SlideShare a Scribd company logo
โครงงานวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร 6

สื่อการเรียนการสอน เรื่อง…
สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้(AEC Learning)
จัดทาโดย
นางสาววริศรา บุญเจริญตั้งสกุล เลขที่ 44
นางสาวชัญญา ฟองคํา เลขที่ 46
นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/2

เสนอ

ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
สารบัญ
ที่มาและความสาคัญ

วิธีดาเนินงาน

วัตถุประสงค์

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

ขอบเขตโครงงาน

ผลการดาเนินงาน

หลักการและทฤษฎี

แหล่งอ้างอิง
ที่มาและความสาคัญ

เนื่องจากในปัจจุบันนี้ประเทศไทยกําลังก้าวหน้าเข้าสู่ประชาคมอาเซียนในปีพุทธศักราช 2559 หรือ
วันที่ 31 ธันวาคม 2558 ในไม่ช้านี้ แต่คนไทยส่วนใหญ่ยังไม่ได้ตระหนักถึงการเข้าร่วมประชาคม
อาเซียนนี้อย่างเท่าที่ควรและไม่ได้มีมาตรการเตรียมพร้อมในการเข้าร่วมนี้แต่อย่างใด
ซึ่งหากเป็นเช่นนี้แล้ว ในอนาคตประเทศไทยอาจจะลําบากเพราะเมื่อเข้าร่วมประชาคมอาเซียนแล้วนั้น
ทุกประเทศที่เข้าร่วมมีสิทธ์ในการทํางานอย่างเท่าเทียมกันไม่ว่าจะในประเทศใดก็ตาม ถ้าเราไม่มี
ความสามารถในการทํางานเท่ากับคนอื่นๆ โอกาสที่จะถูกแย่งงานนั้นมีมาก และนี่ก็เป็นสาเหตุหนึ่งที่
เราควรตะหนึกถึงความสําคัญของประชาคมอาเซียน เพื่อเป็นแนวทางการศึกษาและเพื่อพัฒนา
ศักยภาพของคนไทย คณะผู้จัดทําจึงจัดทําโครงงานในหัวข้อประชาคมอาเซียนนี้ให้เป็นประโยชน์ต่อคน
ไทยที่สนใจและต้องการศึกษาเพื่อเป็นประโยชน์ในอนาคตอันใกล้นี้
วัตถุประสงค์
1.เพื่อจัดทําสื่อการเรียนรู้สําหรับผู้สนใจเกี่ยวกับเรื่องของสมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียง
ใต้ หรือ อาเซียน
2.เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการเรียนรู้ สําหรับผู้ที่สนใจสามารถเรียนรู้ได้ด้วยตนเองตามเวลาที่ต้องการ
3.เพื่อเป็นการประหยัดทรัพยากร จากการทําสื่อการเรียนรู้แบบปกติเช่น หนังสือ

ขอบเขตของโครงงาน
มีองค์ความรู้ในเรื่องประชาคมสามารถต่อยอดองค์ความรู้นี้เป็นสื่อการเรียนรู้เพื่อเป็น
แนวทางการศึกษาของผู้ที่สนใจ ข้อมูลมีประโยชน์ครอบคลุมทุกรายละเอียด สามารถนําไปใช้พัฒนา
ศักยภาพได้จริง มีการใช้โปรแกรมที่ทุกคนที่สนใจสามารถศึกษาได้อย่างทั่วถึง
หลักการและทฤษฏี

สื่อนําเสนอในปัจจุบันได้มีการพัฒนารูปแบบใหม่ความโด่ดเด่น น่าสนใจด้วยเทคโนโลยี
มัลติมีเดีย (Multimedia) การนําเสนอข้อความหรือเนื้อหาปริมาณมากๆ ในลักษณะของสิ่งพิมพ์หรือ
หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (e-Book) ก็มีการปรับเปลี่ยนรูปแบบจากสิ่งพิมพ์หรือหนังสือที่เป็นไฟล์เนื้อหา
เพียง อย่างเดียว ต้องดูด้วยเทคนิคการเลื่อนจอภาพ ไปเป็นเทคนิคการนําเสนอที่มีลักษณะการเปิดหน้า
หนังสอแบบเสมือน เนื้อหาที่นําเสนอเป็นได้ทั้งข้อความ ภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหว วิดีทัศน์ และ
เสียง อันเป็นการใช้ความสามารถของเทคโนโลยีมัลติมีเดียมาผสมผสานกบ e-Book ได้อย่างลง
ตัว เป็นสื่อที่ได้รับความนิยมสูงอย่างมากในปัจจุบันภายใต้ชื่อเรียกว่า Multimedia e-Book
หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ หรือ e-Book ย่อมาจากคําว่า electronic book หมายถึง หนังสือที่สร้างขึ้น
ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์มีลักษณะคล้ายหนังสือจริง สามารถเปิดอ่านได้ในเครื่องคอมพิวเตอร์ และมี
ลักษณะพิเศษคือสามารถสื่อสารกับผู้อ่านในลักษณะของมัลติมีเดียได้ ได้แก่ ข้อความ ภาพนิ่ง
ภาพเคลื่อนไหว และเสียง แต่ยังคงรักษารูปแบบความเป็นหนังสือไว้ไม่ว่าจะเป็นรูปร่าง หรือลักษณะ
การเปิดอ่าน
วิธีดาเนินงาน
1.ศึกษา ค้นคว้าหาข้อมูลเกี่ยวกับสมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
2.ศึกษา ค้นคว้าหาข้อมูลเกี่ยวกับโปรแกรมที่ใช้ทําโครงงาน
3.จัดทําสื่อการเรียนรู้ ปรับปรุง และแก้ไขสื่อให้มีความสมบูรณ์
ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน
ลาดับที่

ขันตอน
้

สัปดาห์ที่
1

2

3

4

5

ผู้รับผิดชอบ
6

7

8

1

คิดหัวข้ อโครงงาน

2

ศึกษาและค้ นคว้ าข้ อมูล

3

จัดทาโครงร่างงาน

4

ปฏิบติการสร้ างโครงงาน
ั

5

ปรับปรุงทดสอบ

วริ ศรา

6

การทาเอกสารรายงาน

ชัญญา

7

ประเมินผลงาน

8

นาเสนอโครงงาน

วริ ศรา
ชัญญา

วริศรา
ชัญญา
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.เป็นสื่อการเรียนรู้ที่ถูกต้อง
2.เป็นสื่อการเรียนรู้ที่ให้ประโยชน์แก่ผู้คนที่สนใจ
3.ผู้ที่ใช้โปรแกรมมีความรู้เพิ่มขึ้นจากการใช้

เครื่องมือและอุปกรณ์ทใช้
ี่
1.เครื่องคอมพิวเตอร์ หรือ โน้ตบุ๊ค
2.หนังสือข้อมูลเกี่ยวกับสมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
ผลการดาเนินงาน
ข้อมูลพืนฐานเกียวกับสมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
้
่

สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (Association of
South East Asian Nations) หรือ อาเซียน (ASEAN) เป็นองค์การ
ทางภูมิรัฐศาสตร์และเศรษฐกิจในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มี
ประเทศสมาชิกทั้งหมด 10 ประเทศ ได้แก่ กัมพูชา ไทย บรูไน
พม่า ฟิลิปปินส์ มาเลเซีย ลาว เวียดนาม สิงคโปร์ และอินโดนีเซีย
อาเซียนมีพื้นที่ราว 4,435,670 ตารางกิโลเมตร มีประชากรราว
590 ล้านคน ในปี พ.ศ. 2553 จีดีพีของประเทศสมาชิกรวมกันคิด
เป็นมูลค่าราว 1.8 ล้านล้านดอลลาร์สหรัฐ คิดเป็นลําดับที่ 9 ของ
โลกเรียงตามจีดีพี อาเซียนมีภาษาอังกฤษเป็นภาษาทางการ
มีจุดเริ่มต้นจากสมาคมอาสาซึ่งก่อตั้งเมื่อเดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2504 โดยไทย มาเลเซียและ
ฟิลิปปินส์ แต่ได้ถูกยกเลิกไป ต่อมาในปี พ.ศ. 2510 อาเซียนได้ถือกําเนิดขึ้นโดยมีรัฐสมาชิกเริ่มต้น 5
ประเทศ ได้แก่ ไทย อินโดนีเซีย ฟิลิปปินส์ มาเลเซีย และสิงคโปร์ ได้มีการลงนามใน“ปฏิญญากรุงเทพ”
หรือปฏิญญาอาเซียน (ASEAN Declaration) ที่พระราชวังสราญรมย์ เมื่อวันที่ 8 สิงหาคม 2510 โดยมี
วัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริมความเข้าใจอันดีระหว่างกันในภูมิภาค ธํารงไว้ซึ่งสันติภาพ เสถียรภาพ และ
ความมั่นคงทางการเมืองสร้างสรรค์ความเจริญทางด้านเศรษฐกิจ การพัฒนาทางสังคม และวัฒนธรรม
การกินดีอยู่ดีบนพื้นฐานของความเสมอภาค และผลประโยชน์ร่วมกันของสมาชิกและเปิดโอกาสให้
คลายพิพาทระหว่างประเทศสมาชิก อย่างสันติ
ต่อมาในปี พ.ศ. 2527 ประเทศบรูไน ดารุสซาลาม ได้เข้ามาเป็นสมาชิก ตามด้วยประเทศ
เวียดนามเข้ามาเป็นสมาชิกเมื่อ พ.ศ. 2538 ขณะที่ประเทศพม่าและประเทศลาวเข้ามาเป็นสมาชิกใน พ.ศ.
2540 และประเทศสุดท้าย คือ ประเทศกัมพูชาเข้าเป็นสมาชิกอาเซียน เมื่อ พ.ศ. 2542 ปัจจุบันอาเซียนมี
ประเทศสมาชิกทั้งหมด 10 ประเทศ
1. ไทย (Thailand) (เข้าปี 2510)
6. บรูไนดารุสซาลาม (Brunei Darussalam) (เข้าปี 2527)
2. สิงคโปร์ (Singapore) (เข้าปี 2510)
7. เวียดนาม (Vietnam) (เข้าปี 2538)
3. อินโดนีเซีย (Indonesia) (เข้าปี 2510) 8. ลาว (Laos) (เข้าปี 2540)
4. มาเลเซีย (Malaysia) (เข้าปี 2510)
5. ฟิลิปปินส์ (Philippines) (เข้าปี 2510)
9. สหภาพพม่า (Union of Myanmar) (เข้าปี 2540) 10. กัมพูชา (Cambodia) (เข้าปี 2542)
สัญลักษณ์

ต้นข้าวสีเหลือง 10 ต้นมัดรวมกันไว้” หมายถึง ประเทศในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
ทั้ง 10ประเทศรวมกันเพื่อมิตรภาพและความเป็นน้ําหนึ่งใจเดียวกัน โดยสีที่ปรากฏในสัญลักษณ์ของ
อาเซียน เป็นสีที่สําคัญของธงชาติของแต่ละประเทศสมาชิกอาเซียน
สีน้ําเงิน หมายถึง สันติภาพและความมั่นคง
สีแดง หมายถึง ความกล้าหาญและความก้าวหน้า
สีขาว หมายถึง ความบริสุทธิ์
สีเหลือง หมายถึง ความเจริญรุ่งเรือง
คาขวัญ

"One Vision, One Identity, One Community"
(หนึ่งวิสัยทัศน์ หนึ่งเอกลักษณ์ หนึ่งประชาคม)
ประเทศสมาชิกอาเซียน
ประเทศไทย
(Thailand)
ข้อมูลทัวไป
่
ชื่อทางการ : ราชอาณาจักรไทย (Kingdom of Thailand)
เมืองห[วง : กรุงเทพมหานาคร (Bangkok)
ภาษา : ภาษาไทยเป็นภาษาราชการ ส่วนภาษาอื่นที่มีการใช้อยู่
บ้าง เช่น ภาษาอังกฤษ ภาษาจีน ภาษาญี่ปุ่น เป็นต้น
สกุลเงิน : บาท (Baht: THB)
ชุดประจาชาติ

ชุดไทยพระราชนิยม และเสื้อพระราชทาน
ชุดประจําชาติสําหรับสุภาพบุรุษ จะ
เรียกว่า เสื้อพระราชทาน สําหรับสุภาพสตรีจะเป็น
ชุดไทยที่ประกอบด้วยสไบเฉียง ใช้ผ้ายกมีเชิงหรือ
ยกทั้งตัว ซิ่นมีจีบยกข้างหน้า มีชายพกใช้เข็มขัด
ไทยคาด ส่วนท่อนบนเป็นสไบ จะเย็บให้ติดกับซิ่น
เป็นท่อนเดียวกันหรือ จะมีผ้าสไบห่มต่างหากก็ได้
เปิดบ่าข้างหนึ่ง ชายสไบคลุมไหล่ ทิ้งชายด้านหลัง
ยาวตามที่เห็นสมควร ความสวยงามอยู่ที่เนื้อผ้า
การเย็บและรูปทรงของผู้ที่สวม ใช้เครื่องประดับได้
งดงามสมโอกาสในเวลาค่ําคืน
อาหารประจาชาติ
ต้มยากุ้ง (Tom Yam Goong)
เป็นอาหารคาวที่เหมาะสําหรับ
รับประทานกับข้าวสวยร้อน ๆ กลิ่นหอมของ
สมุนไพรที่เป็นส่วนประกอบในต้มยํากุ้ง
นอกจากจะทําให้รู้สึกสดชื่นแล้ว ยังช่วย
กระตุ้นการเจริญอาหารได้เป็นอย่างดี
และเนื่องจากต้มยํากุ้งเป็นอาหารที่มีรส
เปรี้ยว และเผ็ดเป็นหลัก ทําให้รับประทาน
แล้วไม่เลี่ยน จึงทําให้ต้มยํากุ้งเป็นอาหารที่
ได้รับความนิยมในทั่วทุกภาคของประเทศ
ไทย รวมถึงชาวต่างชาติเองก็ติดอกติดใจใน
ความอร่อยของต้มยํากุ้งเช่นเดียวกัน
ประเพณีประจาชาติ

การไหว้ เป็นประเพณีการทักทายที่ถือเป็นเอกลักษณ์โดดเด่นของไทย โดยเป็นการแสดงถึงความมี
สัมมาคารวะและให้เกียรติกันและกัน นอกจากการทักทาย การไหว้ยังมีความหมายเพื่อการขอบคุณ ขอ
โทษ หรือ กล่าวลาด้วย
โขน เป็นนาฏศิลป์เก่าแก่ของไทย มีลักษณะสําคัญที่ผู้แสดงต้องสวมหัวโขนทั้งหมด ยกเว้นตัวนาง
พระ และเทวดา ซึ่งแสดงโดยใช้ท่ารําและท่าทางประกอบทํานองเพลง ดําเนินเรื่องด้วยบทพากย์และ
บทเจรจาส่วนเรื่อง ที่นิยมแสดงคือ รามเกียรติ์
สงกรานต์ ประเพณีเก่าแก่ ซึ่งถือเป็นการเฉลิมฉลองวันขึ้นปีใหม่ของไทยที่ยึดถือปฏิบัติกัน โดยจะมี
การ รดน้ํา ขอพรผู้ใหญ่ สรงน้ําพระ ทําบุญตักบาตร ปล่อยนกปล่อยปลา ขนทรายเข้าวัดและก่อเจดีย์
ทราย รวมทั้งมีการเล่น สาดน้ําเพื่อความสนุกสนานด้วย
สิงคโปร์
(Singapore)
ข้อมูลทัวไป
่
ชื่อทางการ : สาธารณรัฐสิงคโปร์ (Republic of Singapore)
เมืองหลวง : สิงคโปร์
ภาษา : ภาษาทางราชการ คือ ภาษามาเลย์ (ภาษาประจําชาติ) จีน
กลาง (แมนดาริน) ทมิฬ และอังกฤษ สิงคโปร์ส่งเสริมให้ประชาชน
พูด 2 ภาษา โดยเฉพาะจีนกลาง ในขณะที่ภาษาอังกฤษเป็นภาษา
ที่ใช้ในการติดต่องานและในชีวิตประจําวัน
สกุลเงิน : ดอลลาร์สิงคโปร์ (Singapore Dollar : SGD)
ภาษาสิงคโปร์
สวัสดี :
ขอบคุณ :
สบายดีไหม :
ยินดีที่ได้รู้จัก :
พบกันใหม่ :
ลาก่อน :
นอนหลับฝันดี :
ยินดีที่ได้รู้จัก :

