SlideShare a Scribd company logo
1 of 37
Download to read offline
Juthamart limwongsakornwanit
November 24, 2557 BE
!
!
!
!
!
!
!
!
!
!
!
!
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ Page 1
Assumption Convent School
!
วิชา คอมพิวเตอร์
นางสาวจุฑามาศ ลิ้มวงศกรวณิช เลขที่ 7
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/1
ครูผู้สอน ม.คุณภัทร สังกลม
บทที่ 10 เครือข่ายอินเตอร์เน็ต
NETWORK
Juthamart limwongsakornwanit
November 24, 2557 BE
CONTENT
เครือข่ายอินเตอร์เน็ต
!
1. อินเทอร์เน็ตคืออะไร
2. ISP คืออะไร
3. ความเป็นมาของอินเทอร์เน็ต
4. อินเทอร์เน็ตเชื่อมต่อกันได้อย่างไร
5. เราจะเชื่อมต่อกับอินเทอร์เน็ตได้อย่างไร
6. โปรโตคอล: กติกาของอินเทอร์เน็ต
7. TCP/IP กับ IP address
8. ชื่อโดเมน
9. DNS และ DNS Server
10. เว็บ (Web)
11. เว็บไซต์
12. HTTP โปรโตคอลของเว็บ
13. HTML ภาษาของเว็บ
14. URL (Uniform Resource Locator)
15. รู้จักกับ E-mail
16. รูปแบบของ E-mail address
17. การรับและส่งอีเมล 

เครือข่ายคอมพิวเตอร์ Page 2
Juthamart limwongsakornwanit
November 24, 2557 BE
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
!
1.อินเตอร์เน็ตคืออะไร
คือ การเชื่อมต่อระหว่างเครือข่ายคอมพิวเอตร์ทั่วโลกเข้าไว้ด้วยกัน ภาย
ใต้มาตรฐานการเชื่อมโยงด้วยโปรโตคอล (Transmission Control Protocol/
Internet Protocol หรือ TCP/IP ) เดียวกัน ซึ่งทำให้คอมพิวเตอร์ทุกเครื่องทั่วโลก
สามารถสื่อสารระหว่างกันได้ )
2.ISP คืออะไร
ISP หรือ Internet Service Provider เป็นหน่วยงานที่ให้บริการเชื่อมต่อ
เข้ากับเครือข่ายอินเทอร์เน็ต หรือพูดอีกนัยหนึ่งคือ ทำหน้าที่เสมือนเป็นประตูเปิด
การเชื่อมต่อให้บุคคลหรือองค์กรสามารถใช้งานอินเทอร์เน็ตได้ สำหรับใน
ประเทศไทยมีหน่วยงานที่ให้บริการด้านนี้อยู่ 2 ประเภทด้วยกันคือ ผู้ให้บริการ
อินเทอร์เน็ตเชิงพาณิชย์ ( Commercial ISP) และผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ตสำหรับ
สถาบันการศึกษา การวิจัยและหน่วยงานของรัฐ (non-commercial ISP ) ซึ่ง
ปัจจุบันประเทศไทยมีผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ตมากกว่า 20 ราย ดังตัวอย่างใน
ตารางต่อไปนี้
!
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ Page 3
Juthamart limwongsakornwanit
November 24, 2557 BE
!
!
!
!
!
!
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ Page 4
!
!
!
!
!
Juthamart limwongsakornwanit
November 24, 2557 BE
3. ความเป็นมาของอินเตอร์
!
อินเทอร์เน็ต คือ การเชื่อมโยงเครือข่ายคอมพิวเตอร์เข้าด้วยกัน ตาม
โครงการของอาร์ป้าเน็ต (ARPAnet = Advanced Research Projects Agency
Network) เป็นหน่วยงานสังกัดกระทรวงกลาโหมของสหรัฐ (U.S.Department
of Defense - DoD) ถูกก่อตั้งเมื่อประมาณ ปีค.ศ.1960(พ.ศ.2503) และได้ถูก
พัฒนาเรื่อยมา
ในปี พ.ศ. ๒๕๐๐ ประเทศรัสเซียส่งดาวเทียมขึ้นสู่อวกาศได้สำเร็จ กระทรวง
กลาโหมของสหรัฐอเมริกาจึงได้รับรู้ว่า เทคโนโลยีชั้นสูงของประเทศยังล้าหลัง
กว่าของรัสเซีย ซึ่งส่งผลให้เกิดการตื่นตัว ที่จะพัฒนาเทคโนโลยีชั้นสูง รัฐบาล
สหรัฐอเมริกาโดยกระทรวงกลาโหม จึงก่อตั้งหน่วยงานวิจัยชั้นสูงที่ชื่อว่า
Advanced Research Projects Agency หรือที่รู้จักกันในนามของ ARPA
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ Page 5
Juthamart limwongsakornwanit
November 24, 2557 BE
ต่อมา ในปี พ.ศ. ๒๕๐๘ ARPA ได้ให้ทุนแก่มหาวิทยาลัยของสหรัฐอเมริกา
เพื่อการทำวิจัยในหัวข้อเรื่อง เครือข่ายการทำงานร่วมกันของคอมพิวเตอร์แบบ
แบ่งเวลา (Cooperative network of Time-Shared Computers) หลังจากนั้น
อีก ๓ ปี กระทรวงกลาโหมก็ได้สนับสนุนโครงการวิจัยเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ที่ชื่อ
ว่า ARPANET จนกระทั่งในปี พ.ศ. ๒๕๑๒ โครงการ ARPANET ได้เชื่อมโยง
คอมพิวเตอร์ของมหาวิทยาลัย ๔ แห่ง เข้าด้วยกัน
ในปี พ.ศ. ๒๕๑๔ เครือข่าย ARPANET ขยายใหญ่ขึ้น และสามารถเชื่อม
โยงคอมพิวเตอร์ของมหาวิทยาลัยต่างๆ ได้ถึง ๒๓ เครื่อง
จากการศึกษาเรื่องเครือข่ายคอมพิวเตอร์ จนถึงระยะเวลานั้น ผู้พัฒนาเครือ
ข่ายหลายคน เริ่มเห็นปัญหาของการเชื่อมโยงระบบคอมพิวเตอร์ที่มีหลากหลาย
ชนิด และหลากหลายผลิตภัณฑ์ จึงทำให้เกิดปัญหายุ่งยากในการเชื่อมโยง แนว
ความคิดที่จะสร้างระบบเปิดจึงเกิดขึ้น กล่าวคือ กำหนดมาตรฐานกลางที่
ผลิตภัณฑ์ทุกยี่ห้อสามารถจะเชื่อมโยงเข้าสู่มาตรฐานนี้ได้
แนวคิดในการเชื่อมโยงเครือข่ายเข้าด้วยกัน และเชื่อมโยงในลักษณะวง
กว้าง เป็นสิ่งที่เป็นไปได้ ดังนั้น ในปี พ.ศ. ๒๕๑๕ ผู้พัฒนาเครือข่ายจึงสร้าง
โปรโตคอลใหม่ และให้ชื่อว่า TCP/IP (Transmission Control Protocol /
Internet Protocol) และให้ชื่อเครือข่ายที่เชื่อมโยงโดยใช้โปรโตคอลนี้ว่า
อินเทอร์เน็ต หลังจากนั้น โครงการ ARPANET ได้นำโปรโตคอล TCP/IP ไปใช้
การพัฒนาเครือข่ายคอมพิวเตอร์ได้ดำเนินการต่อมา ถึงแม้ว่าในช่วงหลัง
กระทรวงกลาโหมของสหรัฐอเมริกาได้ยกเลิกการสนับสนุน และหันกลับไปทำวิจัย
และพัฒนาเอง เครือข่ายนี้ก็เติบโตขึ้นอย่างรวดเร็ว และมีการพัฒนามาตรฐาน
ต่างๆ เข้ามาใช้ประกอบร่วมกันอย่างต่อเนื่อง จนในที่สุดได้กลายเป็นมาตรฐาน
การสื่อสารที่ชื่อว่า TCP/IP และใช้ชื่อเครือข่ายว่า อินเทอร์เน็ต (Internet)
