SlideShare a Scribd company logo
1 of 68
1
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยว
กับ
เทคโนโลยี
สารสนเทศ
และองค์กร
Management Information System
Chapter
2
บทนี้มีอะไรบ้าง ?
• 1 ความสำาคัญของสารสนเทศ
2 ความหมายของข้อมูล, สารสนเทศ, และ
ความรู้
• 3 ลักษณะของสารสนเทศที่ดี
• 4 ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ
• 5 องค์ประกอบของเทคโนโลยีสารสนเทศที่ใช้
คอมพิวเตอร์
• 6 บทบาทของผู้บริหารและผู้ปฏิบัติการเกี่ยวกับ
สารสนเทศ
Management Information System
3
บทนี้มีอะไรบ้าง ?
• 7 แนวทางเกี่ยวกับสารสนเทศ
• 8 ประโยชน์ของสารสนเทศ
• 9 ความสัมพันธ์ระหว่างองค์กรและระบบ
สารสนเทศ
• 10 องค์กรเสมือนจริง (Virtual
Organization)
• 11 รีอินจีเนียริ่ง (Reengineering)
• 12 การจัดการความรู้ (Knowledge
Management)
Management Information System
4
1 ความสำาคัญของสารสนเทศ
• ปัจจุบัน IT ได้ทวีความสำาคัญขึ้นอย่างมาก ทั้ง
ในชีวิตประจำาวัน ชีวิตการทำางาน และการ
ดำาเนินงานองค์การต่าง ๆ จนบางครั้งอาจเปรียบ
สารสนเทศได้เสมือนกับสายเลือดที่หล่อเลี้ยง
การทำางานแทบทุกด้านขององค์กร และผลกระ
ทบของสารสนเทศมีอย่างกว้างขวาง ทั้งใน
ระดับบุคคล กลุ่ม องค์กร รวมทั้งการทำางานใน
สาขาวิชาชีพต่าง ๆ
Management Information System
5
1.1 ความสำาคัญของสารสนเทศ
• บทบาทความสำาคัญของสารสนเทศ เป็นผลเนื่อง
มาจากการเปลี่ยนแปลงของสภาพแวดล้อม
•Toffler (1980) ได้แบ่งวิวัฒนาการของ
สังคมโลกออกเป็น 3 ยุค คือ
• ยุคเกษตรกรรม »» ที่ดิน, แรงงาน
• ยุคอุตสาหกรรม »» คน, เครื่องจักร
• ยุคสารสนเทศ »» ข้อมูล, ข่าวสาร, ความรู้
Management Information System
6
1.1 ความสำาคัญของสารสนเทศ
• การเปลี่ยนแปลงของสภาพ
แวดล้อมในปัจจุบันทำาให้
สารสนเทศมีความสำาคัญเพิ่มขึ้น
โดยเน้นประเด็นต่อไปนี้
ระบบเศรษฐกิจยุคใหม่
การเปลี่ยนแปลงด้านองค์การและ
การบริหาร
Management Information System
7
1.1 ความสำาคัญของสารสนเทศ
ระบบเศรษฐกิจยุคใหม่
มีลักษณะ 3 ประการคือ
 ระบบเศรษฐกิจโลก (Global
Economy)
 ระบบเศรษฐกิจซึ่งเน้นการบริการที่
อาศัยสารสนเทศ
เป็นหลัก
Management Information System
8
1.1 ความสำาคัญของสารสนเทศ
การเปลี่ยนแปลงองค์กรและ
การบริหาร
มีลักษณะ 3 ประการคือ
 องค์กรแบบใหม่
 การบริหารแบบใหม่
 การบริหารที่เน้นความโปร่งใสและ
ตรวจสอบได้
Management Information System
9
1.1 ความสำาคัญของสารสนเทศ
การเปลี่ยนแปลงของ
เทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศมีการพัฒนา
อย่างรวดเร็ว สามารถตอบสนองความ
ต้องการของผู้ใช้ได้มากขึ้น ราคาถูก
ลง มีรูปแบบการสื่อสารโทรคมนาคมที่
หลากหลาย เทคโนโลยีมีบทบาทใน
การเปลี่ยนแปลงการดำาเนินธุรกิจและ
การทำางานสาขาวิชาชีพต่าง ๆ เช่น
Management Information System
10
2.ความหมายของข้อมูล,
สารสนเทศ, ความรู้
ระบบสารสนเทศสร้างขึ้นมาเพื่อจุดมุ่ง
หมายหลายประการ จุดมุ่งหมายพื้น
ฐานประการหนึ่งคือ การประมวลผล
ข้อมูล (Data) ให้เป็นสารสนเทศ
(Information) และนำาไปสู่ความรู้
(Knowledge) ที่ช่วยแก้ปัญหาใน
การดำาเนินงาน
Management Information System
11
2 ความหมายของข้อมูล,
สารสนเทศ, ความรู้
ความหมายของข้อมูล
ข้อมูลข้อมูล (Data)(Data) คือ ข้อเท็จจริงเกี่ยวกับ
เหตุการณ์ หรือข้อมูลดิบที่ยังไม่ผ่าน
การประมวลผล ยังไม่มีความหมายใน
การนำาไปใช้งาน ข้อมูลอาจเป็นตัวเลข
ตัวอักษร สัญลักษณ์ รูปภาพ เสียง
หรือภาพเคลื่อนไหว
Management Information System
12
2 ความหมายของข้อมูล,
สารสนเทศ, ความรู้
ความหมายของสารสนเทศ
สารสนเทศสารสนเทศ (Information)(Information) คือ
ข้อมูลที่ได้ผ่านกระบวนการประมวล
ผลหรือจัดระบบแล้ว เพื่อให้มีความ
หมายและคุณค่าสำาหรับผู้ใช้
Management Information System
13
2 ความหมายของข้อมูล,
สารสนเทศ, ความรู้
ความหมายของความรู้
• ความรู้ความรู้ (Knowledge)(Knowledge) คือ สารสนเทศ
บวกกับ Know-how คือ สารสนเทศอย่าง
เดียวไม่พอที่จะทำาให้เกิดความรู้ เราต้อง
เข้าใจวิธีที่ดีที่สุดในการใช้สารสนเทศใน
การแก้ปัญหาผลิตสินค้าหรือบริการ
(Kogut & Zander, 1992)
•ความรู้ คือ ความรับรู้และความเข้าใจใน
การนำาสารสนเทศไปใช้ในการแก้ปัญหา
ในการดำาเนินงาน
Management Information System
14
2 ข้อมูล, สารสนเทศ, ความรู้
Management Information System
ข้อมูล
(Data
)
ข้อมูล
(Data
)
ประมวล
ผล
ข้อมูล
(Data
Proces
ประมวล
ผล
ข้อมูล
(Data
Proces
สารสนเ
ทศ
(Inform
ation)
สารสนเ
ทศ
(Inform
ation)
ความรู้
(Knowl
edge)
ความรู้
(Knowl
edge)
ความ
เข้าใจ
(Know-
How)
ความ
เข้าใจ
(Know-
How)
15
2.3 ลักษณะของสารสนเทศที่ดี
คุณค่าของสารสนเทศของแต่ละคนไม่
จำาเป็นต้องเหมือนกัน(Haag et al,
2000) ในบทนี้จะกำาหนดลักษณะของ
สารสนเทศที่ดีไว้ 4 มิติ คือ
• มิติด้านเวลา (Time)
• มิติด้านเนื้อหา (Content)
• มิติด้านรูปแบบ (Format)
• มิติด้านกระบวนการ (Process)
Management Information System
16
3 ลักษณะของสารสนเทศที่ดี
มิติด้านเวลามิติด้านเวลา
• การทันเวลา (Timeliness) »สามารถหา
ได้รวดเร็วทันเวลาที่ต้องการ
• ความเป็นปัจจุบัน (Up-to-date)» มีการ
ปรับปรุงข้อมูลให้เป็นปัจจุบันอยู่เสมอ
• มีระยะเวลา (Time Period) »» มีข้อมูลทั้ง
ในอดีต ปัจจุบัน และอนาคต ซึ่งจะเป็น
ประโยชน์ต่อการวางแผนและการตัดสินใจ
Management Information System
17
3 ลักษณะของสารสนเทศที่ดี
มิติด้านเนื้อหามิติด้านเนื้อหา
•ความถูกต้องเที่ยงตรง »» สารสนเทศซึ่ง
ไม่มีข้อผิดพลาด
•ความสัมพันธ์กับเรื่อง »» สอดคล้องกับเรื่อง
ที่ต้องการ
•ความสมบูรณ์ »» คลอบคลุมรายละเอียดที่
สำาคัญทุกเรื่องที่ต้องการทราบ
•ความน่าเชื่อถือได้ »» ขึ้นอยู่กับการเก็บ
รวบรวมข้อมูล และแหล่งที่มาของข้อมูล
•ตรวจสอบได้ »» ตรวจสอบความถูกต้องและ
Management Information System
18
3 ลักษณะของสารสนเทศที่ดี
มิติด้านรูปแบบมิติด้านรูปแบบ
•ความชัดเจน
•ระดับของการนำาเสนอรายละเอียด
•รูปแบบการนำาเสนอ
•สื่อในการนำาเสนอ
•ความยืดหยุ่น
•ความประหยัด
Management Information System
19
3 ลักษณะของสารสนเทศที่ดี
มิติด้านกระบวนการมิติด้านกระบวนการ
•ความสามารถในการเข้าถึง
•การมีส่วนร่วม
•การเชื่อมโยง
Management Information System
20
4 ความหมายของเทคโนโลยี
สารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศ คือ ฮาร์ดแวร์
ซอร์ฟแวร์ การสื่อสารโทรคมนาคม การ
จัดการฐานข้อมูล และเทคโนโลยีที่ใช้ใน
การประมวลผลสารสนเทศที่ใช้
คอมพิวเตอร์ (O’Brien, 2001)
Management Information System
มายของระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ
ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ คือ
ระบบที่รวบรวม ประมวล เก็บรักษา และ
เผยแพร่สารสนเทศ เพื่อใช้ในการ
วางแผน การพัฒนาตัดสินใจ ประสาน
21
5 องค์ประกอบระบบสารสนเทศที่ใช้
คอมพิวเตอร์
ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการที่ใช้
คอมพิวเตอร์ (Computer-Based
Information Systems : CBIS) มีองค์
ประกอบที่สำาคัญ 5 ส่วนคือ

