SlideShare a Scribd company logo
1
Digestive System
Feed and
Feeding
22
กระบวนการย่อยอาหารกระบวนการย่อยอาหาร
((digestion)digestion)
แบ่งได้เป็นแบ่งได้เป็น 33 ประเภทด้วยกัน คือประเภทด้วยกัน คือ
การย่อยโดยวิธีกลการย่อยโดยวิธีกล ((mechanicalmechanical
digestion)digestion)ไดได้้แกแก่่ การเคี้ยวอาหารในปาก การการเคี้ยวอาหารในปาก การ
บดอาหารในส่วนของกระเพาะบดบดอาหารในส่วนของกระเพาะบด ((gizzard)gizzard)
ของสัตว์ปีกของสัตว์ปีก
การย่อยโดยวิธีเคมีการย่อยโดยวิธีเคมี ((chemical digestion)chemical digestion)
เป็นการย่อยอาหารโดยอาศัยเอ็นไซม์จากส่วนเป็นการย่อยอาหารโดยอาศัยเอ็นไซม์จากส่วน
ต่างๆ ของอวัยวะย่อยอาหาร และอวัยวะที่ต่างๆ ของอวัยวะย่อยอาหาร และอวัยวะที่
เกี่ยวข้องเกี่ยวข้อง
การย่อยโดยจุลินทรีย์การย่อยโดยจุลินทรีย์์์ ((microbial digestion)microbial digestion)
โดยเอนไซม์จากจุลินทรียโดยเอนไซม์จากจุลินทรีย์์ที่อาศัยอยู่ในส่วนของที่อาศัยอยู่ในส่วนของ
33
1. สัตว์์กระเพาะเดี่ยว ได้แก่ สัตว์์กินเนื้อ
(carnivorous) เช่น เสือ สิงโต เป็นต้น สัตว์์กินพืช
(herbivorous) เช่น ช้าง กระต่าย เป็นต้น และ
สัตว์์ที่กินเนื้อและเมล็ดธัญพืช (omnivorous)
เช่น สุกร สัตว์ปีก เป็นต้น
2. สัตว์์กระเพาะรวม เป็นสัตว์์ที่ท่อทางเดินอาหาร
มีการพัฒนามาก เพื่อให้้เหมาะสมกับอาหารที่กิน
คืออาหารที่มีเยื่อใยสูง ได้แก่ โค กระบือ แพะ และ
แกะ เป็นต้น
44
ท่อทางเดินอาหาร
ท่อทางเดินอาหาร ในสัตว์แต่่ละชนิด
ประกอบด้วย
ปาก (mouth)
คอหอย (pharynx)
หลอดอาหาร (esophagus)
กระเพาะอาหาร (stomach)
ลำาไส้เล็ก (small intestine)
ลำาไส้ใหญ่ (large intestine)
55
สัตว์ปีก (Avian)
1. ปาก (Mouth)
2. คอหอย (Pharynx)
3. หลอดอาหาร (Esophagus)
4. ถุงพักอาหาร (Crop)
5. กระเพาะอาหาร (Proventiculus)
6. กึ๋น (Gizzard)
8. ลำาไส้ใหญ่ (Colon)
9. ทวาหนัก (Anus)
66
77
สัตว์เคี้ยวเอื้อง (Ruminants)
1. ปาก (Mouth)
2. คอหอย (Pharynx)
3. หลอดอาหาร (Esophagus)
4. รูเมน (rumen)
5. เรติคูลัม (reticulum)
6. โอมาซัม (omasum)
7. กระเพาะจริง (abomasum)
7. ลำาไส้เล็ก (Intestine) ทำาหน้าที่ย่อยทางเคมี และดูด
ซึมสารอาหาร
8. ลำาไส้ใหญ่ (Colon) ทำาหน้าที่กำาจัดกากอาหารออก
นอกร่างกาย
9. ทวารหนัก (Anus) เป็นช่องเปิดปลายสุดของ
ลำาไส้ใหญ่ ทำาหน้าที่ขับถ่ายกากอาหาร
88
ปาก (Mouth)
ปากประกอบด้วย
ริมฝีปาก (lips)
ลิ้น (tongue)
ฟน (teeth)
เพดานปาก
ต่อมนำ้าลาย (salivary glands)
99
ปากและฟนปากและฟน ((Mouth andMouth and
Teeth)Teeth)
1010
ฟน (Teeth)
สัตว์ชั้นสูงส่วนใหญ่มีฟนอยู่ 2 ชุด คือฟนนำ้านม
และ ฟนแท้
1.ฟนนำ้านม (deciduous teeth) หมายถึงฟน
ชุดที่งอกขึ้นมาตั้งแต่่แรกเกิดมีทั้งหมด 20 ซี่
