SlideShare a Scribd company logo
อาณาจักรสัตว (Kingdom Animalia)
Kingdom Animalia
มีวิวัฒนาการมาจากบรรพบุรุษพวกแฟลกเจลเลต
Kingdom Animalia
ลิ่นทะเล เปนสัตวโบราณที่ยังมีชีวิตอยู
Kingdom Animalia
เปนสิ่งมีชีวิตกลุมยูคาริโอตที่มีหลายเซลล ไมมีผนังเซลล เซลลจัดเรียงตัว
กันเปนเนื้อเยื่อ
เปนพวก heterotroph ไมสามารถสรางอาหารเองได
มีการพัฒนาของเซลลกลามเนื้อและเซลลประสาทเพื่อตอบสนอง
ตอสิ่งเราและการเคลื่อนไหว
มีการสืบพันธุทั้งแบบอาศัยเพศ และไมอาศัยเพศ
เชน การแตกหนอ (budding)
การงอกใหม (regeneration)
การแบงเปนสอง (binary fission)
เกณฑในการจัดจําแนกสัตว
1. เนื้อเยื่อ (tissue) แบงออกเปน 2 กลุม คือ
กลุมที่มีเนื้อเยื่อแทจริง (eumatazoa) ซึ่งเปนลักษณะของสัตวสวนใหญ
กลุมที่มีเนื้อเยื่อไมแทจริง (parazoa) ไดแก ฟองน้ํา
2. ลักษณะสมมาตร (symmetry) แบงออกเปน 2 ประเภท คือ
สมมาตรดานขางหรือสมมาตรแบบครึ่งซีก
(bilateral symmetry)
สมมาตรแบบรัศมี (radial symmetry)
เกณฑในการจัดจําแนกสัตว
3. การเปลี่ยนแปลงของบลาสโทพอร พบเฉพาะสัตวที่มีสมมาตรดานขาง มี 2 แบบ คือ
แบบดิวเทอโรสโทเมีย (deuterostomia) : บลาสโทพอรเปลี่ยนเปนทวารหนัก
แบบโพรโทสโทเมีย (protostomia) : บลาสโทพอรเปลี่ยนเปนชองปาก
เกณฑในการจัดจําแนกสัตว
4. การเจริญในระยะตัวออน พบในสัตวที่มีชองปากแบบโพรโทสโทเมีย แบงเปน 2 กลุม คือ
กลุมที่มีระยะตัวออนแบบเอ็กไดโซซัว (ecdysozoa)
กลุมที่มีระยะตัวออนแบบโทรโคฟอร (trochophore)
พบในหนอนตัวแบน ไสเดือนดิน ปลิง หอย หมึก
มีการลอกคราบในการเจริญเติบโต
พบในหนอนตัวกลมและอารโทพอด
เกณฑในการจัดจําแนกสัตว
5. โพรงลําตัว (coelom) แบงออกเปน 3 แบบ คือ
Pseudocoelomate : มีโพรงลําตัวแทรกอยู
ระหวางชั้น mesoderm และ endoderm
เชน สัตวใน Phylum Nematoda
Acoelomate : ไมพบโพรงลําตัว
เชน สัตวใน Phylum Platyhelminthes
Coelomate : มีโพรงลําตัวแทรกอยูใน
ชั้น mesoderm เปนสัตวกลุมที่มีโพรงลําตัวแทจริง
บรรพบุรุษของสัตว
ไมมีเนื้อเยื่อแทจริง
สมมาตรตามรัศมี
(radial symmetry)
ตัวออนมีการลอกคราบ
(ecdysozoa)
นีมาโทดา
(Nematoda)
มีเนื้อเยื่อแทจริง
พอริเฟอรา
(Porifera)
ไนดาเรีย
(Cnidaria)
สมมาตรดานขาง
(bilateral symmetry)
ชองปากแบบโพรโทสโทเมีย
(protostomia)
ชองปากแบบดิวเทอโรสโทเมีย
(deuterostomia)
ตัวออนแบบโทรโคฟอร
(trochophore)
อารโทรโพดา
(Arthropoda)
แพลทีเฮลมินทิส
(Platyhelminthes)
มอลลัสคา
(Mollusca)
แอนเนลิดา
(Annelida)
เอไคโนเดอรมาตา
(Echinodermata)
คอรดาตา
(Chordata)
บรรพบุรุษของสัตว
ไมมีเนื้อเยื่อแทจริง
สมมาตรตามรัศมี
(radial symmetry)
ตัวออนมีการลอกคราบ
(ecdysozoa)
นีมาโทดา
(Nematoda)
มีเนื้อเยื่อแทจริง
พอริเฟอรา
(Porifera)
ไนดาเรีย
(Cnidaria)
สมมาตรดานขาง
(bilateral symmetry)
ชองปากแบบโพรโทสโทเมีย
(protostomia)
ชองปากแบบดิวเทอโรสโทเมีย
(deuterostomia)
ตัวออนแบบโทรโคฟอร
(trochophore)
อารโทรโพดา
(Arthropoda)
แพลทีเฮลมินทิส
(Platyhelminthes)
มอลลัสคา
(Mollusca)
แอนเนลิดา
(Annelida)
เอไคโนเดอรมาตา
(Echinodermata)
คอรดาตา
(Chordata)
ไฟลัมพอริเฟอรา (Phylum Porifera)
มีโครงสรางรางกายไมซับซอน ไมมีเนื้อเยื่อที่แทจริง
ฟองน้ําสวนใหญมักไมมีสมมาตร (asymmetry)
ตัวเต็มวัยมักเกาะอยูกับที่ (sessile animal) สามารถรับรูและตอบสนอง
ตอการเปลี่ยนแปลงของสภาพแวดลอมได
Porifera มาจากภาษาละติน (porudus + ferre = pore + bearing)
หมายถึงสัตวที่มีรูพรุน “ฟองน้ํา (sponges)”
ไฟลัมพอริเฟอรา (Phylum Porifera)
รูเปดเล็ก ๆ ขางลําตัวเรียกวา ออสเทีย (Ostia)
ทําหนาที่เปนทางน้ําไหลเขาสูลําตัวฟองน้ํา
สวนรูเปดดานบนลําตัว เรียกวา ออสคิวลัม
(Osculum) ทําหนาที่เปนทางน้ําออก
ไมมีระบบหมุนเวียน ระบบหายใจ ระบบขับถาย
และระบบประสาท อาศัยการไหลเวียนน้ําเปน
ตัวการสําคัญในกระบวนการเหลานี้
ไฟลัมพอริเฟอรา (Phylum Porifera)
ไฟลัมพอริเฟอรา (Phylum Porifera)
การสืบพันธุแบบไมอาศัยเพศ
โดยการหักออกเปนชิ้น (fragmentation)
การสืบพันธุแบบอาศัยเพศ :
ฟองน้ํามี 2 เพศในตัวเดียวกัน (hermaphrodite)
ไฟลัมพอริเฟอรา (Phylum Porifera)
ฟองน้ํามีโครงรางแข็งค้ําจุนรางกาย เรียกวา spicule ซึ่งเปนสารประกอบ
ประเภทหินปูนหรือซิลิกา
บางชนิดมีเสนใยพิเศษเรียกวา spongin fiber
spicule spongin
ไฟลัมพอริเฟอรา (Phylum Porifera)
ฟองน้ําแกว ฟองน้ําหินปูน ฟองน้ําถูตัว
บรรพบุรุษของสัตว
ไมมีเนื้อเยื่อแทจริง
สมมาตรตามรัศมี
(radial symmetry)
ตัวออนมีการลอกคราบ
(ecdysozoa)
นีมาโทดา
(Nematoda)
มีเนื้อเยื่อแทจริง
พอริเฟอรา
(Porifera)
ไนดาเรีย
(Cnidaria)
สมมาตรดานขาง
(bilateral symmetry)
ชองปากแบบโพรโทสโทเมีย
(protostomia)
ชองปากแบบดิวเทอโรสโทเมีย
(deuterostomia)
ตัวออนแบบโทรโคฟอร