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ Page 6
Juthamart limwongsakornwanit
November 24, 2557 BE
ต่อมาการบริหาร และดำเนินงานเครือข่าย ได้รับการสนับสนุน จากมูลนิธิ
การศึกษาวิทยาศาสตร์แห่งชาติสหรัฐอเมริกา หรือที่ใช้ชื่อย่อว่า NSF (National
Science Foundation) มีการตั้งคณะกรรมการเข้ามาบริหารเครือข่ายกลาง ที่เปิด
โอกาสให้ผู้อื่นเข้ามาเชื่อมโยง และได้ดำเนินการ จนอินเทอร์เน็ตกลายเป็นเครือ
ข่ายคอมพิวเตอร์ที่ยิ่งใหญ่ของโลก
สำหรับในประเทศไทย เริ่มเชื่อมโยงเข้าสู่ระบบอินเทอร์เน็ต ตั้งแต่กลางปี
พ.ศ. ๒๕๓๐ โดยมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ได้ทำการเชื่อมโยง เพื่อส่ง
อิเล็กทรอนิกส์เมลกับประเทศออสเตรเลีย ซึ่งทำให้มีระบบอิเล็กทรอนิกส์เมลเชื่อม
ต่อกับอินเทอร์เน็ตเป็นครั้งแรก ต่อมาในวันที่ ๒๗ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๓๕
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ได้เช่าสายวงจรเชื่อมต่อกับอินเทอร์เน็ตเป็นครั้งแรก ใน
ช่วงระยะเวลาเดียวกันนี้ กระทรวงวิทยาศาสตร์ฯ โดยศูนย์เทคโนโลยี
อิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ ก็ได้มีโครงการที่จะเชื่อมโยงเครือข่าย
คอมพิวเตอร์ระหว่างมหาวิทยาลัยขึ้น เครือข่ายคอมพิวเตอร์ระหว่างมหาวิทยาลัย
ในประเทศไทย ได้พัฒนาก้าวหน้าขึ้นเป็นลำดับ จนทำให้มีสถาบันออนไลน์กับ
อินเทอร์เน็ตเป็นกลุ่มแรก ได้แก่ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลับ มหาวิทยาลับ
ธรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีแห่งเอเซีย
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ Page 7
Juthamart limwongsakornwanit
November 24, 2557 BE
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ และศูนย์
เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติการพัฒนาเครือข่ายจึงเป็นไป
ตามกระแส การเชื่อมโยงเข้าสู่ระบบสากล มาตรฐานการเชื่อมโยงเป็นแบบโพรโท
คอล TCP/IP ตามมาตรฐานนี้ มีการกำหนดหมายเลขแอดเดรส ให้แก่เครือข่าย
และเครื่องคอมพิวเตอร์ โดยมีการสร้างเป็นลำดับชั้น เพื่อให้การเชื่อมโยงเครือ
ข่ายเป็นระบบ แอดเดรสนี้จึงมีชื่อว่า ไอพีแอดเดรส (IP address)
ไอพีแอดเดรสทุกตัว จะต้องได้รับการลงทะเบียน เพื่อจะได้มีหมายเลขไม่ซ้ำ
กันทั่วโลก การกำหนดแอดเดรสจะเป็นการกำหนดหมายเลข ให้แก่เครือข่าย ผู้ใช้
เครือข่ายย่อยในเครือข่ายที่เชื่อมต่อกับอินเทอร์เน็ต จะเป็นสมาชิกของ
อินเทอร์เน็ต โดยปริยาย เพราะเครื่องคอมพิวเตอร์ของตน สามารถเชื่อมโยงกับ
เครื่องอื่นๆ ได้ทั่วโลก ผู้ใช้งานอยู่ที่บ้าน สามารถใช้คอมพิวเตอร์จากบ้าน ต่อผ่าน
โมเด็ม มาที่เครื่องหลัก หลังจากนั้น ก็จะเชื่อมโยงเข้าสู่เครือข่ายต่างๆ ได้ นิสิต
นักศึกษาซึ่งอยู่ที่บ้าน จะสามารถติดต่อกับอาจารย์ผู้สอนในมหาวิทยาลัย หรือ
ติดต่อกับเพื่อนๆ ได้ ทั้งในมหาวิทยาลัย และต่างมหาวิทยาลัย หรือในต่างประเทศ
อินเทอร์เน็ตจึงเป็นเครือข่ายคอมพิวเตอร์ มีอัตราการขยายตัวอย่างรวดเร็ว
จนคาดกันว่า ในอนาคต เครือข่ายอินเทอร์เน็ตจะเชื่อมโยงคนทั้งโลกเข้าด้วยกัน
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ในประเทศไทย สามารถเชื่อมโยงได้ทุกมหาวิทยาลัย โดยมี
การเชื่อมโยงเข้าสู่อินเทอร์เน็ต ที่เชื่อมโยงกันในประเทศ ซึ่งจัดการโดยหน่วย
บริการอินเทอร์เน็ต หรือที่เรียกว่า ISP (Internet Service Provider) หน่วยบริการ
ISP จะมีสายเชื่อมโยงไปยังต่างประเทศเข้าสู่อินเทอร์เน็ต
ในปี พ.ศ. ๒๕๓๕ เครือข่ายระหว่างมหาวิทยาลัยได้เชื่อมโยงกัน โดยมีแกน
กลางคือ ศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่ง ชาติ และให้ชื่อเครือ
ข่ายนี้ว่า เครือข่ายไทยสาร (THAISARN - THAI Social / Scientific, Academic
and Research Network) การเชื่อมโยงภายในประเทศ ทำให้ทุกเครือข่ายย่อย
สามารถเชื่อมโยงเป็นอินเทอร์เน็ตสากลได้
!
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ Page 8
Juthamart limwongsakornwanit
November 24, 2557 BE
4. อินเตอร์เชื่อมต่อกันอย่างไร
อินเตอร์เน็ตเชื่อมต่อโดยการเข้าสู่อินเทอร์เน็ตโดยผ่านทางระบบเครือข่าย
ของสำนักงาน บริษัท หรือ สถานศึกษาของตน ซึ่งตามปกติแล้วหากเป็นหน่วยงาน
หรือสำนักงานใหญ่ๆ จะต่อคอมพิวเตอร์เป็นระบบภายในองค์กร (LAN) ซึ่งมักจะ
เชื่อมต่อกับผู้ให้บริการ (ISP) ผ่านสายนำสัญญาณความเร็วสูง (High-Speed
Leased Line) แทนที่จะเชื่อมต่อ ผ่านโมเด็ม (Modem) แต่ถ้าหากว่าคอมพิวเตอร์
ที่ใช้อยู่ในวง LAN ที่ไม่โตมากนักก็อาจใช้เชื่อมต่อผ่านโมเด็มก็ได้ เพราะ จะ
ทำให้ลดค่าใช้จ่ายในการเชื่อมต่อระบบ แต่อาจจะมีปัญหาในเรื่องของความเร็ว
ในการเข้าสู่อินเทอร์เน็ตบ้างเล็กน้อย
5. เราจะเชื่อมต่อกับอินเตอร์ได้อย่างไร
1.อุปกรณ์
1.1) คอมพิวเตอร์
1.2) โมเด็ม (Modulator Demodulator Machine)
โมเด็มคืออุปกรณ์ซึ่งทำหน้าที่แปลงข้อมูลที่ได้จากเครื่องคอมพิวเตอร์ไป
เป็นสัญญาณไฟฟ้ารูปแบบหนึ่ง (Impulse) ซึ่งสามารถส่งผ่านสายโทรศัพท์ทั่วไป
ได้ซึ่งสัญญาณโทรศัพท์นั้นจะเป็นสัญญาณอนาล๊อกส่วนสัญญาณข้อมูลที่มาจาก
คอมพิวเตอร์จะเป็นสัญญาณ ดิจิตอลทำให้ต้องใช้ โมเด็มในการแปลงสัญญาณอ
นาล๊อกเป็นดิจิตอลและดิจิตอลเป็นอนาล๊อกก่อน โมเด็มสามารถแยกได้เป็น 3
ชนิด แต่ละชนิดก็มีข้อดีข้อเสียแตกต่างกันไปดังนี้
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ Page 9
Juthamart limwongsakornwanit
November 24, 2557 BE
!
!
