ว่า “ รัก
                               ่     ้
ที่จะไม่มีทางทีจะจบลงด้วยการหย่าร้าง หรือ แยกทางกัน” แต่เมื่อมีใครคนใดคนหนึ่งนำา
                 ่
หลักฐานมาพิสูจน์กับนาย สมชายว่า คนหลายคู่ที่เคยรักกันอย่างมาก แต่สุดท้ายก็หย่ากัน
นายสมชายก็ตอบกลับว่า “ นั่นไม่อาจเป็นรักที่แท้จริงได้ เพราะรักแท้นั้น ไม่มีทางทีจะจบลง่
ด้วยการหย่าร้างได้เป็นอันขาด” หรือพูดว่า “ คริสต์ที่แท้จริงจะไม่มีทางออกจากศาสนา
ตนเองละไปเข้าศาสนาอื่น” แต่เมื่อมีระดับบาทหลวงเข้ารับอิสลาม นาย สมชายก็จะพูดว่า
“ นั่นไม่ใช่คริสต์ที่แท้จริงได้เป็นอันขาด เพราะคริสต์ที่แท้จริงไม่มีทางออกจากศาสนาคริสต์
ได้” จะเห็นได้ว่าการกำาหนดขึ้นมาเช่นนี้ จะไม่มีหลักฐาน หรือข้อพิสูจน์อะไรมาสนับสนุน
เพื่อยืนยันว่านิยามที่กำาหนดขึ้นมานั้นเป็นความจริง แต่ถ้าพูดว่า “ ผูที่จะได้ชื่อว่าเป็นมุสลิม
                                                                      ้
สิ่งหนึ่งที่จะต้องมีคือ เชื่อว่าพระองค์อัลลอฮฺทรงเป็นพระเจ้าที่แท้จริง ” การพูดเช่นนี้ถือว่า
ใช้ได้ เพราะ นิยามของคำาว่ามุสลิมนั้นมีระบุเอาไว้ชัดเจนด้วยตัวบทหลักฐาน ไม่ได้เป็นการ
มานิยามกันเองของใครคนใดคนหนึ่งเพื่อรองรับจุดยืนของตนเอง

26.    Fallacy of the Continuum (assumption that a single increment is insignificant)

     มองข้ามหรือละเลยความแตกต่างระหว่างจุดสองจุดที่อยู่ตรงกันข้ามกัน หรือมองว่า
เนื่องจากไม่มีเส้นแบ่งระหว่างสองสิ่งทีชัดเจน จึงสรุปเอาว่า เพราะฉะนั้น เส้นแบ่งระหว่างสิ่ง
                                      ่
สองสิงจึงไม่เป็นความจริง หรือไม่มีความหมาย
      ่

27.    Fallacy of Composition (what’s true of the parts is true of the whole)

   ทึกทักว่าสิ่งใดที่เป็นความจริงในส่วนหนึ่งหนึ่งใด ก็จะต้องเป็นจริงเช่นกันแม้แต่ในภาพ
รวมของสิงนั้น
        ่

28.    Fallacy of Division (what’s true of the whole is true of the parts)

    ทึกทักว่าสิ่งใดที่ในภาพรวมเป็นจริงอย่างไร แม้แต่ในส่วนแต่ละส่วนก็จะต้องเป็นอย่าง
นั้นด้วย เช่น มนุษย์เป็นสิ่งที่มีชีวต มนุษย์เรามีส่วนประกอบคือ เซลล์ เพราะฉะนั้นเซลล์จึง
                                    ิ
เป็นสิ่งที่มีชีวตเช่นเดียวกัน .
                ิ

29. False Alternatives (assumes too few alternatives and that one of them must be
   true: if you’re not for us, you’re against us)

   กำาหนดตัวเลือกที่จำากัดให้เลือก ทังๆที่ในความเป็นจริงมีตัวเลือกมากกว่านั้น
                                     ้

30. Is-Ought Fallacy (because something is now the case, it should always be so; and
   v.v.)

    สิ่งหนึ่งสิ่งใดเป็นเช่นไร มันก็จะเป็นเช่นนั้นอยู่เสมอไป โดยเอาคนส่วนใหญ่มาอ้าง หรือ
เอาความเป็นสมัยปัจจุบันมาอ้างว่าคนในสมัยปัจจุบันเขาปฎิบัติกันเช่นนี้ หรือ เขาทำากันมา
อย่างนี้นานแล้ว

31.    Wishful Thinking (because someone wants something, it will is or will be true)
82



    นำาเอาความเชื่อตัวเองเป็นเหตุผลสนับสนุนความเชื่อของตนเอง เช่นพูดว่า เพราะผมเชื่อ
ว่าคุณเป็นคนเลว เพราะฉะนั้นคุณจึงเป็นคนเลว หรือพูดว่า ผมต้องเชื่อว่า อบูบักร อุมัร อุ
สมาน และ ซอฮาบะฮฺอีกหลายๆคนว่าเป็นมุรตัด สิ้นสภาพจากการเป็นมุสลิม เพราะมิเช่นนั้น
แล้วความเชื่อในศาสนาชีอะฮฺของผมก็จะถือว่าหลงผิด

32. Misuse of a General Principle (the rule has no exceptions; conversely, an
   exceptional case is used to invalidate the rule)

    ในกรณีที่จะต้องใช้กฏข้อยกเว้น แต่กลับนำากฏทั่วไปมาใช้ เช่น การฝ่าไฟแดง การพูด
โกหก หรือ ในกรณีที่จะต้องใช้กฏโดยทั่วไป แต่กลับมาข้อยกเว้นมาใช้ เช่น โดยทั่วไปแล้ว
มอรฟีนเป็นสิ่งที่ไม่อนุญาต แต่ก็อาจจะอนุญาตในบางกรณีเท่านั้น ไม่ใช่เพราะการที่มีคน
หนึ่งสามารถใช้มอรฟีนได้แล้วจะหมายความว่า ทุกคนก็สามารถใช้ได้ด้วย

33.    Fallacy of the Mean (the middle ground between two extremes is right)

     เอาความเป็นกลาง หรือสภาวะที่เป็นกลาง ระหว่างสุดขั่วทั้งสองมาเป็นเหตุผลสนับสนุน
เช่น ละหมาดมี 5 เวลา ละหมาดแค่ 3 เวลาก็โอเค หรือ ถือ         ศิลอดมี 30 วัน ถือแค่ 15 วันก็
โอเค หรือ นาย ก. กำาลังจะซื้อของ โดยนาย ข. เสนอราคาขายไป 300 บาท แต่นาย ก.
บอกว่า ขอลดเหลือ 200 นาย ก. จึงให้เหตุผลว่า ถ้าเช่นนั้น 250 ระหว่างกลางถือว่า
ยุติธรรมที่สุด ซึงในความเป็นจริงแล้ว ราคา 250 คือ ราคาต้นทุน ซึงถ้าขายไปในราคานั้น
                 ่                                                 ่
จะไม่ได้กำาไรอะไรเลย เพราะฉะนั้น การอ้างความเป็นกลางในที่นี้จึงถือว่าไม่ยุติธรรม และ
เป็นเหตุผลที่ผิด หรือ เช่น ชาวปาเลสไตนต้องการให้ยิวหยุดการสร้างบ้านยิวในพื้นที่ของ
ชาวปาเลสไตน แต่ยิวไม่ยอม กระนั้นก็ตาม ยิวกลับยื่นของเสนอว่า “ พบกันคนละครึ่งทาง
โดยให้ชาวปาเลสไตนยอมรับสถานะของรัฐยิว และยิวจะหยุดสร้างบ้าน ในพื้นที่ปาเลสไตน
 ” จะเห็นได้ว่า ยิวชั่วที่คิดเช่นนี้ ได้สร้างมาตรฐานของความเป็นกลางขึ้นมาเอง และสร้าง
ภาพว่านี่คือความเป็นกลางที่ยติธรรม ซึงในความเป็นจริงแล้วเปล่าเลย หากแต่เป็นการใช้
                                 ุ            ่
เหตุผลที่ผิดพลาด เพื่อรองรับความชั่วของตนเอง และเราจะเห็นได้ว่า ตัวของการ
ประนีประนอมเองนั้น ตัวมันเองไม่อาจทีจะบ่งได้วาเป็นสิ่งที่ดีเสมอไป แต่สงที่จะบ่งได้ว่าการ
                                            ่      ่                      ิ่
ประนีประนอมเป็นสิ่งที่ดีหรือไม่นั้น คือ เหตุผลที่ยอมรับได้ ไม่ผิดลาดในการใช้เหตุผล ใน
เนื้อหา หรือ รายละเอียด ของเรื่องนั้นๆที่ขัดแย้งกันอยู่

34. Faulty Analogy (because two things are alike in one respect or more, they must be
   alike in other respects)

   ใช้การเปรียบเทียบที่ผิด โดยคิดว่าสิงสองสิงที่เหมือนกันในด้านหนึ่ง แล้วด้านอื่นจะต้อง
                                      ่     ่
เหมือนกันด้วย นำาสองสิ่งมาเปรียบเทียบ ทังๆที่ทั้งสองมีรายละเอียดทีแตกต่างกัน อันจะยัง
                                        ้                         ่
ผลทำาให้การเปรียบเทียบใช้ไม่ได้

35. Fallacy of Novelty (new is good) เอาความใหม่ หรือ ความทันสมัยมาเป็นเหตุผล
   รองรับจุดยืนตนเอง

36. Insufficient Sample (drawing conclusion from too few instances; the “hasty
   generalization” or “fallacy of the lonely fact”)
83

      การด่วนสรุปจากตัวอย่างเพียงไม่กี่ตัวอย่าง ทียังมาครอบคลุม เช่น มีหลักฐานว่ามุสลิม
                                                  ่
ที่ถูกจับได้ 100 คนมีความเชือว่าอนุญาตให้เข่นฆ่าผู้บริสุทธิได้ ก็เลยเหมารวมว่า หรือ สรุป
                            ่                              ์
ว่า มุสลิมส่วนใหญ่ มีความเชื่อเช่นนี้เหมือนกัน

37.    Unrepresentative Data (conclusion drawn from data that’s exceptional or biased)

         ทำาสำารวจไม่ทั่วถึงทุก กลุ่มคนที่เกี่ยวข้อง ซึงจะมีผลต่อข้อสรุปที่จะได้ออกมา เป็น
                                                       ่
เหตุทำาให้เกิดความไม่ยุติธรรม และแฝงเอาไว้ด้วยอคติ เช่นเลือกสำารวจเฉพาะบางกลุ่มคน
หรือ บางชนชาติ หรือ บางศาสนา หรือ บางพื้นที่ หรือ บางกลุ่มคนที่จบการศึกษาด้านหนึ่ง
ด้านใด หรือ ด้านอายุ ที่เป็นเป้าหมายของตนเอง เพื่อใช้รองรับจุดยืนของตนเอง เช่นไป
สำารวจคนเฉพาะแถบอีสานจำานวน 30,000 คน และ สรุปออกมาว่า คนไทยกินข้าวเหนียว
เป็นอาหารหลัก จริงอยู่ว่าจำานวนอาจจะมากจริง แต่ ครอบคลุมไปทั่วถึง เป็นเหตุให้ได้ข้อ
สรุปที่ผิดพลาด

38. Arguing from Ignorance (it’s true because there’s no evidence to the contrary)



          เอาการไม่ม ีห ลัก ฐาน มาเป็น หลัก ฐานเสีย เอง เพื่อ รองรับ จุด ยืน ของ
   ตนเอง การที่ขออ้างหนึ่งไม่มีหลักฐานมายืนยันสนับสนุนทั้งในทางบวกหรือลบ นั่นไม่
                   ้
   ได้เป็นหลักฐานว่าสิ่งนั้นๆจะต้องเป็นเช่นนั้นหรือจะต้องไม่เป็นเช่นนั้น เช่น “เนื่องจาก
   คุณพิสูจน์ไม่ได้ตามที่คุณอ้างมาว่า ผีไม่มีจริง เพราะฉะนั้น ผีจงมีจริง ” เราจะเห็น
                                                                 ึ
   ว่าการที่ฝายหนึ่งหาหลักฐานมายืนยันไม่ได้วาผีไม่มีจริงนั้น นั่นไม่ได้หมายความว่า
             ่                                   ่
   เพราะฉะนั้นผีจะต้องมีจริง แต่การจะพูดแบบฟันธงได้ว่าผีมีจริงนั้น ฝ่ายที่เชื่อจะต้องนำา
   หลักฐานข้อพิสูจน์มายืนยันการมีอยู่จริงของผี เรื่องนี้สามารถใช้กับเรื่อง พระเจ้าก็ได้
   แต่เราจะต้องพิจารณาและวิเคราะห์ดูให้ดีๆในแต่ละกรณีว่า มันจะเรียกว่าเป็นการ
   Appeal to Ignorance หรือไม่ / เอาการไม่มีหลักฐานมาเป็นหลักฐานเสียเอง เพื่อรองรับ
   จุดยืนของตนเอง เช่นผู้ที่เป็นศัตรูอิสลามอาจจะพูดว่า “ การที่ไม่มีหลักฐานยืนยันว่า มุ
   ฮัมหมัดไม่เคยพูดโกหก นั่นไม่ได้หมายความว่า มุฮัมหมัดจะไม่เคยพูดโกหกเลย” ใน
   กรณีเช่นนี้ เราจะต้องโต้ตอบว่า ถ้าเราพิสูจน์ได้ว่ามีหลักฐานยืนยันว่า มุฮัมหมัดได้รับ
   ฉายาจากผู้ที่อยู่ร่วมสมัยกับเขาว่า “ อัล-อามีน” ซึงมีความหมายว่า ผู้ที่มีความซื่อสัตย์ยิ่ง
                                                        ่
   อีกทั้ง ยังได้รับการยอมรับแม้แต่ผู้เป็นศัตรูถึงความซื่อสัตย์ และยิงไปกว่านั้น แม้แต่ศัตรู
                                                                         ่
   ก็ยังนำาสิงของมาฝากกับมุฮัมหมัด อันเนื่องจากความไว้วางใจในตัวมุฮมหมัด ถ้าพิสูจน์
             ่                                                                ั
   ได้เช่นนี้แล้ว เขาผู้นั้นไม่มีสิทธิ์ที่จะยังกล่าวว่า   “ การที่ไม่มีหลักฐานยืนยันว่า มุฮัม
   หมัดไม่เคยพูดโกหก นั่นไม่ได้หมายความว่า มุฮัมหมัดจะไม่เคยพูดโกหกเลย” แต่เป็น
   หน้าที่ของเขาผู้นั้นจะต้องนำาหลักฐานมาให้ได้ที่จะพิสูจน์ว่า มุฮัมหมัดเคยโกหกจริง
   เพราะเขาไม่อาจที่จะเอาการไม่มีหลักฐานมาเป็นหลักฐานเสียเองได้อีกต่อไป และถ้าเขา
   ไม่อาจที่จะหาหลักฐานที่เชื่อได้มายืนยันได้วามุฮัมหมัดเคยพูดโกหก เช่นนั้น ตามหลัก
                                                     ่
   วิชาการ เราจะต้องยืนยันว่า มุฮัมหมัดไม่เคยพูดโกหก