ฮาร์ดแวร์ (Hardware)

ซอร์ฟแวร์ (Software)

ฐานข้อมูล (Database)

เครือข่าย (Network)

กระบวนการ (Procedure)
Management Information System
22
2.6 บทบาทของนักบริหารและ
ผู้ปฏิบัติงานเกี่ยวกับสารสนเทศ
•กำาหนดสารสนเทศทีต้องการ (what)
โดยพิจารณาจากลักษณะงาน หรือหน้าที่
ของหน่วยงาน
•พิจารณาเวลา (when) ที่ต้องใช้
สารสนเทศนั้น เพื่อกำาหนดเวลารวบรวม
ประมวลผล จัดทำารายงาน
•ทราบว่าจะหาสารสนเทศดังกล่าว
ได้ที่ไหน (where) จากแหล่งข้อมูล
Management Information System
23
6 บทบาทของนักบริหารและ
ผู้ปฏิบัติงานเกี่ยวกับสารสนเทศ
•ทราบว่าผู้ใช้สารสนเทศคือใคร (for
whom) เพื่อจะได้จัดทำารูปแบบการนำา
เสนอให้เหมาะสม
•จะใช้เครื่องมืออะไร (how) ในการเก็บ
รวบรวม ประมวล รักษาสารสนเทศ
•สามารถเข้าใจความหมายของสารสนเทศ
ที่หามาได้
•สามารถดำาเนินการหรือปฏิบัติงานได้อย่าง
Management Information System
24
7 แนวทางเกี่ยวกับระบบสารสนเทศ
การศึกษาเรื่องระบบสารสนเทศเพื่อการ
จัดการ จำาเป็นต้องอาศัยความรู้ในสาขา
วิชาต่าง ๆ ดังนั้นระบบสารสนเทศจึงมี
ลักษณะเป็น สหวิทยาการ
(multidisciplinary) ดังนั้น จึงแบ่งการ
ศึกษาระบบสารสนเทศออกเป็น 3 แนวทาง
คือ (Laudon, 1999)
• แนวทางด้านเทคนิค (Technical
Approach)
Management Information System
25
7 แนวทางเกี่ยวกับระบบสารสนเทศ
Management Information System
MIS
คอมพิวเตอร์
Computer science
วิจัยเชิงปฏิบัติการ
Operation Research
วิทยาการการจัดการ
Management Science
จิตวิทยา
Psychology
สังคมวิทยา
Sociology
องค์การ
Organization
วทางด้านเทคนิค
Technical
Approach
แนวทางด้านพฤติกรร
Behavioral Approach
26
7 แนวทางเกี่ยวกับระบบสารสนเทศ
แนวทางด้านเทคนิค
เน้นเรื่องเทคโนโลยีด้านกายภาพ และความ
สามารถในด้านเทคนิคของระบบ ความรู้ที่
ใช้ในแนวทางนี้ได้แก่