1.โมเด็มแบบติดตั้งภายใน โมเด็มชนิดนี้จะมีลักษณะเป็นแผ่นวงจรอิเล็ก
ทรอนิกนำมาติดตั้งเข้ากับภายในตัวเครื่องคอมพิวเตอร์โดยตรง รูปร่างจะแตก
ต่างกันตามที่ผู้ผลิตจะออกแบบมาสำหรับคอมพิวเตอร์ชนิดนั้นๆโมเด็มชนิดนี้จะ
ใช้ไฟฟ้าจากพาวเวอร ์ซับพายที่มันต่ออยู่ทำให้เราไม่ต้องต่อไฟหม้อแปลงต่าง
หากจากภายนอก ส่วนมากโมเด็มติดตั้งภายในจะทำการติดตั้งผ่านทาง Port
อนุกรม RS-232C รวมอยู่ด้วย ทำให้ไม่มีปัญหาในเรื่อง port อนุกรมรุ่นเก่าที่ติด
มากับเครื่องคอมพิวเตอร์ การเชื่อมต่อโมเด็มกับเครื่องคอมพิวเตอร์จะต่อทาง slot
มาตรฐานในเครื่องคอมพิวเตอร์และเมื่อติดตั้งแล้วจะไม่เปลืองเนื้อที่ภายนอกใดๆ
เลย และโมเด็มสำหรับติดตั้งภายในจะมีจุดให้ผู้ใช้เสียบสายโทรศัพท์เข้ากับ
โมเด็มโดยใช้ปลั๊กโทรศัพท์ธรรมดา แบบ RJ-11 และมีลำโพงประกอบด้วย
2.โมเด็มแบบติดตั้งภายนอก จะมีลักษณะเป็นกล้องสี่เหลี่ยมแบนๆภายในมี
วงจรโมเด็มไฟสถานะและลำโพง เนื่องจากต่อภายนอกจึงต้องมี adapter แปลง
สัญญาณก่อนและจะมีสายต่อแบบ 25 ขา DB25 เอาไว้ใช้เชื่อมต่อผ่านทาง port
อนุกรม RS - 232C 1
3.PCMCIA (Personal Computer Memory Card International
Asociation) จะเป็นโมเด็มที่มีขนาดเล็ที่สุดคือ มีขนาดเท่าบัตรเครดิตรอละหนา
เพียง 5 มิลเท่านั้นซึ่งโมเด็มชนิดนี้ออกแบบมาโดยให้คอมพิวเตอร์โน๊ตบุคโดย
เฉพาะซึ่งในปัจจุบันโมเด็มชนิดนี้จะมีความเร็วพอๆ กับโมเด็มที่ติตตั้งภายนอก
และภายใน ในปัจจุบันนี้โมเด็มมีความเร็วสูงสุดที่ 56Kbps(Kilobyte per
second)โดยจะใช้มาตรฐาน V.90 เป็นตัวกำหนด
!
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ Page 10
Juthamart limwongsakornwanit
November 24, 2557 BE
2.วิธีการเข้าสู่อินเทอร์เน็ต
เครื่องคอมพิวเตอร์ของเราสามารถติดต่อกับอินเทอร์เน็ตได้หลายวิธี ทั้งนี้
ขึ้นอยู่กับว่าเราต้องการความเร็วมากน้อยเพียงใดในการติดต่อรวมทั้งสถานที่ที่
เราใช้เครื่องของเราด้วยว่าห่างไกลจากศูนย์คอมพิวเตอร์ ที่ทำหน้าที่เป็นเครื่องที่
แจกจ่ายข้อมูลและก็ขึ้นอยู่กับงบประมาณของผู้ใช้ว่าต้องการความเร็วหรือความ
สะดวกรวดเร็วมากน้อยเพียงใดด้วย ในปัจจุบันผู้ใช้อินเทอร์เน็ตที่ไม่ได้เป็น
สมาชิกของสถาบันการศึกษาจะต้องเสียค่าบริการอินเทอร์เน็ตในอัตราที่ค่อนข้าง
สูง กล่าวกันว่าอัตราค่าบริการอินเทอร์เน็ตของบุคคลทั่วไปในประเทศไทยนี้สูง
ที่สุดในโลก ทั้งนี้ก็เป็นไปตามนโยบายของรัฐบาลที่จะถือว่าผู้ใช้อินเทอร์เน็ตเป็น
คนร่ำรวยและ สามารถจ่ายค่าบริการจำนวนนี้ได้โดยไม่เดือดร้อน ทั้งนี้การเก็บค่า
บริการอินเทอร์เน็ต นี้ยังคงเป็นการผูกขาดของการสื่อสารแห่งประเทศไทย ซึ่งเป็น
ผู้ควบคุมดูแลการโทรคมนาคมระหว่างประเทศทั้งหมด การสื่อสารฯได้รายได้จาก
การผูกขาดนี้เป็นกอบเป็นกำ เหตุผลที่การสื่อสารมักจะอ้างก็คือว่า เนื่องจากผู้ใช้
อินเทอร์เน็ตมีฐานะดี ดังนั้นจึงควรเก็บค่าบริการแพงๆเหมือนกับการเก็บภาษี
กลายๆเพื่อเป็นทุนในการช่วยเหลือผู้ด้อยโอกาส เหตุผลนี้ดูเหมือนจะมีน้ำหนักพอ
สมควร แต่ถ้าพิจารณาว่า การใช้จ่ายเงินของภาครัฐฯไม่มีความโปร่งใสใดๆ ให้
ตรวจสอบได้อย่างจริงจัง ก็ไม่น่าเชื่อว่าข้ออ้างดังกล่าวนี้เป็นความจริง นอกจากนี้
การอ้างว่าผู้ใช้อินเทอร์เน็ตเป็นผู้ร่ำรวยเท่านั้นยังเป็นการแบ่งชนชั้นวรรณะอย่าง
โจ่งแจ้ง และเท่ากับว่าคนอื่นๆ ที่ไม่ใช่คนรวยจะไม่มีวันสัมผัสกับอินเทอร์เน็ตได้
ความคิดเช่นนี้ไม่เอื้อต่อการผลักดันให้ประเทศไทยก้าวไปข้างหน้าได้เป็นอย่างยิ่ง
ย้อนมาพูดถึงเรื่องการติดต่อกับอินเทอร์เน็ต ในขณะนี้เรามีวิธีติดต่ออยู่ 4 วิธี
1.การติดต่อแบบถาวร หรือ Permanent Connection การติดต่อแบบนี้
เป็นแบบที่รวดเร็วที่สุด แต่ก็สิ้นเปลืองค่าใช้จ่ายมากที่สุดด้วยเช่นกัน ระบบเครือ
ข่ายที่เรียกว่า Ethernet ซึ่งเป็นระบบฮาร์ดแวร ์ของเครือข่ายที่ใช้กันมากที่สุด
สายที่เชื่อมต่อจากแม่ข่ายมายังอาคารอบรมนี้เป็นสายใยแก้วนำแสง ซึ่งให้
ความเร็วข้อมูลสูงมาก
!