และจะหลุดออกไปเมื่อมีฟนแท้้ขึ้นมาแทนที่
2.ฟนแท้้ (permanent teeth) หมายถึง ฟนชุดที่
เจริญขึ้นมาแทนที่ฟนนำ้านมเมื่อสัตว์์เจริญเติบโต
มีทั้งหมด 32 ซี่
โดยสัตว์ปีกจะไม่มีฟน
โคจะไม่มีฟนหน้าบนและฟนเขี้ยว
1111
ลิ้น (Tongue)
มีตุ่มรับรส และทำาหน้าที่คลุกเคล้าอาหารในช่อง
ปาก
ลิ้นสามารถรับรสได้ 4 รส
– รสหวาน อยู่บริเวณปลายลิ้น
– รสเค็ม อยู่บริเวณปลายลิ้นและข้างลิ้น
– รสเปรี้ยว อยู่บริเวณข้างลิ้น
– รสขม อยู่บริเวณโคนลิ้น
โดยสัตว์ปีกจะไม่มีตุ่มรับรสบนลิ้น
1212
ต่อมนำ้าลายต่อมนำ้าลาย (Salivary glands(Salivary glands))
- Parotid gland- Parotid gland เป็นต่อมนำ้าลายข้างกกหู ซึ่งมีเป็นต่อมนำ้าลายข้างกกหู ซึ่งมี
ขนาดใหญ่สุดขนาดใหญ่สุด
- Submaxillary gland- Submaxillary gland พบอยู่ใต้ต่อมนำ้าลายพบอยู่ใต้ต่อมนำ้าลาย
ข้างกกหูข้างกกหู
- Sublingual gland- Sublingual gland พบอยู่ใต้ลิ้น เป็นต่อมพบอยู่ใต้ลิ้น เป็นต่อม
นำ้าลายขนาดเล็กสุดนำ้าลายขนาดเล็กสุด
-- ในนำ้าลายมีเอนไซม์ในนำ้าลายมีเอนไซม์์์ไทยาลินเปไทยาลินเป็็น ส่วนประกอบน ส่วนประกอบ
ช่วยในการ่อยอาหารประเภทแปช่วยในการ่อยอาหารประเภทแป งง
1313
ต่อมนำ้าลายต่อมนำ้าลาย (Salivary glands(Salivary glands))
1414
คอหอย หรือ หลอดคอ (Pharynx)
คอหอยเป็นท่อเปิดร่วมระหว่างทางเดินหายใจ
และระบบทางเดินอาหาร
มีส่วนของ epiglottis ทำาหน้าที่ปิดส่วนของ
ระบบหายใจ (หลอดลม)
เมื่อสัตว์หายใจ epiglottis จะปิดช่องระหว่างลำา
คอกับหลอดอาหารทำาให้้อากาศที่หายใจผ่าน
ช่องจมูกเข้าสู่หลอดลมได้สะดวก
15
Trachea
ขณะที่อาหารอยู่ในปาก ขณะกลืนอาหาร Peristaltic movement
1616
หลอดอาหาร
(Esophagus)
เป็นท่อทางเดินอาหารที่เชื่อมต่อระหว่างคอหอย
กับกระเพาะอาหาร ส่วนต้น (cardiac)
บริเวณรอยต่อระหว่างหลอดอาหารกับกระเพาะ
มีกล้ามเนื้อหูรูด (cardiac sphincter) ทำาหน้าที่
ควบคุมการเข้าออกของอาหารสู่กระเพาะ
1717
หลอดอาหาร (Esophagus)
1818
กระเพาะอาหารกระเพาะอาหาร ((Stomach)Stomach)
กระเพาะอาหารของสัตว์กระเพาะเดี่ยวกระเพาะอาหารของสัตว์กระเพาะเดี่ยว
1919
กระเพาะอาหารสัตว์กระเพาะเดี่ยว
จะรับอาหารจาก
หลอดอาหาร และคลุก
เคล้ากับนำ้าย่อยจาก
กระเพาะให้เป็น
ของเหลวเรียกว่า chyme
ก่อนที่เคลื่อนลงสู่
ลำาไส้เล็กส่วนต้น
สามารถแบ่งออกได้เป็น
3 ส่วน คือ
– Cardiac Region
– Fundus
– Pylorus
20
กระเพาะอาหารของสัตว์เคี้ยว
เอื้อง
แบ่งออกเป็น 4 ส่วน
 กระเพาะรูเมน หรือ กระเพาะผ้าขี้ริ้ว
(rumen)
 กระเพาะรังผึ้ง (reticulum)
 กระเพาะส่วนสามสิบกลีบ (omasum)
 กระเพาะแท้้ (abomasum)
2121
RumenRumen
มีความจุประมาณ 80% ของกระเพาะ
ทั้งหมด
อยู่ติดกับผนังด้านซ้ายของช่องท้อง
ผนังภายในประกอบด้วยแผ่นเล็กๆ
เรียกว่า Papillae