วิทยาการจัดการ »» เน้นเรื่องการพัฒนา
โมเดลในการตัดสินใจและการจัดการ

Computer Science »» สนใจการสร้าง
ทฤษฎีและวิธีการทำางานของคอมพิวเตอร์ วิธี
เก็บรวบรวมและการเข้าถึงข้อมูล
Management Information System
27
7 แนวทางเกี่ยวกับระบบสารสนเทศ
แนวทางด้านพฤติกรรม
เน้นที่การเปลี่ยนแปลงทัศนคติ พฤติกรรม
การบริหาร รวมทั้งนโยบายองค์กร ความรู้
ที่ใช้ในแนวทางนี้ได้แก่

วิชาองค์กรและการจัดการ »» ช่วยในการ
พิจารณาว่ากลุ่มหรือองค์กรจะพัฒนาระบบ
อย่างไร และระบบนั้นจะมีผลต่อบุคคล
อย่างไร

วิชาจิตวิทยา »» ช่วยศึกษาพฤติกรรมของคน
Management Information System
28
7 แนวทางเกี่ยวกับระบบสารสนเทศ
แนวทางการผสมผสานด้านเทคนิคและสังคม
แนวคิดนี้เป็นการผสมผสานแนวคิดด้าน
เทคนิคและพฤติกรรมเข้าด้วยกัน โดยมี
จุดมุ่งหมายเพื่อให้เกิดดุลยภาพระหว่าง
ความพึงพอใจของผู้ปฏิบัติงาน และ
ประสิทธิภาพของการทำางาน แนวคิดนี้
เชื่อว่าองค์กรมีองค์ประกอบที่สำาคัญ 4
ประการ คือ งาน คน โครงสร้าง และ
เทคโนโลยี หากมีการเปลี่ยนแปลงปัจจัย
Management Information System
29
8 ประโยชน์ของสารสนเทศ
สารสนเทศที่ดีมีประโยชน์ในด้านต่อไปนี้
ประสิทธิภาพ (Efficiency)
ประสิทธิผล (Effectiveness)
ความได้เปรียบในการแข่งขัน
(Competitive Advantage)
คุณภาพชีวิตการทำางาน (Quality of
Working Life)
Management Information System
30
8 ประโยชน์ของสารสนเทศ
ประสิทธิภาพ (Efficiency)
1. ระบบสารสนเทศทำาให้การปฏิบัติงานมีความ
รวดเร็ว
2. ระบบสารสนเทศช่วยในการเข้าถึงข้อมูล
ขนาดใหญ่ได้อย่างรวดเร็ว
3. ระบบสารสนเทศช่วยให้การติดต่อสื่อสาร
เป็นไปได้อย่างรวดเร็ว
4. ช่วยลดต้นทุน
Management Information System
31
8 ประโยชน์ของสารสนเทศ
ประสิทธิผล (Effectiveness)
1. ระบบสารสนเทศช่วยในการตัดสินใจ ส่ง
ผลให้การดำาเนินงานบรรลุวัตถุประสงค์ได้
2. ระบบสารสนเทศช่วยในการเลือกผลิต
สินค้า/บริการที่เหมาะสม
3. ระบบสารสนเทศช่วยในการปรับปรุง
คุณภาพของสินค้า/บริการให้ดีขึ้น, ทำาได้
ถูกต้องและรวดเร็วขึ้น, ตรงกับความ
Management Information System
32
8 ประโยชน์ของสารสนเทศ
ความได้เปรียบในการแข่งขัน
(Competitive Advantage)
มีการนำาสารสนเทศมาใช้และทำาให้เกิดการ
บริหาร/จัดการงานแบบใหม่ เช่น
Supply Chain Management, Good
Governance, Customer
Relationship Management-CRM,
Management Information System
33
8 ประโยชน์ของสารสนเทศ
คุณภาพชีวิตการทำางาน (Quality of
Working Life)
เทคโนโลยีสารสนเทศทำาให้เกิดเครื่องมือการ
ทำางานแบบใหม่ เช่น Internet, E-mail,
Hand phone และทำาให้เกิดการทำางาน
รูปแบบใหม่ ๆ เช่น ระบบ Tele/Video
Conferencing, Electronic Data
Interchange, Virtual Organization
Management Information System
34
9 ความสัมพันธ์ระหว่างระบบ
สารสนเทศ
กับองค์กรและการจัดการ
Management Information System
ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ
เป็นเรื่องการออกแบบและการ
ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศให้
เกิดประโยชน์ประมี
ประสิทธิผล โดยจะต้องเข้าใจ
ถึงสิ่งแวดล้อม โครงสร้าง
หน้าที่การทำางาน วัฒนธรรม
การเมือง ภายในองค์การ
ตลอดจนบทบาทของผู้บริหาร
35
Management Information System
MIS
องค์การ
• คน
• โครงสร้าง
• หน้าที่
• ระบบการทำางาน
• วัฒนธรรม
• การเมือง
• สิ่งแวดล้อม
• ฮาร์ดแวร์
• ซอร์ฟแวร์
• ฐานข้อมูล
• การสื่อสาร
โทรคมนาคม
เทคโนโลยี
•บทบาทของผู้บริหาร
• ระบบการตัดสินใจ
• การวางนโยบาย/ แผน
• การนำาไปปฏิบัติ
การจัดการ
36
10 องค์การเสมือนจริง (Virtual
Organization)
Management Information System
เป็นปรากฏการณ์ใหม่ที่เกิดขึ้นมาพร้อมกับ
ความก้าวหน้าของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ปัจจุบันได้มีปรากฏการณ์ร่วมสมัยกับ
องค์กรเสมือนจริงเกิดขึ้นมากมาย เช่น ชั้น
เรียนเสมือนจริง (virtual classroom),
ทีมงานเสมือนจริง (virtual team), ทัวร์
เสมือนจริง (virtual tour) เป็นต้น ซึ่ง
ปรากฏการณ์เหล่านี้เกิดจากแนวคิดเรื่อง
ความจริงเสมือน (Virtual Reality) ซึ่ง
37