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ Page 11
Juthamart limwongsakornwanit
November 24, 2557 BE
2.การติดต่อโดยตรงเมื่อต้องการ หรือการติดต่อโดยตรงผ่านสายโทรศัพท์
(On Demand Permanent Connection) การติดต่อแบบนี้เป็นวิธีที่ดีที่สุดถ้า
เครื่องของเราไม่ได้ติดต่อโดยตรงโดยเครือข่าย แบบ Ethernet วิธีการก็คือเราใช้
สายโทรศัพท์ธรรมดาที่เราใช้กันอยู่เป็นเส้นทาง ในการเชื่อมโยงข้อมูลแทน การที่
คอมพิวเตอร์ติดต่อกันโดยผ่านสายโทรศัพท์จำเป็น ที่จะต้องมีอุปกรณ ์อันหนึ่งเรี
กว่า "โมเด็ม" (modem) ซึ่งทำหน้าที่แปรข้อมูลจากคอมพิวเตอร์ ซึ่งเป็นข้อมูลแบ
บดิจิตัล เป็นสัญญาณโทรศัพท์ซึ่งเป็นสัญญาณแบบอนาล็อก และนอกจากโมเด็ม
แล้วก็จะต้องมีโปรแกรมพิเศษ อีกโปรแกรมหนึ่งเพื่อทำให้เครื่องของเราทำงาน
เป็นส่วนหนึ่งของอินเทอร์เน็ตจริงๆ โปรแกรมนี้ก็เป็นภาษาเครือข่ายบน
อินเทอร์เน็ตอีกภาษาหนึ่ง เรียกว่า "PPP" ซึ่งย่อมาจาก Point-to-Point Protocol
การใช้โปรแกรมนี้ทำให้เครื่องของเราสามารถทำงานได้ทุกอย่าง เช่นเดียวกับที่
เครื่องแม่ข่ายหรือเครื่องที่ต่อกับแม่ข่ายด้วย Ethernet ทำได้ เพียงแต่ว่าสาย
โทรศัพท์ นั้นจะเท่ากับมีการพูดสายอยู่ตลอดเวลาที ่เราต่อกับระบบอยู่ศูนย์
บริการอินเทอร์เน็ตมักจะเรียกการบริการแบบนี้ว่า "แบบรูปภาพ" หรือ Graphic
Service เนื่องจากการติดต่อแบบนี้ทำให้เราสามารถดึงเอาข้อมูลที่เป็นรูปภาพ
หรือ เสียงมาดูหรือฟังได้โดยตรง
3.การติดต่อแบบเทอร์มินัล (Dial-Up Terminal Connection) การใช้
โปรแกรม PPP นี้จำเป็นต้องอาศัยเครื่อง ที่มีสมรรถนะสูงพอสมควร โดยเฉพาะ
อย่างยิ่งถ้าเราใช้โปรแกรมใหม่ๆสำหรับค้นหาข้อมูลบนอินเทอร์เน็ต แต่ถ้าเรา
ไม่มีเครื่องแบบนั้น เราก็ยังไม่หมดหวังเสียทีเดียว เนื่องจากยังมีการติดต่ออีกวิธี
หนึ่ง ได้แก่การติดต่อแบบเทอร์มินัล ซึ่งไม่จำเป็นต้องใช้เครื่องเร็วๆแต่อย่างใด
เลย วิธีการนี้ก็คล้ายคลึงกับวิธีที่สองตรงที่เป็นการเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์เข้ากับ
อินเทอร์เน็ตโดยใช้โมเด็ม แต่แตกต่างกันที่ในการต่อแบบนี้เครื่องของเรามีฐานะ
เป็นเพียงจอของเครื่องที่เราต่อไปหาเท่านั้น เครื่องของเราไม่มีฐานะเป็นส่วนหนึ่ง
ของอินเทอร์เน็ตแต่ประการใด แต่ในขณะที่เราใช้การติดต่อแบบนี้อยู่นั้น การ
ประมวลผลของเครื่องไม่มีบทบาทอะไรเกี่ยวกับการติดต่อนี้เลย นอกจากบทบาท
เล็กน้อยเวลาเราถ่ายโอนข้อมูลระหว่างเครื่องที่เราต่อไปหากับเครื่องของเรา
เท่านั้น โปรแกรมที่ใช้สำหรับการติดต่อแบบนี้ก็เป็นโปรแกรมสั่งงานโมเด็มตาม
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ Page 12
Juthamart limwongsakornwanit
November 24, 2557 BE
ปกติ เช่น Procomm หรือ Terminal ใน Windows หรือ Zterm ในเครื่อง
แมคอินทอช การติดต่อแบบนี้ก็ทำให้เราสามารถติดต่อกับทุกๆ ส่วนของ
อินเทอร์เน็ตได้ เพียงแต่ว่าเราต้องใช้วิธีการบางอย่างเปลี่ยนข้อมูลที่ไม่ใช่ตัว
อักษรมาเป็นไฟล์ที่ใช้งานได้ ศูนย์บริการอินเทอร์เน็ตมักเรียก การบริการแบบนี้ว่า
"ตัวอักษรล้วนๆ" (Text only) เนื่องจากการติดต่อมีแต่ทางตัวอักษรเท่านั้น แต่ไม่
ได้หมายความว่าเราไม่สามารถดึงเอาข้อมูลชนิดอื่นมาได้
4.การติดต่อแบบไปรษณีย์เท่านั้น (E-mail Only Connection ) การติดต่อ
แบบนี้เป็นวิธีที่มีข้อจำกัดมากที่สุด แต่ก็ประหยัดทรัพยากรมากที่สุดด้วยเช่นกัน
วิธีนี้เกือบจะเหมือนกับแบบที่สาม ต่างกันเพียงแค่ว่าเราใช้บริการได้แต่เพียง
ไปรษณีย์อิเล็กโทรนิกส์ หรืออีเมล์เท่านั้น ไม่สามารถใช้บริการอื่นๆบนอินเทอร์เน็ต
ได้ (เช่น การถ่ายโอนข้อมูล การสืบค้นข้อมูลบนเวิร์ลไวด์เว็บ ฯลฯ) บริการอย่าง
เดียวที่เราใช้ได้ก็คือ ไปรษณีย์อิเล็กโทรนิกส์
6. โปรโตคอล:กติกาของอินเตอร์เน็ต
การทำงานขององค์ประกอบต่าง ๆ ของอินเทอร์เน็ตจะสอดคล้องกันได้ ก็
ต้องมีกติกาที่ทุกเครื่องทุกโปรแกรมรับรู้และทำตามเป็นมาตรฐานเดียวกัน บน
อินเทอร์เน็ตมีกติกาทำนองนี้มากมายสำหรับแต่ละเรื่อง เรียกว่า โปรโตคอล ซึ่งที่
สำคัญก็เช่น
TCP/IP กับ IP address
เป็นกติกาหลักในการับส่งข้อมูลผ่านอินเทอร์เน็ต ข้อมูลทุกรูปแบบไม่ว่าจาก
โปรแกรมใดจะต้องแปลงให้อยู่ในมาตรฐานของ TCP/IP เสียก่อนจึงจะรับส่งได้
กติกาจะนี้กำหนดวิธี ขั้นตอนในการรับส่งข้อมูล และการตรวจสอบความถูกต้อง
อย่างรัดกุม
!
!
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ Page 13
Juthamart limwongsakornwanit
November 24, 2557 BE
ส่วนที่เกี่ยวข้องกับผู้ใช้คือการเรียกชื่อเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ต่อกับ
อินเทอร์เน็ต ซึ่งทางเทคนิคเรียกว่า “ที่อยู่ IP” หรือ IP Address เป็นตัวเลขล้วน ๆ
4 ชุด แต่ละชุดมีค่าระหว่าง 0-255 คั่นด้วยจุด เช่น 202.44.202.22 หรือ
203.15.225.69 ซึ่งจะทำให้ตั้งชื่อเครื่องคอมพิวเตอร์ได้นับพันล้านเครื่องโดยไม่
ซ้ำกัน
โดเมนเนม (Domain Name)
เนื่องจากผู้ใช้ทั่วไปจะรู้สึกว่า IP Address นั้นจำยาก มีการคิดระบบชื่อ
โดเมนหรือโดเมนเนม ขึ้นมาโดยใช้ภาษาอังกฤษเป็นคำ ๆ ซึ่งสื่อความหมายนำ
มาเรียงต่อกันโดยคั่นแต่ละคำด้วยจุด (.) เช่น www.provision.co.th คือ ชื่อ
เครื่องคอมพิวเตอร์ที่เป็นเว็บเซิร์ฟเวอร์ (www) ของบริษัทโปรวิชั่น (.provision)
เป็นหน่วยงานประเภทบริษัท (.co) และจดทะเบียนในประเทศไทย (.th) เป็นต้น
DNS และ DNS Server
เมื่อมีชื่อที่ใช้อ้างถึงเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ต่อกับอินเทอร์เน็ตอยู่สองระบบดัง
กล่าวข้างต้น ก็ทำให้ต้องมีกลไกการเปลี่ยนแปลงชื่อซึ่งเรียกว่า Domain Name
System (DNS) เข้ามาช่วยโดยแต่ละ ISP จะมีคอมพิวเตอร์เฉพาะที่คอยเก็บข้อมูล
ว่าชื่อโดเมนแต่ละชื่อมี IP Address อะไร เราเรียกเครื่องที่ทำหน้าที่นี้ว่า DNS
Server
HTTP : โปรโตคอลของ www
โปรโตคอลสำหรับเปิดดูข้อมูลจาก www มีชื่อว่า HTTP ซึ่งเราเรียกใช้ได้
โดยระบุ http:// ในช่องที่กรอกชื่อเว็บของบราวเซอร์ แล้วตามด้วยชื่อเครื่องที่จะ
เรียกดูข้อมูล
!
!
!
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ Page 14
Juthamart limwongsakornwanit
November 24, 2557 BE
URL = โปรโตคอล + ชื่อโดเมน + ชื่อไฟล์ในเครื่อง
การเข้าถึงข้อมูลใด ๆ บนอินเทอรเน็ต ไม่ว่าจะเป็นเว็บเพจหรือไฟล์ประเภท
อื่นเราจะต้องรู้ที่อยู่ (Address) ของข้อมูลนั้น ซึ่งรูปแบบของที่อยู่นี้ถูกกำหนดไว้
เป็นมาตรฐานเรียกว่า URL โดยมีองค์ประกอบ 3 ส่วนคือ
- โปรโตคอล
- ชื่อโดเมนของเครื่อง
- ชื่อไฟล์เว็บเพจ
!