ทำาหน้าที่คลุกเคล้าอาหารและดูดซึม
VFA
2222
ReticulumReticulum
เป็นถุงขนาดเล็ก ผนังภายในมีเป็นถุงขนาดเล็ก ผนังภายในมี
ลักษณะคล้ายรังผึ้งลักษณะคล้ายรังผึ้ง
มีความจุประมาณมีความจุประมาณ 5%5% ของกระเพาะของกระเพาะ
ทั้งหมดทั้งหมด
อยู่ติดกับส่วนหน้าของกระเพาะรูเมนอยู่ติดกับส่วนหน้าของกระเพาะรูเมน
โดยมีผนังกันโดยมีผนังกันruminorumino--reticular foldreticular fold
ซึ่งปิดไม่สนิทซึ่งปิดไม่สนิท
2323
OmasumOmasum
กระเพาะส่วนนี้อยู่ติดกับผิวบนส่วนหน้ากระเพาะส่วนนี้อยู่ติดกับผิวบนส่วนหน้า
ของกระเพาะรูเมนของกระเพาะรูเมน
มีลักษณะเป็นรูปกลมและมีปริมาตรความจุมีลักษณะเป็นรูปกลมและมีปริมาตรความจุ
ประมาณประมาณ7-87-8%%ของกระเพาะทั้งหมดของกระเพาะทั้งหมด
ลักษณะภายในมีลักษณะเป็นแผ่นซึ่งเรียกลักษณะภายในมีลักษณะเป็นแผ่นซึ่งเรียก
ว่าว่า laminaelaminae ซึ่งบนผิวของแผ่นเหล่านี้มีซึ่งบนผิวของแผ่นเหล่านี้มี
ปุ่มอยู่ทั่วทั้งแผ่นปุ่มอยู่ทั่วทั้งแผ่น
กระเพาะส่วนนี้ทำาหน้าที่ดูดเอาของเหลวกระเพาะส่วนนี้ทำาหน้าที่ดูดเอาของเหลว
ในอาหารกลับในอาหารกลับ
2424
Abomasum
กระเพาะจริงอยู่ติดด้านขวาของกระเพาะ
รูเมนและอยู่ติดกับพื้นล่างของช่องท้อง
ทางเปิดเชื่อมต่อจากกระเพาะ omasum
ภายในมีต่อมที่สามารถผลิตนำ้าย่อย
กระจายอยู่ตามเนื้อเยื่อเมือก
ส่วนปลายของกระเพาะเปิดเข้าสู่ลำาไส้เล็ก
มีกล้ามเนื้อหูรูด (pyloric-orifice)
2525
2626
ขบวนการเคี้ยวเอื้อง
RegurgitationRegurgitation == การขยอกอาหารจากการขยอกอาหารจาก
กระเพาะหมักกลับไปที่ปากกระเพาะหมักกลับไปที่ปาก
Swallowing =Swallowing = การกลืนกลับของเหลวลงการกลืนกลับของเหลวลง
ที่ท้องที่ท้อง
Remastication =Remastication = การเคี้ยวอาหารที่การเคี้ยวอาหารที่
ขยอกออกมาให้ละเอียดขยอกออกมาให้ละเอียด
ReinsalivationReinsalivation == การเคี้ยวและการขับการเคี้ยวและการขับ
หลั่งนำ้าลายหลั่งนำ้าลาย
Reswallowing =Reswallowing = การกลืนอาหารกลับลงการกลืนอาหารกลับลง
2727
ลำาไส้เล็ก (small intestine)
ผนังของลำาไส้เล็กจะมี microvilli ทำาหน้าที่ช่วย
ในการดูดซึมโภชนะ ซึ่งลำาไส้เล็กแบ่งออกเป็น 3
ส่วนคือ
แบ่งเป็น 3 ส่วนคือ
ลำาไส้เล็กส่วนต้น (duodenum)
เจจูนัม (Jejunum)
ไอเลียม (Ileum)
2828
ลำาไส้ใหญ่
ทำาหน้าที่ดูดซึมนำ้าและแร่ธาตุที่จำาเป็นต่อ
ร่างกาย
ถ้ามีเชื้อโรคเข้าสู่ลำาไส้ใหญ่ จะทำาให้
ลำาไส้ใหญ่ดูดนำ้ากลับสู่เลือดไม่ได้ ทำาให้เกิด
โรคท้องเดิน (Diarrhea)
และถ้ากากอาหารอยู่ในลำาไส้ใหญ่นานเกินไป
จะถูกลำาไส้ใหญ่ดูดนำ้าออกมามาก ทำาให้เกิด
โรคท้องผูก (Constipation)
ลำาไส้ใหญ่มีความยาวประมาณ 1.5 เมตร แบ่ง
ได้เป็น 3 ส่วนคือ
– ส่วนไส้ติ่ง( caecum)
– โคลอน (Colon)
–
2929
อวัยวะที่ชวยในการยอยอาหาร
ตับ (liver)