10 องค์การเสมือนจริง (Virtual
Organization)
Management Information System
แนวคิดเรื่องความจริงเสมือน (Virtual
Reality)
ความจริงเสมือน หรือความจริงซึ่งสร้าง
จำาลองโดยเครื่องคอมพิวเตอร์เป็นความ
จริงที่มนุษย์สร้างขึ้นในลักษณะสามมิติ
เพื่อเลียนแบบความจริงด้านกายภาพ
(physical reality) เช่น การสร้างแบบ
จำาลองของบ้านในลักษณะสามมิติโดยใช้
38
10 องค์การเสมือนจริง (Virtual
Organization)
Management Information System
ความหมายขององค์การเสมือนจริง
องค์กรเสมือนจริงเป็นรูปแบบขององค์กร
แบบใหม่ ดังนั้น จึงยังไม่มีคำาจำากัดความที่
เป็นที่ยอมรับโดยทั่วไป ตัวอย่างคำาจำากัด
ความขององค์กรเสมือนจริงเช่น
• องค์กรเสมือนจริง คือ องค์กรที่ใช้เครือข่าย
ในการเชื่อมโยงคน ทรัพย์สิน และความคิด
ต่าง ๆ เพื่อสร้างและกระจายสินค้าและบริการ
โดยไม่มีข้อจำากัดในเรื่องขอบเขตขององค์กร
39
10 องค์การเสมือนจริง (Virtual
Organization)
Management Information System
ความหมายขององค์การเสมือนจริง
• องค์กรเสมือนจริง คือ รูปแบบองค์กรแบบใหม่
ซึ่งประกอบด้วยคน กลุ่มคน หรือหน่วยงาน หรือ
องค์การซึ่งไม่ได้อยู่ภายใต้องค์กรเดียวกัน และ
กระจายอยู่ตามที่ต่าง ๆ ในลักษณะชั่วคราวหรือ
ถาวร โดยผ่านการสื่อสารทางอิเล็กทรอนิกส์เพื่อ
จะดำาเนินการในกระบวนการผลิต (Travica,
1997)
• องค์กรเสมือนจริง คือ เครือข่ายขององค์กรซึ่ง
40
10 องค์การเสมือนจริง (Virtual
Organization)
Management Information System
ลักษณะขององค์กรเสมือนจริง
•การใช้เทคโนโลยีสื่อสารโทรคมนาคม
– ใช้ในการติดต่อสื่อสารแลกเปลี่ยนข้อมูล
ระหว่างกัน ไม่จำากัดระยะเวลา หรือสถานที่
ซึ่งอาจจะอยู่ในรูปของเครือข่ายคอมพิวเตอร์
เช่น Internet, Intranet, Extranet
•สังคมกับชุมชนเครือข่ายซึ่งมีการร่วมมือ
และพึ่งพากัน
– เครือข่าย Computer จะเชื่อมโยงคนหรือ
เครื่องจักรเข้าด้วยกัน กลายเป็นสังคม หรือ
41
10 องค์การเสมือนจริง (Virtual
Organization)
Management Information System
ลักษณะขององค์กรเสมือนจริง
•สังคมกับชุมชนเครือข่ายซึ่งมีการร่วมมือ
และพึ่งพากัน
– เครือข่าย Computer จะเชื่อมโยงคนหรือ
เครื่องจักรเข้าด้วยกัน กลายเป็นสังคม หรือ
ชุมชนมีโครงสร้างแบบเครือข่าย (Network
structure)
– การติดต่อทางสังคมมีข้อจำากัดทางภูมิศาสตร์
น้อยกว่าชุมชนแบบดั้งเดิม และมีความหลาก
หลายทางด้าน อายุ, เพศ, เชื้อชาติ, และ
42
10 องค์การเสมือนจริง (Virtual
Organization)
Management Information System
ลักษณะขององค์กรเสมือนจริง
•ความยืดหยุ่น
– Virtual Organization ไม่มีข้อจำากัดในเรื่อง
สถานที่ และเวลา การปฏิบัติงานในองค์กร
นอกจากนี้ Virtual Organization อาจจะมี
การจ้างบุคคลภายนอก และกลยุทธ์การสร้าง
พันธมิตรระหว่างองค์กรมาใช้
•ความไว้วางใจ
– Virtual Organization ต้องการความไว้
วางใจที่สูงกว่าองค์กรแบบเดิม
43
10 องค์การเสมือนจริง (Virtual
Organization)
Management Information System
ลักษณะขององค์กรเสมือนจริง
•การบริหารตนเอง
– การปฏิบัติงานของสมาชิกองค์กร มีความเป็น
อิสระมากขึ้นเพราะสายบังคับบัญชาไม่ชัดเจน
– การทำางานขึ้นอยู่กับประสบการณ์ของสมาชิก
•ขอบเขตองค์กรไม่แน่ชัด
– องค์กรเสมือนจริงใช้ความร่วมมือระหว่าง
องค์กรเป็นลักษณะเครือข่าย
•ไม่มีสถานที่ตั้งขององค์กร
– การปฏิบัติโดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ โดย
44
10 องค์การเสมือนจริง (Virtual
Organization)
Management Information System
สาเหตุของการเกิดองค์กรเสมือนจริง
องค์กรเสมือนจริงเกิดจากปัจจัยต่าง ๆ ที่
เกี่ยวกับสภาพแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลง
ไป,ความก้าวหน้าทาง
เทคโนโลยี,ลูกค้า,และคนทำางาน
1. การเปลี่ยนแปลงของสภาพแวดล้อม
– การเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วและความซับ
ซ้อนด้านตลาดและเทคโนโลยี
– การเปลี่ยนแปลงจากยุคอุตสาหกรรมมาเป็น
ยุคสารสนเทศ ให้ความสำาคัญกับคุณค่า
45
10 องค์การเสมือนจริง (Virtual
Organization)
Management Information System
สาเหตุของการเกิดองค์กรเสมือนจริง
2. ความก้าวหน้าของเทคโนโลยี