       เช่นกัน ศัตรูอิสลามบางคนอ้างว่า “ การที่ไม่มีหลักฐานว่า ฮะดีษนั้นถูกเปลี่ยนแปลง
   แก้ไข นั่นไม่ได้หมายความว่า ฮะดีษจะไม่เคยถูกเปลี่ยนแปลงแก้ไขเลย” เราขอตอบว่า
    “ คุณไม่มีสิทธิ์ที่จะเอาการไม่มีหลักฐานมาเป็นหลักฐานเสียเองได้ แต่คุณต่างหากที่จะ
   ต้องเป็นฝ่ายนำาหลักฐานมาพิสูจน์ยืนยันว่า ฮะดีษได้เคยถูกเปลี่ยนแปลงแก้ไข เช่น ฮะ
   ดีษ บุคอรีที่มีอยู่ในปัจจุบันนั้น ไม่เหมือนกับ ฮะดีษบุค คอรีเมื่อ 500 ปีที่แล้ว ถ้าคุณไม่
84


สามารถนำาหลักฐานมายืนยันถึงการถูกเปลี่ยนแปลงได้ เช่นนี้ เราจะต้องยืนยันว่า ฮะดีษ
ไม่มีถูกเปลี่ยนแปลงแก้ไข ทั้งนี้ก็เพราะว่า ตำาราบันทึกฮะดีษบุคคอรี เหมือนกันทั่วโลก
ไม่ว่าจะฉบับเก่าแก้ หรือฉบับใหม่ที่ถูกพิมพ์ออกมา สามารถเทียบกันดูได้ และอีกอย่างก็
คือ ตำาราบันทึกประวัติบรรดานักรายงานฮะดีษแต่ละเล่มก็เหมือนกันทั่วโลก เช่นตำารา
บันทึกประวัติบรรดานักรายงานฮะดีษที่มีชื่อว่า ตับรีบุซตะฮิซบ ไม่ว่าจะสมัยไหนก็
                                                           ี
เหมือนกัน ไม่มีการถูกเปลี่ยนแปลงแม้แต่ในรายละเอียดของตำารา ซึงในตำาราบันทึก
                                                                    ่
ประวัติบรรดานักรายงานฮะดีษนี้ ประวัติ ที่มาทีไป และรายละเอียดต่างๆของนักรายงาน
                                                ่
ฮะดีษแต่ละคนจะถูกบันทึกเอาไว้อย่างตรงไปตรงมา ไม่ว่าจะเป็น เรื่องความจำา ความน่า
เชื่อถือ เคยโกหกเอาไว้หรือไม่ แม้แต่ครังเดียว มีอาจารย์ชื่ออะไร มีลูกศิษย์ชื่ออะไร
                                         ้
เกิดที่ไหน ตายที่ไหน มีความเชื่อเป็นอย่างไร เขียนตำาราเอาไว้กี่เล่ม และลายละเอียด
อื่นๆ ที่จะถูกนำามาใช้ในการตัดสินว่า ฮะดีษบทนั้นๆที่เขาได้รายงานนั้นเชื่อถือได้หรือ
ไม่

     แต่กระนั้นก็ตามในบางกรณี จะไม่ถือว่าเป็นการ Appeal to Ignorance เช่น คนๆ
หนึ่งถูกกล่าวอ้างว่า ทำาในสิ่งทีผิดกฏหมาย แต่กระนั้นก็ตาม ผูที่กล่าวอ้างว่าคนๆนั้นทำา
                                    ่                               ้
สิ่งทีผิดกฏหมายไม่มอะไรมาเป็นหลักฐานยืนยัน เพื่อเอาผิดเขา และในขณะเดียวกัน
      ่                  ี
คนๆนั้นก็ไม่มีหลักฐานยืนยันว่าตัวเองไม่ได้ทำาผิดจริง เช่นนี้ เราจะต้องเราสามารถ
ทึกทักเอาเองได้ก่อนเบื้องแรกว่า ข้ออ้างนั้นไม่เป็นความจริง คือ เขาไม่ได้ทำาความผิด
และ อีกอย่างก็คือ เมื่อพิจารณาดูวาข้ออ้างนั้น ฟังดูไม่ค่อยน่าจะมีความเป็นไปได้ หรือ
                                        ่
เป็นสิ่งที่ใหม่ที่ไม่เคยเกิดมาก่อน เช่นคนๆหนึ่งอ้างว่าได้ไปดาวอังคารมา โดยมีมนุษย์
ต่างดาวพาไป หรือ แม้แต่เปาโลที่อ้างว่าได้เจอกับพระเยซู เมื่อเป็นเช่นนี้ก็จะเข้ากฏอีก
ข้อก็คือ ให้เป็นผู้ที่อ้างสิ่งหนี่งสิ่งใดขึ้นมา เขาผู้นั้นจะต้องนำาหลักฐานข้อพิสูจน์มายืนยัน
เพราะโดยปรกติทั่วไปแล้ว สิ่งนี้ไม่เกิดขึ้นเป็นที่แพร่หลาย

    สิ่งที่ถ้าเป็นจริงแล้ว ก็จะสามารถรู้ได้ และถ้าไม่สามารถรู้ถึงสิ่งนั้นๆได้ว่าเป็นจริง
เพราะฉะนั้นสิ่งนั้นจึงไม่เป็นความจริง เราเรียกเป็นภาษาอังกฤษได้ว่า "auto-epistemic"
("self-knowing") เช่นพูดว่า “ ถ้าผมถูกรับมาเลี้ยงเป็นลูกบุญธรรม ผมก็จะรู้แล้วใน
ตอนนี้ แต่เนื่องจากผมไม่รับรู้เลยว่าผมนั้นลูกรับมาเลี้ยง ดังนั้นผมจึง ไม่ได้เป็นลูก
บุญธรรม”

    เช่นเดียวกัน เมื่อได้มีการตรวจสอบสิ่งๆหนึ่งดูอย่างดีแล้ว ถือว่ามีเหตุผลที่เราจะ
บอกได้ว่า สิงนั้นๆเป็นเท็จอันเนื่องจากไม่มีหลักฐานที่จะมาสนับสนุนว่ามันเป็นจริง เช่น
            ่
ถ้ายาชนิดหนึ่งได้รับการตรวจสอบ ทดลองโดยอย่างดีแล้วว่ามีผลที่ก่อให้เกิดอันตราย
หรือไม่ และไม่ปรากฏพบเลยว่าจะมีผลอันตรายใด เช่นนี้ ถือว่าเป็นการสมเหตุสมผลที่
จะสรุปได้ว่า ยานี้ปลอดภัย

    ในขณะที่การไม่มีหลักฐานยืนยันในบางสิงนั้นถือว่าเป็นที่รู้กันว่าเชื่อถือได้ เช่น
                                            ่
ตารางเดินเครื่องบิน ทังบินเข้าและบินออก ถ้าเราดูทตารางเดินเครื่องบินแล้ว ไม่พบว่า
                      ้                           ี่
มีเครื่องบินไปและบินกลับมาจากตุรกีเลย เราสันนิษฐานเอาได้เลยว่าวันนั้นๆ ไม่มีเครื่อง
บินๆไป หรือ กลับจากประเทศตุรกี ทั้งนี้ก็เพราะเวลาเข้าและออกของทุกสายการบินจะ
ถูกระบุเอาไว้ในตารางนี้ ที่อื่นไม่มี ในภาษาอังกฤษเราจะเรียกว่า      “ closed world
assumption”
85


39. Contrary-to-Fact Hypothesis (treats a hypothetical claim as a statement of fact to
   argue that things would have been different)

    อ้างเหตุผลเพื่อสนับสนุนจุดยืนตนเองโดยใช้ ข้อสันนิษฐานที่มีขึ้นที่ตรงกันข้ามกับความ
จริงที่เกิดขึ้นในอดีต หรือ สิงที่จะเกิดขึ้นในอนาคต ทั้งๆที่ไม่มีหลักฐานยืนยันว่าต้องเป็นเช่น
                             ่
นั้น เช่นพูดว่า:

    1. ผมแพ้การแข่งขันเทนนิส 2. ก็เนื่องมาจากการที่ผมไม่ได้ฝึกซ้อมลูก backhand
อย่างเพียงพอก่อนหน้าที่จะลงแข่ง 3. การฝึก
    ลูก backhand จะเป็นตัวชี้ แพ้ ชีชนะ สำาหรับผม 4. เพราะฉะนั้น ถ้าผมได้ฝึกลูก
                                    ้
backhand ก่อนลงแข่งให้ดีแล้วล่ะก็ ผม
    ต้องชนะการแข่งขัน

        สิ่งทีตรงกันข้ามกับความจริงที่เกิดขึ้นคือ ข้อความที่ 3 แต่กระนั้นก็ตาม เขาจะต้อง
              ่
ให้เหตุผล หรือ หลักฐาน เพื่อที่จะมายืนยันว่า ตัวชีแพ้ ชี้ ชนะ คือ การฝึกลูก backhand
                                                    ้
ไม่ใช่นำาเอา ข้อความที่ 3 มาเป็นเหตุผลสนับสนุน (premise) เสียเอง หากแต่ว่าข้อความที่
3 เ เอง ถือว่าเป็นจุดยืน ( conclusion) ที่จะต้องมีเหตุผล (premise) มาสนับสนุนตัวมันเอง
เพราะมิเช่นนั้นแล้ว ข้อความที่ 3 อย่างมากก็เป็นได้แค่ ข้อสันนิษฐานเท่านั้น ไม่ใช่ความจริง
/ ส่วนข้อความที่ 1 และ 2 คือ ความจริงที่เกิดขึ้น และข้อความที่ 4 คือ จุดยืน ( conclusion)
โดยที่ในที่นี้ข้อความที่ 3 ถูกทำาให้เป็นเหตุผลสนับสนุน (premise) เสียเอง ทั้งๆทีมันเป็น
                                                                                ่
จุดยืนที่จะต้องถูกพิสูจน์ว่าจริงหรือไม่ โดยจะต้องมี เหตุผล ( premise) เข้ามาสนับสนุน

         หรือ เช่นพูดว่า “ ถ้าผมได้อยู่หอนอกมหาวิทยาลัย 1. ผมจะมีเวลาอ่านหนังสือมาก
ขึ้น 2. เกรดของผมก็จะดีขึ้น และ 3. ผมก็จะมีเวลานอนหลับพักผ่อนได้มากขึ้น” จะเห็นได้ว่า
ข้อความแต่ละข้อความเหล่าตัวมันเอง บ่งบอกถึง จุดยืน ไม่ใช่ เหตุผลสนับสนุน (premise)
เพราะฉะนั้น จะต้องมีเหตุผล หรือหลักฐานเข้ามาเพื่อสนับสนุน เพื่อที่จะเชื่อมเพื่อเป็น
เงื่อนไขระหว่าง การอยู่หอนอกมหาวิทยาลัย ให้กับ ขอความที่ 1, 2 และ 3

40.    Fallacy of Popular Wisdom (substituted in the place of good evidence for a claim)

   สนับสนุนจุดยืนตนเอง โดยนำาเอาคำาพูดของนักปราชญ์ หรือ คำาคติพจน์ หรือ คำาพังเพย
มาแทนที่หลักฐาน หรือ เหตุผลที่เชื่อถือได้ และมีนำ้าหนัก

41.    Inference from a Name or Description (claim made by the label is true)

      ให้เหตุผลสนับสนุนจุดยืนของตนเองโดยอ้าง สิงที่ถูกสร้างภาพ หรือฉายภาพออกมาว่า
                                                   ่
เป็นเช่นนั้นเช่นนี้มาเป็นเหตุผล ทังๆที่ในความเป็นจริงแล้วไม่จำาเป็นว่าจะต้องเป็นเช่นนั้น
                                   ้
ตาม สิ่งภายนอกที่ปรากฏออกมาภายนอก กับความเป็นจริงนั้น อาจจะแตกต่างกันก็ได้
เพราะฉะนั้นเมื่อเราพบป้าย หรือโฆษณา หรือข้อความใดๆ ที่อาจจะสื่อให้เราสรุปที่อาจจะไม่
ตรงกับความเป็นจริงแล้ว เช่นนี้เรามีเหตุผลที่จะตังข้อสงสัยได้ เพื่อวิเคราะห์ต่อไปว่า ความ
                                                 ้
เป็นจริงนั้นสอดคล้องกับสิ่งที่กล่าวเอาไว้ในป้าย โฆษณา หรือ สิงอื่นๆ หรือไม่ เช่น ข้อความ
                                                               ่
ที่ว่า “ โรงแรมนี้ มีเครื่องอำานวยความสะดวกสบายมากที่สุดในโลก” หรือ “ ประเทศอินเดีย
ปกครองด้วยระบบประชาธิปไตย เพราะฉะนั้น เราไม่ต้องไปสงสัยอีกว่า ยังจะมีระบบชนชั้น
วรรณะอีกหรือไม่” แต่ถ้าข้อความที่ต้องการบอกให้รู้ โดยไม่มีอะไรที่สื่อให้เราได้ข้อสรุปที่
ผิดๆ ก็ไม่มีความจำาเป็นอันใดที่จะต้องไปสงสัย เช่นป้ายเขียนว่า “ ขณะนี้ท่านกำาลังเข้าสู่
มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ” หรือ ป้าย “ ร้านนี้มผัก ผลไม้ขาย”
                                               ี
86



42. Fallacy of Impossible Precision (Uses statistics with exactitude impossible to
   attain)

   สนับสนุนจุดยืนของตนเองด้วยตัวเลขทางคณิตศาสตร์ ซึงในความเป็นจริงแล้ว มันคือ
                                                        ่
การสุ่มเดาเอาเอง แต่ถูกสร้างภาพให้ดูราวกับว่าเป็นความจริง หรือเป็นเช่นนั้นจริงๆ และมี
ความแน่นอน ซึงการอ้างตัวเลขนี้จะทำาให้ดูน่าเชื่อถือมากกว่าการอ้างที่ไม่มีตัวเลข ซึ่งใน
               ่
บางกรณีนั้นสามารถกล่าวได้ว่า ไม่มีความเป็นไปได้เลยที่จะได้ตัวเลขเช่นนั้นมาโดย
สอดคล้องกับความเป็นจริง

43. Special Pleading (argument for preferential treatment)

    ใช้มาตรฐาน หรือกฏเกณฑ์ หนึ่งๆกับ สิ่งหนึ่ง หรือ คนหนึ่งคนใด แต่กลับไม่ใช้
มาตรฐาน หรือ กฏเกณฑ์เดียวกันนี้ กับอีกสิ่งหนึ่ง หรือคนหนึ่ง โดยอ้างว่าแตกต่างกัน ซึง
                                                                                   ่
เขาจะต้องให้เหตุผลที่มีนำ้าหนักมาให้ได้ว่า มันแตกต่างกันอย่างไร