ผลิตนำ้าดีเพื่อชวยในการยอยไขมันในสวน
ลำาไส้เล็ก
เกี่ยวข้องกับขบวนการเมตาโบลิซึมของโปรตีน
คาร์โบไฮเดรต และไขมัน
ทำาหน้าที่กำาจัดสารพิษออกจากรางกาย
(detoxification) เชน การเปลี่ยนรูปของ
แอลกอฮอล์ให้เป็นนำ้า และคาร์์บอนไดออกไซด์
ทำาหน้าที่สร้างเกลือของกรดนำ้าดี (bile salt)
3030
ตับออน (pancreas)
ทำาหน้าที่ผลิตนำ้ายอยสำาหรับยอยโปรตีน
คาร์โบไฮเดรต หรือ ไขมัน โดยมีทอเปิด
(pancreatic duct) เข้าสูลำาไส้เล็กสวนต้น ซึ่งสาร
และเอนไซม์ที่สำาคัญ ได้แก
โซเดียมไฮโดรเจนคาร์บอเนต (NaHCO3)
เอนไซม์อะไมเลส (Amylase)
เอนไซม์ไลเพส (pancreatic lipase) ทำางานได้
ดีที่ pH 8.0
3131
สารและเอนไซม์จากตับออนสารและเอนไซม์จากตับออน
-- ทริปซิโนเจนทริปซิโนเจน ((Trypsinogen)Trypsinogen) เป็นสารเคมีที่ไมเป็นสารเคมีที่ไม
พร้อมจะทำางาน ต้องอาศัยเอนไซม์เอนเทอโรไคพร้อมจะทำางาน ต้องอาศัยเอนไซม์เอนเทอโรไค
เนสเนส ((Enterokinase)Enterokinase) จากลำาไส้เล็กจากลำาไส้เล็ก
-- ไคโมทริปซิโนเจนไคโมทริปซิโนเจน ((Cyhmotrypsinogen)Cyhmotrypsinogen)
-- โพรคาร์บอกซิเพปทิเดสโพรคาร์บอกซิเพปทิเดส
((Procarboxypeptiddase)Procarboxypeptiddase) ทำาหน้าที่ยอยทำาหน้าที่ยอย
โปรตีนตรงปลายสุดด้านหมูคาร์บอกซิลเทานั้นโปรตีนตรงปลายสุดด้านหมูคาร์บอกซิลเทานั้น
3232
ฮอร์โมนจากระบบทางเดินอาหาร
แกสตริน (Gastrin)
ซีครีติน (Secretin)
โคเลซีสโตไคนิน
(Cholecystokinin;CCK)
เอนเทอโรแกสโตรน
(Enterogastron)
3333
3434
การยอยอาหารในปาก
ในสัตว์์กระเพาะเดี่ยวการยอยอาหารในปากเกิดจาก
การยอยโดยวิธีกลและวิธีเคมี
เมื่ออาหารถูกนำาเข้าปากอาหารจะถูกเคี้ยวทำาให้้มีขนาด
เล็กลงมีการคลุกเคล้าอาหารผสมกับนำ้าลายเพื่อให้ชิ้น
อาหารออนนุมและสะดวกในการกลืน
ในสัตว์์บางชนิด เชน สุกร สุนัข และม้า นำ้าลายมี เอน
ไซม์อะไมเลส ทำาหน้าที่ในการยอยคาร์โบไฮเดรตใน
อาหารได้บางสวน
ในสัตว์์กระเพาะรวมนำ้าลายจะไมมีเอนไซม์ยอย
คาร์โบไฮเดรต
ลูกสัตว์์จะมีเอนไซม์์ที่ใชยอยไขมันในอาหาร คือ
เอนไซม์ pregastric lipase ทำาหน้าที่ยอยไขมันใน
กลุมบิวทีริก ซึ่งเอนไซม์นี้จะหมดไปเมื่อลูกสัตว์หยานม
3535
การยอยอาหารในกระเพาะอาหาร
Cephalic Phase เป็นระยะรับกลิ่น รส หรือ
นึกถึงอาหาร เส้นประสาท Vagus จากสมองจะ
กระตุ้นให้กระเพาะเคลื่อนที่และการหลั่งสาร
Gastric Phase เป็นระยะที่ก้อนอาหาร (Bolus)
เข้าสูกระเพาะอาหาร และหลั่งฮอร์โมน Gastrin
ไปกระตุ้นให้กระเพาะอาหารหลั่ง HCl ออกมา
รวมกับ Pepsinogen
Intestinal Phase เป็นระยะที่อาหาร (Chyme)
ออกจากกระเพาะอาหารเข้าสูลำาไส้เล็ก
3636
การยอยอาหารในลำาไส้เล็ก
เป็นการยอยโดยวิธีกลจากการบีบตัวของกล้าม
เนื้อเรียบของลำาไส้เล็ก
เป็นการยอยโดยวิธีเคมีที่เกิดจากเอนไซม์์ที่ผลิต
จากเซลล์์เยื่อบุของลำาไส้้เล็กและเอนไซม์์จาก