สารสนเทศ
– การพัฒนาของ IT ทำาให้คนทำางาน
น้อยลง มีอิสระในการทำางานมากขึ้น มี
ความยืดหยุ่นมากขึ้น
– ความก้าวหน้าของเครือข่าย
โทรคมนาคม ช่วยให้การติดต่อสื่อสาร
46
10 องค์การเสมือนจริง (Virtual
Organization)
Management Information System
สาเหตุของการเกิดองค์กรเสมือนจริง
3. ลูกค้า
– ลูกค้ามีทางเลือกในการตัดสินใจมาก
ขึ้น มีข้อมูลสินค้าและบริการมากขึ้น
4. คนทำางาน
– คนให้ความสำาคัญกับวิชาชีพของตัว
เองมากกว่าองค์กรใดองค์กรหนึ่ง และ
ให้คุณค่ากับชีวิตการทำางานและชีวิต
ส่วนตัวเท่าเทียมกัน
47
10 องค์การเสมือนจริง (Virtual
Organization)
Management Information System
เปรียบเทียบองค์กรเสมือนจริงกับองค์กรแบบ
ดั้งเดิมลักษณะลักษณะ องค์กรแบบดั้งเดิมองค์กรแบบดั้งเดิม
องค์กรเสมือนจริงองค์กรเสมือนจริงโครงส
ร้าง
•มีความเป็น
ทางการสูง
•โครงสร้างเน้น
สายบังคับบัญชา
•โครงสร้างตายตัว
•มีความไม่เป็น
ทางการสูง
•โครงสร้างแบบ
เครือข่าย
•โครงสร้างหลวม
•ขอบเขตไม่ชัดเจน
•การมีส่วนร่วม
•กระจายอำานาย
•ทำางานโดยอาศัย
•มีขอบเขตชัดเจน
•เน้นการควบคุม
•รวมศูนย์อำานาจ
•ทำางานโดยเน้นตัว
การ
บริหาร
งาน
48
10 องค์การเสมือนจริง (Virtual
Organization)
Management Information System
ประโยชน์ขององค์กรเสมือนจริง
1. องค์การ
– เสริมสร้างให้ธุรกิจขนาดเล็กใช้ทรัพยากร
ในเครือข่ายเพื่อแข่งขันกับธุรกิจขนาด
ใหญ่ได้
– ทำาให้องค์กรสามารถสร้างความชำานาญ
เฉพาะด้านที่ตนเองเชี่ยวชาญให้มีความ
โดดเด่นได้
2. ผลผลิต
– ช่วยปรับปรุงผลผลิต ให้มีคุณภาพและ
49
10 องค์การเสมือนจริง (Virtual
Organization)
Management Information System
ประโยชน์ขององค์กรเสมือนจริง
3. คนทำางาน
– เพิ่มความสำาคัญของมนุษย์มากขึ้น เปิด
โอกาสให้คนทำางานโดยใช้ความคิด
สร้างสรรค์มากขึ้น
– เปิดโอกาสให้คนทำางานแลกเปลี่ยนความรู้
ทักษะและประสบการณ์จากหลาย ๆ แห่งได้
4. ระยะทาง
– ระยะทางไม่เป็นอุปสรรคในการทำางาน
– ประหยัดค่าใช้จ่ายและระยะเวลาในการเดิน
50
10 องค์การเสมือนจริง (Virtual
Organization)
Management Information System
ประโยชน์ขององค์กรเสมือนจริง
5. สถานที่ตั้ง
– ลดปัญหาความเสียหายด้านกายภาพ
เช่น ไฟไหม้ แผ่นดินไหว, นำ้าท่วม,
การประท้วงต่าง ๆ
– ลดต้นทุนการใช้พื้นที่ของสถานที่
ทำางาน
– ทำาให้คนงานมีเวลาอยู่กับครอบครัว
51
10 องค์การเสมือนจริง (Virtual
Organization)
Management Information System
ข้อจำากัดขององค์กรเสมือนจริง
1. ด้านสังคม
– ความสัมพันธ์ระหว่างพนักงานและผู้
บริหาร พนักงานกับพนักงานจะมีน้อย
ลง
– เส้นแบ่งของชีวิตการทำางานและชีวิตที่
บ้านจะไม่ชัดเจน อาจจะทำาให้ระดับ
ความเครียดเพิ่มขึ้น
52
10 องค์การเสมือนจริง (Virtual
Organization)
Management Information System
ข้อจำากัดขององค์กรเสมือนจริง
2. ความผูกพันกับองค์การ
– หากไม่มีการปรับปรุงความสัมพันธ์ใน
การจ้างงาน พนักงานที่มีความรู้และ
คุณค่าต่อองค์กรจะมีความรู้สึกผูกพัน
กับองค์กรน้อยลง ดังนั้น อัตราการ
เข้า-ออกจึงอาจจะมีสูง
53
11 รีอินจิเนียริ่ง
Management Information System
รีอินจีเนียริ่ง คือ การทบทวนความคิด
พื้นฐาน และการออกแบบกระบวนการ
ทำางานใหม่โดยสิ้นเชิง เพื่อให้บรรลุ
ผลการปรับปรุงเปลี่ยนแปลงขนาด
ใหญ่ ในผลงาน เช่น ต้นทุน,
คุณภาพ, บริการ, และความเร็ว
(Hammer & Champy, 1993)
54
Management Information System
สิ่งแวดล้อม
เปลี่ยนแปลง
ช้า และ
สามารถคาด
การณ์ได้
สิ่งแวดล้อม
เปลี่ยนแปลง
เร็วและมี
ความไม่
แน่นอนสูง
•TQM
•องค์การแบบ
เครื่องจักร
•BPR
•องค์การแบบ
เครือข่าย
อง
ค์ก
ร
อง
ค์ก
ร
สิ่ง
แวดล้อม
การสนับสนุนจากเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคนิคการปรับปรุงงาน
รีอินจีรีอินจี
เนียริ่งเนียริ่ง
55
11 รีอินจีเนียริ่ง
Management Information System
หลักการของรีอินจีเนียริ่ง
1. การคิดใหม่จากพื้นฐาน
2. การออกแบบใหม่อย่างถอนรากถอน
โคน
3. การปรับปรุงที่ส่งผลอย่างใหญ่หลวง
4. เน้นการเปลี่ยนแปลงกระบวนการ
ทำางาน
56
11 รีอินจีเนียริ่ง
Management Information System
เหตุผลในการทำารีอินจีเนียริ่ง
1. ลูกค้า