44.    Omission of Key Evidence (missing principal proof needed to support conclusion)

     ละเลยที่จะกล่าวถึง เหตุผลที่เป็นเงื่อนไขสำาคัญ ในการใช้สนับสนุนข้อสรุป หรือจุดยืน
โดยอ้างเหตุผลย่อยๆที่ไม่ใช่เหตุผลทีแท้จริงที่จะไปสนับสนุนข้อสรุป หรือจุดยืน หรือ การ
                                      ่
ให้เหตุผลที่ยังไม่เพียงพอที่จะนำาไปใช้สนับสนุนจุดยืนได้ เช่นกล่าวว่า “ เราชอบหลายๆสิ่ง
เหมือนกัน และเราก็ไปโบสถ์เดียวกัน เราชอบอาหารรสชาดเดียวกัน และผมก็ชอบสัตว์
เลี้ยงของคุณ และผมก็สามารถเก็บเงินที่ได้จากการทำางาน ดังนั้นเราควรที่จะแต่งงานกัน”
จะเห็นได้ว่า เหตุที่เป็นเงื่อนไขสำาคัญ ในการใช้สนับสนุนข้อสรุป หรือจุดยืน นั้นไม่ได้ถูก
กล่าว นั่นก็คือ การที่ทั้งสองมีความรักต่อกัน และพร้อมและพอใจที่จะใช้ชีวตร่วมกัน ได้แต่
                                                                        ิ
กล่าวถึงเหตุผลย่อยๆ ทีอาจจะไม่ค่อยมีนำ้าหนักเลยก็ว่าได้ที่จะใช้ไปสนับสนุนจุดยืนที่ว่า “
                          ่
เพราะฉะนั้นเราควรที่จะแต่งงานกัน”

45. Confusion of a Necessary with a Sufficient Condition (event will occur because a
   necessary condition is present)

     สับสนระหว่าง การที่มีเงื่อนไขที่จำาเป็น และการมีเงื่อนไขที่เพียงพอ ที่จะ
ทำาให้สิ่งหนึ่งเกิดขึ้นได้ การที่สิ่งหนึ่งหรือเหตุการณ์หนึ่งจะเกิดขึ้นมาได้นั้น จะ
ต้องมีสิ่งที่เรียกว่าเป็นเงื่อนไขจำาเป็นที่จะทำาให้สิ่งหนึ่งๆเกิดขึ้น ถ้าไม่มีเงื่อนไข
นี้ สิ่งนั้นๆก็จะไม่สามารถเกิดขึ้นมาได้ แต่กระนั้นก็ตามเงื่อนไขนั้นๆก็ยังไม่
ถือว่าเพียงพอที่จะทำาให้สิ่งนั้นๆเกิดขึ้นได้ เพราะฉะนั้น เราจะต้องไม่สับสน
ระหว่าง สิ่งที่ถือเป็นเงื่อนไขจำาเป็นที่จะทำาให้สิ่งหนึ่งๆเกิดขึ้น กับ เงื่อนไขที่
เพียงพอที่จะทำาให้สิ่งหนึ่งๆเกิดขึ้นมาได้ ถ้ามีเงื่อนไขที่พอเพียง สิ่งนั้นที่กำาลัง
พูดถึงอยู่จะเกิดขึ้นอย่างแน่นอน แต่ไม่จำาเป็นว่าถ้ามี เงื่อนไขจำาเป็นแล้ว สิ่งที่
กำาลังพูดถึงอยู่จะเกิดขึ้นมาได้ ยกตัวอย่าง เรื่อง รถจะวิ่งได้ต้องมีนำ้ามัน เป็น
เงื่อนไขจำาเป็น แต่กระนันก็ตองอาศัยเงื่อนไขอื่นๆด้วยเช่นกัน เพื่อรวมกันแล้ว
                                 ้
ทำาให้เกิดเงื่อนไขที่พอเพียงที่จะทำาให้รถวิ่งได้ เช่น ล้อรถ เครื่องยนตร์ ... พืช
จะเจริญเติบโตได้ต้องรดนำ้าเป็นเงื่อนไขจำาเป็น แต่นำ้าอย่างเดียวยังไม่เพียง
พอที่จะทำาให้ต้นไม้เจริญเติบโตได้
87



46. Causal Oversimplification (whereas antecedents to an event work together to
   bring it about, this fallacy designates only the most obvious antecedent as cause)

      แน่นหรือมุ่งนำาเอาสิ่งหนึ่งสิ่งใดมาเป็นสาเหตุของสิงที่เกิดขึ้น ทังๆที่ในความเป็นจริงแล้ว
                                                        ่              ้
มีสิ่งอื่นๆที่เป็นสาเหตุร่วมกันด้วย ซึงสาเหตุหนึ่งสาเหตุใดไม่อาจที่จะทำาให้เกิดสิ่งนั้นได้
                                       ่
อย่างเป็นเอกเทศ เพราะฉะนั้นจะต้องมี เงื่อนไขที่เพียงพอ ( sufficient conditions) จึงเป็น
สิ่งสำาคัญที่จะทำาให้เกิดสิ่งนั้นขึ้นมาได้

47. Post Hoc Fallacy (assumes that event B is caused by event A, simply because B
   follows A in time)

    ผิดพลาดในการชี้สาเหตุทแท้จริง ละเลยต่อสาเหตุที่แท้จริงของสิงๆหนึ่งที่เกิดขึ้น และ
                                  ี่                                    ่
นำาสิ่งหนึ่งที่ไม่ใช่สาเหตุที่แท้จริงมาทึกทักเอาว่าเป็นสาเหตุที่แท้จริง แต่ในความเป็นจริง
แล้วสาเหตุทแท้จริงของสิ่งๆนั้นที่เกิดขึ้นนั้นเป็นอีกอย่างหนึ่ง
                ี่

48. Confusion of Cause and Effect (confusion of a thing with what it brings about)

    สับสนระหว่างสาเหตุ และ ผลที่เกิดขึ้น เช่น “ พูดว่านาย เอ. ได้คะแนนดีกว่าคนอื่นๆ
เพราะ เขาเป็นคนที่คุณครูรักมากกว่าคนอื่นๆ” แต่ในความเป็นจริงแล้ว ต้องพูดอย่างนี้จึงจะ
ถูก “ ที่นาย เอ. เป็นคนที่คุณครูรักมากกว่าคนอื่นๆ ก็เพราะ เขาได้คะแนนดีกว่าคนอื่นๆ ”

49. Neglect of a Common Cause (fallacious statement fails to recognize that two
   related events may not be causally related at all, but rather are effects of a common
   cause)

     ละเลยต่อสาเหตุร่วม กล่าวคือ สองเหตุการณ์เกิดขึ้น เช่น เหตุการณ์ เอ กับ บี โดยเข้าใจ
ไปว่า ที่เหตุการณ์ เอ เกิดขึ้นได้ก็เพราะมีสาเหตุมาจาก เหตุการณ์ บี แต่ในความเป็นจริง
แล้ว ทั้ง เอ และ บี เกิดขึ้นมาได้เพราะต่างก็มีสาเหตุมาจาก เหตุการณ์ ซี เช่นกล่าวว่า    “
เนื่องจากคุณครูที่สอนเด็กประถมศึกษาส่วนใหญ่มีลูกเป็นของตัวเองแล้ว ด้วยเหตุนี้เอง จะ
ต้องเป็นเพราะการสอนที่เป็นตัวกระตุ้นให้เกิดความต้องการเป็นพ่อ แม่ หรือไม่ก็ เพราะ
ความเป็นพ่อแม่ จะต้องเป็นตัวกระตุ้นให้เกิดความสนใจที่จะสอนเด็กๆประถม ” แต่กระนั้น
ก็ตาม ทังสองไม่ใช่สาเหตุของกันและกัน แต่ทั้งสองมีสาเหตุร่วมกันนั้นก็คือ ความรักในตัว
          ้
เด็ก เป็นสาเหตุทำาให้หลายๆคนต้องการเป็นพ่อ แม่ อีกทั้งเป็นครูสอนเด็กประถม

50. Domino Fallacy (fallacy assumes, without evidence) that a particular action or
   event is just one, usually the first, in a series of steps that will lead inevitably to some
   specific consequence)

    ทึกทักเอาเองโดยไม่มีหลักฐานยืนยันหรือเหตุผลที่เพียงพอว่า ถ้าเหตุการณ์ เอ เกิดขึ้น
เหตุการณ์ บี ซี ดี และ อื่นๆ จะต้องเกิดขึ้นตามมาด้วย ทั้งๆที่ไม่จำาเป็นที่จะต้องเป็นเช่นนั้น
เลย

51. Gambler’s Fallacy (argues that because a chance event has occurred a certain way in
    the past, the probability of its occurrence in the future is altered)
Names list of_logical_fallacy
Names list of_logical_fallacy
Names list of_logical_fallacy
Names list of_logical_fallacy

More Related Content

Viewers also liked

THE SUN CITY MINH SƠN, QUẬN 9
THE SUN CITY MINH SƠN, QUẬN 9THE SUN CITY MINH SƠN, QUẬN 9
THE SUN CITY MINH SƠN, QUẬN 9
Reland Hau
 
แนวทางของนักปราชญ์ในการพิจารณาตัวบทฮะดีษ
แนวทางของนักปราชญ์ในการพิจารณาตัวบทฮะดีษแนวทางของนักปราชญ์ในการพิจารณาตัวบทฮะดีษ
แนวทางของนักปราชญ์ในการพิจารณาตัวบทฮะดีษMuttakeen Che-leah
 
เดินทางโดยไม่มีมะฮฺรอม.Doc
 เดินทางโดยไม่มีมะฮฺรอม.Doc  เดินทางโดยไม่มีมะฮฺรอม.Doc
เดินทางโดยไม่มีมะฮฺรอม.Doc Muttakeen Che-leah
 
Book wahabi
Book wahabiBook wahabi
Book wahabi
Muttakeen Che-leah
 
เล่ห์ชัยฏอน
เล่ห์ชัยฏอนเล่ห์ชัยฏอน
เล่ห์ชัยฏอนMuttakeen Che-leah
 
มาตรวจสอบอารมณ์กันก่อนที่จะวิเคราะห์
มาตรวจสอบอารมณ์กันก่อนที่จะวิเคราะห์มาตรวจสอบอารมณ์กันก่อนที่จะวิเคราะห์
มาตรวจสอบอารมณ์กันก่อนที่จะวิเคราะห์Muttakeen Che-leah
 
New patani by anond.
New patani by anond.New patani by anond.
New patani by anond.
Muttakeen Che-leah
 
ตรรกเอาความเป็นรูปธรรม
ตรรกเอาความเป็นรูปธรรมตรรกเอาความเป็นรูปธรรม
ตรรกเอาความเป็นรูปธรรมMuttakeen Che-leah
 
แผนที่ตรรกะ
แผนที่ตรรกะแผนที่ตรรกะ
แผนที่ตรรกะMuttakeen Che-leah
 
วิเคราะห์ฮะดีษ
วิเคราะห์ฮะดีษวิเคราะห์ฮะดีษ
วิเคราะห์ฮะดีษMuttakeen Che-leah
 
ถลกหนังไซออนนีส
ถลกหนังไซออนนีสถลกหนังไซออนนีส
ถลกหนังไซออนนีสMuttakeen Che-leah
 

Viewers also liked (13)

THE SUN CITY MINH SƠN, QUẬN 9
THE SUN CITY MINH SƠN, QUẬN 9THE SUN CITY MINH SƠN, QUẬN 9
THE SUN CITY MINH SƠN, QUẬN 9
 
แนวทางของนักปราชญ์ในการพิจารณาตัวบทฮะดีษ
แนวทางของนักปราชญ์ในการพิจารณาตัวบทฮะดีษแนวทางของนักปราชญ์ในการพิจารณาตัวบทฮะดีษ
แนวทางของนักปราชญ์ในการพิจารณาตัวบทฮะดีษ
 
Al kafi
Al kafiAl kafi
Al kafi
 
เดินทางโดยไม่มีมะฮฺรอม.Doc
 เดินทางโดยไม่มีมะฮฺรอม.Doc  เดินทางโดยไม่มีมะฮฺรอม.Doc
เดินทางโดยไม่มีมะฮฺรอม.Doc
 
Book wahabi
Book wahabiBook wahabi
Book wahabi
 
เล่ห์ชัยฏอน
เล่ห์ชัยฏอนเล่ห์ชัยฏอน
เล่ห์ชัยฏอน
 
มาตรวจสอบอารมณ์กันก่อนที่จะวิเคราะห์
มาตรวจสอบอารมณ์กันก่อนที่จะวิเคราะห์มาตรวจสอบอารมณ์กันก่อนที่จะวิเคราะห์
มาตรวจสอบอารมณ์กันก่อนที่จะวิเคราะห์
 
New patani by anond.
New patani by anond.New patani by anond.
New patani by anond.
 
Pramote tarorveah
Pramote tarorveahPramote tarorveah
Pramote tarorveah
 
ตรรกเอาความเป็นรูปธรรม
ตรรกเอาความเป็นรูปธรรมตรรกเอาความเป็นรูปธรรม
ตรรกเอาความเป็นรูปธรรม
 
แผนที่ตรรกะ
แผนที่ตรรกะแผนที่ตรรกะ
แผนที่ตรรกะ
 
วิเคราะห์ฮะดีษ
วิเคราะห์ฮะดีษวิเคราะห์ฮะดีษ
วิเคราะห์ฮะดีษ
 
ถลกหนังไซออนนีส
ถลกหนังไซออนนีสถลกหนังไซออนนีส
ถลกหนังไซออนนีส
 

More from Muttakeen Che-leah

ถามให้คิดสะกิดใจ Complete
ถามให้คิดสะกิดใจ Completeถามให้คิดสะกิดใจ Complete
ถามให้คิดสะกิดใจ Complete
Muttakeen Che-leah
 
Bidah
BidahBidah
เหตุผลหรือข้ออ้างลับที่ไม่ถูกเปิดเผย
เหตุผลหรือข้ออ้างลับที่ไม่ถูกเปิดเผยเหตุผลหรือข้ออ้างลับที่ไม่ถูกเปิดเผย
เหตุผลหรือข้ออ้างลับที่ไม่ถูกเปิดเผยMuttakeen Che-leah
 
วิเคราะห์ความโอ้อวด
วิเคราะห์ความโอ้อวดวิเคราะห์ความโอ้อวด
วิเคราะห์ความโอ้อวดMuttakeen Che-leah
 
พระเยซูเป็นพระเจ้าไม่ได้อย่างแน่นอน ด้วยเงื่อนไขบังคับและเงื่อนไขจำเป็น
พระเยซูเป็นพระเจ้าไม่ได้อย่างแน่นอน ด้วยเงื่อนไขบังคับและเงื่อนไขจำเป็นพระเยซูเป็นพระเจ้าไม่ได้อย่างแน่นอน ด้วยเงื่อนไขบังคับและเงื่อนไขจำเป็น
พระเยซูเป็นพระเจ้าไม่ได้อย่างแน่นอน ด้วยเงื่อนไขบังคับและเงื่อนไขจำเป็นMuttakeen Che-leah
 
บันทึกย่อที่ไม่ได้จัดหมวดหมู่
บันทึกย่อที่ไม่ได้จัดหมวดหมู่บันทึกย่อที่ไม่ได้จัดหมวดหมู่
บันทึกย่อที่ไม่ได้จัดหมวดหมู่Muttakeen Che-leah
 