หนี ห่าว
ซี่ยย เซี่ย
หนี ห่าว
เหิ่น เกา ซิ่ง เริ่น ชื่อ หนี่
ไจ้เจี้ยน
ไจ้เจี้ยน
หวาน อัน
เหิ่น -เกา -ซิ่ง -เริ่น -ชื่อ -หนี่
ชุดประจาชาติ
สิงคโปร์ไม่มีชุดประจําชาติเป็นของ
ตนเอง เนื่องจากประเทศสิงคโปร์แบ่งออกเป็น 4
เชื้อชาติหลัก ๆ ได้แก่ จีน มาเลย์ อินเดีย และชาว
ยุโรป ซึ่งแต่ละเชื้อชาติก็มีชุดประจําชาติเป็นของ
ตนเอง เช่น ผู้หญิงมลายูในสิงคโปร์ จะใส่ชุดเกบา
ย่า (Kebaya) ตัว เสื้อจะมีสีสันสดใส ปักฉลุเป็น
ลายลูกไม้ หากเป็นชาวจีน ก็จะสวมเสื้อแขนยาว
คอจีน เสื้อผ้าหน้าซ่อนกระดุม สวมกางเกงขายาว
โดยเสื้อจะใช้ผ้าสีเรียบหรือผ้าแพรจีนก็ได้
อาหารประจาชาติ
ลักซา (Laksa) อาหารขึ้นชื่อของ
ประเทศสิงคโปร์ ลักซามีลักษณะคล้าย
ก๋วยเตี๋ยวต้มยําใส่กะทิ ทําให้รสชาติเข้มข้น
คล้ายคลึงกับข้าวซอยของไทย โดยลักซาจะมี
ส่วนผสมของ กุ้งแห้ง พริก กุ้งต้ม และ
หอยแครง เหมาะสําหรับคนที่ชอบ
รับประทานอาหารทะเลเป็นอย่างยิ่ง อย่างไร
ก็ตาม ลักซามีทั้งแบบที่ใส่กะทิ และไม่ใส่
กะทิ ทว่า แบบที่ใส่กะทิจะเป็นที่นิยม
มากกว่า
ประเพณีประจาชาติ
เทศกาล Hari Raya Puasa เทศกาลการ
เฉลิมฉลองของชาวมุสลิมที่จัดขึ้นเมื่อสิ้นสุด
พิธถือศิลอดหรือ รอมฏอนในเดือนตุลาคม
ี
เทศกาล Deepavali เทศกาลแห่งแสงสว่างและเป็นงานขึ้นปีใหม่ของชาวฮินดู ที่จัดขึ้นเดือน
พฤศจิกายน
อินโดนีเซีย
(Indonesia)
ข้อมูลทัวไป
่
ชื่อทางการ : สาธารณรัฐอินโดนีเซีย (Republic of Indonesia)
เมืองหลวง : จาการ์ตา (Jakarta)
ภาษา : ภาษาราชการและภาษาประจําชาติ ได้แก่ ภาษา
อินโดนีเซีย หรือ Bahasa Indonesia
สกุลเงิน : รูเปียห์ (Rupiah : IDR)
ภาษาอินโดนีเซีย
สวัสดีตอนเช้า :
สวัสดีตอนเที่ยง :
สวัสดีตอนบ่าย :
สวัสดีตอนเย็น :
ราตรีสวัสดิ์ :
คุณสบายดีไหม :
พบกันใหม่ :
ขอบคุณ :
นอนหลับฝันดี :
ยินดีที่ได้รู้จัก :
ลาก่อน :

เซลามัทปากิ
เซอลามัตเซียง
เซอลามัตโซเร
เซลามัตมาลัม
เซลามัตทิดัวระ
อพาร์ คาบาร์
ซัมไพ จําพา ลากิ
เทริมากาสิ
มิมพิ ยัง อินดา...
เซลามัน เบอร์จัมพา เดนกัน อันดา
บาย บาย
ชุดประจาชาติ

เกบาย่า (Kebaya) เป็นชุดประจําชาติของประเทศอินโดนีเซียสําหรับผู้หญิง มีลักษณะ
เป็นเสื้อแขนยาว ผ่าหน้า กลัดกระดุม ตัวเสื้อจะมีสีสันสดใส ปักฉลุเป็นลายลูกไม้ ส่วนผ้าถุงที่ใช้จะ
เป็นผ้าถุงแบบบาติก ส่วนการแต่งกายของผู้ชายมักจะสวมใส่เสื้อแบบบาติกและนุ่งกางเกงขายาว
หรือเตลุก เบสคาพ (Teluk Beskap) ซึ่งเป็นการแต่งกายแบบผสมผสานระหว่างเสื้อคลุมสั้นแบบ
ชวาและโสร่ง และนุ่งโสร่งเมื่ออยู่บ้านหรือประกอบพิธีละหมาดที่มัสยิด
อาหารประจาชาติ
กาโด กาโด (Gado Gado) อาหารยอด
นิยมของประเทศอินโดนีเซีย ประกอบไป
ด้วยผัก และธัญพืชหลากหลายชนิด ทั้งแค
รอท มันฝรั่ง กะหล่ําปลี ถั่วงอก ถั่วเขียว
นอกจากนี้ยังมีเต้าหู้ และไข่ต้มสุกด้วย กาโด
กาโดจะนํามารับประทานกับซอสถั่วที่คล้าย
กับซอสสะเต๊ะ อย่างไรก็ตาม ด้วยเครื่อง
สมุนไพรในซอส อาทิ รากผักชี หอมแดง
กระเทียม ตะไคร้ ทําให้เมื่อรับประทานแล้ว
จะไม่รู้สึกเลี่ยนกะทิมากจนเกินไปนั่นเอง
ประเพณีประจาชาติ
วายัง กูลิต (Wayang Kulit)
เป็นการแสดงเชิดหุ่นเงาที่เป็นเอกลักษณ์ของ
อินโดนีเซีย และถือเป็นศิลปะการแสดงที่
งดงามและวิจิตรกว่าการ แสดงชนิดอื่น
เพราะรวมศิลปะหลายชนิดไว้ด้วยกัน โดย
ฉบับดั้งเดิมใช้หุ่นเชิดที่ทําด้วยหนังสัตว์ นิยม
ใช้วงดนตรี พื้นบ้านบรรเลงขณะแสดง
ระบาบารอง (Barong Dance)
ละครพื้นเมืองดั้งเดิมของเกาะบาหลี มีการใช้หน้ากากและเชิดหุ่นเป็นตัวละคร โดยมีการเล่นดนตรีสด
ประกอบการแสดง เป็นเรื่องราวของการต่อสู้กันของ บารอง คนครึ่งสิงห์ ซึ่งเป็นตัวแทนฝ่ยความดีกับรัง
ดา พ่อมดหมอผีตัวแทนฝ่ายอธรรม โดยฝ่ายธรรมะจะได้รับชัยชนะในที่สุด
มาเลเซีย
(Malaysia)
ข้อมูลทัวไป
่
ชื่อทางการ : มาเลเซีย (Malaysia)
เมืองหลวง : กรุงกัวลาลัมเปอร์ (Kuala Lumpur)
ภาษา : มาเลย์ (Bahasa Malaysia เป็นภาษาราชการ) อังกฤษ
จีน ทมิฬ
สกุลเงิน : ริงกิตมาเลเซีย (Malaysian Ringgit: MYR)
ภาษามาเลเซีย

สวัสดี :
อากาศดีจัง :
คุณสบายดีไหม :
พบกันใหม่ :
ขอบคุณ :
นอนหลับฝันดี :
เชิญ :
ไม่เป็นไร :
ยินดีที่ได้รู้จัก :
ลาก่อน :
ใช่ :
ไม่ใช่ :