ตับออน
โภชนะที่ถูกยอยในลำาไส้เล็ก ได้แก โปรตีน
คาร์โบไฮเดรต ไขมัน ไวตามิน และแรธาตุ
3737
เอนไซม์ในลำาไส้เล็ก
- Enterokinase ชวยเปลี่ยน trypsinogen และ
procarboxypeptidase ที่หลั่งจากตับออนให้เป็น
trypsin และ carboxypeptidase
- เอนไซม์ยอยคาร์โบไฮเดรต ได้แก Amylase,
Maltase, Sucrase, Lactase
- Peptidase มีหลายชนิด เชน Aminopeptidase,
Dipeptidase
- เอนไซม์ไลเพส ชวยยอยไขมันให้เป็นกรดไขมัน
และกลีเซอรอล
3838
การดูดซึมโภชนะ
การดูดซึมแบบไมใช้พลังงาน (passive
transport) ได้แก
– osmosis
– diffusion (การแพร)
– facilitated diffusion (การแพรแบบมีตัวพา)
การดูดซึมแบบใช้พลังงาน (active
transport)
– pinocytosis
– phagocytosis
– active transport
3939
Endocytosis
มี 2 ชนิด คือ
Pinocytosis เป็นกลไกการขนสงสารเข้าสู
เซลล์โดยการทำาให้เยื่อหุ้มเซลล์เว้าเข้าไปในไซ
โตพลาสซึมจนกระทั่งโมเลกุลของสารนั้นหลุด
เข้าไปในเซลล์์ในลักษณะถุงเล็กๆ (vesicle)
Phagocytosis เป็นกลไกการขนสงสารที่
เป็นเซลล์ขนาดเล็กเข้าสูเซลล์โดยการสร้างเท้า
เทียมไปโอบหุ้ม จนกระทั่งโมเลกุลของสารนั้น
หลุดเข้าไปในเซลล์์ในลักษณะถุงเล็กๆ
(vesicle)
4040
Osmosis
เป็นการดูดซึมโภชนะโดย โภชนะเคลื่อนที่ไป
พร้อมกับโมเลกุลของนำ้าที่ละลายตัวอยู
โดยโภชนะเคลื่อนที่ผานผนังเซลล์เมมเบรนของ
เยื่อบุผิวของระบบทางเดินอาหาร ทางรูผนัง
เซลล์์เยื่อบุทางเดินอาหาร (membrane pore)
เป็นการดูดซึมโดยไมใช้้ ATP
4141
Diffusion
Passive diffusion (การแพร) เป็นการดูดซึม
สารโดยการเคลื่อนตัวจะเคลื่อนจากที่ๆมีความ
เข้มข้นสูงไปสูความเข้มข้นตำ่ากวา
Facilitated diffusion เป็นการขนสงโภชนะ
โดยอาศัยตัวพาหรือตัวชวยขนสงสาร (carrier)
เชน โคเอนไซม์ตาง ๆ (coenzyme)
4242
Active transport
เป็นขบวนการผานของโภชนะที่มีขนาดโมเลกุล
ใหญที่ผนังเซลล์เมเบรนโดยใช้ ATP และตัวพา
(carrier)
นอกจากนี้จะต้องใช้เอนไซม์ ATPase ด้วย
เป็นการขนสงสารจากที่มีความเข้มข้นตำ่าไปยัง
ที่มีความเข้มข้นสูงกวา
เชน การดูดซึมนำ้าตาลที่ผนังเยื่อบุลำาไส้เล็ก
การดูดซึมกรดอะมิโน และการขนสง Na+
ออก
จากเซลล์
4343
การดูดซึมคาร์โบไฮเดรตการดูดซึมคาร์โบไฮเดรต
4444
การดูดซึมการดูดซึม
โปรตีนโปรตีน
4545
การดูดการดูด
ซึมไขมันซึมไขมัน
46
Glycolysis pathway
47
Glycolysis
pathway
48
4949
Acetyl CoA Synthesis
50
5151
สรุปพลังงานในกระบวนการหายใจแบบใชออกซิเจน
5252
การนำาโภชนะไปใชประโยชน์การนำาโภชนะไปใชประโยชน์
production(20%)
Grossenergy(100%) DE(70%) ME(60%) NE(40%)
-Fecalenergy(30%) –gaseousenergy(5%) -heatincrement(20%)
–urinaryenergy(5%)
maintanance(20%)
53
ตะวันไม่สิ้นแสง ขอจงอย่าสิ้นหวัง
เอาใจเป็นพลัง และจงสูต่อไป