ในการสนทนากับชาวต่างศาสนิกนั้น มีหลายครั้งด้วยกันที่อีกฝ่ายจะยกข้อความมายาว ซ...
ในการสนทนากับชาวต่างศาสนิกนั้น มีหลายครั้งด้วยกันที่อีกฝ่ายจะยกข้อความมายาว ซ...ในการสนทนากับชาวต่างศาสนิกนั้น มีหลายครั้งด้วยกันที่อีกฝ่ายจะยกข้อความมายาว ซ...
ในการสนทนากับชาวต่างศาสนิกนั้น มีหลายครั้งด้วยกันที่อีกฝ่ายจะยกข้อความมายาว ซ...Muttakeen Che-leah
 
แนวทางศึกษาอิสลามให้ได้ซึ่งคำสอนที่แท้จริง
แนวทางศึกษาอิสลามให้ได้ซึ่งคำสอนที่แท้จริงแนวทางศึกษาอิสลามให้ได้ซึ่งคำสอนที่แท้จริง
แนวทางศึกษาอิสลามให้ได้ซึ่งคำสอนที่แท้จริงMuttakeen Che-leah
 
การทำงานศาสนาด้านต่างๆ ในแง่ของการให้ความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับอิสลาม
การทำงานศาสนาด้านต่างๆ ในแง่ของการให้ความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับอิสลามการทำงานศาสนาด้านต่างๆ ในแง่ของการให้ความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับอิสลาม
การทำงานศาสนาด้านต่างๆ ในแง่ของการให้ความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับอิสลามMuttakeen Che-leah
 
ผู้ก่อการร้ายจะต้องเป็นมุสลิมเท่านั้นหรือ
ผู้ก่อการร้ายจะต้องเป็นมุสลิมเท่านั้นหรือผู้ก่อการร้ายจะต้องเป็นมุสลิมเท่านั้นหรือ
ผู้ก่อการร้ายจะต้องเป็นมุสลิมเท่านั้นหรือMuttakeen Che-leah
 

More from Muttakeen Che-leah (15)

ถามให้คิดสะกิดใจ Complete
ถามให้คิดสะกิดใจ Completeถามให้คิดสะกิดใจ Complete
ถามให้คิดสะกิดใจ Complete
 
Bidah
BidahBidah
Bidah
 
ค็อฏฏ๊อบ.Doc
 ค็อฏฏ๊อบ.Doc  ค็อฏฏ๊อบ.Doc
ค็อฏฏ๊อบ.Doc
 
เหตุผลหรือข้ออ้างลับที่ไม่ถูกเปิดเผย
เหตุผลหรือข้ออ้างลับที่ไม่ถูกเปิดเผยเหตุผลหรือข้ออ้างลับที่ไม่ถูกเปิดเผย
เหตุผลหรือข้ออ้างลับที่ไม่ถูกเปิดเผย
 
วิเคราะห์ความโอ้อวด
วิเคราะห์ความโอ้อวดวิเคราะห์ความโอ้อวด
วิเคราะห์ความโอ้อวด
 
พระเยซูเป็นพระเจ้าไม่ได้อย่างแน่นอน ด้วยเงื่อนไขบังคับและเงื่อนไขจำเป็น
พระเยซูเป็นพระเจ้าไม่ได้อย่างแน่นอน ด้วยเงื่อนไขบังคับและเงื่อนไขจำเป็นพระเยซูเป็นพระเจ้าไม่ได้อย่างแน่นอน ด้วยเงื่อนไขบังคับและเงื่อนไขจำเป็น
พระเยซูเป็นพระเจ้าไม่ได้อย่างแน่นอน ด้วยเงื่อนไขบังคับและเงื่อนไขจำเป็น
 
บันทึกย่อที่ไม่ได้จัดหมวดหมู่
บันทึกย่อที่ไม่ได้จัดหมวดหมู่บันทึกย่อที่ไม่ได้จัดหมวดหมู่
บันทึกย่อที่ไม่ได้จัดหมวดหมู่
 
ในการสนทนากับชาวต่างศาสนิกนั้น มีหลายครั้งด้วยกันที่อีกฝ่ายจะยกข้อความมายาว ซ...
ในการสนทนากับชาวต่างศาสนิกนั้น มีหลายครั้งด้วยกันที่อีกฝ่ายจะยกข้อความมายาว ซ...ในการสนทนากับชาวต่างศาสนิกนั้น มีหลายครั้งด้วยกันที่อีกฝ่ายจะยกข้อความมายาว ซ...
ในการสนทนากับชาวต่างศาสนิกนั้น มีหลายครั้งด้วยกันที่อีกฝ่ายจะยกข้อความมายาว ซ...
 
แนวทางศึกษาอิสลามให้ได้ซึ่งคำสอนที่แท้จริง
แนวทางศึกษาอิสลามให้ได้ซึ่งคำสอนที่แท้จริงแนวทางศึกษาอิสลามให้ได้ซึ่งคำสอนที่แท้จริง
แนวทางศึกษาอิสลามให้ได้ซึ่งคำสอนที่แท้จริง
 
การทำงานศาสนาด้านต่างๆ ในแง่ของการให้ความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับอิสลาม
การทำงานศาสนาด้านต่างๆ ในแง่ของการให้ความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับอิสลามการทำงานศาสนาด้านต่างๆ ในแง่ของการให้ความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับอิสลาม
การทำงานศาสนาด้านต่างๆ ในแง่ของการให้ความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับอิสลาม
 
Guide of association
Guide of associationGuide of association
Guide of association
 
ผู้ก่อการร้ายจะต้องเป็นมุสลิมเท่านั้นหรือ
ผู้ก่อการร้ายจะต้องเป็นมุสลิมเท่านั้นหรือผู้ก่อการร้ายจะต้องเป็นมุสลิมเท่านั้นหรือ
ผู้ก่อการร้ายจะต้องเป็นมุสลิมเท่านั้นหรือ
 