เว็บไซท์และเว็บเพจ
เว็บไซท์ (Web Site) หมายถึง กลุ่มของเว็บเพจที่เกี่ยวข้องสัมพันธ์กัน เช่น
กลุ่มของเว็บเพจที่ให้ข้อมูลเกี่ยวกับประวัติ รวมทั้งสินค้าและบริการของบริษัทหนึ่ง
เป็นต้น ภายในเว็บไซท์นอกจากเว็บเพจหรือไฟล์ HTML แล้ว ยังประกอบด้วยไฟล์
ชนิดอื่น ๆ ที่จำเป็นสำหรับสร้างเป็นหน้าเว็บเพจ เช่น รูปภาพ มัลติมีเดีย ไฟล์
โปรแกรมภาษาสคริปต์ และไฟล์ข้อมูลสำหรับให้ดาวน์โหลด เป็นต้น
เครื่องคอมพิวเตอร์ที่ให้บริการ www ซึ่งมีให้เราสามารถเรียกดูเว็บเพจใน
เครื่องนั้นได้ จะเรียกว่า เว็บเซิร์ฟเวอร์ (Web Server)
โฮมเพจ
โฮมเพจ (Home Page) คือเว็บเพจหน้าแรก เป็นทางเข้าหลักของเว็บไซท์
ปกติเว็บเพจทุก ๆ หน้าในเว็บไซท์จะถูกลิงค์มาจากโฮมเพจ ดังนั้นบางครั้งจึงมีผู้
ใช้คำว่าโฮมเพจโดยหมายถึงเว็บไซท์ทั้งหมด แต่ความจริงแล้วโฮมเพจหมายถึง
หน้าแรกเท่านั้น ถ้าเปรียบกับร้านค้า โฮมเพจก็เป็นเสมือนหน้าร้านนั่นเอง
!
!
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ Page 15
Juthamart limwongsakornwanit
November 24, 2557 BE
เว็บเพจ
เว็บเพจ (Web Page) หมายถึง หน้าเอกสารของบริการ www ตามปกติจะ
ถูกเก็บอยูในรูปแบบไฟล์ Html โดยไฟล์ Html 1 ไฟล์ก็คือเว็บเพจ 1 หน้านั่นเอง
ภายในเว็บเพจอาจประกอบไปด้วยข้อความ ภาพ เสียง วิดีโอ และภาพเคลื่อนไหว
แบบมัลติมีเดีย นอกจากนี้เว็บเพจแต่ละหน้าจะมีการเชื่อมโยงหรือ “ลิงค์” (Link)
เพื่อให้ผู้ชมเรียกดูเอกสารหน้าอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องได้สะดวกอีกด้วย
นอกจากรูปแบบไฟล์ HTML แล้ว ปัจจุบันเว็บเพจบางส่วนจะถูกเก็บอยู่ใน
รูปไฟล์โปรแกรมภาษาสคริปต์ เช่น PHP ซึ่งเป็นภาษาที่ใช้สำหรับสร้างเว็บเพจ
ออกมาโดยขึ้นกับเงื่อนไขการทำงาน หรือข้อมูลที่มีอยู่ที่มีอยู่ในฐานข้อมูล ณ ขณะ
นั้น
7.TCP/IP กับ IP address
ทีซีพี หรือ TCP มาจากคำว่า Transmission Control Protocol ทีซีพี เป็น
ชุดของโปรโตคอลที่ถูกใช้ในการสื่อสารผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต โดยมี
วัตถุประสงค์เพื่อให้สามารถใช้ สื่อสารจากต้นทางข้ามเครือข่ายไปยังปลายทาง
ได้ และสามารถหาเส้นทางที่จะส่งข้อมูลไปได้เองโดยอัตโนมัติ ถึงแม้ว่า ใน
ระหว่างทางอาจจะผ่านเครือข่ายที่มีปัญหา โปรโตคอลก็ยังคงหาเส้นทางอื่นใน
การส่งผ่านข้อมูลไปให้ถึงปลายทางได้
ทีซีพี เป็นโปรโตคอลที่ได้รับความนิยมที่สุดในโลกของอินเทอร์เน็ต มีแอป
พลิเคชันจำนวนมากที่ใช้โปรโตคอลทีซีพีเป็นสื่อกลางในการเชื่อมต่อ เช่น เวิลด์
ไวด์เว็บ เป็นต้น
!
!
!
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ Page 16
Juthamart limwongsakornwanit
November 24, 2557 BE
TCP เป็นโปรโตคอลในระดับชั้นที่ 4 เมื่อเทียบกับ OSI มีลักษณะการ
ทำงานเป็น Virtual Circuit คือจะมีการทำวงจร เสมือนขึ้นมาก่อนที่จะรับส่งข้อมูล
กัน นั่นคือ แต่ละโหนดต้องมีตารางของ address และ destination route เพื่อให้
รู้ว่าจะต่อกับใครจึงจะได้วงจรเสมือนตามต้องการ เมื่อทำ connection setup
เสร็จแล้วก็จะรับส่งข้อมูลกัน โดยใช้เส้นทางนี้ตลอด ดังนั้นจะไม่มีปัญหาเรื่องการ
เรียงลำดับของชุดข้อมูลผิดพลาด หรือ เกิดการซ้ำซ้อนของข้อมูล การส่งผ่าน
ข้อมูลบน TCP เป็น byte stream-oriented สำหรับหน้าที่ของ TCP นี้ก็คือ
จัดการเรื่อง ตรวจสอบ error , ทำ flow control , ทำการ multiplex หรือ
demultiplex application layer connection นอกจากนี้ก็ยังทำ หน้าที่ควบคุม
แลกเปลี่ยนสถานะและทำ Synchronization ด้วย
หน้าที่ของ TCP : Transmission Control Protocal (TCP) จะทำหน้าที่ใน
การแยกข้อมูลเป็นส่วน ๆ หรือที่เรียกว่า Package ส่งออกไป ส่วน TCP ปลายทาง
ก็จะทำการรวบรวมข้อมูลแต่ละส่วนเข้าด้วยกัน เพื่อนำไปประมวลผลต่อไป โดย
ระหว่างการรับส่งข้อมูลนั้นก็จะมีการตรวจสอบความถูกต้องของ ข้อมูลด้วย ถ้า
เกิดผิดพลาด TCP ปลายทาง ก็จะขอไปยัง TCP ต้นทางให้ส่งข้อมูลมาใหม่
หน้าที่ของ IP : Internet Protocal (IP) จะทำหน้าที่ในการจัดส่งข้อมูลจาก
เครื่องต้นทาง ไปยังเครื่องปลายทาง โดยอาศัย IP Address ซึ่ง IP address คือ
ระบบการอ้างอิง การมีตัวตนอยู่ของคอมพิวเตอร์ ซึ่งอ้างอิงจากหมายเลขประจำ
เครื่องคอมพิวเตอร์ ซึ่งประกอบด้วยตัวเลข 4 ชุด มีเครื่องหมายจุดขั้นระหว่างชุด
!
!
!
!
!
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ Page 17
Juthamart limwongsakornwanit
November 24, 2557 BE
ตัวอย่าง IP Address 192.168.0.1 โดยปกติแบ่ง IP address เป็น 2 แบบ
1. Public IP address (อาจเรียกอย่างไม่เป็นทางการว่า WAN IP
address) คือ IP address ที่ใช้งานจริงมีการจดทะเบียนและเสียเงินเพื่อใช้งาน
จริงๆ มีการจดบันทึกในระบบว่า ใครใช้งาน IP อะไรในวงกว้าง
2. Private IP address (อาจเรียกว่า LAN IP address) คือ IP
address ที่ใช้กันในเฉพาะระบบวงปิด เช่นใน Office หรือในบ้านที่มีคอมพิวเตอร์
มากกว่า 1 เครื่อง IP ระบบนี้หากต้องการใช้กับ เครื่องนอกวงต้องใช้ อุปกรณ์ที่
เรียกว่า NAT (Network Address Translator) จะทำการแปลข้อมูลจากวง LAN
ไปออกภายนอก
IP Address จะประกอบด้วยตัวเลข 2 ส่วน คือ
1. Network Address
2. Computer Address
!