(trochophore)
อารโทรโพดา
(Arthropoda)
แพลทีเฮลมินทิส
(Platyhelminthes)
มอลลัสคา
(Mollusca)
แอนเนลิดา
(Annelida)
เอไคโนเดอรมาตา
(Echinodermata)
คอรดาตา
(Chordata)
ไฟลัมไนดาเรีย (Phylum Cnidaria)
สัตวในกลุมนี้บางชนิดอาศัยในน้ําเค็ม
ไฮดรา แมงกะพรุน ดอกไมทะเล
ปะการัง กัลปงหา
ไฮดรา แมงกะพรุน
มีเนื้อเยื่อ 2 ชั้น คือชั้น ectoderm และชั้น endoderm
พัฒนาไปเปนเยื่อบุผิวลําตัว (epidermis)
มีสมมาตรแบบรัศมี (radial symmetry)
บางชนิดอาศัยในน้ําจืด
พัฒนาไปเปนเยื่อบุทางเดินอาหาร (gastrodermis)
ไฟลัมไนดาเรีย (Phylum Cnidaria)
มีรูปราง 2 แบบ คือ
แบบที่คลายกับทรงกระบอกหรือตนไม เรียกวา โพลิบ (polyp)
แบบที่คลายรูประฆังคว่ํา เรียกวา เมดูซา (medusa)
ไฟลัมไนดาเรีย (Phylum Cnidaria)
มีทางเดินอาหารไมสมบูรณ มีชองเปดจากลําตัวชองเดียว
มีการลาเหยื่อโดยใชเทนทาเคิล
(tentacle) ที่เรียงอยูรอบชองปาก
โดยที่เทนทาเคิลจะมีไนโดไซต
(cnidocyte) เมื่อมีเหยื่อมาสัมผัส
ไนโดไซตจะปลดปลอยเข็มพิษ
(nematocyst) ใชเพื่อจับเหยื่อหรือ
ปองกันตัว
ไฟลัมไนดาเรีย (Phylum Cnidaria)
อาหารจะผานไปยังทอทางเดินอาหาร
(gastrovascular cavity) เซลลเยื่อบุ
ทอทางเดินอาหาร จะหลั่งเอนไซม
ออกมายอยอาหาร
ไฟลัมไนดาเรีย (Phylum Cnidaria)
มีการสืบพันธุแบบไมอาศัยเพศโดยการแตกหนอ (budding) หรือการแบง
ออกเปนสวน (fission)
การสืบพันธุแบบอาศัยเพศ มีทั้งกลุมที่มีสองเพศในตัวเดียวกัน และกลุมที่
แยกเพศ โดยมีการปฏิสนธิภายนอก (external fertilization)
ไฟลัมไนดาเรีย (Phylum Cnidaria)
ไฟลัมไนดาเรีย (Phylum Cnidaria)
แมงกะพรุน
ไฟลัมไนดาเรีย (Phylum Cnidaria)
ไฮดรา
ไฟลัมไนดาเรีย (Phylum Cnidaria)
ปะการัง
ไฟลัมไนดาเรีย (Phylum Cnidaria)
ดอกไมทะเล (sea anemone)
ไฟลัมไนดาเรีย (Phylum Cnidaria)
กัลปงหา
บรรพบุรุษของสัตว
ไมมีเนื้อเยื่อแทจริง
สมมาตรตามรัศมี
(radial symmetry)
ตัวออนมีการลอกคราบ
(ecdysozoa)
นีมาโทดา
(Nematoda)
มีเนื้อเยื่อแทจริง
พอริเฟอรา
(Porifera)
ไนดาเรีย
(Cnidaria)
สมมาตรดานขาง
(bilateral symmetry)
ชองปากแบบโพรโทสโทเมีย
(protostomia)
ชองปากแบบดิวเทอโรสโทเมีย
(deuterostomia)
ตัวออนแบบโทรโคฟอร
(trochophore)
อารโทรโพดา
(Arthropoda)
แพลทีเฮลมินทิส
(Platyhelminthes)
มอลลัสคา
(Mollusca)
แอนเนลิดา
(Annelida)
เอไคโนเดอรมาตา
(Echinodermata)
คอรดาตา
(Chordata)
ไฟลัมแพลทีเฮลมินทิส (Phylum Platyhelminthes)
สิ่งมีชีวิตในไฟลัมนี้เรียกรวมกันวา “หนอนตัวแบน (flat worm)”
มีขนาดแตกตางกัน มีทั้งที่ไมสามารถมองเห็นดวยตาเปลาและสามารถมองเห็น
ไดดวยตาเปลา
มีเนื้อเยื่อ 3 ชั้น และเปนสัตวกลุมที่ไมมีโพรงลําตัว (acoemate)
ไฟลัมแพลทีเฮลมินทิส (Phylum Platyhelminthes)
มีทางเดินอาหารไมสมบูรณ ทางเดินอาหารมีการแตกแขนงเพื่อใหสามารถ
ลําเลียงอาหารไปยังเซลลแตละเซลลได
ในพยาธิตัวตืดจะไมมีทางเดินอาหารแตจะใชกระบวนการแพรของสารอาหาร
ที่ยอยแลวเขาสูรางกาย
ไฟลัมแพลทีเฮลมินทิส (Phylum Platyhelminthes)
เริ่มมีการพัฒนาระบบประสาท โดยมีการรวมกลุมของเซลลประสาทบริเวณ
หัว (cerebral ganglion) และมีเสนประสาทเรียงมาสองเสนทางดานทอง
เรียกวา longitudinal nerve cord และมีเสนประสาทเรียงเปนวงรอบ
เสนประสาททางดานทองทั้งสองเสน เรียกวา transverse nerve
ไฟลัมแพลทีเฮลมินทิส (Phylum Platyhelminthes)
มีการสืบพันธุแบบไมอาศัยเพศโดยการงอกใหม (regeneration)
ไฟลัมแพลทีเฮลมินทิส (Phylum Platyhelminthes)
การสืบพันธุแบบอาศัยเพศ โดยหนอนตัวแบนจะมีสองเพศในตัวเดียวกัน
(hermaphrodite) แตจะตองมีการปฏิสนธิขามตัว (cross fertilization)
ยกเวนในพยาธิตัวตืดที่มีการปฏิสนธิในตัวเดียวกันได (self-fertilization)
หนอนตัวแบนบางชนิดดํารงชีวิตแบบอิสระ เชน พลานาเรีย
ไฟลัมแพลทีเฮลมินทิส (Phylum Platyhelminthes)
สวนใหญดํารงชีวิตเปนปรสิต
พยาธิใบไม (Fluke worm)
พยาธิใบไมในตับคน
(Clonorchis sinesis)
พยาธิตัวตืด (Tapeworm)
พยาธิใบไมในเลือด
(Schistosoma sp.)
พยาธิตืดหมู
(Taenia solium)
ไฟลัมมอลลัสคา (Phylum Mollusca)
สัตวในกลุมนี้ไดแก ลิ่นทะเล หอยฝาเดียว หอยสองฝา หอยงาชาง หอยงวงชาง
ทากเปลือย หมึกชนิดตาง ๆ
ลิ่นทะเล หอยทาก หอยเชอรี่
ไฟลัมมอลลัสคา (Phylum Mollusca)
สัตวในกลุมนี้ไดแก ลิ่นทะเล หอยฝาเดียว หอยสองฝา หอยงาชาง หอยงวงชาง
ทากเปลือย หมึกชนิดตาง ๆ
หอยนางรม หอยแครง หอยกาบ
ไฟลัมมอลลัสคา (Phylum Mollusca)
สัตวในกลุมนี้ไดแก ลิ่นทะเล หอยฝาเดียว หอยสองฝา หอยงาชาง หอยงวงชาง
ทากเปลือย หมึกชนิดตาง ๆ
หอยงาชาง หอยงวงชาง ทากเปลือยหรือทากทะเล
ไฟลัมมอลลัสคา (Phylum Mollusca)
สัตวในกลุมนี้ไดแก ลิ่นทะเล หอยฝาเดียว หอยสองฝา หอยงาชาง หอยงวงชาง
ทากเปลือย หมึกชนิดตาง ๆ
หมึกกลวย หมึกยักษ หมึกกระดอง
ไฟลัมมอลลัสคา (Phylum Mollusca)