More Related Content

What's hot

ระบบย่อยอาหาร และ การสลายอาหารเพื่อให้ได้พลังงาน
ระบบย่อยอาหาร และ การสลายอาหารเพื่อให้ได้พลังงานระบบย่อยอาหาร และ การสลายอาหารเพื่อให้ได้พลังงาน
ระบบย่อยอาหาร และ การสลายอาหารเพื่อให้ได้พลังงานพัน พัน
 
บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2
บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2
บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2
Wichai Likitponrak
 
โครงสร้างและหน้าที่ระบบทางเดินอาหาร 2560
โครงสร้างและหน้าที่ระบบทางเดินอาหาร 2560โครงสร้างและหน้าที่ระบบทางเดินอาหาร 2560
โครงสร้างและหน้าที่ระบบทางเดินอาหาร 2560
Aphisit Aunbusdumberdor
 
บทที่ 2 ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์ ย่อยอาหาร
บทที่  2  ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์   ย่อยอาหารบทที่  2  ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์   ย่อยอาหาร
บทที่ 2 ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์ ย่อยอาหาร
Pinutchaya Nakchumroon
 
502การย่อยอาหารจุลทรีย์ สัตว คน
502การย่อยอาหารจุลทรีย์ สัตว คน502การย่อยอาหารจุลทรีย์ สัตว คน
502การย่อยอาหารจุลทรีย์ สัตว คนThitiporn Parama
 
โครงสร้างและหน้าที่ของระบบต่าง ๆ ในร่างกายสัตว์
โครงสร้างและหน้าที่ของระบบต่าง ๆ ในร่างกายสัตว์ โครงสร้างและหน้าที่ของระบบต่าง ๆ ในร่างกายสัตว์
โครงสร้างและหน้าที่ของระบบต่าง ๆ ในร่างกายสัตว์
พัน พัน
 
การรักษาดุลยภาพของร่างกาย
การรักษาดุลยภาพของร่างกายการรักษาดุลยภาพของร่างกาย
การรักษาดุลยภาพของร่างกาย
พัน พัน
 
ระบบต่างๆในร่างกายป.6
ระบบต่างๆในร่างกายป.6ระบบต่างๆในร่างกายป.6
ระบบต่างๆในร่างกายป.6
arkhom260103
 
ชุดกิจกรรม1
ชุดกิจกรรม1ชุดกิจกรรม1
ชุดกิจกรรม1
Aon Narinchoti
 
ชีววิทยาเรื่องระบบขับถ่าย Excretion
ชีววิทยาเรื่องระบบขับถ่าย Excretionชีววิทยาเรื่องระบบขับถ่าย Excretion
ชีววิทยาเรื่องระบบขับถ่าย Excretion
kasidid20309
 
Ppt digestive system
Ppt digestive systemPpt digestive system
Ppt digestive system
Thanyamon Chat.
 