Pramote maolid
Pramote maolidPramote maolid
Pramote maolid
 
Radd qardjed
Radd qardjedRadd qardjed
Radd qardjed
 
รับน้อง
รับน้องรับน้อง
รับน้อง
 

Names list of_logical_fallacy

  • 1. 73 The 60 Fallacies 60 ประการแห่งการใช้เหตุผลที่ผิดพลาด 1. Irrelevant or Questionable Authority (citing one who is neither an authority or is biased or is unknown) ยกหลักฐานอ้างอิงทีไม่เกี่ยวข้อง หรือเป็นหลักฐานที่เป็นที่น่าสงสัย อาจจะเนื่องจาก ผู้ที่ ่ ถูกอ้างอิงเพื่อเป็นหลักฐานนั้นไม่ใช่ผู้ที่เชี่ยวชาญในด้านนั้นๆโดยตรง หรือ ไม่ก็ไม่มีใคร รู้จักเขา หรือ อาจจะเป็นผู้ที่มีอคติในเรื่องนั้นๆ 2. Appeal to Common Opinion (argues that most people accept or reject it) เอาคนส่วนมาก หรือ ส่วนใหญ่มาเป็นเหตุผล หรือหลักฐาน เพื่อสนับสนุนจุดยืนของตัว เอง 3. Genetic Fallacy (evaluating something in earlier context and carrying it over to present) ทึกทักว่าสิ่งหนึ่งสิ่งใด หรือ คนหนึ่งคนใด เคยมีสภาพหนึ่งๆมาก่อน ก็จะต้องมีสภาพเช่น นั้นด้วยจนถึงปัจจุบัน (ทังๆที่ไม่จำาเป็นจะต้องเป็นเช่นนั้นเลย) โดยละเลยที่บางสิ่งทีได้ ้ ่ เปลี่ยนแปลงไปที่เกี่ยวข้องกับเรื่องนั้นๆ เช่น พูดว่า “ ผมจะไม่มีทางเลือกเขาเป็นหัวหน้า พรรคการเมือง เพราะผมโตมากับเขา เรียนห้องเดียวกัน เขาทำาตัวไม่ได้เรื่องเลย หาเรื่องคน อื่นไปทั่ว คนอย่างนี้พึ่งพาอะไร หรือ หวังอะไรไม่ได้มาก” จะเห็นได้ว่า คนที่พูดเช่นนี้ ทึกทักเอาเองว่า คนๆหนึ่ง หรือ สิงๆหนึ่งมีสภาพในอดีตอย่ารไร ปัจจุบันก็จะต้องเหมือนเดิม ่ ด้วย ซึงไม่จำาเป็นเลยว่าจะต้องเป็นเช่นนั้น ่ 4. Rationalization (saving face; using false reasons to justify) อ้างเหตุผลที่ไม่ใช่เหตุผล (แก้ตัว) โดยแต่งเหตุผลขึ้นมาเอง โดยทำาให้ดูสมเหตุสมผล เพื่อต้องการรักษาหน้าตัวเอง หรือ เพื่อรักษาจุดยืนของตนเองที่ไม่คอยมีนำ้าหนักของตนเอง ่ เอาไว้ ทั้งๆทีในความเป็นจริงแล้ว เหตุผลที่ให้มานั้นในความเป็นจริงแล้ว ไม่มีความ ่ เกี่ยวข้อง หรือ แทบจะไม่มีความเกี่ยวข้องอย่างแท้จริงที่จะไปสนับสนุนจุดยืนนั้นๆได้ เพราะ มันไม่ใช่เหตุผลที่แท้จริง แต่สาเหตุหรือเหตุผลที่แท้จริงนั้นถูกปกปิดเอาไว้ จะเนื่องด้วยเหตุ ใดก็แล้วแต่ ในการใช้เหตุผลที่ถูกต้องนั้น จุดยืน หรือ ความเชือ จะเกิดขึ้นหรือมีขึ้นภาย ่ หลังจากที่ได้มีการนำาเสนอเหตุผล และหลักฐานแล้ว แต่ในกรณีนี้ (อ้างเหตุผลที่ไม่ใช่ เหตุผล) การนำาเสนอเหตุผล และหลักฐาน จะเกิดขึ้นหรือมีขึ้น ภายหลังจากที่ได้มความเชื่อ ี หรือ จุดยืนนั้นๆอยู่ก่อนแล้ว เพียงแต่ต้องการแสวงหาเหตุผลเพื่อมาสนับสนุนจุดยืนตนเองที่ กำาลังเป็นประเด็นอยู่ เพื่อให้ดูมีเหตุมีผลที่จะมีจุดยืนเช่นนั้น 5. Drawing the Wrong Conclusion (it’s not supported by the evidence)
  • 2. 74 ผิดพลาดในข้อสรุปที่ได้มา ทั้งนี้ก็เพราะ หลักฐานหรือ เหตุผลที่ยกมานั้น ไม่ได้ไป สนับสนุนจุดยืน หรือ ข้อสรุปนั้นๆ 6. Using the Wrong Reasons (they don’t support the conclusion) ใช้เหตุผลทีผิด ( premise) เพื่อสนับสนุนข้อสรุป หรือ จุดยืนหนึ่ง โดยที่เหตุผลที่นำาเสนอ ่ ไม่สามารถไปสนับสนุนจุดยืนนั้นๆได้ 7. Appeal to Pity (sympathy replaces good evidence) นำาเอาความน่าสงสาร มาเป็นเหตุผลสนับสนุนจุดยืนของตนเอง แทนการใช้เหตุผล หรือ หลักฐานที่ถูกต้อง ที่จะไปสนับสนุนจุดยืนของตนเองได้ 8. Appeal to Force or Threat (persuasion by warning) ใช้การข่มขู่ ถึงผลร้ายที่จะตามมา ถ้าไม่ทำาตามสิงนั้น มาเป็นเหตุผลให้อีกฝ่ายเชื่อ หรือ ่ ทำาตามจุดยืนของตนเอง 9. Appeal to Tradition (custom/heritage are used as evidence) ใช้ประเพณี หรือ วัฒนธรรม หรือ มรดกตกทอดไม่ว่าจะในด้าน การกระทำาหรือความ คิด มาเป็นเหตุผล หรือ หลักฐาน สนับสนุนจุดยืนของตนเอง 10. Appeal to Personal Circumstances or Motives (to self-interest instead of real issues) ใช้ผลประโยชน์ หรือ สภาพส่วนตัวมาเป็นเหตุผล เพื่อให้เกิดการยอมรับจุดยืนของ ตนเอง ทังๆที่ยงมีสิ่งอื่นๆที่สำาคัญกว่าที่จะต้องนำามาวิเคราะห์ และพิจารณา ้ ั 11. Exploitation of Strong Feelings and Attitudes (manipulation of deep-seated feelings) ใช้ความอ่อนไหวทางอารมณ์ หรือ ความรู้สึกมาเป็นเหตุผล เพื่อให้เกิดการยอมรับ จุดยืนของตน 12. Use of Flattery (praise replaces evidence) เอาการชมเชย หรือ การยกย่อง มาเป็นเหตุผลเพื่อให้ได้มาในสิงที่ตนเองต้องการ ไม่วา ่ ่ จะให้ได้มาซึ่งในด้านความเชื่อทีตนเองต้องการให้ผู้อื่นเชื่อย่างตน หรือ ให้ได้มาซึงวัตถุที่ ่ ่ ตนเองต้องการ แทนการใช้เหตุผลที่เกี่ยวข้องกัน 13. Assigning Guilt by Association (argues that those with opposite view are viewed negatively) ใช้การที่อีกฝ่ายถูกมองด้วยภาพลบไม่ว่าเรื่องหนึ่งเรื่องใดมาเป็นเหตุผล หรือ หลักฐาน เพื่อสนับสนุนจุดยืนของตนเอง ทีอาจจะไปขัดแย้งกับอีกฝ่าย ่
  • 3. 75 14. Equivocation (word or phrase with two distinct meanings made to appear equivalent) ใช้คำาหรือกลุ่มคำาที่มีความหมายต่างกัน แต่ทำาราวกับว่าทั้งสองคำา หรือ กลุ่มคำา มีความ หมายเดียวกัน 15. Ambiguity (word or phrase subject to more than one interpretation) ใช้คำาที่อาจะมีความหายมากกว่าหนึ่ง หรือใช้ถ้อยคำาที่อาจเข้าใจไปได้มากกว่าหนึ่ง อย่าง โดยไม่กล่าวให้ชัดเจนว่า ตนเองกำาลังเข้าใจอย่างไรกับคำา หรือถ้อยคำานั้นๆ 16. Improper Accent (word or phrase emphasized to alter meaning; lifting partial quote and using it out of context) ใช้การเน้นคำาหนึ่งคำาใด หรือ ส่วนหนึ่งส่วนใดของประโยคเป็นพิเศษ เพื่อต้องการจะสื่อ ให้เกิดความเข้าใจผิดอะไรบางอย่าง หรือ ยกคำาพูดมาไม่หมด เพื่อต้องการเน้นเฉพาะส่วน ที่ยก เพื่อให้เกิดความเข้าใจไปตามทีตนเองต้องการ เพราะถ้ายกคำาพูดมาทังหมดก็จะทำาให้ ่ ้ ไม่ได้อย่างที่ตนเองต้องการได้ 17. Illicit Contrast (listener infers from a claim a related contrasting claim) ทำาให้เกิดความเข้าใจที่ผดที่ตรงกันข้าม หรือ แย้งกับเจตนา หรือคาดเคลื่อนไปจาก ิ เจตนา หรือความตั้งใจที่แท้ของผู้พูด ทังนี้เพื่อที่ความเข้าใจผิดตรงนั้นจะได้มารองรับจุดยืน ้ ของตนเอง 18. Argument by Innuendo (veiled claim, without evidence) พูดสิ่งหนึ่งสิ่งใดออกมาในลักษณะที่แฝงเอาไว้ด้วยการที่ต้องการแสดงจุดยืน อย่างหนึ่ง อย่างใด โดยสื่อไปในทางที่ลบ เพื่อต้องการลดความน่าเชื่อถือของอีกฝ่าย แต่ไม่พูดออกมา ตรงๆ แบบชัดเจน ทั้งนี้เพราะตนเองไม่สามารถนำาเหตุผล หรือหลักฐาน (premise) มาสนับ สนุนจุดยืนที่ถูกปกปิดเอาไว้ของตนเองได้ จึงเลือกที่จะกล่าวแบบอ้อมๆ พูดว่า “ อิสลาม อนุญาตให้มีภรรยาได้มากกว่าหนึ่งคน” โดยเน้นตรงคำาพูด “ มากกว่าหนึ่งคน” เพื่อต้องการ แสดงจุดยืนที่แอบแฝง ว่าอิสลามกดขี่สตรี 19. Misuse of a Vague Expression (assigning a very precise meaning to a word or term like moral education, which is imprecise in meaning) ใช้คำาหรือสำานวนที่กำากวมคลุมเคลือไม่ชัดเจน ซึงถ้าไม่สร้างความชัดเจน ให้เกิดขึ้นมา ่ เสียก่อน หรือถ้าไม่นยามให้ชัดเจนเสียก่อน ก็ไม่อาจที่จะถกกันต่อไปได้ หรือไม่อาจทีจะหัก ิ ่ ล้าง หรือพิสูจน์ว่าจริงหรือเท็จได้ เช่น อ้างว่าคนหนึ่งๆเป็นวะฮะบีย์ หรือ อ้างว่า มุสลิมต้อง สมานฉันทร์กันไว้ก่อน หรืออ้างว่า เป็นพวกหัวรุนแรง หรือ สุดโต่ง หรือ เสียมารยาท แต่ ไม่นิยามหรือตีกรอบคำานั้นๆให้ชัดเจนเสียก่อน ทั้งนี้เพื่อลดความน่าเชื่อถือของอีกฝ่าย หรือ เพื่อต้องการรองรับกับจุดยืนของตนเอง
  • 4. 76 20. Distinction Without a Difference (drawing an empty distinction, one no different than the original) พยายามสร้างความแตกต่างให้เกิดขึ้นเพื่อรองรับจุดยืนของตนเอง ทั้งๆที่เหตุผลที่ให้มา นั้นไม่ได้ทำาให้เกิดความแตกต่างอะไรให้เกิดขึ้นอย่างแท้จริงเลยกับสิ่งทีตนเองกล่าวไปก่อน ่ หน้านั้น เช่น นาย ก. กำาลังตำาหนิ และ พูดดูถูก นาย ข. เมื่อนาย ก. ถูกถามก็แก้ตัวว่า “ ผม ไม่ได้ตำาหนิและดูถูกเขา แต่ผม พูดให้เขาคิดได้ / หรือ พูดเพื่อกระตุ้น ” 21. Arguing in a Circle (premise = conclusion) ข้อสรุป หรือ จุดยืน (conclusion) ที่ถูกทำาให้เป็น เหตุผลสนับสนุน (premise) เสียเอง แต่ในความเป็นจริงแล้วมันคือ ข้อ สรุป หรือ จุดยืน (conclusion) อีกอันหนึ่ง ตรงนี้เป็น อะไรที่แยบยลมากถ้าไม่สังเกตุให้ดี ดูการสนทนาระหว่าง นาย เอ กับ นาย บี A1: เราเชื่อว่าพระเจ้ามีอยู่จริง เพราะคัมภีร์ไบเบิ้ลกล่าวว่า พระเจ้ามีจริง B1: แล้วทำาไมผมจะต้องเชื่อในคัมภีร์ ไบเบิ้ลด้วย A2: เพราะสิ่งที่คัมภีร์ไบเบิ้ลกล่าวจะต้องเป็นความจริง B2: แล้วผมจะเชื่อได้อย่างไรว่าสิ่งที่ในคัมภีร์ไบเบิ้ลเป็นความ จริง A3: เพราะพระเจ้าเขียนคัมภีร์ไบเบิ้ล และพระเจ้าไม่มีทางที่จะ พูดโกหก จากข้อความข้างต้นนั้น ถ้าเราจะถามว่า ข้อความ ไหนถือว่าเป็น การแสดงจุดยืน หรือ ถือเป็นข้อสรุป ( conclusion) ที่ตัวมันเอง จะต้องมีเหตุผล หรือ หลัก ฐาน (premise) มาสนับสนุนอีกที โดยที่เราไม่อาจที่จะ ทึกทักให้เป็นจริงก่อนได้ คำาตอบก็คือข้อความที่ว่า 1. เราเชื่อ ว่า พระเจ้า มี อยู่จ ริง 2. พระเจ้า เขีย นคัม ภีร ์ไ บเบิ้ล / ส่วน
  • 5. 77 ข้อความที่เหลือถือเป็นประเด็นปลีกย่อย เพราะถ้า สมมุติว่า (ข้อยำ้าว่าสมมุติ) มีการพิสูจน์แล้วว่าพระเจ้า ไม่มีจริง ข้อความทั้งหมดที่กล่าวมาก็จะถือว่าไร้ความ หมาย และเราจะเห็นได้ว่า ข้อความ “ เพราะคัมภีร์ ไบเบิ้ลกล่าวว่าพระเจ้ามีจริง” และ “ เพราะสิ่งที่คัมภีร์ ไบเบิ้ลกล่าวจะต้องเป็นความจริง” จะไม่แตกต่างอะไร กันมากนัก เพราะต่างก็ถูกสนับสนุนด้วยข้อความที่ว่า “ พระเจ้าเขียนคัมภีร์ไบเบิ้ล และพระเจ้าไม่มีทางที่จะพูด โกหก ” อีกที เราสามารถเขียนแยกออกจากกันเพื่อให้เห็นภาพชัดได้ ดังนี้: “ เราเชื่อว่าพระเจ้ามีอยู่จริง” ( ข้อความนี้เป็น จุดยืน หรือ ข้อสรุป conclusion ) “ คัมภีร์ไบเบิ้ลกล่าวว่าพระเจ้ามีจริง ” (ข้อความนี้เป็น เหตุผล ( premise ) ไป สนับสนุนประโยคบน นั่นคือ ข้อสรุปอีกที ) “ สิ่งที่คัมภีร์ไบเบิ้ลกล่าวจะต้องเป็นความจริง ” ( ข้อความนี้เป็น เหตุผลย่อย ( premise ) เพื่อไปสนับสนุนเหตุผล( premise ) ข้างบนอีกที ) “ พระเจ้าเขียนคัมภีร์ไบเบิ้ล และพระเจ้าไม่มีทางที่จะพูด โกหก” ( ข้อความนี้เป็น เหตุผลย่อย ( premise ) ลงมาอีก เพื่อไปสนับสนุนเหตุผล ( premise ) ย่อยข้างบนอีกที ) เพราะฉะนั้นถ้าเหตุผลที่ “ย่อยลงมาอีก” ด้านล่าง สุด ถูกพิสูจน์ว่าไม่เป็นจริง เหตุผลที่เหลือข้างบน ทั้งหมดจะผิดไปโดยปริยาย และเมื่อเป็นเช่นนั้น ข้อสรุป หรือจุดยืนที่ว่าพระเจ้ามีจริงโดยใช้ไบเบิ้ลพิสูจน์นั้นก็ไร้