มีสมมาตรดานขาง (bilateral symmetry)
มีโพรงลําตัวแบบแทจริง (coelomate)
มีรูปแบบการเจริญเติบโตแบบ protostome
ตัวออนเปนแบบ trochophore larva
ไฟลัมมอลลัสคา (Phylum Mollusca)
เปนสัตวที่มีลําตัวนิ่มแตสามารถสรางเปลือกแข็งที่มีสารประกอบแคลเซียม
คารบอเนตมาหอหุมลําตัว
มีแมนเทิล (mantle)
ทําหนาที่สรางเปลือกหุมลําตัว
อวัยวะภายในที่มักอยูรวมกัน
เรียกวา visceral mass
ไฟลัมมอลลัสคา (Phylum Mollusca)
Mantle
พวกหมึกตาง ๆ เปลือกจะลดรูปเปน
โครงรางแข็งที่อยูภายใน เชน แกนใสของ
หมึกกลวย แตหมึกยักษจะไมพบโครงรางแข็ง
ไฟลัมมอลลัสคา (Phylum Mollusca)
มีการไหลเวียนของน้ําเพื่อแลกเปลี่ยนแกสโดยใชเหงือก
สวนใหญเปนระบบหมุนเวียนเลือดแบบเปด (open circulatory system)
ยกเวนพวกหมึกที่จะมีระบบหมุนเวียนเลือดแบบปด (closed circulatory system)
ไฟลัมมอลลัสคา (Phylum Mollusca)
มีการสืบพันธุแบบอาศัยเพศเปนหลัก สวนใหญมีเพศแยกออกจากกัน
มีการดํารงชีวิตหลายแบบ บางชนิดกินพืช เชน หอยเชอรี่กัดกินตนขาว
บางชนิดกินสัตว เชน หมึกผูลาสัตวอื่น และบางชนิดกินทั้งพืช สัตว และ
แพลงกตอน เชน หอยสองฝา
หอยน้ําจืดหลายชนิด
เชน หอยโขง หอยขม
เปนพาหะนําพยาธิมาสูคน
ไฟลัมมอลลัสคา (Phylum Mollusca)
หอยบางชนิดอาจทําอันตรายแกมนุษยได เชน หอยเตาปูน มีโครงสราง
เปลี่ยนแปลงไป มีลักษณะคลายเข็มและมีถุงน้ําพิษ ทําใหคนถูกพิษเปนอัมพาต
ไฟลัมแอนเนลิดา (Phylum Annelida)
สัตวในไฟลัมนี้อาศัยอยูในทะเล น้ําจืด และบนพื้นดินบริเวณที่ชื้นแฉะ
แมเพรียง ไสเดือนดิน
ปลิงน้ําจืด
ทากดูดเลือด
ไฟลัมแอนเนลิดา (Phylum Annelida)
มีสมมาตรดานขาง และมีรูปแบบการเจริญเติบโตแบบ protostome
สัตวในกลุมนี้มีขอปลองชัดเจน ภายในมีเยื่อกั้น (septum)
ตัวออนเปนแบบ trochophore larva
สวนใหญจะมีขนหรือเดือย (setae)
ซึ่งชวยในการเคลื่อนที่
setae
ไฟลัมแอนเนลิดา (Phylum Annelida)
มีทอทางเดินอาหารแบบสมบูรณ โดยในกลุมไสเดือนดินจะมีกึ๋น (gizzard) และกระเพาะ
พักอาหาร (crop) เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการยอยอาหาร
มีระบบหมุนเวียนเลือดแบบปด แตละชนิดมีการแลกเปลี่ยนแกสแตกตางกันขึ้นอยูกับ
บริเวณที่อาศัยอยู
มีการขับถายโดยใชเมตาเนฟริเดีย (metanephridia)
สวนใหญมีการสืบพันธุแบบอาศัยเพศ โดยไสเดือนทะเลเปนสัตวที่มีการแยกเพศ
และปฏิสนธิภายนอก สวนไสเดือนดินและทากดูดเลือดจะมีสองเพศในตัวเดียวกัน
(hermaphrodite) และมีการปฏิสนธิภายในรางกาย
ไฟลัมแอนเนลิดา (Phylum Annelida)
ไฟลัมแอนเนลิดา (Phylum Annelida)
มีปมประสาทบริเวณหัวหรือสมอง (cerebral ganglion or
brain)
มีเสนประสาททางดานทอง (ventral nerve cord) และแตละ
ปลองมีปมประสาท (segmental ganglia)
กลามเนื้อมี 2 ชุด คือ
• กลามเนื้อวง (circular muscle)
• กลามเนื้อตามยาว (longitudinal
muscle)
ไฟลัมแอนเนลิดา (Phylum Annelida)
ปลิงและทากเปนสัตวที่ดํารงชีวิตเปนปรสิตชั่วคราว โดยการดูดเลือดของสัตวอื่น
เมื่อใชเขี้ยวกัดผิวหนังโฮสต ปลิงและทากจะปลอยสารคลายยาชาทําใหไมรูสึกเจ็บ
และปลอยสารฮิรูดิน (Hirudin) เพื่อปองกันไมใหเลือดของโฮสตแข็งตัว
ไฟลัมแอนเนลิดา (Phylum Annelida)
บรรพบุรุษของสัตว
ไมมีเนื้อเยื่อแทจริง
สมมาตรตามรัศมี
(radial symmetry)
ตัวออนมีการลอกคราบ
(ecdysozoa)
นีมาโทดา
(Nematoda)
มีเนื้อเยื่อแทจริง
พอริเฟอรา
(Porifera)
ไนดาเรีย
(Cnidaria)
สมมาตรดานขาง
(bilateral symmetry)
ชองปากแบบโพรโทสโทเมีย
(protostomia)
ชองปากแบบดิวเทอโรสโทเมีย
(deuterostomia)
ตัวออนแบบโทรโคฟอร
(trochophore)
อารโทรโพดา
(Arthropoda)
แพลทีเฮลมินทิส
(Platyhelminthes)
มอลลัสคา
(Mollusca)
แอนเนลิดา
(Annelida)
เอไคโนเดอรมาตา
(Echinodermata)
คอรดาตา
(Chordata)
ไฟลัมนีมาโทดา (Phylum Nematoda)
เปนสัตวที่พบอยูทั่วไปในน้ําจืด น้ําเค็มและพื้นดินชื้นแฉะ
สวนใหญดํารงชีวิตแบบอิสระ เชน ไสเดือนฝอย
บางชนิดดํารงชีวิตเปนปรสิต เชน พยาธิไสเดือน พยาธิปากขอ พยาธิเสนดาย
ไฟลัมนีมาโทดา (Phylum Nematoda)
มีลําตัวรูปทรงกระบอก ไมมีปลองบริเวณลําตัว จึงเรียกสัตวกลุมนี้วา
“หนอนตัวกลม (round worm)”
มีชั้นคิวทิเคิล (cuticle) หอหุมรางกายเพื่อปองกันการสูญเสียน้ํา และทําให
มีการลอกคราบระหวางการเจริญเติบโต
ไฟลัมนีมาโทดา (Phylum Nematoda)
มีทางเดินอาหารสมบูรณ
ไมมีระบบหมุนเวียนเลือด
ลําเลียงสารอาหารโดยของเหลวภายในชองลําตัวเทียม (pseudocoelom)
พบเฉพาะกลามเนื้อตามยาว (longitudinal muscle)
ไฟลัมอารโทรโพดา (Phylum Arthropoda)
เปนสัตวที่พบจํานวนมาก จําแนกไดมากกวาลานสปชีส สวนใหญเปน “แมลง”
มีลําตัวเปนปลอง รยางคเปนขอ ๆ ตอกัน
รยางคเปนลักษณะพิเศษปรับเปลี่ยนใหทําหนาที่ไดหลายอยาง
เดิน
จับอาหาร
รับความรูสึก
ผสมพันธุ
ปองกันอันตราย
ไฟลัมอารโทรโพดา (Phylum Arthropoda)