ระบบของสัตว์
ระบบของสัตว์ระบบของสัตว์
ระบบของสัตว์พัน พัน
 
วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
issarayuth
 
ระบบย่อยอาหาร
ระบบย่อยอาหารระบบย่อยอาหาร
ระบบย่อยอาหาร
Natanon Pattarachaisopon
 
ระบบต่าง ๆ-ในร่างกายมนุษย์
ระบบต่าง ๆ-ในร่างกายมนุษย์ระบบต่าง ๆ-ในร่างกายมนุษย์
ระบบต่าง ๆ-ในร่างกายมนุษย์
thitichaya24
 
อจท. แผน 1 1 สุขศึกษาฯ ป.5
อจท. แผน 1 1 สุขศึกษาฯ ป.5อจท. แผน 1 1 สุขศึกษาฯ ป.5
อจท. แผน 1 1 สุขศึกษาฯ ป.5
สุขใจ สุขกาย
 

What's hot (20)

ย่อยอาหาร
ย่อยอาหารย่อยอาหาร
ย่อยอาหาร
 
ระบบย่อยอาหาร
ระบบย่อยอาหารระบบย่อยอาหาร
ระบบย่อยอาหาร
 
ระบบย่อยอาหาร และ การสลายอาหารเพื่อให้ได้พลังงาน
ระบบย่อยอาหาร และ การสลายอาหารเพื่อให้ได้พลังงานระบบย่อยอาหาร และ การสลายอาหารเพื่อให้ได้พลังงาน
ระบบย่อยอาหาร และ การสลายอาหารเพื่อให้ได้พลังงาน
 
บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2
บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2
บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2
 
STB
STBSTB
STB
 
โครงสร้างและหน้าที่ระบบทางเดินอาหาร 2560
โครงสร้างและหน้าที่ระบบทางเดินอาหาร 2560โครงสร้างและหน้าที่ระบบทางเดินอาหาร 2560
โครงสร้างและหน้าที่ระบบทางเดินอาหาร 2560
 
บทที่ 2 ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์ ย่อยอาหาร
บทที่  2  ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์   ย่อยอาหารบทที่  2  ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์   ย่อยอาหาร
บทที่ 2 ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์ ย่อยอาหาร
 
502การย่อยอาหารจุลทรีย์ สัตว คน
502การย่อยอาหารจุลทรีย์ สัตว คน502การย่อยอาหารจุลทรีย์ สัตว คน
502การย่อยอาหารจุลทรีย์ สัตว คน
 
โครงสร้างและหน้าที่ของระบบต่าง ๆ ในร่างกายสัตว์
โครงสร้างและหน้าที่ของระบบต่าง ๆ ในร่างกายสัตว์ โครงสร้างและหน้าที่ของระบบต่าง ๆ ในร่างกายสัตว์
โครงสร้างและหน้าที่ของระบบต่าง ๆ ในร่างกายสัตว์
 
Biobook
BiobookBiobook
Biobook
 
การรักษาดุลยภาพของร่างกาย
การรักษาดุลยภาพของร่างกายการรักษาดุลยภาพของร่างกาย
การรักษาดุลยภาพของร่างกาย
 
ระบบต่างๆในร่างกายป.6
ระบบต่างๆในร่างกายป.6ระบบต่างๆในร่างกายป.6
ระบบต่างๆในร่างกายป.6
 
ชุดกิจกรรม1
ชุดกิจกรรม1ชุดกิจกรรม1
ชุดกิจกรรม1
 
ชีววิทยาเรื่องระบบขับถ่าย Excretion
ชีววิทยาเรื่องระบบขับถ่าย Excretionชีววิทยาเรื่องระบบขับถ่าย Excretion
ชีววิทยาเรื่องระบบขับถ่าย Excretion
 
Ppt digestive system
Ppt digestive systemPpt digestive system
Ppt digestive system
 