  • 6. 78 ผล ใช้ไม่ได้ไปโดยปริยาย เพราะฉะนั้นประโยคนี้ถ้าจะ ลดลงให้เหลือสั้นๆจะได้ดังนี้: “ เราเชื่อว่าพระเจ้ามีอยู่จริง” ( ข้อความนี้เป็น จุดยืน หรือ ข้อสรุป conclusion ) “ เพราะพระเจ้าเป็นผู้เขียนคัมภีร์ไบเบิ้ล ” ( ข้อความนี้ เป็น เหตุผล ( premise ) เพื่อไปสนับสนุนจุดยืนข้าง บน ) แต่ Premise นี้ในความเป็นจริงแล้วมันไม่ได้เป็น Premise แต่มันเป็น Conclusion อีกอันหนึ่ง ที่ต้อง ถูกสนับสนุนด้วยเหตุผล ( premise ) และหลักฐาน อีกที ทั้งสองข้อความ เป็น Conclusion ทั้งคู่ เพราะ ฉะนั้น ข้อความข้างต้นยังไม่อาจจะเป็นที่ยอมรับได้ว่า เป็นความจริง ( แต่เรื่องพระเจ้านั้นได้มีการพิสูจน์อย่าง ชัดเจนแล้วว่ามีอยู่จริงอย่างแน่นอน หรือ เช่นพูดว่า “ เราจะต้องไม่ฆ่าสัตว์ตัดชีวิตเพราะมัน เป็นบาป มิเช่นนั้นแล้ว ชาติหน้าเราจะต้องเกิดเป็นสัตว์ นั้นๆแล้วถูกฆ่าเหมือนกัน ” ข้อความที่ว่า “ เราจะต้องไม่ ฆ่าสัตว์ตัดชีวิตเพราะมันเป็นบาป ” ถือว่าเป็น ข้อสรุป หรือ จุดยืน (conclusion) ส่วนข้อความ “มิเช่นนั้นแล้ว ชาติ หน้าเราจะต้องเกิดเป็นสัตว์นั้นๆแล้วถูกฆ่าบ้าง ” ก็เป็นข้อ สรุป หรือจุดยืน (conclusion) อีกอันหนึ่ง สรุปแล้วทั้งคู่ ต่างก็จะต้องมี เหตุผล (premise) มาพิสูจน์การขั้นตอน / มีอะไรมายืนยันว่า ฆ่าสัตว์แล้วจะเป็นบาป และ สมมุติ ว่าการฆ่าสัตว์เป็นบาปจริงแล้ว มีอะไรมายืนยันว่า ผู้ที่ฆ่า จะต้องเกิดไปเป็นสัตว์และถูกฆ่าบ้างในชาติหน้า ถ้าพิสูจน์ ทั้งสอง conclusion ไม่ได้ก็ถือว่าไร้ผล ใช่ไม่ได้
  • 7. 79 หรือบางที conclusion จะถูกใช้อีกสำานวนหนึ่ง หรือมี การเปลี่ยนการใช้คำาของ conclusion จึงทำาให้ดูเหมือน ว่า อันหนึ่ง หรือ ข้อความหนึ่งเป็น conclusion โดยอีก ข้อความหนึ่งเป็น premise ที่จะมาสนับสนุน conclusion อีกที แต่ในความเป็นจริงแล้ว ทั้งสอง ข้อความต่างก็เป็น conclusion ทั้งคู่ เช่นพูดว่า “ (1) คุณไม่มีคุณสมบัติเป็นนักฟุตบอลที่ดีได้ (2) เพราะ คุณเล่นไม่ดี ” ซึงทั้งสองข้อความ ต่างก็มีความ ่ หมายเดียวกัน ไม่ใช่ว่าข้อความที่ 2 เป็น premise ไป สนับสนุนข้อความแรกที่เป็น conclusion...เปล่าเลย แต่ ทั้งสองข้อความเป็นสิ่งเดียวกัน และ เป็น conclusion ที่ จะต้องมี premise มาสนับสนุนว่าเป็นจริงหรือไม่ 22. Question-Begging Language (word choice in premises directs listener to conclusion) ใช้คำาพูดที่จะสื่อให้เข้าใจไปว่า หรือ มีการทึกทักถูกซ้อนอยู่ว่า ประเด็นที่กำาลังจะถก กันนั้น ได้หาข้อสรุปได้แล้ว ทั้งๆที่ก็ยังไม่ได้มีการนำาเสนอเหตุผล หรือ หลักฐานเลย เช่นพูดว่า “ เราจะต้อง ไม่ฆาพี่น้องเรา ด้วยการที่เราซื้อสินค้าอเมริกา” ทั้งๆทีประเด็นที่ ่ ่ กำาลังจะถกกัน เพื่อหาข้อสรุปก็คือ “การซื้อสินค้าของอเมริกานั้น ถือว่าเป็นการฆ่าพี่น้อง มุสลิมใช่หรือไม่? ” แต่ผู้พูดได้สร้างภาพ หรือ ได้สอออกไปแล้วถึงจุดยืนที่ว่า การซื้อ ื่ สินค้าของอเมริกานั้น ถือว่าเป็นการฆ่าพี่น้องมุสลิมจริงๆ ทั้งๆทียังไม่ได้มีการพิสูจน์ตาม ่ ขวนการใช้เหตุผลที่ถูกต้อง ที่เป็นเช่นนี้ก็อาจจะเนื่องมาจาก ผู้พูดมีความรู้สึกที่อ่อนไหว มากกับเรื่องดังกล่าว จึงเป็นเหตุทำาให้ นำาเอาความรู้สึกส่วนตัวมาเป็นข้อสรุปก่อนที่จะ เริ่มขบวนการใช้เหตุผล หรือ เช่น ชีอะฮฺพูดว่า “ วันนี้เราจะถกกันว่า ตำาแหน่งหารเป็น ผู้นำาหลังจากท่านนบีได้เสียชีวิตนั้น ควรจะเป็นของผู้ใดกันแน่ ระหว่าง อบูบักร กับ อิหม่ามอาลี ผู้มีคุณสมบัติครบถ้วนทุกอย่างในการเป็นผู้นำา ( คอลีฟะฮฺ ) ซึ่งไม่มีผใดมี ู้ คุณสมบัติเช่นนี้นอกจากอิหม่ามอาลี ” ทังๆที่ประเด็นที่กำาลังจะถกกัน เพื่อหาข้อสรุปก็ ้ คือ ท่านอาลี มีคุณสมบัตตามที่วาจริงหรือไม่ และ เป็นเงื่อนไขไหมว่า ถ้ามีคุณสมบัติเช่น ิ ่ นั้นแล้ว จะหมายความว่า จะต้องเป็น คอลีฟะฮฺ แต่ ชีอะฮฺสื่อให้เข้าใจไปแล้วถึงจุดยืนที่ ว่า ท่านอาลีเท่านั้นที่จะต้องเป็นผู้นำาภายหลังจากท่านนบี หรือ เช่น ชีอะฮฺพูดว่า “ เป็นที่ ชัดเจนอย่างไม่ต้องสงสัยแล้วว่า สิทธิ์ในการเป็นคอลีฟะฮฺอยู่ที่อิหม่ามอาลี ” ตรงนี้ชีอะฮฺ ใช้คำาว่า “ อย่างไม่ต้องสงสัย”เป็นการพุดตัดบท ซึงในความจริงแล้วไม่ได้เป็นเช่นนั้น ่ เพราะประเด็นนี้ ตัวของมันเองเป็นที่สงสัย ที่จะต้องถูกนำามาถกกันเพื่อหาความจริง 23. Loaded or Complex Question (question presupposes the answer)
  • 8. 80 การตังคำาถามโดยที่ในคำาถามนั้น มีคำาถามอีกคำาถามหนึ่งถูกซ้อนอยู่ หรือกล่าวอีกอย่าง ้ คือ ในคำาถามมีการทึกทักไปเลยว่า อีกฝ่ายจะต้องมีจุดยืนเหมือนผู้ที่ถามต่อคำาถามที่ถูกซ้อน อยู่ทยังไม่ได้ถาม โดยปราศจากเหตุผล ข้อพิสูจน์ เช่น เรากำาลังเดินดูเสื้อผ้าอยู่ในห้าง คน ี่ ขายก็เดินเข้ามาและถามว่า “ ต้องการจ่ายเป็นเงินสดใช่ไหมครับ” ตรงนี้จะเห็นได้ว่า คน ขายได้ทึกทักไปแล้วว่า เราจะซื้อเสื้อผ้า ทังๆที่ไม่จำาเป็นต้องเป็นเช่นนั้นเลย คือ ก่อนที่จะ ้ ตอบว่า จะซื้อเงินสดหรือไม่ คุณจะต้องพิสูจน์ให้ได้เสียก่อนว่า ผมจะซื้อเสื้อผ้าจริงหรือไม่ หรือ คนขายจะต้อง ถามอีกคำาถามที่ถูกซ้อนอยู่ก่อนว่า “ คุณต้องการจะซื้อเสื้อใช่ไหม? ” หรือ แม้ถามลูกว่า “ ลูกจะแต่งงานเมื่ออายุเท่าไหร่ และ หลังจากแต่งแล้วจะไปอยู่ที่ไหน? ” ตรงนีแม่ได้ทึกทักไปว่าลูกจะต้องแต่งงาน คือ แม่จะต้องพิสูจน์ให้ได้เสียก่อนว่า ลูกต้องการ ้ จะแต่งงาน หรือ พูดว่า “ ทำาไมอุซามะ บินลาดิน จึงโหดร้าย ที่ฆาคนบริสุทธิ์ได้เป็นพันๆ ่ คนในเหตุการณ์ 9/11” ตรงนี้การที่จะตอบคำาถามได้ ผู้ถามจะต้องพิสูจน์ให้ได้ก่อนว่า อุซา มะฮฺ บินลาดิน เป็นผู้ที่ทำาเหตุการณ์ 9/11 จริง แต่ผู้ถามกลับทึกทักไปเลย ผูถูกถาม เชื่อ ้ เหมือนกับผู้ถามว่า อุซามะฮฺ บินลาดิน เป็นผู้ที่ทำาเหตุการณ์ 9/11 จริง ก่อนที่จะตั้งคำาถามนี้ ผู้ ถามจะต้อง ตังคำาถามที่ถูกซ้อนอยู่ก่อนว่า “อุซามะฮฺ บินลาดิน เป็นผู้ที่ทำาเหตุการณ์ 9/11 ้ จริงหรือไม่? ” หรือ การทีต่างศาสนิกถามว่า “ ทำาไมหลักคำาสอนของอิสลามจึงรุนแรง โหด ่ ร้าย เช่น ประหารชีวตด้วยการตัดคอ” ก่อนที่จะต้องคำาถามนี้ ผู้ถามจะต้อง ตังคำาถามที่ถูก ิ ้ ซ้อนอยู่ก่อนว่า “ การประหารชีวิตด้วยการตัดคอ ถือเป็นการกระทำาที่ รุนแรง และโหดร้าย หรือไม่? ” มิเช่นนั้นจะถือว่า ผู้ถามได้สรุปทึกทักโดยปราศจากเหตุผล และ ข้อพิสูจน์ว่า การ ประหารชีวิตด้วยการตัดคอ ถือเป็นการกระทำาที่รุนแรง และโหดร้าย หรือ การพูดว่า “ ทำาไม คุณจึงได้ฆ่าพี่น้องคุณทางอ้อม ด้วยการซือสินค้าอเมริกา? ” ก่อนที่จะต้องคำาถามนี้ ผู้ถามจะ ้ ต้อง ตั้งคำาถามที่ถูกซ้อนอยู่ก่อนว่า “ การซื้อสินค้าของอเมริกานั้น ถือว่าเป็นการฆ่าพี่น้อง มุสลิมทางอ้อมจริงๆใช่หรือไม่? ” หรือ เป็นสิ่งที่ถูกทึกทักขึ้นมาว่าเป็นเช่นนั้น จริง โดย ปราศจากเหตุผล และ หลักฐานที่ เกี่ยวข้องกันตามหลักวิชาการ 24. Leading Question (answer is planted within the question) ตังคำาถาม ในลักษณะที่จะทำาให้ผู้ตอบ ได้ให้คำาตอบออกมาตามที่เราต้องการ เพื่อที่จะ ้ มาสนับสนุนจุดยืนของตนเอง เช่น นาย ก. ทำาในสิงหนึ่งที่ทำาให้เพื่อนเกิดความไม่พอใจ จึง ่ พูดกับเพื่อนไปว่า “ คุณเห็นด้วยใช่ไหมว่า เรื่องเล็กน้อยแค่นี้คงไม่อาจจะทำาให้ความ สัมพันธ์ของเราแตกร้าวฉานได้ ” ตรงนี้นาย ก. ได้ทึกทักไปเองว่า เรื่องนั้นเป็นเรื่องที่เล็ก น้อย และขอให้เพื่อนยอมรับด้วยว่าเป็นเรื่องเล็กน้อย ทั้งๆที่ เรื่องนี้ ตัวมันเองจะต้องมา พิสูจน์กันว่าเป็นเรื่องใหญ่หรือเรื่องเล็ก หรือ นาย ก. จะลงเลือกตั้ง และพูดกับเพื่อนว่า “ เพื่อนดีๆอย่างนายคง จะไม่หักหลังผมในการเลือกตั้งครั้งนี้โดยไปเลือกให้ผู้อื่น อย่าง แน่นอนใช่ไหม” ตรงนี้นาย ก. ได้อางจุดยืนที่แอบแฝงเอาไว้ คือ ‘การเลือกให้ผู้อื่นที่ตัวเอง ้ มั่นใจว่าจะทำาหน้าที่ได้ดี จะเท่ากับเป็นการ หักหลัง’ โดยปราศจากการพิสูจน์ หรือให้เหตุผล ว่าทำาไมการไปเลือกผู้อื่นจึงถือว่าเป็นการ หักหลังกัน หรือ นาย ก. พูดกับเพื่อนว่า “ ผมหวัง ว่าคุณคงจะไม่ปฏิเสธการเชิญของผมในครั้งนี้ เพื่อความสัมพันธ์ที่ดีของเราใช่ไหม ” ตรงนี้ นาย ก. ได้อางจุดยืนที่แอบแฝงเอาไว้ว่า การปฏิเสธคำาเชิญจะเท่ากับเป็นการทำาให้ความ ้ สัมพันธ์ได้รับผลกระทบ โดยที่ ก็ไม่ได้พิสูจน์ หรือให้เหตุผลแต่อย่างใด แต่ทึกทักที่แฝงไป ด้วยการบังคับให้อีกฝ่ายคิดเช่นนั้นด้วย 25. Question-Begging Definition (claim becomes “true” by questionable definition)
  • 9. 81 กำาหนดคำานิยามของสิ่งหนึ่งสิ่งใดขึ้นมาเพื่อรองรับจุดยืนของตนเองว่าถูกตั้ง ซีงถ้ามี่ การกำาหนดนิยามเช่นนี้ขึ้นมา ตามความต้องการของตนเองแล้ว ก็จะไม่มีทางที่จะพิสูจน์ได้ ว่าจุดยืนของผู้ที่กำาหนดนิยามนั้นผิดพลาด เพราะฉะนั้นจุดยืนของตนเองถูกต้องหรือเป็น จริงขึ้นมาได้ก็ด้วยนิยามทีตัวเองตังขึ้นมาก่อน เช่น นาย สมชาย นิยามรักแท้เอาไว้ว่า “ รัก ่ ้ ที่จะไม่มีทางทีจะจบลงด้วยการหย่าร้าง หรือ แยกทางกัน” แต่เมื่อมีใครคนใดคนหนึ่งนำา ่ หลักฐานมาพิสูจน์กับนาย สมชายว่า คนหลายคู่ที่เคยรักกันอย่างมาก แต่สุดท้ายก็หย่ากัน นายสมชายก็ตอบกลับว่า “ นั่นไม่อาจเป็นรักที่แท้จริงได้ เพราะรักแท้นั้น ไม่มีทางทีจะจบลง่ ด้วยการหย่าร้างได้เป็นอันขาด” หรือพูดว่า “ คริสต์ที่แท้จริงจะไม่มีทางออกจากศาสนา ตนเองละไปเข้าศาสนาอื่น” แต่เมื่อมีระดับบาทหลวงเข้ารับอิสลาม นาย สมชายก็จะพูดว่า “ นั่นไม่ใช่คริสต์ที่แท้จริงได้เป็นอันขาด เพราะคริสต์ที่แท้จริงไม่มีทางออกจากศาสนาคริสต์ ได้” จะเห็นได้ว่าการกำาหนดขึ้นมาเช่นนี้ จะไม่มีหลักฐาน หรือข้อพิสูจน์อะไรมาสนับสนุน เพื่อยืนยันว่านิยามที่กำาหนดขึ้นมานั้นเป็นความจริง แต่ถ้าพูดว่า “ ผูที่จะได้ชื่อว่าเป็นมุสลิม ้ สิ่งหนึ่งที่จะต้องมีคือ เชื่อว่าพระองค์อัลลอฮฺทรงเป็นพระเจ้าที่แท้จริง ” การพูดเช่นนี้ถือว่า ใช้ได้ เพราะ นิยามของคำาว่ามุสลิมนั้นมีระบุเอาไว้ชัดเจนด้วยตัวบทหลักฐาน ไม่ได้เป็นการ มานิยามกันเองของใครคนใดคนหนึ่งเพื่อรองรับจุดยืนของตนเอง 26. Fallacy of the Continuum (assumption that a single increment is insignificant) มองข้ามหรือละเลยความแตกต่างระหว่างจุดสองจุดที่อยู่ตรงกันข้ามกัน หรือมองว่า เนื่องจากไม่มีเส้นแบ่งระหว่างสองสิ่งทีชัดเจน จึงสรุปเอาว่า เพราะฉะนั้น เส้นแบ่งระหว่างสิ่ง ่ สองสิงจึงไม่เป็นความจริง หรือไม่มีความหมาย ่ 27. Fallacy of Composition (what’s true of the parts is true of the whole) ทึกทักว่าสิ่งใดที่เป็นความจริงในส่วนหนึ่งหนึ่งใด ก็จะต้องเป็นจริงเช่นกันแม้แต่ในภาพ รวมของสิงนั้น ่ 28. Fallacy of Division (what’s true of the whole is true of the parts) ทึกทักว่าสิ่งใดที่ในภาพรวมเป็นจริงอย่างไร แม้แต่ในส่วนแต่ละส่วนก็จะต้องเป็นอย่าง นั้นด้วย เช่น มนุษย์เป็นสิ่งที่มีชีวต มนุษย์เรามีส่วนประกอบคือ เซลล์ เพราะฉะนั้นเซลล์จึง ิ เป็นสิ่งที่มีชีวตเช่นเดียวกัน . ิ 29. False Alternatives (assumes too few alternatives and that one of them must be true: if you’re not for us, you’re against us) กำาหนดตัวเลือกที่จำากัดให้เลือก ทังๆที่ในความเป็นจริงมีตัวเลือกมากกว่านั้น ้ 30. Is-Ought Fallacy (because something is now the case, it should always be so; and v.v.) สิ่งหนึ่งสิ่งใดเป็นเช่นไร มันก็จะเป็นเช่นนั้นอยู่เสมอไป โดยเอาคนส่วนใหญ่มาอ้าง หรือ เอาความเป็นสมัยปัจจุบันมาอ้างว่าคนในสมัยปัจจุบันเขาปฎิบัติกันเช่นนี้ หรือ เขาทำากันมา อย่างนี้นานแล้ว 31. Wishful Thinking (because someone wants something, it will is or will be true)