มีโครงรางเปนเปลือกแข็งภายนอกประกอบไปดวยสาร chitin
มีการลอกคราบจากระยะตัวออนเปนตัวเต็มวัย
มีระบบประสาทและอวัยวะรับสัมผัสที่เจริญ มีศูนยรวมระบบประสาทอยูที่หัว
ไฟลัมอารโทรโพดา (Phylum Arthropoda)
มีระบบหมุนเวียนเลือดแบบเปด (open circulatory system)
กลุมที่อยูในน้ําจะมีการแลกเปลี่ยนแกสผานเหงือก (gill) สวนกลุมที่อยูบนบก
จะมีการแลกเปลี่ยนแกสผานทางทอลม (tracheal tube) หรืออวัยวะที่มี
ลักษณะคลายปอด
กลุมที่อยูบนบกขับถายผานทาง Mulpighian tubule สวนกลุมที่อยูในน้ํา
ขับถายผาน green gland
ไฟลัมอารโทรโพดา (Phylum Arthropoda)
มีการสืบพันธุแบบอาศัยเพศที่มีเพศแยก และมีการปฏิสนธิภายในรางกาย
เมื่อเกิดการปฏิสนธิแลวตัวออนมักมีการเจริญเติบโตแบบเมทามอรโฟซิส
(metamorphosis)
ไฟลัมอารโทรโพดา (Phylum Arthropoda)
คลาสเมอโรสโตมาตา (Class Merostomata)
“แมงดาทะเล (horseshoe crabs)”
ปจจุบันเหลือเพียง 3 จีนัส 4 สปชีส
ลําตัวแบงออกเปน 2 สวน
หัว+อก
(cephalothorax)
ทอง
(abdomen)
 สวนหัวและอกรวมกัน (cephalothorax)
 สวนทอง (abdomen)
มีรยางคคูแรกชวยในการกินอาหาร
มีขาเดิน 5 คู
ไฟลัมอารโทรโพดา (Phylum Arthropoda)
ในประเทศไทยพบ 2 สปชีส
แมงดาหางเหลี่ยมหรือแมงดาจาน แมงดาหางกลมหรือแมงดาถวย
ไฟลัมอารโทรโพดา (Phylum Arthropoda)
แมงปอง แมงมุม เห็บ ไร
คลาสอะแรคนิดา (Class Arachnida)
ไฟลัมอารโทรโพดา (Phylum Arthropoda)
มีสวนหัวและอกรวมกัน (cephalothorax)
มีรยางค 6 คู
คู 1 และ 2 จับ
อาหารและรับสัมผัส
ขาเดิน 4 คู
“แมงมุม”
“แมงปอง”
ไฟลัมอารโทรโพดา (Phylum Arthropoda)
กิ้งกือ (millipede) ตะเข็บ
คลาสไดโพลโพดา (Class Diplopoda)
ลําตัวมีปลองจํานวนมาก มีรยางคปลองละ 2 คู
บริเวณหัวมีหนวด 1 คู
ไฟลัมอารโทรโพดา (Phylum Arthropoda)
คลาสชิโลโพดา (Class Chilopoda)
ตะขาบ (centipede)
ลําตัวแบน มีรยางคปลองละ 1 คู
บริเวณหัวมีหนวด 1 คู ปลองแรกของลําตัว
มีเขี้ยวพิษ 1 คูแนบกับสวนหัว
ไฟลัมอารโทรโพดา (Phylum Arthropoda)
คลาสอินเซ็คตา (Class Insecta)
แมลงชนิดตาง ๆ
มีลําตัว 3 สวน คือ สวนหัว (head) สวนอก (thorax) และสวนทอง (abdomen)
มีขา 3 คู อยูบริเวณอก
มีปก 1-2 คู
มีหนวด 1 คู
แมลงมีทางเดินอาหาร 3 สวน คือ สวนตน (foregut) สวนกลาง (midgut)
และสวนทาย (hindgut)
สรางเอนไซมยอย
อาหารและชวยดูดซึม
สารอาหาร
ขับถายของเสีย
การกําจัดแมลงที่เปนศัตรูพืช
ตัวเบียน (parasite) ตัวห้ํา (predator)
แมลงที่เบียดเบียนเหยื่อ จนกระทั่งเหยื่อตาย
การเปนตัวเบียนจะเปนเฉพาะชวงตัวออนเทานั้น
แมลงที่กินแมลงชนิดอื่น ๆ เปนอาหาร
ทําลายเหยื่อไดทุกระยะในวัฏจักรชีวิต
การกําจัดแมลงที่เปนศัตรูพืช
เชื้อโรค (insect pathogens)
เชน เชื้อรา แบคทีเรีย ที่ทําใหแมลงตายได
ไฟลัมอารโทรโพดา (Phylum Arthropoda)
คลาสครัสตาเชีย (Class Crustacea)
กุง กั้ง ปู ไรน้ํา
คลาสครัสตาเชีย (Class Crustacea)
มีรยางคจํานวนมากทําหนาที่พิเศษหลายอยาง
มีหนวด 2 คู
รยางคสวนอก
รยางคสวนทอง
ขับถายผานทาง green gland
บรรพบุรุษของสัตว
ไมมีเนื้อเยื่อแทจริง
สมมาตรตามรัศมี
(radial symmetry)
ตัวออนมีการลอกคราบ
(ecdysozoa)
นีมาโทดา
(Nematoda)
มีเนื้อเยื่อแทจริง
พอริเฟอรา
(Porifera)
ไนดาเรีย
(Cnidaria)
สมมาตรดานขาง
(bilateral symmetry)
ชองปากแบบโพรโทสโทเมีย
(protostomia)
ชองปากแบบดิวเทอโรสโทเมีย
(deuterostomia)
ตัวออนแบบโทรโคฟอร
(trochophore)
อารโทรโพดา
(Arthropoda)
แพลทีเฮลมินทิส
(Platyhelminthes)
มอลลัสคา
(Mollusca)
แอนเนลิดา
(Annelida)
เอไคโนเดอรมาตา
(Echinodermata)
คอรดาตา
(Chordata)
ไฟลัมเอไคโนเดอรมาตา (Phylum Echinodermata)
ดาวทะเล ปลิงทะเล พลับพลึงทะเล ดาวขนนก ดาวมงกุฎหนาม
ไฟลัมเอไคโนเดอรมาตา (Phylum Echinodermata)
ไฟลัมเอไคโนเดอรมาตา (Phylum Echinodermata)
พบในทะเลทั้งหมด เปนสัตวที่มีโครงรางแข็ง ผิวชั้นนอกบางเปนชั้นคิวทิน
ผิวชั้นนอกบางเปนชั้นคิวทิน
ผิวชั้นในผนังหนาประกอบไปดวยแผน
แคลเซียมคารบอเนตหุมโครงรางแข็ง
ไฟลัมเอไคโนเดอรมาตา (Phylum Echinodermata)
สวนใหญลําตัวเปนแฉก บางชนิดผิวลําตัวมีหนามยื่นออกมา
ไฟลัมเอไคโนเดอรมาตา (Phylum Echinodermata)
มีระบบน้ํา ซึ่งมีความสําคัญ
เกี่ยวของกับการเคลื่อนที่
การลําเลียงสารอาหารและ
ของเสียไปยังสวนตาง ๆ
ของรางกาย
มีการแลกเปลี่ยนแกสผานเหงือก
ที่อยูบริเวณผิว (dermal papillae)
ไฟลัมเอไคโนเดอรมาตา (Phylum Echinodermata)
Tube feet โครงสรางที่ใชในการเคลื่อนที่
ไฟลัมเอไคโนเดอรมาตา (Phylum Echinodermata)
การสืบพันธุแบบไมอาศัยเพศโดยการงอกใหม (regeneration)
ไฟลัมเอไคโนเดอรมาตา (Phylum Echinodermata)
การสืบพันธุแบบอาศัยเพศสวนใหญมีการแยกเพศและปฏิสนธิภายนอก
รางกาย
ตัวเต็มวัยมีสมมาตรแบบรัศมี
เปลี่ยนแปลงรูปราง
ตัวออนมีสมมาตรดานขาง