ระบบของสัตว์
ระบบของสัตว์ระบบของสัตว์
ระบบของสัตว์
 
วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
 
ระบบย่อยอาหาร
ระบบย่อยอาหารระบบย่อยอาหาร
ระบบย่อยอาหาร
 
ระบบต่าง ๆ-ในร่างกายมนุษย์
ระบบต่าง ๆ-ในร่างกายมนุษย์ระบบต่าง ๆ-ในร่างกายมนุษย์
ระบบต่าง ๆ-ในร่างกายมนุษย์
 
อจท. แผน 1 1 สุขศึกษาฯ ป.5
อจท. แผน 1 1 สุขศึกษาฯ ป.5อจท. แผน 1 1 สุขศึกษาฯ ป.5
อจท. แผน 1 1 สุขศึกษาฯ ป.5
 

Similar to Maintenance of Life

ระบบต่าง ๆ ในร่างกายมนุษย์
ระบบต่าง ๆ ในร่างกายมนุษย์ระบบต่าง ๆ ในร่างกายมนุษย์
ระบบต่าง ๆ ในร่างกายมนุษย์
thitichaya24
 
ระบบย่อยอาหาร ระบบย่อยอาหาร ระบบย่อยอาหาร
ระบบย่อยอาหาร ระบบย่อยอาหาร ระบบย่อยอาหารระบบย่อยอาหาร ระบบย่อยอาหาร ระบบย่อยอาหาร
ระบบย่อยอาหาร ระบบย่อยอาหาร ระบบย่อยอาหาร
capchampz
 
ติวสอบเตรียมประสาทฮอร์โมนพฤติ
ติวสอบเตรียมประสาทฮอร์โมนพฤติติวสอบเตรียมประสาทฮอร์โมนพฤติ
ติวสอบเตรียมประสาทฮอร์โมนพฤติ
Wichai Likitponrak
 
ระบบต่างๆในร่างกายป.6
ระบบต่างๆในร่างกายป.6ระบบต่างๆในร่างกายป.6
ระบบต่างๆในร่างกายป.6
arkhom260103
 
ระบบต่างๆในร่างกายป.6
ระบบต่างๆในร่างกายป.6ระบบต่างๆในร่างกายป.6
ระบบต่างๆในร่างกายป.6
arkhom260103
 
sci access 14th : presentation digestive system & cellular respiration
sci access 14th : presentation digestive system & cellular respiration sci access 14th : presentation digestive system & cellular respiration
sci access 14th : presentation digestive system & cellular respiration
Tanchanok Pps
 
ไส้เดือนดิน (IS-2)
ไส้เดือนดิน (IS-2)ไส้เดือนดิน (IS-2)
ไส้เดือนดิน (IS-2)
AmmyMoreen
 
ระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่ายระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่ายkrubua
 

Similar to Maintenance of Life (9)

404766008
404766008404766008
404766008
 
ระบบต่าง ๆ ในร่างกายมนุษย์
ระบบต่าง ๆ ในร่างกายมนุษย์ระบบต่าง ๆ ในร่างกายมนุษย์
ระบบต่าง ๆ ในร่างกายมนุษย์
 
ระบบย่อยอาหาร ระบบย่อยอาหาร ระบบย่อยอาหาร
ระบบย่อยอาหาร ระบบย่อยอาหาร ระบบย่อยอาหารระบบย่อยอาหาร ระบบย่อยอาหาร ระบบย่อยอาหาร
ระบบย่อยอาหาร ระบบย่อยอาหาร ระบบย่อยอาหาร
 
ติวสอบเตรียมประสาทฮอร์โมนพฤติ
ติวสอบเตรียมประสาทฮอร์โมนพฤติติวสอบเตรียมประสาทฮอร์โมนพฤติ
ติวสอบเตรียมประสาทฮอร์โมนพฤติ
 
ระบบต่างๆในร่างกายป.6
ระบบต่างๆในร่างกายป.6ระบบต่างๆในร่างกายป.6
ระบบต่างๆในร่างกายป.6
 
ระบบต่างๆในร่างกายป.6
ระบบต่างๆในร่างกายป.6ระบบต่างๆในร่างกายป.6
ระบบต่างๆในร่างกายป.6
 
sci access 14th : presentation digestive system & cellular respiration
sci access 14th : presentation digestive system & cellular respiration sci access 14th : presentation digestive system & cellular respiration
sci access 14th : presentation digestive system & cellular respiration
 
ไส้เดือนดิน (IS-2)
ไส้เดือนดิน (IS-2)ไส้เดือนดิน (IS-2)
ไส้เดือนดิน (IS-2)
 
ระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่ายระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่าย
 

Maintenance of Life