ซาลามัด ดาตัง
บาอิค คอค่า
อาปา กาบา
เบอจัมปา ลากิ
เตริมา กะชิ
มิมปิ๊ มานิส
เม็นเจ็มพุด
ทีแด๊ก อปาอาปา
เจมบิรา ดาปัด เบอเตมู อันดา
เซลามัต ติงกัล
ยา
ทีแด๊ก
ชุดประจาชาติ

สําหรับชุดประจําชาติมาเลเซียของผู้ชาย เรียกว่า บาจู มลายู (Baju Melayu)
ประกอบด้วยเสื้อแขนยาวและกางเกงขายาวที่ทําจากผ้าไหม ผ้าฝ้าย หรือโพลีเอสเตอร์ที่มี
ส่วนผสมของผ้าฝ้าย ส่วนชุดของผู้หญิงเรียกว่า บาจูกุรุง (Baju Kurung) ประกอบด้วยเสื้อคลุม
แขนยาว และกระโปรงยาว
อาหารประจาชาติ
นาซิ เลอมัก (Nasi Lemak)
อาหารยอดนิยมของประเทศมาเลเซีย โดย
นาซิ เลอมัก จะเป็นข้าวหุงกับกะทิ และ
ใบเตย ทานพร้อมเครื่องเคียง 4 อย่าง ได้แก่
ปลากะตักทอดกรอบ แตงกวาหั่น ไข่ต้มสุก
และถั่วอบ ซึ่งนาซิ เลอมักแบบดั้งเดิมจะห่อ
ด้วยใบตอง และมักทานเป็นอาหารเช้า แต่
ในปัจจุบัน กลายเป็นอาหารยอดนิยมที่ทาน
ได้ทุกมื้อ และแพร่หลายในประเทศเพื่อน
บ้านอีกหลายแห่ง เช่น สิงคโปร์ และภาคใต้
ของไทยด้วย
ประเพณีประจาชาติ
การราซาบิน (Zabin) เป็นการแสดงการ
ฟ้อนรําหมู่ ซึ่งเป็นศิลปะพื้นเมืองของชาว
มาเลเซีย โดยเป็นการ ฟ้อนรําที่ได้รับอิทธิพล
มาจากดินแดนอาระเบีย โดยมีผู้แสดงเป็นหญิง
ชายจํานวน 6 คู่ เต้นตามจังหวะของกีตาร์
แบบอาระเบียน และกลองเล็กสองหน้าที่
บรรเลงจากช้าไปเร็ว
เทศกาลทาเดา คาอามาตัน (Tadau
Kaamatan) เป็นเทศกาลประจําปี
ในรัฐซาบาห์ จัดในช่วงสิ้นเดือน
พฤษภาคม ซึ่งเป็นช่วงสิ้นสุดของฤดู
การเก็บเกี่ยวข้าวและเริ่มต้นฤดูกาล
ใหม่ โดยจะมีพิธีกรรมตามความเชื่อใน
การ ทําเกษตร และมีการแสดงระบํา
พื้นเมือง และขับร้องบทเพลงท้องถิ่น
เพื่อเฉลิมฉลองด้วย
ฟิลิปปินส์
(Philippines)
ข้อมูลทัวไป
่
ชื่อทางการ : สาธารณรัฐฟิลิปปินส์ (Republic of the
Philippines)
เมืองหลวง : กรุงมะนิลา (Manila)
ภาษา : มีการใช้ภาษามากกว่า 170 ภาษา โดยส่วนมากเกือบ
ทั้งหมดนั้นเป็นตระกูลภาษาย่อยมาลาโย-โปลินเซียนตะวันตก แต่
ี
ในปี พ.ศ. 2530 รัฐธรรมนูญได้ระบุให้ภาษาฟิลิปิโน (Filipino)
และภาษาอังกฤษเป็นภาษาราชการ ส่วนภาษาต่างประเทศอื่นๆ ที่
ใช้กันมากในประเทศฟิลิปปินส์มีทั้งหมด 8 ภาษา ได้แก่ ภาษา
สเปน ภาษาจีนฮกเกี้ยน ภาษาจีนแต้จิ๋ว ภาษาอินโดนีเซีย ภาษา
ซินด์ ภาษาปัญจาบ ภาษาเกาหลี และภาษาอาหรับ โดยฟิลิปปินส์
นั้น มีภาษาประจําชาติคือ ภาษาตากาล็อก
สกุลเงิน : เปโซ (Peso : PHP)
ภาษาฟิลปปินส์
ิ
สวัสดี :
อากาศดีจัง :
สบายดีไหม :
พบกันใหม่ :
ขอบคุณ :
นอนหลับฝันดี :
เชิญ :
ไม่เป็นไร :
ยินดีที่ได้รู้จัก :
ลาก่อน :
ใช่ :
ไม่ใช่ :

กูมูสต้า
มากันดัง พานาฮอน
กูมูสต้า กา
มากิตา คายอง มูลิ
ซาลามัต
มาทูลอก นัง มาบูติ
แมค อันยาย่า (mag-anyaya)
ฮินดี้ บาเล
นาตูตูวา นาอลัม โม
ปาอาลัม
โอ้โอ
ฮินดี้
ชุดประจาชาติ

ผู้ชายจะนุ่งกางเกงขายาวและสวมเสื้อที่เรียกว่า บารอง ตากาล็อก (barong Tagalog)
ซึ่งตัดเย็บด้วยผ้าใยสัปปะรด มีบ่า คอตั้ง แขนยาว ที่ปลายแขนเสื้อที่ข้อมือจะปักลวดลาย ส่วนผู้หญิง
นุ่งกระโปรงยาว ใส่เสื้อสีครีมแขนสั้นจับจีบยกตั้งขึ้นเหนือไหล่คล้ายปีกผีเสื้อ เรียกว่า บาลินตาวัก
(balintawak)
อาหารประจาชาติ

อโดโบ้ (Adobo) เป็นอาหารยอดนิยม ของประเทศฟิลิปปินส์ ทําจากเนื้อหมู หรือเนื้อไก่ ที่ผ่าน
การหมัก และปรุงรส โดยจะใส่น้ําส้มสายชู ซีอิ๊วขาว กระเทียมสับ ใบกระวาน พริกไทยดํา นําไป
ทําให้สุกโดยอบในเตาอบ หรือทอด แล้วนํามารับประทานกับข้าวสวยร้อน ๆ
ในอดีตอาหารจานนี้เป็นที่นิยมในหมู่นักเดินทาง เนื่องจากส่วนผสมของอโดโบ้
สามารถเก็บรักษาไว้ได้นาน เหมาะสําหรับพกไว้เป็นเสบียงอาหารระหว่างการเดินทาง ซึ่ง
ปัจจุบันอโดโบ้ได้กลายเป็นอาหารยอดนิยมที่นํามารับประทานกันได้ทุกที่ทุก เวลา
ประเพณีประจาชาติ