มีความรู้ความเข้าใจในสินค้า/บริการมากขึ้น

มีความสะดวกในการเข้าถึงข้อมูลจำานวน
มหาศาลง่ายขึ้น

มีพลังในการต่อรองมากขึ้น
2. การแข่งขัน

มีความรุนแรงมากขึ้น, มีรูปแบบที่หลากหลาย
ขึ้น

57
11 รีอินจีเนียริ่ง
Management Information System
องค์ประกอบของรีอินจีเนียริ่ง
1. การออกแบบใหม่ (Redesign)

เน้นการปรับปรุงลักษณะปรับปรุงทั้ง
กระบวนการ

อาจนำาเทคนิค One Stop Service เพื่อให้
ขั้นตอนการทำางานสั้นลง

อาจมีการปรับรื้อระเบียบ, กฎ
เกณฑ์,โครงสร้างองค์กรแบบเดิม
2. เครื่องมือ (Retool)

มีการนำา IT / IS เข้ามาใช้เป็นเครื่องมือใน
58
11 รีอินจีเนียริ่ง
Management Information System
องค์ประกอบของรีอินจีเนียริ่ง
3. การปรับปรุงการทำางานใหม่ (Re
orchestrate)
การปรับปรุงการทำางาน Re
engineering มี 2 ระดับคือ

การเปลี่ยนแปลงทั้งองค์กร ทุกกระบวนการ
ในการทำางาน

การเปลี่ยนแปลงในกระบวนการ คือ เลือก
เฉพาะบางกระบวนการที่มีความสำาคัญต่อการ
ทำางาน หรือทางด้านการแข่งขัน, การสร้าง
59
11 รีอินจีเนียริ่ง
Management Information System
ข้อดีของรีอินจีเนียริ่ง
1. ปรับเปลี่ยนแนวคิดใหม่ในการทำางาน
ทั้งหมด โดยไม่ยึดติดกับระบบการ
ทำางานแบบเดิม
2. มุ่งตอบสนองความต้องการของลูกค้า
เป็นสำาคัญ
3. เจ้าหน้าที่/พนักงาน ทำางานได้เป็น
อิสระมากขึ้น
60
11 รีอินจีเนียริ่ง
Management Information System
ข้อจำากัดของรีอินจีเนียริ่ง
1. RE ละเลยเรื่องคนในองค์กร ทำาให้
พนักงานขาดขวัญ และกำาลังใจในการ
ทำางาน
2. ขาดการนำาเรื่องวัฒนธรรมองค์การมา
พิจารณาในการปรับปรุงงาน
3. การทำา RE เป็นการเปลี่ยนแปลงขนาด
ใหญ่ ยากที่จะทำาให้ประสบความสำาเร็จ
โดยฉับพลัน และยังมีความเสี่ยงค่อนข้าง
สูง
61
12 การจัดการความรู้
(Knowledge Management)
Management Information System
ในระบบเศรษฐกิจยุคใหม่ ฐานความรู้ถือ
เป็นทรัพย์สินที่มีความสำาคัญของ
องค์การ การแข่งขันด้านธุรกิจต้อง
อาศัยความรู้ในด้านกระบวนการต่าง ๆ
ดังนั้น ทฤษฎีการจัดการบางทฤษฎีจึง
เชื่อว่า ทรัพย์สินทางความรู้มีความ
สำาคัญต่อการสร้างความได้เปรียบใน
การแข่งขันและความอยู่รอดของ
องค์การมากกว่าทรัพย์สินทาง
62
12 การจัดการความรู้
(Knowledge Management)
Management Information System
ความรู้ คือสารสนเทศที่มีคุณค่ามากที่สุด
เพราะเป็นสารสนเทศที่ผสมผสานเข้ากับ
ประสบการณ์ วิจารณญาน และปัญญา
ของคนเข้าไปด้วย
ความรู้จำาแนกเป็นสองประเภทคือ
 ความรู้แบบไม่ชัดแจ้ง (Tacit Knowledge)
คือ ความรู้ที่มีเนื้อหาเฉพาะเจาะจง ยากที่จะ
สื่อสารให้คนอื่นทราบหรือเข้าใจได้ง่าย ต้อง
อาศัยทักษะในการฝึกฝน เช่น การว่ายนำ้า
การขี่จักรยาน เป็นต้น
63
12 การจัดการความรู้
(Knowledge Management)
Management Information System
การจัดการความรู้ คือ กระบวนการที่
สำาคัญในการสร้าง จัดระบบ และ
ถ่ายทอดความรู้อย่างทั่วถึงภายใน
องค์กร เพื่อสร้างความได้เปรียบใน
การแข่งขัน หรือทำาให้การทำางานมี
ประสิทธิภาพ ประสิทธิผลมากขึ้น
องค์ประกอบของ Knowledge
Management มีดังนี้
– การสร้างความรู้
64
12 การจัดการความรู้
(Knowledge Management)
Management Information System
การสร้างความรู้การสร้างความรู้
คือ การแสวงหาความรู้ใหม่ ๆ ให้เกิดขึ้นใน
องค์กร โดยผ่านกลไก การเรียนรู้ อาทิ การวิจัย
และพัฒนา การร่วมกันแก้ไขปัญหา, การพัฒนา
เครือข่าย, หรือการพัฒนาผ่านเครือข่ายเป็นต้น
การจัดระบบความรู้การจัดระบบความรู้
เมื่อความรู้ได้สร้างขึ้นแล้ว จะมีกระบวนการต่อ
เนื่องในการจัดระบบความรู้ รวมถึงการแสดง
ความรู้ในลักษณะที่ง่ายต่อการเข้าถึงหรือถ่าย
โอน
การถ่ายทอดความรู้การถ่ายทอดความรู้
65
13 ผลกระทบของเทคโนโลยี
สารสนเทศ
Management Information System
เฮอร์ไชม์ (Hirscheim, 1985) ได้เสนอ
แนวคิดเกี่ยวกับผลกระทบของ
เทคโนโลยีสารสนเทศ สามารถจำาแนก
ได้ 3 กลุ่มคือ

กลุ่มที่มองผลกระทบในด้านบวก
(optimism)

กลุ่มที่มองผลกระทบในด้านลบ
(Pressimism)
66
13 ผลกระทบของเทคโนโลยี
สารสนเทศ
Management Information System
แนวคิดที่มองในด้านบวก