การแบ่งขนาดของเครือข่าย
สามารถแบ่งขนาดของการแจกจ่าย Network Address ได้ 3 ขนาดคือ
1.Class A nnn.ccc.ccc.ccc (nnn ชุดแรก ตัวเลขอยู่ระหว่าง 1-126)
เครือข่าย Class A สามารถแจกจ่าย IP Address ได้มากที่สุดถึง 16 ล้าน
หมายเลข
2. Class B nnn.nnn.ccc.ccc (nnn ชุดแรก ตัวเลขอยู่ระหว่าง 128-191)
เครือข่าย Class A สามารถแจกจ่าย IP Address ได้มากเป็นอันดับสอง คือ
65,000 หมายเลข
3. Class c nnn.nnn.nnn.ccc (nnn ชุดแรก ตัวเลขอยู่ระหว่าง 192-233)
เครือข่าย Class A สามารถแจกจ่าย IP Address ได้น้อยที่สุด คือ 256
หมายเลข
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ Page 18
Juthamart limwongsakornwanit
November 24, 2557 BE
nnn หมายถึง Network Address ccc หมายถึง Computer Address
เนื่องจากเครือข่ายก็อาจจำเป็นต้องใช้ IP Address ดังนั้น จึงจำเป็นต้องมี
การจำกัดบางหมายเลขเพื่อใช้เป็นการภายใน ได้แก่
Class A ตั้งแต่ 10.xxx.xxx.xxx
Class B ตั้งแต่ 172.16.xxx.xxx ถึง 172.31.xxx.xxx
Class C ตั้งแต่ 192.168.0.xxx ถึง 192.168.255.xxx
สำหรับภายในองค์กร ก็มีหมายเลขต้องห้ามเช่นกัน ได้แก่
127.xxx.xxx.xxx หมายเลขนี้ใช้สื่อสารกับตัวเอง
การกำหนด IP address
มี 2 วิธีหลักๆ
1. Static IP address คือการกำหนด เลข IP address เอาดื้อๆ เครื่องอื่นๆ
ในวงต้องมี Network Address อยู่ในกลุ่มเดียวกัน จึงจะมองเห็นกันได้
2. Dynamic IP address คือการกำหนด เลข IP address โดยอุปกรณ์
หรือ Server ที่เรียกว่า DHCP server (Dynamic Host Configuration
Protocol Server) ซึ่งจะง่ายกว่าแบบแรกเนื่องจากไม่ต้องทราบอะไรเลยเสียบปุ๊บ
ตั้ง Auto ใช้งานได้เลย
การตั้งค่า Static IP address เพื่อให้วง เป็นวงเดียวกัน จะต้อง
1. มี Subnet mask เดียวกัน
2. หากต้องการวิ่งไปยังช่องทางออกผ่านการแชร์ของเครื่องใดเครื่องหนึ่ง
ให้เช็ค IP address ของทางออก แล้ว Set ค่าที่ Gateway ให้ตรงกับ เครื่องที่ใช้
เป็นทางออก
3. มี Network Address เดียวกัน
4. มี Host Address ไม่ตรงกัน
!
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ Page 19
Juthamart limwongsakornwanit
November 24, 2557 BE
การหาค่า Host และ Network Address
เนื่องจากระบบ IP address ทำงานอยู่บน ระบบ เลขฐาน 2 เป็นจำนวน 32
ตัว เพื่อความง่ายต่อการเรียก จึงแบ่งออกเป็น 4 ชุด ชุดละแปดตัว (2 ยกกำลัง
แปด = 256 เลขที่เป็นไปได้คือ 0-255) การหาค่า Host และ Network Address
ทำได้ดังนี้ตั้งค่าเครื่องคิดเลขของท่านไปเป็นแบบ Logical Calculator
เอาเลข Subnet mask มา and กับ IP Address ค่าที่ได้เป็น Network
Address invert Subnet mask มา and กับ IP Address ค่าที่ได้เป็น Host
Address
8. ชื่อโดเมน
Domain Name (โดเมน) คือ ชื่อเว็บไซต์ (www.yourdomain.com) ที่
ท่านสามารถเป็นเจ้าของ ซึ่งจะต้องไม่ซ้ำกับคนอื่น เพื่อการเรียกหาเว็บไซต์ที่
ต้องการ "ชื่อเว็บไซต์" คือ สิ่งแรกที่แสดง หรือ ประกาศความมีตัวตนบน
อินเตอร์เน็ตให้คนทั่วไปได้รู้จัก สามารถมีได้ชื่อเดียวในโลกเท่านั้น เช่น
www.gict.co.th เมื่อผู้ใช้กรอกชื่อลงไปในช่อง Address ของ Internet
Explorer ก็จะส่งชื่อไปร้องถามจากเครื่องแปลชื่อ โดเมน (Domain Name
Server) และได้รับกลับมาเป็นไอพีแอดเดรส (Internet Protocol) แล้วส่งคำร้อง
ไปให้กับเครื่องปลายทางตามไอพีแอดเดรส และได้ข้อมูลกลับมาตามรูปแบบที่
ร้องขอไป
Sub Domain ( ซับโดเมน ) คือ เว็บย่อยของเว็บไซต์ของเราอีกที โดยปกติ
ถ้ามี Domain (โดเมน) ชื่อ www.gict.co.th เราจะเข้าชมเว็บไซต์ของเราโดย
พิมพ์ www.gict.co.th แต่หากเราต้องเข้าชมเว็บย่อยของเราจะต้องพิมพ์ http://
domain.gict.co.th มีประโยชน์สำหรับท่านที่มีธุรกิจหลายประเภท เป็นการ
จำแนกแยกแยะหมวดหมู่ธุรกิจ
โดนเมนเนม มีด็อทอยู่หลายประเภทแต่ที่นิยมมากที่สุดนั้นก็คือ .com
เพราะเป็นด็อทในยุคแรกๆ ที่เริ่มใช้กัน และง่ายต่อการจดจำ
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ Page 20
Juthamart limwongsakornwanit
November 24, 2557 BE
ประเภทของ Domain Name แบ่งได้เป็น 2 ประเภท
1. โดเมน 2 ระดับ ชื่อโดเมน . ประเภทของโดเมน
2. โดเมน 3 ระดับ ชื่อโดเมน . ประเภทของโดเมน . ประเทศ
โดนเมนเนม 2 ระดับ
จะประกอบด้วย www . ชื่อโดเมน . ประเภทของโดเมน เช่น
www.b2ccreation.com
ประเภทของโดเมน คือ คำย่อขององค์กร โดยประเภทขององค์กรที่พบบ่อย
มีดังต่อไปนี้
* .com คือ บริษัท หรือ องค์กรพาณิชย์
* .org คือ องค์กรเอกชนที่ไม่แสวงผลกำไร
* .net คือ องค์กรที่เป็นเกตเวย์ หรือ จุดเชื่อมต่อเครือข่าย
* .edu คือ สถาบันการศึกษา
* .gov คือ องค์กรของรัฐบาล
* .mil คือ องค์กรทางทหาร
!
!
!
!
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ Page 21
Juthamart limwongsakornwanit
November 24, 2557 BE
โดนเมนเนม 3 ระดับ
จะประกอบด้วย www . ชื่อโดเมน . ประเภทของโดเมน . ประเทศ เช่น
www.kmitnb.ac.th, www.nectec.or.th, www.google.co.th
ประเภทขององค์กรที่พบบ่อยคือ
* .co คือ บริษัท หรือ องค์กรพาณิชย์
* .ac คือ สถาบันการศึกษา
* .go คือ องค์กรของรัฐบาล
* .net คือ องค์กรที่ให้บริการเครือข่าย
* .or คือ องค์กรเอกชนที่ไม่แสวงผลกำไร
ตัวย่อของประเทศที่ตั้งขององค์กร
* .th คือ ประเทศไทย
* .cn คือ ประเทศจีน
* .uk คือ ประเทศอังกฤษ
* .jp คือ ประเทศญี่ปุ่น
* .au คือ ประเทศออสเตรเลีย
!
!