อาติหาน (Ati – Atihan)
เทศกาลรื่นเริงนี้มีจุดประสงค์เพื่อ รําลึกและแสดงความเคารพต่อ "เอตาส" (Aetas)ซึ่งเป็น
ชนเผ่าแรกที่มาตั้งรกรากอยู่บนเกาะนี้ ไปพร้อม ๆ กับการรําลึกถึงพระเยซูคริสต์ในวัยเด็ก (Jesus
Child) ทั้งเพื่อแสดงความเคารพและรําลึกถึงครั้งที่คริสต์ศาสนาได้เข้ามาเผยแพร่สู่ แผ่นดินนี้เป็นครั้ง
แรกชาวบ้านพากันทาเนื้อตัวให้เป็นสีดํา ทั้งแต่งกายด้วยเครื่องแต่งกายแบบชนเผ่าสีสันสดใส ออกมา
เต้นระบําสนุกสนานรื่นเริงบนท้องถนน ไปตามจังหวะของเสียงกลองที่เร้าใจ
เทศกาลซินูล็อก (Sinulog) ชินูล็อกเป็นเทศกาลประจําปีที่ จัดขึ้นในวันอาทิตย์ที่สามของเดือน
มกราคมที่เมืองเซบู และอีกหลายเมืองที่อยู่ทางใต้ของฟิลิปปินส์ โดยเป็นเทศกาลที่เป็นการฉลองเพื่อ
รําลึกถึงนักบุญซานโต นินอย (Santo Nino) รวมทั้งเป็นการฉลองที่ได้รับการยอมรับจากศาสนาคริสต์
นิกายโรมันคาทอลิก โดยเมนหลักของงานคือขบวนพาเหรดบนท้องถนนที่ผู้เข้าร่วมงานต้องใส่ชุดสีสดใส
เต้นไปตามจังหวะของกลองแตรและฆ้องพื้นเมือง
เทศกาลตินาญัง (Dinagyang)
เป็นงานรื่นเริงที่มีชื่อเสียงของเมืองอิโลอิโย (lloilo) ซึ่งอยู่ตรงข้ามกับเกาะปาเนย์ จัดขึ้นสัปดาห์ที่ 4
ของ เดือนมกราคม เพื่อฉลองให้แก่นักบุญซานโต นินอย เช่นเดียวกัน ซึ่งนอกจากการจัดแสงดนตรีและ
ื
เดินขบวนพาเหรดแล้ว ชาวเมืองอิโลอิโย จะนํารูปจําลองของนักบุญวานโต นินอย มาแห่ฉลองทั่วเมือง
รวมถึงจัดประกวดเต้นรําไปตามท้องถนน ซึ่งนับเป็นจุดเด่นของงานนี้
บรูไนดารุสซาลาม
(Brunei Darussalam)
ข้อมูลทัวไป
่
ชื่อทางการ : เนการา บรูไน ดารุสซาลาม
เมืองหลวง : บันดาร์ เสรี เบกาวัน (Bandar Seri Begawan) อยู่
ในเขต Brunei-Muara
ภาษา : ภาษามาเลย์ (Malay หรือ Bahasa Melayu) เป็นภาษา
ราชกาภาษาอังกฤษและภาษาจีนเป็นภาษาที่ใช้สื่อสาร
แพร่หลาย
สกุลเงิน : ดอลลาร์บรูไน (Brunei Dollar : BND) เงินดอลลาร์
บรูไนมีมูลค่าเท่ากับเงินดอลลาร์สิงคโปร์ และสามารถใช้แทน
กันได้
ภาษาบรูไน
สวัสดี :
ขอบคุณ :
สบายดีไหม :
ยินดีที่ได้รู้จัก :
พบกันใหม่ :
ลาก่อน :

ซาลามัด ดาตัง
เตริมา กะชิ
อาปา กาบา
เจมบิรา ดาปัด เบอเตมู อันดา
เบอจัมปา ลากิ
เซลามัต ติงกัล
ชุดประจาชาติ

ชุดประจําชาติของบรูไนคล้ายกับชุดประจําชาติของผู้ชายประเทศมาเลเซีย เรียกว่า บาจู
มลายู (Baju Melayu) ส่วนชุดของผู้หญิงเรียกว่า บาจูกุรุง (Baju Kurung) แต่ผู้หญิงบรูไนจะแต่ง
กายด้วยเสื้อผ้าที่มีสีสันสดใส โดยมากมักจะเป็นเสื้อผ้าที่คลุมร่างกายตั้งแต่ศีรษะจรดเท้า ส่วนผู้ชาย
จะแต่งกายด้วยเสื้อแขนยาว ตัวเสื้อยาวถึงเข่า นุ่งกางเกงขายาวแล้วนุ่งโสร่ง เป็นการสะท้อน
วัฒนธรรมสังคมแบบอนุรักษ์นิยม เพราะบรูไนเป็นประเทศมุสสิม จึงต้องแต่งกายมิดชิดและสุภาพ
เรียบร้อย
อาหารประจาชาติ
อัมบูยัต (Ambuyat)
อาหารยอดนิยมของบรูไน มีลักษณะเด่นอยู่ที่ตัว
แป้งจะเหนียวข้นคล้ายข้าวต้ม หรือโจ๊ก โดยมี
แป้งสาคูเป็นส่วนผสมหลัก ตัวแป้งอัมบูยัตเอง
ไม่มีรสชาติ แต่ความอร่อยจะอยู่ที่การจิ้มกับ
ซอสผลไม้ที่มีรสเปรี้ยว นอกจากนี้ยังมีเครื่อง
เคียงอีก 2-3 ชนิด เช่น ผักสด เนื้อห่อใบตอง
ย่าง หรือเนื้อทอด ทั้งนี้ การรับประทานอัมบู
ยัตให้ได้รสชาติ ต้องรับประทานตอนร้อน ๆ จึง
จะดีที่สุด
ประเพณีประจาชาติ

การรับประทานอาหารร่วมกับ
ชาวบรูไน โดยเฉพาะคู่เจรจาที่เป็นชาว
มุสลิมควรระมัดระวังการสั่งอาหาร ที่
เป็นเนื้อหมูและเครื่องดื่มที่มี
แอลกอฮอล์ เนื่องจากผิดหลักปฏิบัติ
ของศาสนาอิสลาม ไม่รับประทานเนื้อ
หมู และถือเป็นกฎทีปฏิบัติกันอย่าง
่
เคร่งครัดในการห้ามดื่มสุรา อาจขอให้
คู่เจรจาชาวบรูไนช่วยเลือกร้านอาหาร
ทั้งนี้บรูไนไม่มีวัฒนธรรมการให้ทิปใน
ร้านอาหาร ในกรณีที่เป็น ร้านอาหาร
ขนาดใหญ่จะมีการเก็บค่าบริการ เพิ่ม
ร้อยละ 10 อยู่แล้ว
สตรีชาวบรูไนจะแต่งกายมิดชิด นุ่งกระโปรงยาว เสื้อแขนยาว และมีผ้าโพกศีรษะ คน
ต่างชาติ จึงไม่ควรนุ่ง กระโปรงสั้น และใส่เสื้อไม่มีแขน ควรหลีกเลี่ยงเสื้อผ้าสีเหลือง เพราะถือเป็นสี
ของพระมหากษัตริย์ การทักทาย จะจับมือกันเบาๆ และสตรีจะไม่ ยื่นมือให้บุรุษจับ การชี้นิ้วไปที่คน
หรือสิ่งของถือว่าไม่สุภาพ แต่ จะใช้หัวแม่มือชี้แทน และจะไม่ใช้มือซ้ายในการส่งของให้ผู้อื่น สตรีเวลา
นั่งจะไม่ให้เท้าชี้ไปทางผู้ชาย และไม่ ส่งเสียงหรือหัวเราะดัง
ประเทศเวียดนาม
(Vietnam)
ข้อมูลทัวไป
่
ชื่อทางการ สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม ( Socialist
Republic of Vietnam) หรือ เวียดนาม (Vietnam)
เมืองหลวง กรุงฮานอย (Hanoi)
ภาษาราชการ คือ ภาษาเวียดนาม ภาษาอื่นๆ ได้แก่
ภาษาอังกฤษ (ภาษาที่ 2) ภาษาฝรั่งเศส จีน เขมร ภาษา
ชาวเขา
สกุลเงินของประเทศเวียดนาม คือ ด่ง (Dong)
ภาษาเวียดนาม
สวัสดี :
ขอโทษ :
ราตรีสวัสดิ์ :
ลาก่อน :
พบกันใหม่ :
สบายดีหรือ :
คุณชื่ออะไร :
ฉันรักเธอ :