  • 10. 82 นำาเอาความเชื่อตัวเองเป็นเหตุผลสนับสนุนความเชื่อของตนเอง เช่นพูดว่า เพราะผมเชื่อ ว่าคุณเป็นคนเลว เพราะฉะนั้นคุณจึงเป็นคนเลว หรือพูดว่า ผมต้องเชื่อว่า อบูบักร อุมัร อุ สมาน และ ซอฮาบะฮฺอีกหลายๆคนว่าเป็นมุรตัด สิ้นสภาพจากการเป็นมุสลิม เพราะมิเช่นนั้น แล้วความเชื่อในศาสนาชีอะฮฺของผมก็จะถือว่าหลงผิด 32. Misuse of a General Principle (the rule has no exceptions; conversely, an exceptional case is used to invalidate the rule) ในกรณีที่จะต้องใช้กฏข้อยกเว้น แต่กลับนำากฏทั่วไปมาใช้ เช่น การฝ่าไฟแดง การพูด โกหก หรือ ในกรณีที่จะต้องใช้กฏโดยทั่วไป แต่กลับมาข้อยกเว้นมาใช้ เช่น โดยทั่วไปแล้ว มอรฟีนเป็นสิ่งที่ไม่อนุญาต แต่ก็อาจจะอนุญาตในบางกรณีเท่านั้น ไม่ใช่เพราะการที่มีคน หนึ่งสามารถใช้มอรฟีนได้แล้วจะหมายความว่า ทุกคนก็สามารถใช้ได้ด้วย 33. Fallacy of the Mean (the middle ground between two extremes is right) เอาความเป็นกลาง หรือสภาวะที่เป็นกลาง ระหว่างสุดขั่วทั้งสองมาเป็นเหตุผลสนับสนุน เช่น ละหมาดมี 5 เวลา ละหมาดแค่ 3 เวลาก็โอเค หรือ ถือ ศิลอดมี 30 วัน ถือแค่ 15 วันก็ โอเค หรือ นาย ก. กำาลังจะซื้อของ โดยนาย ข. เสนอราคาขายไป 300 บาท แต่นาย ก. บอกว่า ขอลดเหลือ 200 นาย ก. จึงให้เหตุผลว่า ถ้าเช่นนั้น 250 ระหว่างกลางถือว่า ยุติธรรมที่สุด ซึงในความเป็นจริงแล้ว ราคา 250 คือ ราคาต้นทุน ซึงถ้าขายไปในราคานั้น ่ ่ จะไม่ได้กำาไรอะไรเลย เพราะฉะนั้น การอ้างความเป็นกลางในที่นี้จึงถือว่าไม่ยุติธรรม และ เป็นเหตุผลที่ผิด หรือ เช่น ชาวปาเลสไตนต้องการให้ยิวหยุดการสร้างบ้านยิวในพื้นที่ของ ชาวปาเลสไตน แต่ยิวไม่ยอม กระนั้นก็ตาม ยิวกลับยื่นของเสนอว่า “ พบกันคนละครึ่งทาง โดยให้ชาวปาเลสไตนยอมรับสถานะของรัฐยิว และยิวจะหยุดสร้างบ้าน ในพื้นที่ปาเลสไตน ” จะเห็นได้ว่า ยิวชั่วที่คิดเช่นนี้ ได้สร้างมาตรฐานของความเป็นกลางขึ้นมาเอง และสร้าง ภาพว่านี่คือความเป็นกลางที่ยติธรรม ซึงในความเป็นจริงแล้วเปล่าเลย หากแต่เป็นการใช้ ุ ่ เหตุผลที่ผิดพลาด เพื่อรองรับความชั่วของตนเอง และเราจะเห็นได้ว่า ตัวของการ ประนีประนอมเองนั้น ตัวมันเองไม่อาจทีจะบ่งได้วาเป็นสิ่งที่ดีเสมอไป แต่สงที่จะบ่งได้ว่าการ ่ ่ ิ่ ประนีประนอมเป็นสิ่งที่ดีหรือไม่นั้น คือ เหตุผลที่ยอมรับได้ ไม่ผิดลาดในการใช้เหตุผล ใน เนื้อหา หรือ รายละเอียด ของเรื่องนั้นๆที่ขัดแย้งกันอยู่ 34. Faulty Analogy (because two things are alike in one respect or more, they must be alike in other respects) ใช้การเปรียบเทียบที่ผิด โดยคิดว่าสิงสองสิงที่เหมือนกันในด้านหนึ่ง แล้วด้านอื่นจะต้อง ่ ่ เหมือนกันด้วย นำาสองสิ่งมาเปรียบเทียบ ทังๆที่ทั้งสองมีรายละเอียดทีแตกต่างกัน อันจะยัง ้ ่ ผลทำาให้การเปรียบเทียบใช้ไม่ได้ 35. Fallacy of Novelty (new is good) เอาความใหม่ หรือ ความทันสมัยมาเป็นเหตุผล รองรับจุดยืนตนเอง 36. Insufficient Sample (drawing conclusion from too few instances; the “hasty generalization” or “fallacy of the lonely fact”)
  • 11. 83 การด่วนสรุปจากตัวอย่างเพียงไม่กี่ตัวอย่าง ทียังมาครอบคลุม เช่น มีหลักฐานว่ามุสลิม ่ ที่ถูกจับได้ 100 คนมีความเชือว่าอนุญาตให้เข่นฆ่าผู้บริสุทธิได้ ก็เลยเหมารวมว่า หรือ สรุป ่ ์ ว่า มุสลิมส่วนใหญ่ มีความเชื่อเช่นนี้เหมือนกัน 37. Unrepresentative Data (conclusion drawn from data that’s exceptional or biased) ทำาสำารวจไม่ทั่วถึงทุก กลุ่มคนที่เกี่ยวข้อง ซึงจะมีผลต่อข้อสรุปที่จะได้ออกมา เป็น ่ เหตุทำาให้เกิดความไม่ยุติธรรม และแฝงเอาไว้ด้วยอคติ เช่นเลือกสำารวจเฉพาะบางกลุ่มคน หรือ บางชนชาติ หรือ บางศาสนา หรือ บางพื้นที่ หรือ บางกลุ่มคนที่จบการศึกษาด้านหนึ่ง ด้านใด หรือ ด้านอายุ ที่เป็นเป้าหมายของตนเอง เพื่อใช้รองรับจุดยืนของตนเอง เช่นไป สำารวจคนเฉพาะแถบอีสานจำานวน 30,000 คน และ สรุปออกมาว่า คนไทยกินข้าวเหนียว เป็นอาหารหลัก จริงอยู่ว่าจำานวนอาจจะมากจริง แต่ ครอบคลุมไปทั่วถึง เป็นเหตุให้ได้ข้อ สรุปที่ผิดพลาด 38. Arguing from Ignorance (it’s true because there’s no evidence to the contrary) เอาการไม่ม ีห ลัก ฐาน มาเป็น หลัก ฐานเสีย เอง เพื่อ รองรับ จุด ยืน ของ ตนเอง การที่ขออ้างหนึ่งไม่มีหลักฐานมายืนยันสนับสนุนทั้งในทางบวกหรือลบ นั่นไม่ ้ ได้เป็นหลักฐานว่าสิ่งนั้นๆจะต้องเป็นเช่นนั้นหรือจะต้องไม่เป็นเช่นนั้น เช่น “เนื่องจาก คุณพิสูจน์ไม่ได้ตามที่คุณอ้างมาว่า ผีไม่มีจริง เพราะฉะนั้น ผีจงมีจริง ” เราจะเห็น ึ ว่าการที่ฝายหนึ่งหาหลักฐานมายืนยันไม่ได้วาผีไม่มีจริงนั้น นั่นไม่ได้หมายความว่า ่ ่ เพราะฉะนั้นผีจะต้องมีจริง แต่การจะพูดแบบฟันธงได้ว่าผีมีจริงนั้น ฝ่ายที่เชื่อจะต้องนำา หลักฐานข้อพิสูจน์มายืนยันการมีอยู่จริงของผี เรื่องนี้สามารถใช้กับเรื่อง พระเจ้าก็ได้ แต่เราจะต้องพิจารณาและวิเคราะห์ดูให้ดีๆในแต่ละกรณีว่า มันจะเรียกว่าเป็นการ Appeal to Ignorance หรือไม่ / เอาการไม่มีหลักฐานมาเป็นหลักฐานเสียเอง เพื่อรองรับ จุดยืนของตนเอง เช่นผู้ที่เป็นศัตรูอิสลามอาจจะพูดว่า “ การที่ไม่มีหลักฐานยืนยันว่า มุ ฮัมหมัดไม่เคยพูดโกหก นั่นไม่ได้หมายความว่า มุฮัมหมัดจะไม่เคยพูดโกหกเลย” ใน กรณีเช่นนี้ เราจะต้องโต้ตอบว่า ถ้าเราพิสูจน์ได้ว่ามีหลักฐานยืนยันว่า มุฮัมหมัดได้รับ ฉายาจากผู้ที่อยู่ร่วมสมัยกับเขาว่า “ อัล-อามีน” ซึงมีความหมายว่า ผู้ที่มีความซื่อสัตย์ยิ่ง ่ อีกทั้ง ยังได้รับการยอมรับแม้แต่ผู้เป็นศัตรูถึงความซื่อสัตย์ และยิงไปกว่านั้น แม้แต่ศัตรู ่ ก็ยังนำาสิงของมาฝากกับมุฮัมหมัด อันเนื่องจากความไว้วางใจในตัวมุฮมหมัด ถ้าพิสูจน์ ่ ั ได้เช่นนี้แล้ว เขาผู้นั้นไม่มีสิทธิ์ที่จะยังกล่าวว่า “ การที่ไม่มีหลักฐานยืนยันว่า มุฮัม หมัดไม่เคยพูดโกหก นั่นไม่ได้หมายความว่า มุฮัมหมัดจะไม่เคยพูดโกหกเลย” แต่เป็น หน้าที่ของเขาผู้นั้นจะต้องนำาหลักฐานมาให้ได้ที่จะพิสูจน์ว่า มุฮัมหมัดเคยโกหกจริง เพราะเขาไม่อาจที่จะเอาการไม่มีหลักฐานมาเป็นหลักฐานเสียเองได้อีกต่อไป และถ้าเขา ไม่อาจที่จะหาหลักฐานที่เชื่อได้มายืนยันได้วามุฮัมหมัดเคยพูดโกหก เช่นนั้น ตามหลัก ่ วิชาการ เราจะต้องยืนยันว่า มุฮัมหมัดไม่เคยพูดโกหก เช่นกัน ศัตรูอิสลามบางคนอ้างว่า “ การที่ไม่มีหลักฐานว่า ฮะดีษนั้นถูกเปลี่ยนแปลง แก้ไข นั่นไม่ได้หมายความว่า ฮะดีษจะไม่เคยถูกเปลี่ยนแปลงแก้ไขเลย” เราขอตอบว่า “ คุณไม่มีสิทธิ์ที่จะเอาการไม่มีหลักฐานมาเป็นหลักฐานเสียเองได้ แต่คุณต่างหากที่จะ ต้องเป็นฝ่ายนำาหลักฐานมาพิสูจน์ยืนยันว่า ฮะดีษได้เคยถูกเปลี่ยนแปลงแก้ไข เช่น ฮะ ดีษ บุคอรีที่มีอยู่ในปัจจุบันนั้น ไม่เหมือนกับ ฮะดีษบุค คอรีเมื่อ 500 ปีที่แล้ว ถ้าคุณไม่
  • 12. 84 สามารถนำาหลักฐานมายืนยันถึงการถูกเปลี่ยนแปลงได้ เช่นนี้ เราจะต้องยืนยันว่า ฮะดีษ ไม่มีถูกเปลี่ยนแปลงแก้ไข ทั้งนี้ก็เพราะว่า ตำาราบันทึกฮะดีษบุคคอรี เหมือนกันทั่วโลก ไม่ว่าจะฉบับเก่าแก้ หรือฉบับใหม่ที่ถูกพิมพ์ออกมา สามารถเทียบกันดูได้ และอีกอย่างก็ คือ ตำาราบันทึกประวัติบรรดานักรายงานฮะดีษแต่ละเล่มก็เหมือนกันทั่วโลก เช่นตำารา บันทึกประวัติบรรดานักรายงานฮะดีษที่มีชื่อว่า ตับรีบุซตะฮิซบ ไม่ว่าจะสมัยไหนก็ ี เหมือนกัน ไม่มีการถูกเปลี่ยนแปลงแม้แต่ในรายละเอียดของตำารา ซึงในตำาราบันทึก ่ ประวัติบรรดานักรายงานฮะดีษนี้ ประวัติ ที่มาทีไป และรายละเอียดต่างๆของนักรายงาน ่ ฮะดีษแต่ละคนจะถูกบันทึกเอาไว้อย่างตรงไปตรงมา ไม่ว่าจะเป็น เรื่องความจำา ความน่า เชื่อถือ เคยโกหกเอาไว้หรือไม่ แม้แต่ครังเดียว มีอาจารย์ชื่ออะไร มีลูกศิษย์ชื่ออะไร ้ เกิดที่ไหน ตายที่ไหน มีความเชื่อเป็นอย่างไร เขียนตำาราเอาไว้กี่เล่ม และลายละเอียด อื่นๆ ที่จะถูกนำามาใช้ในการตัดสินว่า ฮะดีษบทนั้นๆที่เขาได้รายงานนั้นเชื่อถือได้หรือ ไม่ แต่กระนั้นก็ตามในบางกรณี จะไม่ถือว่าเป็นการ Appeal to Ignorance เช่น คนๆ หนึ่งถูกกล่าวอ้างว่า ทำาในสิ่งทีผิดกฏหมาย แต่กระนั้นก็ตาม ผูที่กล่าวอ้างว่าคนๆนั้นทำา ่ ้ สิ่งทีผิดกฏหมายไม่มอะไรมาเป็นหลักฐานยืนยัน เพื่อเอาผิดเขา และในขณะเดียวกัน ่ ี คนๆนั้นก็ไม่มีหลักฐานยืนยันว่าตัวเองไม่ได้ทำาผิดจริง เช่นนี้ เราจะต้องเราสามารถ ทึกทักเอาเองได้ก่อนเบื้องแรกว่า ข้ออ้างนั้นไม่เป็นความจริง คือ เขาไม่ได้ทำาความผิด และ อีกอย่างก็คือ เมื่อพิจารณาดูวาข้ออ้างนั้น ฟังดูไม่ค่อยน่าจะมีความเป็นไปได้ หรือ ่ เป็นสิ่งที่ใหม่ที่ไม่เคยเกิดมาก่อน เช่นคนๆหนึ่งอ้างว่าได้ไปดาวอังคารมา โดยมีมนุษย์ ต่างดาวพาไป หรือ แม้แต่เปาโลที่อ้างว่าได้เจอกับพระเยซู เมื่อเป็นเช่นนี้ก็จะเข้ากฏอีก ข้อก็คือ ให้เป็นผู้ที่อ้างสิ่งหนี่งสิ่งใดขึ้นมา เขาผู้นั้นจะต้องนำาหลักฐานข้อพิสูจน์มายืนยัน เพราะโดยปรกติทั่วไปแล้ว สิ่งนี้ไม่เกิดขึ้นเป็นที่แพร่หลาย สิ่งที่ถ้าเป็นจริงแล้ว ก็จะสามารถรู้ได้ และถ้าไม่สามารถรู้ถึงสิ่งนั้นๆได้ว่าเป็นจริง เพราะฉะนั้นสิ่งนั้นจึงไม่เป็นความจริง เราเรียกเป็นภาษาอังกฤษได้ว่า "auto-epistemic" ("self-knowing") เช่นพูดว่า “ ถ้าผมถูกรับมาเลี้ยงเป็นลูกบุญธรรม ผมก็จะรู้แล้วใน ตอนนี้ แต่เนื่องจากผมไม่รับรู้เลยว่าผมนั้นลูกรับมาเลี้ยง ดังนั้นผมจึง ไม่ได้เป็นลูก บุญธรรม” เช่นเดียวกัน เมื่อได้มีการตรวจสอบสิ่งๆหนึ่งดูอย่างดีแล้ว ถือว่ามีเหตุผลที่เราจะ บอกได้ว่า สิงนั้นๆเป็นเท็จอันเนื่องจากไม่มีหลักฐานที่จะมาสนับสนุนว่ามันเป็นจริง เช่น ่ ถ้ายาชนิดหนึ่งได้รับการตรวจสอบ ทดลองโดยอย่างดีแล้วว่ามีผลที่ก่อให้เกิดอันตราย หรือไม่ และไม่ปรากฏพบเลยว่าจะมีผลอันตรายใด เช่นนี้ ถือว่าเป็นการสมเหตุสมผลที่ จะสรุปได้ว่า ยานี้ปลอดภัย ในขณะที่การไม่มีหลักฐานยืนยันในบางสิงนั้นถือว่าเป็นที่รู้กันว่าเชื่อถือได้ เช่น ่ ตารางเดินเครื่องบิน ทังบินเข้าและบินออก ถ้าเราดูทตารางเดินเครื่องบินแล้ว ไม่พบว่า ้ ี่ มีเครื่องบินไปและบินกลับมาจากตุรกีเลย เราสันนิษฐานเอาได้เลยว่าวันนั้นๆ ไม่มีเครื่อง บินๆไป หรือ กลับจากประเทศตุรกี ทั้งนี้ก็เพราะเวลาเข้าและออกของทุกสายการบินจะ ถูกระบุเอาไว้ในตารางนี้ ที่อื่นไม่มี ในภาษาอังกฤษเราจะเรียกว่า “ closed world assumption”