แนวคิดนี้ซึมลึกอยู่ในวัฒนธรรมของอเมริกัน
โดยมีสมมติฐานว่า ITIT ไม่ควรได้รับการ
ปฏิเสธไม่ว่าภายใต้สถาณการณ์ใด ๆ แต่ควร
จะมีการนำาไปใช้อย่างแพร่หลายและรวดเร็ว

แนวคิดนี้เชื่อว่า ITIT เป็นยาสารพัดโรคที่แก้
ปัญหาทุกอย่างได้

แนวคิดนี้เชื่อว่า ITIT มีลักษณะเบ็ดเสร็จ
สมบูรณ์ในการควบคุมกระบวนการทำางาน
ภายในองค์กร
67
13 ผลกระทบของเทคโนโลยี
สารสนเทศ
Management Information System
แนวคิดที่มองในด้านลบ

แนวคิดนี้มองว่า องค์กรประกอบด้วยกลุ่มคนที่มี
ความขัดแย้ง และกลุ่มที่มีอำานาจเหนือกว่าจะนำา
ITIT เข้ามาใช้ในการควบคุมการทำางาน

กลุ่มนี้มองว่า ITIT จะนำาไปสู่การจ้างงานที่ลดลง,
ทำาให้มีการรวมศูนย์อำานาจมากขึ้น, ทำาให้มี
สารสนเทศมากเกินไป และไม่ได้ทำาให้เกิดการ
เปลี่ยนแปลงในผลผลิตที่แท้จริงแต่อย่างใด

กลุ่มนี้มองว่า ITIT ทำาให้การทำางานเป็นลักษณะ
ประจำา, น่าเบื่อ, ทำาให้ความพอใจและคุณภาพ
ชีวิตการทำางานลดลง
68
13 ผลกระทบของเทคโนโลยี
สารสนเทศ
Management Information System
แนวคิดเชิงสัมพันธ์

กลุ่มนี้มองว่า ITIT จะเป็นตัวแปรแทรกระหว่าง
ความสัมพันธ์ระหว่างคนและองค์การ

กลุ่มนี้มองว่า ITIT จะเป็นบวกหรือลบขึ้นอยู่กับ
การสร้างและการใช้เทคโนโลยี

กลุ่มนี้มองว่า การออกแบบ ITIT ที่ดี คือ การ
สร้างดุลยภาพระหว่างความพอใจของผู้ใช้
และประสิทธิภาพด้านเทคนิค การออกแบบ
ระบบคอมพิวเตอร์ที่ดีไม่เพียงแต่ช่วยให้งาน
ประสบความสำาเร็จ แต่ยังช่วยให้คนมีความ

More Related Content

What's hot

งานคอมกลุ่มที่1ชั้น ม.5/1
งานคอมกลุ่มที่1ชั้น ม.5/1งานคอมกลุ่มที่1ชั้น ม.5/1
งานคอมกลุ่มที่1ชั้น ม.5/1Sanita Fakbua
 
สารสนเทศเพื่อประกอบการตัดสินใจ
สารสนเทศเพื่อประกอบการตัดสินใจสารสนเทศเพื่อประกอบการตัดสินใจ
สารสนเทศเพื่อประกอบการตัดสินใจpcpvip
 
ข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศKewalin Kaewwijit
 
Chapter3 typeof informationsystem
Chapter3 typeof informationsystemChapter3 typeof informationsystem
Chapter3 typeof informationsystemthanapat yeekhaday
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1Yaowaluk Kamjang
 
ข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศRattana234
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1Yaowaluk Kamjang
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1Yaowaluk Kamjang
 
บทบาทและแนวโน้ม Ict ในการเรียนการสอน
บทบาทและแนวโน้ม  Ict ในการเรียนการสอนบทบาทและแนวโน้ม  Ict ในการเรียนการสอน
บทบาทและแนวโน้ม Ict ในการเรียนการสอนbenjaluk_r
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1Yaowaluk Kamjang
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1Yaowaluk Kamjang
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1Yaowaluk Kamjang
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1Yaowaluk Kamjang
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1Yaowaluk Kamjang
 

What's hot (16)

งานคอมกลุ่มที่1ชั้น ม.5/1
งานคอมกลุ่มที่1ชั้น ม.5/1งานคอมกลุ่มที่1ชั้น ม.5/1
งานคอมกลุ่มที่1ชั้น ม.5/1
 
Mi sch2
Mi sch2Mi sch2
Mi sch2
 
สารสนเทศเพื่อประกอบการตัดสินใจ
สารสนเทศเพื่อประกอบการตัดสินใจสารสนเทศเพื่อประกอบการตัดสินใจ
สารสนเทศเพื่อประกอบการตัดสินใจ
 
ข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศ
 
Chapter3 typeof informationsystem
Chapter3 typeof informationsystemChapter3 typeof informationsystem
Chapter3 typeof informationsystem
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
ข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศ
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
Mis 1
Mis 1Mis 1
Mis 1
 
บทบาทและแนวโน้ม Ict ในการเรียนการสอน
บทบาทและแนวโน้ม  Ict ในการเรียนการสอนบทบาทและแนวโน้ม  Ict ในการเรียนการสอน
บทบาทและแนวโน้ม Ict ในการเรียนการสอน
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 

Similar to Mi sch1

Chapter 2 information in the organization
Chapter 2 information in the organizationChapter 2 information in the organization
Chapter 2 information in the organizationPa'rig Prig
 
งานนำเสนอ บทที่1
งานนำเสนอ บทที่1งานนำเสนอ บทที่1
งานนำเสนอ บทที่1amphaiboon
 
งานนำเสนอ บทที่1
งานนำเสนอ บทที่1งานนำเสนอ บทที่1
งานนำเสนอ บทที่1sawitri555
 
Data infor 1
Data infor 1Data infor 1
Data infor 1paween
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารjintara022
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารYui Yui
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารTuaLek Kitkoot
 
บทที่ 1-ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1-ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศบทที่ 1-ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1-ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศTimmy Printhong
 
บทที่ 1-ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1-ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศบทที่ 1-ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1-ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศTimmy Printhong
 
บทที่ 1-ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1-ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศบทที่ 1-ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1-ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศTimmy Printhong
 
โครงสร้างรายวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ ม.2
โครงสร้างรายวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ ม.2โครงสร้างรายวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ ม.2
โครงสร้างรายวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ ม.2Meaw Sukee
 