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ Page 22
Juthamart limwongsakornwanit
November 24, 2557 BE
โดนเมนเนม ถือเป็นสิ่งสำคัญอันดับแรกที่มองข้ามไม่ได้เลยสำหรับเว็บไซต์
นั้นๆ โดยเฉพาะกับการโฆษณาบนอินเตอร์เน็ท ถ้าได้ชื่อที่เฉพาะเจาะจง ตรงกับ
กลุ่มเป้าหมายที่มีความสนใจเป็นพื้นฐานเดิมอยู่แล้วนั้น จะทำให้โดเมนเนม หรือ
เว็บไซต์นั้นๆ จะได้รับความสนใจและเป็นที่จดจำได้ง่ายไม่ใช่กับผู้เข้าชมหรือ
กลุ่มเป้าหมายที่เข้ามาชมเว็บไซต์ผ่านโดมเนมเท่านั้นยังรวมไปถึง Search
Engine ชื่อดังต่างๆ เช่น Google Yahoo MSN เป็นต้น ที่จะเข้ามาแวะเวียนเข้า
มาทำ index กับเว็บเพจหน้าต่างๆ ในเว็บไซต์ของเรา
หลังจากจดโดนเมนเนมเป็นที่เรียบร้อยแล้ว สิ่งสำคัญลำดับถัดมานั้นก็คือ
โฮสติ้ง (Hosting) หรือ ที่เก็บข้อมูลเว็บไซต์ของเรานั้นเอง ซึ่งโฮสติ้งแต่ละที่จะมี
DNS หรือ Name Server ที่ทางผู้ให้บริการโฮสติ้ง จะเป็นคนกำหนดและแจ้งให้
เราทราบเพื่อเอาไปใส่ให้โดมเมเนมของเรา
เช่น DNS ของ B2C Creation จะมีชื่อว่า NS1.B2CCREATION.COM
และ NS2.B2CCREATION.COM ซึ่งคุณไม่ต้องกังวลในเรื่องนี้
เพราะถ้าคุณจด Domain Nameและใช้บริการโฮสติ้งกับผู้ให้บริการคน
เดียวกันจะไม่มีปัญหาอะไรเลยครับ หรือแม้ว่าจะเป็นคนละคนกัน เพียงแค่นำ
DNS ที่ได้ ไประบุให้กับโดเมนเนมนั้นตามที่ได้อธิบายไปแล้ว
- See more at: http://www.b2ccreation.com/content/
knowledgebase/kb_view.asp?kbid=19#sthash.PrEhBDBc.dpuf
ข้อควรรู้ก่อนจดโดเมน
1.ความยาวของชื่อ Domain ตั้งได้ไม่เกิน 63 ตัวอักษร
2.Domain ต้องจดในชื่อของคุณเท่านั้น Domain Ownership
3.ถ้าเป็น Domain ของบริษัท พยายามจดภายใต้ชื่อบริษัท อย่าจดด้วยชื่อ
พนักงาน IT
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ Page 23
Juthamart limwongsakornwanit
November 24, 2557 BE
4.ข้อมูลที่สำคัญที่สุดของ Domain คือ Owner Detail
5.ใช้อีเมล์ที่จะอยู่กับคุณตลอดไปในการจดโดเมน ซึ่งเป็นสิ่งเดียวที่ใช้
ติดต่อกับคุณ เรียกว่า Registrant E-Mail
6.บันทึกข้อมูลเกี่ยวกับ Domain ของคุณไว้ให้ดี วันหมดอายุ ผู้ติดต่อ และ
อื่น ๆ
อักขระที่จะใช้ในการตั้งชื่อโดเมน
1. ชื่อ Domain สามารถใช้ ตัวอักษรภาษาไทย ภาษาอังกฤษ ตัวเลข และ
"-" (ยัติภังค์) ได้
2. ชื่อ Domain โดยปกติ จะขึ้นต้นด้วยตัวอักษร และลงท้ายด้วยตัวอักษร
หรือตัวเลข
3. ชื่อ Domain มีความยาวตั้งแต่ 1 ถึง 63 ตัวอักษร
4. ชื่อ Domain ตัวอักษรตัวใหญ่ A-Z หรือตัวอักษรตัวเล็ก ถือว่าเหมือนกัน
5. ชื่อ Domain ต้องไม่ขึ้นต้นหรือลงท้ายด้วยเครื่องหมาย - และต้องไม่มี
Space
หลัการตั้งชื่อโดเมน ภาษาไทย
1. ชื่อ Domain จะต้องไม่เกี่ยวข้องกับพระมหากษัตริย์ พระราชวงศ์
พระบรมวงศานุวงศ์ และสถานที่ที่เกี่ยวข้องกับพระมหากษัตริย์ พระราชวงศ์ และ
พระบรมวงศานุวงศ์
2. ชื่อ Domain จะต้องไม่ก่อให้เกิดความเสื่อมเสียชื่อเสียงแก่ผู้หนึ่งผู้ใด
หรือองค์กรหนึ่งองค์กรใด
3. ชื่อ Domain จะต้องไม่เป็นชื่อต่าง ๆ ของประเทศไทย จังหวัด รวมถึง
สถานที่อันเป็นสาธารณะต่าง ๆ ในประเทศ
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ Page 24
Juthamart limwongsakornwanit
November 24, 2557 BE
4. ชื่อ Domain จะต้องไม่ประกอบด้วยคำหยาบหรือคำที่ผิดต่อศีลธรรมอัน
ดีงามของไทย
5. ชื่อ Domain จะต้องมีความสัมพันธ์อย่างหนึ่งอย่างใดกับชื่อโดเมน
ภาษาอังกฤษที่อ้างอิงดังนี้ คืออ่านออกเสียงได้ตรงกันและ มีความหมายตรงกัน
การจดทะเบียนโดเมนเนม
การจดทะเบียนโดเมนเนม แบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ
1.การจดทะเบียนโดเมนเนมภายในประเทศ
การจดทะเบียนโดเมนเนมภายในประเทศจะได้นามสกุล โดเมน เป็น .จด
โดเมน .co.th, .or.th, .ac.th, in.th เช่นนามสกุล ".CO.TH" มีคนจดมากกว่าชนิด
อื่นๆ เป็นเว็บไซต์ของบริษัท ห้างร้านโดยทั่วไป การจดทะเบียนชื่อโดเมน ต้องเป็น
ชื่อเดียวกับชื่อบริษัท หรือชื่อย่อของชื่อบริษัท ซึ่งจดทะเบียนไว้กับกระทรวง
พาณิชย์ ดังนั้นการจดทะเบียนจึงต้องใช้สำเนาใบทะเบียนการค้า หรือสำเนาใบรับ
รอง หรือสำเนาใบ ภ.พ. 20 เป็นหลักฐาน
• โดเมน นามสกุล .OR.TH ใช้ทำเว็บไซต์ของส่วนราชการ และชื่อโดเมน
ต้องเป็นชื่อขององกร หรือตัวย่อของชื่อองค์กรนั้นๆ ต้องใช้สำเนาเอกสารทาง
ราชการเป็นหลักฐานการจดทะเบียน
• โดเมน นามสกุล .AC.TH เป็นเวบไซตืของสถานศุกษาต่างๆ ชื่อของ
โดเมนที่จดทะเบียนต้องเป็นชื่อของสถานศึกษานั้นๆ หรือชื่อย่อของชื่อสถาน
ศึกษา ใช้สำเนาเอกสารการขออนุญาตก่อตั้งสถานศึกษาเป็นหลักฐาน
• โดเมน นามสกุล .IN.TH เป็นเวบไซต์ของบุคคลธรรมดาโดยทั่วไป ชื่อ
โดเมนจะใช้ชื่ออะไรก็ได้ ใช้สำเนาบัตรประชาชน หรือสำเนาใบขับขี่เป็นหลัก
ฐานการจดทะเบียน
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ Page 25
Juthamart limwongsakornwanit
November 24, 2557 BE
• โดเมน นามสกุล .GO.TH เป็นเวบไซต์ของส่วนราชการของประเทศไทย
โดยปกติจะเป็นองค์กรขนาดใหญ่
• โดเมน นามสกุล NET.TH เป็นเว็บไซต์เกี่ยวกับบริษัทที่เกียวกับระบบ
Network หรือ ISP (ผู้ให้บริการอินเตอร์เน็ต) ในประเทศไทย
การจดทะเบียนโดเมนเนมภายในประเทศ มีกฏระเบียบมาก ต้องจด
ทะเบียนโดเมนเนม แบ่งประเภทตามที่เขาแบ่งไว้ จึงจดทะเบียนโดเมนเนม ได้ยาก
กว่าการจดทะเบียนโดเมนเนม ต่างประเทศ ปัจจุบันการจดทะเบียนโดเมนเนม
ภายในประเทศ ยังถือว่ามีน้อยมาก เนื่องจากการจดทะเบียนโดเมนเนม มีข้อยุ่ง
ยากดังที่กล่าวข้างต้น และมูลค่าของเว็บไซต์มักจะถูกมองว่ามีค่าน้อยกว่าการจด
ทะเบียนโดเมนเนม ที่มีนามสกุลเป็น".COM" กับศูนย์จดทะเบียนโดเมนเนม ต่าง
ประเทศ ทั้งๆ ที่มีความสามารถเหมือนกัน
2.การจดทะเบียนโดเมนเนมต่างประเทศ
การจดทะเบียนโดเมนเนมต่างประเทศจะได้นามสกุล โดเมน
เป็น .COM .NET .ORG
• โดเมน นามสกุล .COM ใช้ทำเว็บไซต์ของบริษัท ห้างร้านโดยทั่วไป รวม
ทั้งเว็บไซต์ส่วนตัว และมีบางครั้งนำไปใช้ทำเว็บไซต์ (web site) ประเภทอื่นๆ
ด้วย
• โดเมน นามสกุล .NET ใช้ทำเว็บไซต์เกี่ยวกับระบบเน็ตเวิร์ค (network)
ของคอมพิวเตอร์ หรือเว็บไซต์บริการอินเตอร์เน็ต แต่บางครั้งก็นำไปใช้ด้านอื่น
ด้วย
!