ไฟลัมเอไคโนเดอรมาตา (Phylum Echinodermata)
ไฟลัมคอรดาตา (Phylum Chordata)
ลักษณะสําคัญที่พบในวัฏจักรชีวิตในระยะเอ็มบริโอ มีดังนี้
1. การมีโนโตคอรด (notochord)
ลักษณะเปนแทงยาวตลอดความยาวของลําตัว
มีความยืดหยุนตัวดี อยูระหวางทางเดินอาหาร
และทอประสาท เปนลักษณะที่พบในระยะ
เอ็มบริโอของสัตวในไฟลัมคอรดาตาทุกชนิด
และในบางชนิดยังพบในระยะตัวเต็มวัย เชน
แอมฟออกซัส (amphioxus) และปลาปากกลม
ไฟลัมคอรดาตา (Phylum Chordata)
ลักษณะสําคัญที่พบในวัฏจักรชีวิตในระยะเอ็มบริโอ มีดังนี้
2. การมีเสนประสาทกลวงดานหลัง (dorsal hollow nerve cord)
เสนประสาทกลวงดานหลังเจริญมาจาก
เนื้อเยื่อชั้น ectoderm พบบริเวณดานหลัง
เหนือโนโตคอรดในระยะเอ็มบริโอ ซึ่งจะ
พัฒนาตอไปเปนสมองและไขสันหลังใน
ระยะตัวเต็มวัย
ไฟลัมคอรดาตา (Phylum Chordata)
ลักษณะสําคัญที่พบในวัฏจักรชีวิตในระยะเอ็มบริโอ มีดังนี้
3. การมีชองเหงือกอยูบริเวณคอหอย (pharyngeal slit)
โดยอยูเปนคู ๆ ทําหนาที่กรองน้ําที่ไหลผานเขามา
และมีการปรับเปลี่ยนไปทําหนาที่อื่น ๆ ในระยะตัวเต็ม
วัย เชน เปนทอยูสเตเชียน ตอมทอนซิล ตอมไทรอยด
และพาราไทรอยดในคน แตในสัตวบางชนิด
เชน ฉลาม กระเบน จะยังมีชองเหงือกอยูตลอดชีวิต
ไฟลัมคอรดาตา (Phylum Chordata)
ลักษณะสําคัญที่พบในวัฏจักรชีวิตในระยะเอ็มบริโอ มีดังนี้
4. การมีหาง (Postanal tail)
เปนสวนที่อยูถัดจากทวารหนักบริเวณดาน
ทายลําตัว โดยมีองคประกอบเปนกลามเนื้อ
สวนของหางอาจลดรูปไปเหลือเพียงกระดูก
ขนาดเล็ก เชน กระดูกกนกบของมนุษย
ไฟลัมคอรดาตา (Phylum Chordata)
ลักษณะสําคัญที่พบในวัฏจักรชีวิตในระยะเอ็มบริโอ มีดังนี้
5. การมี endostyle
ทําหนาที่ในการสะสมไอโอดีน
ไฟลัมคอรดาตา (Phylum Chordata)
สัตวในไฟลัมคอรดาตาแบงออกเปน 2 กลุม คือ สัตวที่ไมมีกระดูกสันหลังและสัตวที่มีกระดูกสันหลัง
สัตวในไฟลัมคอรดาตาที่ไมมีกระดูกสันหลัง
เปนสัตวที่มีถุงหุมลําตัว
ประกอบดวยสารคลายเซลลูโลส
ตัวเต็มวัยไมมีโนโทคอรด ไมมีเสน
ใยประสาทขนาดใหญ บริเวณหลัง
และหางจะหดหายไปในระยะตัว
เต็มวัย เชน เพรียงหัวหอม
: ไมมีโครงสรางแข็งค้ําจุนภายในรางกาย
ยูโรคอรเดต (Urochordate)
โครงสรางตัวเต็มวัย โครงสรางตัวออน
ไฟลัมคอรดาตา (Phylum Chordata)
เปนสัตวที่ระยะตัวเต็มวัยมีทอประสาทขนาดใหญที่บริเวณหลัง
มีโนโทคอรดยาวตลอดลําตัวและมีตลอดชีวิต มีชองเหงือกและหาง ไดแก
แอมฟออกซัส (Amphioxus) ซึ่งมีขนาดเล็กอยูในน้ําตื้นชายฝงทะเล
เซฟาโลคอรเดต (Cephalochordate)
สัตวในไฟลัมคอรดาตาที่ไมมีกระดูกสันหลัง
ไดแก ปลาไมมีขากรรไกร สวนใหญจะสูญพันธุไปแลว ที่พบในปจจุบัน คือปลาปากกลม ไดแก แฮกฟช
(hagfish) เปนปรสิตภายนอกของปลาหลายชนิด และแลมเพรย (lamprey) มีรูปรางคลายปลาไหล
มีโครงรางเปนกระดูกออนและไมมีครีบคูเหมือนปลาทั่วไป
สัตวในไฟลัมคอรดาตาที่มีกระดูกสันหลัง (vertebrate)
แบงเปน 2 กลุม คือ สัตวมีกระดูกสันหลังที่ไมมีขากรรไกรและสัตวมีกระดูกสันหลังที่มีขากรรไกร
สัตวมีกระดูกสันหลังที่ไมมีขากรรไกร
hagfish lamprey
มีขากรรไกรและครีบคูที่เจริญดี เชน ฉลาม กระเบน
สัตวมีกระดูกสันหลังที่มีขากรรไกร
กําเนิดขึ้นเมื่อประมาณ450-425 ลานปที่ผานมา ปลายยุคซิลูเรียนและตนยุคดีโวเนียน
ปลามีขากรรไกรที่พบในปจจุบันมี 2 กลุม คือ ปลากระดูกออนและปลากระดูกแข็ง
คลาสคอนดริคไทอิส (Class Chondrichthyes)
เรียกสัตวคลาสนี้วา “ปลากระดูกออน” มีโครงรางเปนกระดูกออนที่ยืดหยุนตัวดี
แลกเปลี่ยนกาซโดยใชเหงือกภายนอก
มีการปฏิสนธิภายในและออกลูกเปนตัว
มีเกล็ดคมปกคลุมผิวหนัง
สวนใหญมีการปฏิสนธิภายนอก
คลาสออสติอิคไทอิส (Class Osteicthyes)
สัตวมีกระดูกสันหลังที่มีขากรรไกร
เรียกสัตวคลาสนี้วา “ปลากระดูกแข็ง”
พบดํารงชีวิตทั้งในน้ําจืดและน้ําเค็ม
มีโครงรางภายในเปนกระดูกแข็งที่มีสารประกอบแคลเซียมฟอสเฟต
สวนใหญผิวหนังมีเกล็ดปกคลุม
มีครีบคู 2 คู คือ ครีบอกและครีบสะโพก
หายใจโดยใชเหงือกโดยมีแผนปดเหงือก (operculum)
มีถุงลม (air bladder) ชวยควบคุมการลอยตัวในน้ํา
ปลากระดูกแข็งสวนใหญในปจจุบันดํารงชีวิตในน้ํา โดยอาศัยแกสออกซิเจนที่ละลายในน้ํา แตมีปลา
กระดูกแข็ง 2 กลุมคือ ปลาที่มีครีบเนื้อและปลาปอด ที่สามารถหายใจจากอากาศไดในชวงเวลาสั้นๆ
ปลาทั้ง 2 นี้เปนที่สนับสนุนการเกิดวิวัฒนาการเพื่อมาดํารงชีวิตบนพื้นดิน โดยพัฒนาถุงลมมาเปนปอด
และครีบอกพัฒนาเปนขาในสัตวบก
คลาสออสติอิคไทอิส (Class Osteicthyes)
สัตวมีกระดูกสันหลังที่มีขากรรไกร
ปลาปอด ปลาที่มีครีบเนื้อ (ปลา coelacanth)
ตัวออนอาศัยอยูในน้ําและหายใจดวยเหงือกภายนอก
เมื่อเจริญเปนตัวเต็มวัยจะดํารงชีวิตบนบกและใชปอดหายใจ
ยกเวนซาลามานเดอรบางชนิดที่อาศัยอยูในน้ําตลอดชีวิต
คลาสแอมฟเบีย (Class Amphibia)
สัตวมีกระดูกสันหลังที่มีขากรรไกร
เรียกสัตวในคลาสนี้วา “สัตวสะเทินน้ําสะเทินบก (amphibain)”