Similar to Mi sch1 (20)

Chapter 2 information in the organization
Chapter 2 information in the organizationChapter 2 information in the organization
Chapter 2 information in the organization
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
งานนำเสนอ บทที่1
งานนำเสนอ บทที่1งานนำเสนอ บทที่1
งานนำเสนอ บทที่1
 
งานนำเสนอ บทที่1
งานนำเสนอ บทที่1งานนำเสนอ บทที่1
งานนำเสนอ บทที่1
 
Mi sch4
Mi sch4Mi sch4
Mi sch4
 
ILS Course at Chula
ILS Course at ChulaILS Course at Chula
ILS Course at Chula
 
Data infor 1
Data infor 1Data infor 1
Data infor 1
 
R&D in Technology for Botanical Garden
R&D in Technology for Botanical GardenR&D in Technology for Botanical Garden
R&D in Technology for Botanical Garden
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
 
1
11
1
 
1
11
1
 
1
11
1
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
 
บทที่ 1-ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1-ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศบทที่ 1-ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1-ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
บทที่ 1-ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1-ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศบทที่ 1-ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1-ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
บทที่ 1-ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1-ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศบทที่ 1-ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1-ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
โครงสร้างรายวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ ม.2
โครงสร้างรายวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ ม.2โครงสร้างรายวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ ม.2
โครงสร้างรายวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ ม.2
 
Big data
Big dataBig data
Big data
 

More from Prapaporn Boonplord

บริบทสังคมทางการศึกษา ทศวรรษที่ 21
บริบทสังคมทางการศึกษา ทศวรรษที่ 21บริบทสังคมทางการศึกษา ทศวรรษที่ 21
บริบทสังคมทางการศึกษา ทศวรรษที่ 21Prapaporn Boonplord
 
ทฤษฎีทางการบริหาร1
ทฤษฎีทางการบริหาร1ทฤษฎีทางการบริหาร1
ทฤษฎีทางการบริหาร1Prapaporn Boonplord
 
ทฤษฎีทางการบริหาร
ทฤษฎีทางการบริหารทฤษฎีทางการบริหาร
ทฤษฎีทางการบริหารPrapaporn Boonplord
 
หัวข้อวิทยานิพนธ์ป.โท
หัวข้อวิทยานิพนธ์ป.โทหัวข้อวิทยานิพนธ์ป.โท
หัวข้อวิทยานิพนธ์ป.โทPrapaporn Boonplord
 
สารสนเทศเพื่อการวางแผน
สารสนเทศเพื่อการวางแผนสารสนเทศเพื่อการวางแผน
สารสนเทศเพื่อการวางแผนPrapaporn Boonplord
 
นำเสนอโครงการอาคารจอมสุรินทร์
นำเสนอโครงการอาคารจอมสุรินทร์นำเสนอโครงการอาคารจอมสุรินทร์
นำเสนอโครงการอาคารจอมสุรินทร์Prapaporn Boonplord
 
หัวข้อวิทยานิพนธ์ป.โท
หัวข้อวิทยานิพนธ์ป.โทหัวข้อวิทยานิพนธ์ป.โท
หัวข้อวิทยานิพนธ์ป.โทPrapaporn Boonplord
 
สารสนเทศเพื่อการวางแผน
สารสนเทศเพื่อการวางแผนสารสนเทศเพื่อการวางแผน
สารสนเทศเพื่อการวางแผนPrapaporn Boonplord
 
นำเสนอโครงการอาคารจอมสุรินทร์
นำเสนอโครงการอาคารจอมสุรินทร์นำเสนอโครงการอาคารจอมสุรินทร์
นำเสนอโครงการอาคารจอมสุรินทร์Prapaporn Boonplord
 

More from Prapaporn Boonplord (18)

บริบทสังคมทางการศึกษา ทศวรรษที่ 21
บริบทสังคมทางการศึกษา ทศวรรษที่ 21บริบทสังคมทางการศึกษา ทศวรรษที่ 21
บริบทสังคมทางการศึกษา ทศวรรษที่ 21
 
ทฤษฎีทางการบริหาร1
ทฤษฎีทางการบริหาร1ทฤษฎีทางการบริหาร1
ทฤษฎีทางการบริหาร1
 
ทฤษฎีทางการบริหาร
ทฤษฎีทางการบริหารทฤษฎีทางการบริหาร
ทฤษฎีทางการบริหาร
 
หัวข้อวิทยานิพนธ์ป.โท
หัวข้อวิทยานิพนธ์ป.โทหัวข้อวิทยานิพนธ์ป.โท
หัวข้อวิทยานิพนธ์ป.โท
 
Business plan
Business planBusiness plan
Business plan
 
สารสนเทศเพื่อการวางแผน
สารสนเทศเพื่อการวางแผนสารสนเทศเพื่อการวางแผน
สารสนเทศเพื่อการวางแผน
 
นำเสนอโครงการอาคารจอมสุรินทร์
นำเสนอโครงการอาคารจอมสุรินทร์นำเสนอโครงการอาคารจอมสุรินทร์
นำเสนอโครงการอาคารจอมสุรินทร์
 
หัวข้อวิทยานิพนธ์ป.โท
หัวข้อวิทยานิพนธ์ป.โทหัวข้อวิทยานิพนธ์ป.โท
หัวข้อวิทยานิพนธ์ป.โท
 
สารสนเทศเพื่อการวางแผน
สารสนเทศเพื่อการวางแผนสารสนเทศเพื่อการวางแผน
สารสนเทศเพื่อการวางแผน
 
นำเสนอโครงการอาคารจอมสุรินทร์
นำเสนอโครงการอาคารจอมสุรินทร์นำเสนอโครงการอาคารจอมสุรินทร์
นำเสนอโครงการอาคารจอมสุรินทร์
 
Business plan
Business planBusiness plan
Business plan
 
Mi sch9
Mi sch9Mi sch9
Mi sch9
 
Mi sch8
Mi sch8Mi sch8
Mi sch8
 
Mi sch7
Mi sch7Mi sch7
Mi sch7
 
Mi sch6
Mi sch6Mi sch6
Mi sch6
 
Mi sch5
Mi sch5Mi sch5
Mi sch5
 
Mi sch3
Mi sch3Mi sch3
Mi sch3
 
Mi sch1
Mi sch1Mi sch1
Mi sch1
 

Mi sch1