ซิน จ่าว
ซิน โหลย
จุ๊บ หงู งอน
ตาม เบียด
แฮน กัพ ไล
บั๊ก โก แคว คง
เติน อง ลา จี
อัน เอียว เอ็ม
ชุดประจาชาติประเทศเวียดนาม
อ่าวหญ่าย (Ao dai)
ชุดประจําชาติของประเทศเวียดนามที่
ประกอบไปด้วยชุดผ้าไหมที่พอดีตัวสวมทับ
กางเกงขายาวซึ่งเป็นชุดที่มักสวมใส่ในงาน
แต่งงานและพิธีการสําคัญของประเทศ มี
ลักษณะคล้ายชุดกีเพ้าของจีน
่
อาหารประจาชาติ
เปาะเปี๊ยะเวียดนาม
ความอร่อยของเปาะเปี๊ยะเวียดนาม อยู่ที่
การนําแผ่นแป้งซึ่งทําจากข้าวจ้าวมาห่อไส้ ซึ่ง
อาจจะเป็นไก่ หมู กุ้ง หรือหมูยอ โดยนํามารวม
กับผักสมุนไพรอีกหลายชนิด เช่น สะระแหน่
ผักกาดหอม และนํามารับประทานคู่กับน้ําจิ้ม
หวาน โดยจะมีถั่วคั่ว แครอทซอย ไชเท้าซอย ให้
เติมตามใจชอบ และบางครั้งอาจมีเครื่องเคียง
อย่างอื่นเพิ่มด้วย
ประเพณีประจาชาติ
เทศกาลเต็ด (Tet)
หมายถึง เทศกาลแห่งรุ่งอรุณแรกของปี ถือ
เป็น เทศกาลทางศาสนาที่สําคัญที่สุดขึ้นในช่วง
ปลายเดือนมกราคมถึงต้นเดือนกุมภาพันธ์เป็น
การเฉลิมฉลองความเชื่อ ในเทพเจ้า ลัทธิเต๋า
ขงจื๊อ และศาสนาพุทธ รวมทั้งเป็นการแสดง
ความเคารพต่อบรรพบุรุษด้วย
สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว
(Lao People’s Democratic Republic)
ข้อมูลทัวไป
่
ชื่อทางการ สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชน
ลา (Lao People’s Democratic Republic)
เมืองหลวง เวียงจันทน์
ภาษาทางการ คือ ภาษาลาว
สกุลเงินของประเทศลาว คือ กีบ (Kip)
ภาษาประจาชาติ
สวัสดี (ทักทาย) :
สวัสดี (อาลา) :
ไม่เป็นไร :
ขอโทษ :
ฉันรักเธอ :
ยินดีที่ได้รู้จัก :
คุณชื่ออะไร :
ฉันชื่อ :
คุณมาจากไหน :
คุณเป็นอย่างไรบ้าง :

สบายดี
โซกดี
บ่เป็นหยัง
ขอโทษ
ข้อยฮักเจ้า
ยินดีที่ฮู้จัก
เจ้าซื่อหยัง
ข่อยซื่อ
เจ้ามาแต่ใส
สบายดีบ่
ชุดประจาชาติ
ผู้หญิงลาวนุ่งผ้าซิ่น และใส่เสื้อแขน
ยาวทรงกระบอก สําหรับผู้ชายมักแต่งกาย
แบบสากล หรือนุ่งโจงกระเบน สวมเสื้อ
ชั้นนอกกระดุมเจ็ดเม็ด คล้ายเสื้อ
พระราชทานของไทย
อาหารประจาชาติ
สลัดหลวงพระบาง
มีรสชาติกลาง ๆ ทําให้รับประทานได้ทั้ง
ชาวตะวันออก และตะวันตก โดยส่วนประกอบ
สําคัญคือ ผักน้ํา ซึ่งเป็นผักป่าที่ขึ้นตามริมธารน้ํา
ไหล และยังมีส่วนประกอบอื่น ๆ เช่น มันแกว
แตงกวา มะเขือเทศ ไข่ต้ม ผักกาดหอม และหมู
สับลวกสุก ส่วนวิธีปรุงรสคือ ราดด้วยน้ําสลัดชนิด
ใส คลุกส่วนผสมทั้งหมดเข้าด้วยกัน แล้วโรยหน้า
ด้วยกระเทียมเจียว และถั่วลิสงคั่ว
ประเพณีประจาชาติ

การตักบาตรข้าวเหนียว
ถือเป็นจุดเด่นของเมืองหลวงพระบาง ซึ่งโดยปกติแล้วนิยมใส่บาตรด้วยข้าว
เหนียวเพียงอย่างเดียว เพราะเมื่อ ถึงเวลาฉัน ชาวบ้านจะยกสํารับกับข้าวไปถวายที่วัด
เรียกว่า “ถวายจังหัน” โดยเวลาใส่บาตรจะนั่งคุกเข่าและผู้หญิง ต้องนุ่งซิ่น ส่วนผู้ชายนุ่ง
กางเกงขายาว และมีผ้าพาดไหล่ไว้สําหรับเป็นผ้ากราบพระเหมือนกัน
สาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมาร์
(Republic of the Union of Myanmar)
ข้อมูลทัวไป
่
ชื่อทางการ สาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมาร์
(Republic of the Union of Myanmar)
เมืองหลวง เนปิดอว์ (Nay Pyi Taw)
ภาษาราชการ เมียนมาร์/พม่า
สกุลเงินของประเทศพม่า คือ จ๊าด (Kyat)
ภาษาประจาชาติ
สวัสดี :
ขอบคุณมาก :
ขอโทษ :
ใช้เรียกเด็กผู้ชายและคนหนุ่มโสด:
ใช้เรียกเด็กผู้หญิงและสาวโสด :
ใช้เรียกสตรีที่มีการศึกษา :
สวยมาก, น่ารักมาก :
หล่อมาก :
ลาก่อน :

แมิงกะลาบา
เจซูติน บาแด
ควินโละ บ่าหน่อ
หม่อง (Maung)
ม่ะ (Ma)
ดอว์(Daw)
ล่ะเด่,ช้อเด่
ค้านเด่
ตาตา
ชุดประจาชาติ

ชุดประจําชาติของชาวพม่าเรียกว่า ลองยี (Longyi) เป็นผ้าโสร่งที่นุ่งทั้งผู้ชายและผู้หญิง
ในวาระพิเศษต่าง ๆ ผู้ชายจะใส่เสื้อเชิ้ตคอปกจีนแมนดารินและเสื้อคลุมไม่มีปก บางครั้งจะใส่ผ้า
โพกศีรษะที่เรียกว่า กอง บอง (Guang Baung) ด้วย ส่วนผู้หญิงพม่าจะใส่เสื้อติดกระดุมหน้า
เรียกว่า ยินซี (Yinzi) หรือเสื้อติดกระดุมข้างเรียกว่า ยินบอน (Yinbon) และใส่ผ้าคลุมไหล่ทับ
อาหารประจาชาติ
หล่าเพ็ด (Lahpet) เป็นอาหารยอดนิยม
ของพม่า โดยการนําใบชาหมักมาทานกับ
เครื่องเคียง เช่น กระเทียมเจียว ถั่วชนิด
ต่าง ๆ งาคั่ว กุ้งแห้ง ขิง มะพร้าวคั่ว เรียก
ได้ว่า มีลักษณะคล้ายคลึงกับเมี่ยงคําของ
ประเทศไทย
ประเพณีประจาชาติ

ประเพณีปอยส่างลอง (Poy Sang Long) หรืองานบวชลูกแก้ว เป็นงานบวช
เณรที่สืบทอดกันมานาน และ ชาวเมียนมาร์ให้ความสําคัญมาก เพราะถือเป็นบุญอันยิ่งใหญ่
ของครอบครัว
งานไหว้พุทธเจดีย์ประจาปี ซึ่งแต่ละที่มัก
นิยมจัดในเดือนหลังออกพรรษาถือเป็นงานเฉลิม
ฉลองที่สนุกสนาน และได้ทําบุญสร้างกุศลด้วย
ราชอาณาจักรกัมพูชา
Kingdom of Cambodia
ข้อมูลทั่วไป
ชื่อทางการ ราชอาณาจักรกัมพูชา (Kingdom of
Cambodia)
เมืองหลวง กรุงพนมเปญ
ภาษาราชการ ภาษาเขมร
สกุลเงินของประเทศกัมพูชา คือ เรียล (Riel)
ภาษากัมพูชา
สวัสดี :
สบายดีหรือ :
สบายดีค่ะ(ครับ) :
ขอให้มีสุขภาพดี :
ขอลา :
ลาก่อน :
ขอบคุณ :
ผม, ฉัน :
คุณชื่ออะไร :
ฉันขอโทษ :