แบงเปน 3 กลุม คือ กลุมซาลามานเดอร กลุมกบ และกลุมงูดิน
เปนสัตวเลือดเย็นมีผิวหนังเปยกชื้นทําหนาที่แลกเปลี่ยนแกส ไมมีเกล็ดปกคลุม
มีการปฏิสนธิภายนอก
คลาสแอมฟเบีย (Class Amphibia)
สัตวมีกระดูกสันหลังที่มีขากรรไกร
มีการปฎิสนธิภายในรางกายเพศเมีย แลวสรางเปลือกมาหอหุมไขและวางไขภายนอก
คลาสเรปทิเลีย (Class Reptilia)
สัตวมีกระดูกสันหลังที่มีขากรรไกร
เรียกสัตวในคลาสนี้วา “สัตวเลื้อยคลาน (reptile)”
เปนสัตวมีกระดูกสันหลังกลุมแรกที่ดํารงชีวิตบนบกอยางแทจริง
มีผิวหนังที่ปกคลุมดวยเคราติน (keratin)
มีการหายใจโดยใชปอด
คลาสเอเวส (Class Aves)
สัตวมีกระดูกสันหลังที่มีขากรรไกร
เรียกสัตวในคลาสนี้วา “สัตวปก”
มีวิวัฒนาการมาจากสัตวเลื้อยคลาน ในชวงมหายุคมีโซโซอิก
โดยพบซากดึกดําบรรพของ อารคีออพเทริกซ (Archaeopteryx)
แตวามีขนเหมือนขนนก อารคีออพเทริกซมีบรรพบุรุษรวมกัน
กับนกในปจจุบัน
ลักษณะเหมือนสัตวเลื้อยคลาน คือ
- มีเกล็ดที่ขา
- มีกรงเล็บ
- มีฟน
- มีหางยาว
นกเปนสัตวเลือดอุน มีการปรับเปลี่ยนรูปรางที่ชวยในการบินไดอยางมีประสิทธิภาพ โดยกระดูกมี
รูพรุน ทําใหมีน้ําหนักเบาแตแข็งแรง มีการปฏิสนธิภายในและออกลูกเปนไข
คลาสเอเวส (Class Aves)
สัตวมีกระดูกสันหลังที่มีขากรรไกร
ขนที่มีลักษณะเปนแผง (feather) โครงสรางกระดูกของนก
คลาสเอเวส (Class Aves)
สัตวมีกระดูกสันหลังที่มีขากรรไกร
นกเจาฟาหญิงสิรินธร (สูญพันธุแลว) นกเงือก (ใกลสูญพันธุ)
คลาสแมมมาเลีย (Class Mammalia)
สัตวมีกระดูกสันหลังที่มีขากรรไกร
เรียกสัตวในคลาสนี้วา “สัตวเลี้ยงลูกดวยนม (mammal)”
มีวิวัฒนาการมาจากสัตวเลื้อยคลาน สัตวเลี้ยงลูกดวยนมเริ่มแพรกระจายอยางรวดเร็ว
เมื่อไดโนเสารเริ่มสูญพันธุ
สัตวเลี้ยงลูกดวยนมในเพศเมียทุกชนิดมีตอมน้ํานมทําหนาที่ผลิตน้ํานมสําหรับเลี้ยงลูกออน
มีขนปกคลุมตัว
มีการปฏิสนธิภายในรางกายและสวนใหญออกลูกเปนตัว
เปนสัตวเลือดอุนอุณหภูมิรางกายจึงคอนขางคงที่
สัตวเลี้ยงลูกดวยนมแบงเปน 3 กลุมใหญ
กลุมมอโนทรีม (Monotremes)
กลุมมาซูเพียล (Marsupials)
กลุมยูเทเรียน (Eutherians)
เปนสัตวเลี้ยงลูกดวยนมที่มีลักษณะโบราณคือ ออกลูกเปนไข แตมีขนและตอมน้ํานม
คลาสแมมมาเลีย (Class Mammalia)
สัตวมีกระดูกสันหลังที่มีขากรรไกร
: กลุมมอโนทรีม (Monotremes)
ตัวออนฟกออกจากไขแลวจะเลียน้ํานมบริเวณหนาทองของแมกิน
ตุนปากเปดพบไดเฉพาะในประเทศออสเตรเลีย ตัวกินมดหนามพบเฉพาะประเทศนิวกินี
สัตวกลุมนี้จะตั้งทองในระยะเวลาที่สั้นมาก ทําใหลูกออนที่คลอดออกมามีขนาดเล็กและจะคลานไปยัง
ถุงหนาทองของแมซึ่งภายในจะมีตอมน้ํานม มีหัวนมใหลูกดูดนม ลูกจะอยูในถุงหนาทองจนกวา
จะเจริญเติบโตเต็มที่จึงจะออกจากถุงหนาทองของแม
คลาสแมมมาเลีย (Class Mammalia)
สัตวมีกระดูกสันหลังที่มีขากรรไกร
: กลุมมาซูเพียล (Marsupials)
จิงโจ โคอาลา โอพอสซัม
สัตวในกลุมยูเทเรียน ไดแก สัตวเลี้ยงลูกดวยนมสวนใหญ รวมทั้งกลุมไพรเมต (Primate)
คลาสแมมมาเลีย (Class Mammalia)
สัตวมีกระดูกสันหลังที่มีขากรรไกร
: กลุมยูเทเรียน (Eutherians)
เปนสัตวเลี้ยงลูกดวยนมที่มี “รก”
มีระยะการตั้งทองนานกวามาซูเพียล โดยตัวออนจะเจริญภายในมดลูกและรับสารอาหาร
จากแมผานรก
“ไพรเมต (primate)”เปนสัตวที่อาศัยบนตนไมเปนสวนใหญ สัตวกลุมนี้มีมือและเทาใชยึดเกาะ
นิ้วหัวแมมือพับขวางได มีสมองขนาดใหญ มีขากรรไกรสั้น ทําใหใบหนาแบนมีพฤติกรรมทางสังคม
ซับซอนยิ่งขึ้น
แอนโทรพอยด (Anthropoid)
กลุมไพรเมตมีวิวัฒนาการแบงเปน 2 สาย
โพรซิเมียน (Prosimian)
วิวัฒนาการของไพรเมต
โพรซิเมียน เปนสัตวกลุมไพรเมตระยะแรกเริ่มที่อาศัยอยูบนตนไม ลําตัวเล็ก
ตากลมโต มีนิ้วมือ 4 นิ้ว และออกหากินในเวลากลางคืน สัตวในกลุมนี้ เชน
ลิงลมหรือนางอาย และลิงทารซิเออร พบอยูในเขตรอนแถบแอฟริกาและเอเชียใต
แอนโทรพอยดเปนสัตวกลุมไพรเมตที่มีนิ้วมือ 5 นิ้ว มองเห็นไดดีในเวลากลางวัน
สมองเริ่มมีขนาดใหญ และหนาผากแบน สัตวในกลุมนี้ไดแก ลิงมีหาง ลิงไมมีหาง และ
มนุษย
ลิงมีหาง ไดแก ลิงโลกเกาและลิงโลกใหม
“ลิงโลกเกา” อาศัยอยูบนพื้นดิน
พบในทวีปแอฟริกาและเอเชีย มีกนเปน
แผน หนังหนา เกลี้ยง เชน ลิงแสม
ลิงบาบูน
“ลิงโลกใหม” อาศัยอยูบนตนไม มีแขนขายาวใชประโยชนในการปนปายและหอยโหน
มีการแพรกระจายอยูตามธรรมชาติในทวีปอเมริกากลางและอเมริกาใต เชน ลิงสไปเดอร
ลิงมีหาง ไดแก ลิงโลกเกาและลิงโลกใหม
สัตวทั้ง 2 กลุมหากินตอนกลางวันอยูรวมกันเปนฝูง มีการอยูรวมกันโดยใชพฤติกรรมทางสังคม
โดยลิงเพศผูที่แข็งแกรงที่สุดจะไดเปนจาฝูงและมีอํานาจควบคุมฝูงลิงทั้งหมด
 มีสมองที่พัฒนาดีกวาลิงโลกเกามาก สมองมีรอยหยักคลายมนุษย มีการสื่อสารระหวางกลุมมีการ
ลิงไมมีหางหรือเอพ (ape)
 มีการสืบเชื้อสายมาจากลิงโลกเกา
 มีแขนยาวขาสั้นและไมมีหาง
 สามารถหอยโหนไปมาได มีเพียงชะนีและอุรังอุตังเทานั้นที่ยังคงอาศัยบนตนไม
Kingdom_Animalia.pdf