  • 13. 85 39. Contrary-to-Fact Hypothesis (treats a hypothetical claim as a statement of fact to argue that things would have been different) อ้างเหตุผลเพื่อสนับสนุนจุดยืนตนเองโดยใช้ ข้อสันนิษฐานที่มีขึ้นที่ตรงกันข้ามกับความ จริงที่เกิดขึ้นในอดีต หรือ สิงที่จะเกิดขึ้นในอนาคต ทั้งๆที่ไม่มีหลักฐานยืนยันว่าต้องเป็นเช่น ่ นั้น เช่นพูดว่า: 1. ผมแพ้การแข่งขันเทนนิส 2. ก็เนื่องมาจากการที่ผมไม่ได้ฝึกซ้อมลูก backhand อย่างเพียงพอก่อนหน้าที่จะลงแข่ง 3. การฝึก ลูก backhand จะเป็นตัวชี้ แพ้ ชีชนะ สำาหรับผม 4. เพราะฉะนั้น ถ้าผมได้ฝึกลูก ้ backhand ก่อนลงแข่งให้ดีแล้วล่ะก็ ผม ต้องชนะการแข่งขัน สิ่งทีตรงกันข้ามกับความจริงที่เกิดขึ้นคือ ข้อความที่ 3 แต่กระนั้นก็ตาม เขาจะต้อง ่ ให้เหตุผล หรือ หลักฐาน เพื่อที่จะมายืนยันว่า ตัวชีแพ้ ชี้ ชนะ คือ การฝึกลูก backhand ้ ไม่ใช่นำาเอา ข้อความที่ 3 มาเป็นเหตุผลสนับสนุน (premise) เสียเอง หากแต่ว่าข้อความที่ 3 เ เอง ถือว่าเป็นจุดยืน ( conclusion) ที่จะต้องมีเหตุผล (premise) มาสนับสนุนตัวมันเอง เพราะมิเช่นนั้นแล้ว ข้อความที่ 3 อย่างมากก็เป็นได้แค่ ข้อสันนิษฐานเท่านั้น ไม่ใช่ความจริง / ส่วนข้อความที่ 1 และ 2 คือ ความจริงที่เกิดขึ้น และข้อความที่ 4 คือ จุดยืน ( conclusion) โดยที่ในที่นี้ข้อความที่ 3 ถูกทำาให้เป็นเหตุผลสนับสนุน (premise) เสียเอง ทั้งๆทีมันเป็น ่ จุดยืนที่จะต้องถูกพิสูจน์ว่าจริงหรือไม่ โดยจะต้องมี เหตุผล ( premise) เข้ามาสนับสนุน หรือ เช่นพูดว่า “ ถ้าผมได้อยู่หอนอกมหาวิทยาลัย 1. ผมจะมีเวลาอ่านหนังสือมาก ขึ้น 2. เกรดของผมก็จะดีขึ้น และ 3. ผมก็จะมีเวลานอนหลับพักผ่อนได้มากขึ้น” จะเห็นได้ว่า ข้อความแต่ละข้อความเหล่าตัวมันเอง บ่งบอกถึง จุดยืน ไม่ใช่ เหตุผลสนับสนุน (premise) เพราะฉะนั้น จะต้องมีเหตุผล หรือหลักฐานเข้ามาเพื่อสนับสนุน เพื่อที่จะเชื่อมเพื่อเป็น เงื่อนไขระหว่าง การอยู่หอนอกมหาวิทยาลัย ให้กับ ขอความที่ 1, 2 และ 3 40. Fallacy of Popular Wisdom (substituted in the place of good evidence for a claim) สนับสนุนจุดยืนตนเอง โดยนำาเอาคำาพูดของนักปราชญ์ หรือ คำาคติพจน์ หรือ คำาพังเพย มาแทนที่หลักฐาน หรือ เหตุผลที่เชื่อถือได้ และมีนำ้าหนัก 41. Inference from a Name or Description (claim made by the label is true) ให้เหตุผลสนับสนุนจุดยืนของตนเองโดยอ้าง สิงที่ถูกสร้างภาพ หรือฉายภาพออกมาว่า ่ เป็นเช่นนั้นเช่นนี้มาเป็นเหตุผล ทังๆที่ในความเป็นจริงแล้วไม่จำาเป็นว่าจะต้องเป็นเช่นนั้น ้ ตาม สิ่งภายนอกที่ปรากฏออกมาภายนอก กับความเป็นจริงนั้น อาจจะแตกต่างกันก็ได้ เพราะฉะนั้นเมื่อเราพบป้าย หรือโฆษณา หรือข้อความใดๆ ที่อาจจะสื่อให้เราสรุปที่อาจจะไม่ ตรงกับความเป็นจริงแล้ว เช่นนี้เรามีเหตุผลที่จะตังข้อสงสัยได้ เพื่อวิเคราะห์ต่อไปว่า ความ ้ เป็นจริงนั้นสอดคล้องกับสิ่งที่กล่าวเอาไว้ในป้าย โฆษณา หรือ สิงอื่นๆ หรือไม่ เช่น ข้อความ ่ ที่ว่า “ โรงแรมนี้ มีเครื่องอำานวยความสะดวกสบายมากที่สุดในโลก” หรือ “ ประเทศอินเดีย ปกครองด้วยระบบประชาธิปไตย เพราะฉะนั้น เราไม่ต้องไปสงสัยอีกว่า ยังจะมีระบบชนชั้น วรรณะอีกหรือไม่” แต่ถ้าข้อความที่ต้องการบอกให้รู้ โดยไม่มีอะไรที่สื่อให้เราได้ข้อสรุปที่ ผิดๆ ก็ไม่มีความจำาเป็นอันใดที่จะต้องไปสงสัย เช่นป้ายเขียนว่า “ ขณะนี้ท่านกำาลังเข้าสู่ มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ” หรือ ป้าย “ ร้านนี้มผัก ผลไม้ขาย” ี
  • 14. 86 42. Fallacy of Impossible Precision (Uses statistics with exactitude impossible to attain) สนับสนุนจุดยืนของตนเองด้วยตัวเลขทางคณิตศาสตร์ ซึงในความเป็นจริงแล้ว มันคือ ่ การสุ่มเดาเอาเอง แต่ถูกสร้างภาพให้ดูราวกับว่าเป็นความจริง หรือเป็นเช่นนั้นจริงๆ และมี ความแน่นอน ซึงการอ้างตัวเลขนี้จะทำาให้ดูน่าเชื่อถือมากกว่าการอ้างที่ไม่มีตัวเลข ซึ่งใน ่ บางกรณีนั้นสามารถกล่าวได้ว่า ไม่มีความเป็นไปได้เลยที่จะได้ตัวเลขเช่นนั้นมาโดย สอดคล้องกับความเป็นจริง 43. Special Pleading (argument for preferential treatment) ใช้มาตรฐาน หรือกฏเกณฑ์ หนึ่งๆกับ สิ่งหนึ่ง หรือ คนหนึ่งคนใด แต่กลับไม่ใช้ มาตรฐาน หรือ กฏเกณฑ์เดียวกันนี้ กับอีกสิ่งหนึ่ง หรือคนหนึ่ง โดยอ้างว่าแตกต่างกัน ซึง ่ เขาจะต้องให้เหตุผลที่มีนำ้าหนักมาให้ได้ว่า มันแตกต่างกันอย่างไร 44. Omission of Key Evidence (missing principal proof needed to support conclusion) ละเลยที่จะกล่าวถึง เหตุผลที่เป็นเงื่อนไขสำาคัญ ในการใช้สนับสนุนข้อสรุป หรือจุดยืน โดยอ้างเหตุผลย่อยๆที่ไม่ใช่เหตุผลทีแท้จริงที่จะไปสนับสนุนข้อสรุป หรือจุดยืน หรือ การ ่ ให้เหตุผลที่ยังไม่เพียงพอที่จะนำาไปใช้สนับสนุนจุดยืนได้ เช่นกล่าวว่า “ เราชอบหลายๆสิ่ง เหมือนกัน และเราก็ไปโบสถ์เดียวกัน เราชอบอาหารรสชาดเดียวกัน และผมก็ชอบสัตว์ เลี้ยงของคุณ และผมก็สามารถเก็บเงินที่ได้จากการทำางาน ดังนั้นเราควรที่จะแต่งงานกัน” จะเห็นได้ว่า เหตุที่เป็นเงื่อนไขสำาคัญ ในการใช้สนับสนุนข้อสรุป หรือจุดยืน นั้นไม่ได้ถูก กล่าว นั่นก็คือ การที่ทั้งสองมีความรักต่อกัน และพร้อมและพอใจที่จะใช้ชีวตร่วมกัน ได้แต่ ิ กล่าวถึงเหตุผลย่อยๆ ทีอาจจะไม่ค่อยมีนำ้าหนักเลยก็ว่าได้ที่จะใช้ไปสนับสนุนจุดยืนที่ว่า “ ่ เพราะฉะนั้นเราควรที่จะแต่งงานกัน” 45. Confusion of a Necessary with a Sufficient Condition (event will occur because a necessary condition is present) สับสนระหว่าง การที่มีเงื่อนไขที่จำาเป็น และการมีเงื่อนไขที่เพียงพอ ที่จะ ทำาให้สิ่งหนึ่งเกิดขึ้นได้ การที่สิ่งหนึ่งหรือเหตุการณ์หนึ่งจะเกิดขึ้นมาได้นั้น จะ ต้องมีสิ่งที่เรียกว่าเป็นเงื่อนไขจำาเป็นที่จะทำาให้สิ่งหนึ่งๆเกิดขึ้น ถ้าไม่มีเงื่อนไข นี้ สิ่งนั้นๆก็จะไม่สามารถเกิดขึ้นมาได้ แต่กระนั้นก็ตามเงื่อนไขนั้นๆก็ยังไม่ ถือว่าเพียงพอที่จะทำาให้สิ่งนั้นๆเกิดขึ้นได้ เพราะฉะนั้น เราจะต้องไม่สับสน ระหว่าง สิ่งที่ถือเป็นเงื่อนไขจำาเป็นที่จะทำาให้สิ่งหนึ่งๆเกิดขึ้น กับ เงื่อนไขที่ เพียงพอที่จะทำาให้สิ่งหนึ่งๆเกิดขึ้นมาได้ ถ้ามีเงื่อนไขที่พอเพียง สิ่งนั้นที่กำาลัง พูดถึงอยู่จะเกิดขึ้นอย่างแน่นอน แต่ไม่จำาเป็นว่าถ้ามี เงื่อนไขจำาเป็นแล้ว สิ่งที่ กำาลังพูดถึงอยู่จะเกิดขึ้นมาได้ ยกตัวอย่าง เรื่อง รถจะวิ่งได้ต้องมีนำ้ามัน เป็น เงื่อนไขจำาเป็น แต่กระนันก็ตองอาศัยเงื่อนไขอื่นๆด้วยเช่นกัน เพื่อรวมกันแล้ว ้ ทำาให้เกิดเงื่อนไขที่พอเพียงที่จะทำาให้รถวิ่งได้ เช่น ล้อรถ เครื่องยนตร์ ... พืช จะเจริญเติบโตได้ต้องรดนำ้าเป็นเงื่อนไขจำาเป็น แต่นำ้าอย่างเดียวยังไม่เพียง พอที่จะทำาให้ต้นไม้เจริญเติบโตได้
  • 15. 87 46. Causal Oversimplification (whereas antecedents to an event work together to bring it about, this fallacy designates only the most obvious antecedent as cause) แน่นหรือมุ่งนำาเอาสิ่งหนึ่งสิ่งใดมาเป็นสาเหตุของสิงที่เกิดขึ้น ทังๆที่ในความเป็นจริงแล้ว ่ ้ มีสิ่งอื่นๆที่เป็นสาเหตุร่วมกันด้วย ซึงสาเหตุหนึ่งสาเหตุใดไม่อาจที่จะทำาให้เกิดสิ่งนั้นได้ ่ อย่างเป็นเอกเทศ เพราะฉะนั้นจะต้องมี เงื่อนไขที่เพียงพอ ( sufficient conditions) จึงเป็น สิ่งสำาคัญที่จะทำาให้เกิดสิ่งนั้นขึ้นมาได้ 47. Post Hoc Fallacy (assumes that event B is caused by event A, simply because B follows A in time) ผิดพลาดในการชี้สาเหตุทแท้จริง ละเลยต่อสาเหตุที่แท้จริงของสิงๆหนึ่งที่เกิดขึ้น และ ี่ ่ นำาสิ่งหนึ่งที่ไม่ใช่สาเหตุที่แท้จริงมาทึกทักเอาว่าเป็นสาเหตุที่แท้จริง แต่ในความเป็นจริง แล้วสาเหตุทแท้จริงของสิ่งๆนั้นที่เกิดขึ้นนั้นเป็นอีกอย่างหนึ่ง ี่ 48. Confusion of Cause and Effect (confusion of a thing with what it brings about) สับสนระหว่างสาเหตุ และ ผลที่เกิดขึ้น เช่น “ พูดว่านาย เอ. ได้คะแนนดีกว่าคนอื่นๆ เพราะ เขาเป็นคนที่คุณครูรักมากกว่าคนอื่นๆ” แต่ในความเป็นจริงแล้ว ต้องพูดอย่างนี้จึงจะ ถูก “ ที่นาย เอ. เป็นคนที่คุณครูรักมากกว่าคนอื่นๆ ก็เพราะ เขาได้คะแนนดีกว่าคนอื่นๆ ” 49. Neglect of a Common Cause (fallacious statement fails to recognize that two related events may not be causally related at all, but rather are effects of a common cause) ละเลยต่อสาเหตุร่วม กล่าวคือ สองเหตุการณ์เกิดขึ้น เช่น เหตุการณ์ เอ กับ บี โดยเข้าใจ ไปว่า ที่เหตุการณ์ เอ เกิดขึ้นได้ก็เพราะมีสาเหตุมาจาก เหตุการณ์ บี แต่ในความเป็นจริง แล้ว ทั้ง เอ และ บี เกิดขึ้นมาได้เพราะต่างก็มีสาเหตุมาจาก เหตุการณ์ ซี เช่นกล่าวว่า “ เนื่องจากคุณครูที่สอนเด็กประถมศึกษาส่วนใหญ่มีลูกเป็นของตัวเองแล้ว ด้วยเหตุนี้เอง จะ ต้องเป็นเพราะการสอนที่เป็นตัวกระตุ้นให้เกิดความต้องการเป็นพ่อ แม่ หรือไม่ก็ เพราะ ความเป็นพ่อแม่ จะต้องเป็นตัวกระตุ้นให้เกิดความสนใจที่จะสอนเด็กๆประถม ” แต่กระนั้น ก็ตาม ทังสองไม่ใช่สาเหตุของกันและกัน แต่ทั้งสองมีสาเหตุร่วมกันนั้นก็คือ ความรักในตัว ้ เด็ก เป็นสาเหตุทำาให้หลายๆคนต้องการเป็นพ่อ แม่ อีกทั้งเป็นครูสอนเด็กประถม 50. Domino Fallacy (fallacy assumes, without evidence) that a particular action or event is just one, usually the first, in a series of steps that will lead inevitably to some specific consequence) ทึกทักเอาเองโดยไม่มีหลักฐานยืนยันหรือเหตุผลที่เพียงพอว่า ถ้าเหตุการณ์ เอ เกิดขึ้น เหตุการณ์ บี ซี ดี และ อื่นๆ จะต้องเกิดขึ้นตามมาด้วย ทั้งๆที่ไม่จำาเป็นที่จะต้องเป็นเช่นนั้น เลย 51. Gambler’s Fallacy (argues that because a chance event has occurred a certain way in the past, the probability of its occurrence in the future is altered)