ซัวซไดย, จุมเรี้ยบซัว
ซกสะบายดี (ถาม)
จ๊ะ (บาด) ซกสะบายดี
สุขะเพียบละออ
โซ้มเรีย, โซ้มจุม
เรียนซันเฮย
ออกุน, ออกุนเจริญ
ขยม
เตอเนี้ยะชัวเว่ย
ขยมโซ้มโต๊ก
ชุดประจาชาติ
ซัมปอต (Sampot) หรือผ้านุ่งกัมพูชา ทอ
ด้วยมือ มีทั้งแบบหลวมและแบบพอดี คาดทับเสื้อ
บริเวณเอว ผ้าที่ใช้มักทําจากไหมหรือฝ้าย หรือทั้ง
สองอย่างรวมกัน ซัมปอตสําหรับผู้หญิงมีความ
คล้ายคลึงกับผ้านุ่งของประเทศลาวและไทย ทั้งนี้
ซัมปอดมีหลายแบบซึ่งจะแตกต่างกันไปตามชนชั้น
ทางสังคมของชาวกัมพูชา
อาหารประจาชาติ
อาม็อก (Amok) เป็นอาหารคาวยอด
นิยมของกัมพูชา มีลักษณะคล้ายห่อหมกของ
ไทย โดยเป็นการนําเนื้อปลาสด ๆ ลวกพริก
เครื่องแกง และกะทิ แล้วทําให้สุกโดยการนําไป
นึ่ง ซึ่งนอกจากจะใช้เนื้อปลาแล้ว อาจเลือกใช้
เนื้อไก่แทนก็ได้
ประเพณีประจาชาติ
เทศกาลน้า (Water festival) หรือ “บอน
อม ตุก” (Bon Om Tuk) เทศกาลประจําปีที่ยิ่งใหญ่
ของกัมพูชา จัดขึ้นในเดือนพฤศจิกายนเพื่อเป็นการ
แสดงความสํานึกในพระคุณของ แม่น้ําที่นําความอุดม
สมบูรณ์ มาให้ โดยจะมีการแข่งเรือยาว แสดงพลุ
ดอกไม้ไฟ การ แสดงขบวนเรือประดับไฟ
เและขบวนพาเหรด บริเวณทะเลสาบ “โตนเลสาบ” ที่จัดขึ้น ทุกปีตั้งแต่ วันขึ้น 14 ค่ํา 15 ค่ํา จนถึง
แรม 1 ค่ํา เดือนพฤศจิกายน ซึ่งทางการกัมพูชา ประกาศให้เป็น วันหยุด 3 วัน
เพราะน้ําในแม่น้ําโขงเมื่อขึ้นสูง จะไหลไปที่ทะเลสาบ เนื่องจากในช่วงปลาย ฤดูฝนในเดือน
พฤศจิกายน น้ําในทะลสาบลดต่ําลง ทําให้น้ําไหลลง กลับสู่ลําน้ําโขงอีกครั้ง ชาวกัมพูชาจะร่วมกัน
ลอยทุ่นที่ประดับด้วยดวงไฟ ไปตาม แม่น้ําโขง ขณะที่การแข่งเรือ เป็นการรําลึก ถึงเหตุการณ์ใน
ประวัติศาสตร์สมัยพระเจ้า ชัยวรมันที่ 7 ช่วงศตวรรษที่ 12 ในยุคเมืองพระนคร อาณาจักรเขมรที่
กําลังรุ่งเรืองมีชัย เหนืออาณาจักรจาม ในการสู้รบ ทางเรือ
เทศกาลน้า (Water festival) หรือ “บอน อม ตุก” (Bon Om Tuk)
แหล่งอ้างอิง
http://www.alro.go.th/alro/project/ASEAN/intro.html
• http://hilight.kapook.com/view/73561
• http://hilight.kapook.com/view/73514
• http://www4.mns.ac.th/22141/?p=6
• http://www.uasean.com/dogtech/315
•
Thank you 

More Related Content

What's hot

แบบฝึกทักษะ ม.3
แบบฝึกทักษะ ม.3แบบฝึกทักษะ ม.3
แบบฝึกทักษะ ม.3
suchinmam
 
รายงานทางวิชาการเรื่อง หัวใจชายหนุ่ม
รายงานทางวิชาการเรื่อง หัวใจชายหนุ่มรายงานทางวิชาการเรื่อง หัวใจชายหนุ่ม
รายงานทางวิชาการเรื่อง หัวใจชายหนุ่ม
Guntima NaLove
 
เหตุการณ์สำคัญของโลกในคริสต์ศตวรรษที่21
เหตุการณ์สำคัญของโลกในคริสต์ศตวรรษที่21เหตุการณ์สำคัญของโลกในคริสต์ศตวรรษที่21
เหตุการณ์สำคัญของโลกในคริสต์ศตวรรษที่21
Pannaray Kaewmarueang
 
ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออก
ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออกประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออก
ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออก
Sompak3111
 
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาประวัติศาสตร์ ม.1 หน่วยที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาประวัติศาสตร์ ม.1 หน่วยที่ 1แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาประวัติศาสตร์ ม.1 หน่วยที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาประวัติศาสตร์ ม.1 หน่วยที่ 1
Sokoy_jj
 
โครงงานสถานที่ท่องเที่ยวในอาเซียน
โครงงานสถานที่ท่องเที่ยวในอาเซียนโครงงานสถานที่ท่องเที่ยวในอาเซียน
โครงงานสถานที่ท่องเที่ยวในอาเซียน
iceskywalker
 

What's hot (20)

แบบฝึกทักษะ ม.3
แบบฝึกทักษะ ม.3แบบฝึกทักษะ ม.3
แบบฝึกทักษะ ม.3
 
รายงานอาเซียน
รายงานอาเซียนรายงานอาเซียน
รายงานอาเซียน
 
แนวทางการดำเนินงานกิจกรรมสภานักเรียน
แนวทางการดำเนินงานกิจกรรมสภานักเรียนแนวทางการดำเนินงานกิจกรรมสภานักเรียน
แนวทางการดำเนินงานกิจกรรมสภานักเรียน
 
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย4
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย4ภูมิศาสตร์ประเทศไทย4
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย4
 
รวมข้อสอบ 183 หน้า
รวมข้อสอบ 183 หน้ารวมข้อสอบ 183 หน้า
รวมข้อสอบ 183 หน้า
 
รายงานทางวิชาการเรื่อง หัวใจชายหนุ่ม
รายงานทางวิชาการเรื่อง หัวใจชายหนุ่มรายงานทางวิชาการเรื่อง หัวใจชายหนุ่ม
รายงานทางวิชาการเรื่อง หัวใจชายหนุ่ม
 
เล่มที่ 8 บุคคลสำคัญ
เล่มที่ 8 บุคคลสำคัญเล่มที่ 8 บุคคลสำคัญ
เล่มที่ 8 บุคคลสำคัญ
 
ความสัมพันธ์กับอาณาจักรต่างๆในสมัยสุโขทัย อยุธยา
ความสัมพันธ์กับอาณาจักรต่างๆในสมัยสุโขทัย อยุธยาความสัมพันธ์กับอาณาจักรต่างๆในสมัยสุโขทัย อยุธยา
ความสัมพันธ์กับอาณาจักรต่างๆในสมัยสุโขทัย อยุธยา
 
กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6
กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6 กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6
กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6
 
เหตุการณ์สำคัญของโลกในคริสต์ศตวรรษที่21
เหตุการณ์สำคัญของโลกในคริสต์ศตวรรษที่21เหตุการณ์สำคัญของโลกในคริสต์ศตวรรษที่21
เหตุการณ์สำคัญของโลกในคริสต์ศตวรรษที่21
 
เล่มโครงงาน ม.5
เล่มโครงงาน ม.5เล่มโครงงาน ม.5
เล่มโครงงาน ม.5
 
ภูมิศาสตร์ทวีปเอเชีย.
ภูมิศาสตร์ทวีปเอเชีย.ภูมิศาสตร์ทวีปเอเชีย.
ภูมิศาสตร์ทวีปเอเชีย.
 
ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออก
ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออกประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออก
ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออก
 
รายงาน ฟุตซอล
รายงาน ฟุตซอลรายงาน ฟุตซอล
รายงาน ฟุตซอล
 
ปัจจัยที่ทำให้เกิดรัฐชาติ
ปัจจัยที่ทำให้เกิดรัฐชาติปัจจัยที่ทำให้เกิดรัฐชาติ
ปัจจัยที่ทำให้เกิดรัฐชาติ
 
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาประวัติศาสตร์ ม.1 หน่วยที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาประวัติศาสตร์ ม.1 หน่วยที่ 1แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาประวัติศาสตร์ ม.1 หน่วยที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาประวัติศาสตร์ ม.1 หน่วยที่ 1
 
ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
Bathbomb
BathbombBathbomb
Bathbomb
 
โครงงาน เรื่อง การศึกษาปัญหาการอ่านหนังสือของคนไทย
โครงงาน เรื่อง การศึกษาปัญหาการอ่านหนังสือของคนไทย โครงงาน เรื่อง การศึกษาปัญหาการอ่านหนังสือของคนไทย
โครงงาน เรื่อง การศึกษาปัญหาการอ่านหนังสือของคนไทย
 
โครงงานสถานที่ท่องเที่ยวในอาเซียน
โครงงานสถานที่ท่องเที่ยวในอาเซียนโครงงานสถานที่ท่องเที่ยวในอาเซียน
โครงงานสถานที่ท่องเที่ยวในอาเซียน
 

Similar to โครงงานอาเซียน

1321861251 เปิดประตูสู่อาเซียน
1321861251 เปิดประตูสู่อาเซียน1321861251 เปิดประตูสู่อาเซียน
1321861251 เปิดประตูสู่อาเซียน
tomodachi7016
 
คู่มือหลักสูตรอาเซียนฉบับภาษาไทย
คู่มือหลักสูตรอาเซียนฉบับภาษาไทยคู่มือหลักสูตรอาเซียนฉบับภาษาไทย
คู่มือหลักสูตรอาเซียนฉบับภาษาไทย
Jaru O-not
 
โครงงานหนูชื่ออาเซียน
โครงงานหนูชื่ออาเซียนโครงงานหนูชื่ออาเซียน
โครงงานหนูชื่ออาเซียน
Jar 'zzJuratip
 
แนวทางการจัดการเรียนรู้สู่ประชาคมอาเซียน
แนวทางการจัดการเรียนรู้สู่ประชาคมอาเซียนแนวทางการจัดการเรียนรู้สู่ประชาคมอาเซียน
แนวทางการจัดการเรียนรู้สู่ประชาคมอาเซียน
sompriaw aums
 
หน่วยการเรียนรู้ที่1 [โหมดความเข้ากันได้]
หน่วยการเรียนรู้ที่1 [โหมดความเข้ากันได้]หน่วยการเรียนรู้ที่1 [โหมดความเข้ากันได้]
หน่วยการเรียนรู้ที่1 [โหมดความเข้ากันได้]
กุลเศรษฐ บานเย็น
 
โครงสร้างหลักสูตร อาเซียนศึกษา ป. 1 3
โครงสร้างหลักสูตร อาเซียนศึกษา ป. 1 3โครงสร้างหลักสูตร อาเซียนศึกษา ป. 1 3
โครงสร้างหลักสูตร อาเซียนศึกษา ป. 1 3
sompriaw aums
 

Similar to โครงงานอาเซียน (20)

1321861251 เปิดประตูสู่อาเซียน
1321861251 เปิดประตูสู่อาเซียน1321861251 เปิดประตูสู่อาเซียน
1321861251 เปิดประตูสู่อาเซียน
 
อาเซียน1
อาเซียน1อาเซียน1
อาเซียน1
 
อาเซียน1
อาเซียน1อาเซียน1
อาเซียน1
 
Dr.benjalug asean
Dr.benjalug aseanDr.benjalug asean
Dr.benjalug asean
 
คู่มือหลักสูตรอาเซียนฉบับภาษาไทย
คู่มือหลักสูตรอาเซียนฉบับภาษาไทยคู่มือหลักสูตรอาเซียนฉบับภาษาไทย
คู่มือหลักสูตรอาเซียนฉบับภาษาไทย
 
Asean - สมบูรณ์
Asean - สมบูรณ์Asean - สมบูรณ์
Asean - สมบูรณ์
 
โครงงานหนูชื่ออาเซียน
โครงงานหนูชื่ออาเซียนโครงงานหนูชื่ออาเซียน
โครงงานหนูชื่ออาเซียน
 
แนวทางการจัดการเรียนรู้สู่ประชาคมอาเซียน
แนวทางการจัดการเรียนรู้สู่ประชาคมอาเซียนแนวทางการจัดการเรียนรู้สู่ประชาคมอาเซียน
แนวทางการจัดการเรียนรู้สู่ประชาคมอาเซียน
 
อาเซียน
อาเซียนอาเซียน
อาเซียน
 
Asean 007
Asean 007Asean 007
Asean 007
 
แนวทางจัดการเรียนรู้สู่อาเซี่ยน
แนวทางจัดการเรียนรู้สู่อาเซี่ยนแนวทางจัดการเรียนรู้สู่อาเซี่ยน
แนวทางจัดการเรียนรู้สู่อาเซี่ยน
 
Asean m3
Asean m3Asean m3
Asean m3
 
งานคอม
งานคอมงานคอม
งานคอม
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
งานคอม
งานคอมงานคอม
งานคอม
 
หน่วยการเรียนรู้ที่1 [โหมดความเข้ากันได้]
หน่วยการเรียนรู้ที่1 [โหมดความเข้ากันได้]หน่วยการเรียนรู้ที่1 [โหมดความเข้ากันได้]
หน่วยการเรียนรู้ที่1 [โหมดความเข้ากันได้]
 
ประชาคมอาเซียน
ประชาคมอาเซียนประชาคมอาเซียน
ประชาคมอาเซียน
 
9 1-3-เค้าโครงเว็บไซต์อาเซียน
9 1-3-เค้าโครงเว็บไซต์อาเซียน9 1-3-เค้าโครงเว็บไซต์อาเซียน
9 1-3-เค้าโครงเว็บไซต์อาเซียน
 
โครงสร้างหลักสูตร อาเซียนศึกษา ป. 1 3
โครงสร้างหลักสูตร อาเซียนศึกษา ป. 1 3โครงสร้างหลักสูตร อาเซียนศึกษา ป. 1 3
โครงสร้างหลักสูตร อาเซียนศึกษา ป. 1 3
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 

More from msntomon2

O-net math'49
O-net math'49O-net math'49
O-net math'49
msntomon2
 
O-net com'53
O-net com'53O-net com'53
O-net com'53
msntomon2
 
O-net com'52
O-net com'52O-net com'52
O-net com'52
msntomon2
 
O-net com'51
O-net com'51O-net com'51
O-net com'51
msntomon2
 
O-net com'50
O-net com'50O-net com'50
O-net com'50
msntomon2
 
โครงงานคอมอาเซ ยน
โครงงานคอมอาเซ ยนโครงงานคอมอาเซ ยน
โครงงานคอมอาเซ ยน
msntomon2
 
โครงงานคอมอาเซียน
โครงงานคอมอาเซียนโครงงานคอมอาเซียน
โครงงานคอมอาเซียน
msntomon2
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
msntomon2
 
ใบงานที่9
ใบงานที่9ใบงานที่9
ใบงานที่9
msntomon2
 

More from msntomon2 (20)

O-net math'49
O-net math'49O-net math'49
O-net math'49
 
O-net com'53
O-net com'53O-net com'53
O-net com'53
 
O-net com'52
O-net com'52O-net com'52
O-net com'52
 
O-net com'51
O-net com'51O-net com'51
O-net com'51
 
O-net com'50
O-net com'50O-net com'50
O-net com'50
 
โครงงานคอมอาเซ ยน
โครงงานคอมอาเซ ยนโครงงานคอมอาเซ ยน
โครงงานคอมอาเซ ยน
 
โครงงานคอมอาเซียน
โครงงานคอมอาเซียนโครงงานคอมอาเซียน
โครงงานคอมอาเซียน
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
ใบงานที่9
ใบงานที่9ใบงานที่9
ใบงานที่9
 
05 e
05 e05 e
05 e
 
04 e
04 e04 e
04 e
 
03 e
03 e03 e
03 e
 
02 e
02 e02 e
02 e
 
01 e
01 e01 e
01 e
 
06 e
06 e06 e
06 e
 
So
SoSo
So
 
Sci
SciSci
Sci
 
Math
MathMath
Math
 
Eng
EngEng
Eng
 
Com
ComCom
Com
 

โครงงานอาเซียน