More Related Content

What's hot

เทคโนโลยีชีวภาพที่ใช้ในการขยายพันธุ์พืช
เทคโนโลยีชีวภาพที่ใช้ในการขยายพันธุ์พืชเทคโนโลยีชีวภาพที่ใช้ในการขยายพันธุ์พืช
เทคโนโลยีชีวภาพที่ใช้ในการขยายพันธุ์พืชdnavaroj
 
อาณาจักรสัตว์
อาณาจักรสัตว์อาณาจักรสัตว์
อาณาจักรสัตว์
sirieiei
 
Kingdom fungi
Kingdom fungiKingdom fungi
Kingdom fungi
Thanyamon Chat.
 
บทที่ 13 การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโต
บทที่ 13 การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโตบทที่ 13 การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโต
บทที่ 13 การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโต
Pinutchaya Nakchumroon
 
translocation in plant
translocation in planttranslocation in plant
translocation in plant
Thanyamon Chat.
 
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)
dnavaroj
 
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม4
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม4ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม4
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม4Tatthep Deesukon
 
โครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบโครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบ
Thanyamon Chat.
 
Kingdom protista
Kingdom protistaKingdom protista
Kingdom protista
Thanyamon Chat.
 
อาณาจักรพืช
อาณาจักรพืชอาณาจักรพืช
อาณาจักรพืช
Pinutchaya Nakchumroon
 
Kingdom monera
Kingdom moneraKingdom monera
Kingdom monera
Thanyamon Chat.
 
ไฟลัมแพลทิเฮลมินทีส
ไฟลัมแพลทิเฮลมินทีสไฟลัมแพลทิเฮลมินทีส
ไฟลัมแพลทิเฮลมินทีส
athiwatpc
 
บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์
บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์
บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์
orasa1971
 
โครโมโซม
โครโมโซมโครโมโซม
โครโมโซม
Wan Ngamwongwan
 
Evolution แก้ไขล่าสุดนักเรียน
Evolution แก้ไขล่าสุดนักเรียนEvolution แก้ไขล่าสุดนักเรียน
Evolution แก้ไขล่าสุดนักเรียน
Thanyamon Chat.
 
เนื้อเยื่อพืช
เนื้อเยื่อพืชเนื้อเยื่อพืช
เนื้อเยื่อพืช
Thanyamon Chat.
 
Polymer : พอลิเมอร์
Polymer : พอลิเมอร์Polymer : พอลิเมอร์
Polymer : พอลิเมอร์
Dr.Woravith Chansuvarn
 

What's hot (20)

เทคโนโลยีชีวภาพที่ใช้ในการขยายพันธุ์พืช
เทคโนโลยีชีวภาพที่ใช้ในการขยายพันธุ์พืชเทคโนโลยีชีวภาพที่ใช้ในการขยายพันธุ์พืช
เทคโนโลยีชีวภาพที่ใช้ในการขยายพันธุ์พืช
 
อาณาจักรสัตว์
อาณาจักรสัตว์อาณาจักรสัตว์
อาณาจักรสัตว์
 
Kingdom fungi
Kingdom fungiKingdom fungi
Kingdom fungi
 
Animal55
Animal55Animal55
Animal55
 
บทที่ 13 การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโต
บทที่ 13 การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโตบทที่ 13 การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโต
บทที่ 13 การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโต
 
translocation in plant
translocation in planttranslocation in plant
translocation in plant
 
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)
 
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม4
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม4ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม4
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม4
 
โครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบโครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบ
 
Kingdom protista
Kingdom protistaKingdom protista
Kingdom protista
 
อาณาจักรพืช
อาณาจักรพืชอาณาจักรพืช
อาณาจักรพืช
 
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตการเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
 
Kingdom monera
Kingdom moneraKingdom monera
Kingdom monera
 
ไฟลัมแพลทิเฮลมินทีส
ไฟลัมแพลทิเฮลมินทีสไฟลัมแพลทิเฮลมินทีส
ไฟลัมแพลทิเฮลมินทีส
 
บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์
บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์
บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์
 
โครโมโซม
โครโมโซมโครโมโซม
โครโมโซม
 
Evolution แก้ไขล่าสุดนักเรียน
Evolution แก้ไขล่าสุดนักเรียนEvolution แก้ไขล่าสุดนักเรียน
Evolution แก้ไขล่าสุดนักเรียน
 
Kingdom animal
Kingdom animalKingdom animal
Kingdom animal
 
เนื้อเยื่อพืช
เนื้อเยื่อพืชเนื้อเยื่อพืช
เนื้อเยื่อพืช
 
Polymer : พอลิเมอร์
Polymer : พอลิเมอร์Polymer : พอลิเมอร์
Polymer : พอลิเมอร์
 

Similar to Kingdom_Animalia.pdf

ความหลากหลายทางชีวภาพ
 ความหลากหลายทางชีวภาพ ความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพ
เข็มชาติ วรนุช
 
Taxonomy test
Taxonomy testTaxonomy test
Taxonomy test
Nattapong Boonpong
 
ความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพ
Supaluk Juntap
 
ระบบสืบพันธุ์ สอน
ระบบสืบพันธุ์  สอนระบบสืบพันธุ์  สอน
ระบบสืบพันธุ์ สอนnokbiology
 
อนุกรมวิธาน+อาณาจักรสัตว์
อนุกรมวิธาน+อาณาจักรสัตว์อนุกรมวิธาน+อาณาจักรสัตว์
อนุกรมวิธาน+อาณาจักรสัตว์feeonameray
 
แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพแบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพyangclang22
 
พันธุกรรม
พันธุกรรมพันธุกรรม
พันธุกรรมwijitcom
 
บทที่-5-การสืบพันธุ์.ppt
บทที่-5-การสืบพันธุ์.pptบทที่-5-การสืบพันธุ์.ppt
บทที่-5-การสืบพันธุ์.ppt
rathachokharaluya
 
การสืบพันธุ2
การสืบพันธุ2การสืบพันธุ2
การสืบพันธุ2Coverslide Bio
 
Kingdom animal
Kingdom animalKingdom animal
อาณาจักรสิ่งมีชีวิต
อาณาจักรสิ่งมีชีวิต อาณาจักรสิ่งมีชีวิต
อาณาจักรสิ่งมีชีวิต
กมลรัตน์ ฉิมพาลี
 
ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต
ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิตธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต
ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิตsupreechafkk
 
Plant kingdom 1
Plant kingdom 1Plant kingdom 1
Plant kingdom 1krunidhswk
 
Animal55
Animal55Animal55
Animal55
Oui Nuchanart
 

Similar to Kingdom_Animalia.pdf (20)

ความหลากหลายทางชีวภาพ
 ความหลากหลายทางชีวภาพ ความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพ
 
Taxonomy test
Taxonomy testTaxonomy test
Taxonomy test
 
1 repro
1 repro1 repro
1 repro
 
ความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพ
 
ระบบสืบพันธุ์ สอน
ระบบสืบพันธุ์  สอนระบบสืบพันธุ์  สอน
ระบบสืบพันธุ์ สอน
 
อนุกรมวิธาน+อาณาจักรสัตว์
อนุกรมวิธาน+อาณาจักรสัตว์อนุกรมวิธาน+อาณาจักรสัตว์
อนุกรมวิธาน+อาณาจักรสัตว์
 
แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพแบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพ
 
1
11
1
 
พันธุกรรม
พันธุกรรมพันธุกรรม
พันธุกรรม
 
บทที่-5-การสืบพันธุ์.ppt
บทที่-5-การสืบพันธุ์.pptบทที่-5-การสืบพันธุ์.ppt
บทที่-5-การสืบพันธุ์.ppt
 
การสืบพันธุ2
การสืบพันธุ2การสืบพันธุ2
การสืบพันธุ2
 
Kingdom animal
Kingdom animalKingdom animal
Kingdom animal
 
อาณาจักรสิ่งมีชีวิต
อาณาจักรสิ่งมีชีวิต อาณาจักรสิ่งมีชีวิต
อาณาจักรสิ่งมีชีวิต
 
ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต
ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิตธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต
ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต
 
Plant kingdom 1
Plant kingdom 1Plant kingdom 1
Plant kingdom 1
 
Kingdom fungi
Kingdom fungiKingdom fungi
Kingdom fungi
 
Protista5555
Protista5555Protista5555
Protista5555
 
Manybio
ManybioManybio
Manybio
 
Animal55
Animal55Animal55
Animal55
 
แบบทดสอบ บทที่ 1
แบบทดสอบ บทที่ 1แบบทดสอบ บทที่ 1
แบบทดสอบ บทที่ 1
 

Kingdom_Animalia.pdf