!
!
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ Page 26
Juthamart limwongsakornwanit
November 24, 2557 BE
• โดเมน นามสกุล .ORG ใช้ทำเว็บไซต์ของส่วนราชการ บางครั้งก็มีการ
จดทะเบียนนำไปใช้กับเว็บไซต์ประเภทอื่นด้วย
ปัจจุบันได้เกิด โดเมน ชนิดอื่นขึ้นอีกมากมาย เนื่องจากว่ามีการพยายาม
แบ่งประเภทเว็บไซต์ออกไป และขณะเดียวกันชื่อ โดเมน ก็เหลือน้อยลง ดังมีราย
ละเอียดดังนี้
• โดเมน นามสกุล .cc เป็น โดเมน ที่คาดว่าน่าจะมีความนิยมทัดเทียม
กับ .com ในเวลาอันใกล้นี้เนื่องจาก .com แทบจะไม่มีชื่อดีๆ เหลืออยู่แล้ว
การนำไปใช้งานสามารถนำไปใช้กับเว็บไซต์ธุรกิจโดยทั่วไปได้
• โดเมน นามสกุล .biz สำหรับเว็บไซต์ธุรกิจโดยทั่วไป เป็น โดเมน น้อง
ใหม่ พึงเกิดขึ้นจากการรวมกลุ่มธุรกิจที่เป็น ธุรกิจจริงๆ ซึ่งก็ได้รับความสนใจ
และเป็นที่รู้จักค่อนข้างเร็ว
• โดเมน นามสกุล .info ใช้สำหรับเว็บไซต์ที่ให้รายละเอียดเกียวกับข้อมูล
ต่างๆ เช่น ข้อมูลของประเทศต่างๆ เป็นต้น
• โดเมน นามสกุล .ws เป็นชนิดของชื่อเว็บไซต์หนึ่งที่พยามยามสร้างขึ้นมา
เพื่อแข่งขันกับ .cc การนำไปใช้งานสามารถนำไปใช้ได้กับทุประเภทเว็บไซต์
• โดเมน นามสกุล .tv เป็นเว็บไซต์ของสื่อโฆษณาต่างๆ โดยเฉพาะสื่อทาง
ด้านภาพและเสียง ปัจจุบันค่อนข้างได้รับความนิยมจากเว็บไซต์ประเภทสื่อพอ
สมควร
แม้ว่าปัจจุบันจะมีโดเมนถูกนำเสนอออกมาหลายประเภท หลายชนิดก็ตาม
แต่ .com .net และ .org ก็ยังถือว่าเป็นโดเมนมาตราฐานสากล ที่ได้รับความนิยม
และยอมรับกันอย่างกว้างขวางทั่วโลก
!
!
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ Page 27
Juthamart limwongsakornwanit
November 24, 2557 BE
9. DNS และ DNS Server
DNS server ย่อมาจาก Domain Name System server คือเครื่องบริการ
แปลงชื่อเว็บเป็นหมายเลข IP ซึ่งการแปลงชื่อนี้อาจเกิดในเครื่อง local เอง จาก
Cache ในเครื่อง local หรือจากเครื่องบริการของผู้ให้บริการเพราะ เบอร์ IP
Address เป็นตัวเลขที่ใช้ไม่ค่อยสะดวกและจำยาก ด้วยเหตุนี้จึงมีการคิดระบบตั้ง
ชื่อแบบที่เป็นตัวอักษรให้มีความหมายเพื่อการจดจำได้ง่ายขึ้น จึงเป็นที่มาของ
DNS server
DNS ทำหน้าที่คล้ายสมุดโทรศัพท์คือ เมื่อมีคนต้องการจะโทรศัพท์หาใคร
คนนั้นก็จะเปิดสมุดโทรศัพท์ดู เพื่อค้นหาหมายเลขโทรศัพท์ของคนที่ต้องการ
ติดต่อ คอมพิวเตอร์ก็เช่นกัน เมื่อต้องการสื่อสารกับคอมพิวเตอร์เครื่องอื่น เครื่อง
นั้นก็จะทำการสอบถามหมายเลข IP ของเครื่องที่ต้องการสื่อสารด้วยกับ DNS
server ซึ่งจะทำการค้นหาหมายเลขดังกล่าวในฐานข้อมูลแล้วแจ้งให้โฮสต์ดัง
กล่าว ทราบ ระบบ DNS แบ่งออกเป็น 3 ส่วนคือ
1.Name Resolvers : ดังที่ได้กล่าวมาแล้วว่าจุดประสงค์หลักของ DNS
คือการแปลงชื่อคอมพิวเตอร์ ให้เป็นหมายเลข IP ในเทอมของ DNS แล้วเครื่อง
ไคลเอนท์ที่ต้องการสอบถามหมายเลข IP จะเรียกว่า "รีโซล์ฟเวอร์ (resolver)"
วอฟแวร์ที่ทำหน้าที่เป็นรีโซล์ฟเวอร์นั้นจะถูกสร้างมากับแอพพลิเคชันหรืออาจจะ
เป็นไลบรารีที่มีอยู่ในเครื่องไคลเอนท์
2.Domain Name Space : ฐานข้อมูลระบบ DNS มีโครงสร้างเป็นต้น
ไม้ ซึ่งจะเรียกว่า "โดเมนเนมสเปซ (Domain Name Space)" แต่ละโดเมนจะ
มีชื่อและสามารถมีโดเมนย่อยหรือซับโดเมน (Subdomain) การเรียกชื่อจะใช้จุด
( .) เป็นตัวแบ่งแยกระหว่างโดเมนหลักและโดเมนย่อย
!
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ Page 28
Juthamart limwongsakornwanit
November 24, 2557 BE
3.Name Servers : เนมเซิร์ฟเวอร์ คือเครื่องคอมพิวเตอร์ที่รันโปรแกรมที่
จัดการฐานข้อมูลบางส่วนของระบบ DNS เนมเซิร์ฟเวอร์จะตอบกลับการร้องขอ
ทันทีโดยการค้นหาข้อมูลในฐานของมูลตัวเอง หรือจะส่งต่อการร้องขอ ไปยังเนม
เซิร์ฟเวอร์อื่น ถ้าเนมเซิร์ฟเวอร์มีเร็คคอร์ดของส่วนของโดเมน
แสดงว่าเนมเซิร์ฟเวอร์นั้นเป็นเจ้าของโดเมนนั้น (Authoritative) ถ้าไม่มีก็
จะเรียกว่า Non-Authoritative
ข้อจำกัดของระบบ DNS รับรู้เฉพาะตัวอักษรละติน (ASCII character set)
ใน RFC 1035 ระบุว่าสัญลักษณ์ที่ใช้ได้ในโดเมนเนม คือ
1.ตัวอักษร a ถึง z (case insensitive)
2.เลข 0 ? 9
3.เครื่องหมายยติภังค์ (-)
ปัจจุบัน ประเทศมีการประดิษฐ์คิดค้นเทคโนโลยีชื่อโดเมนภาษาไทยในปี
2542 โดยกลุ่มผู้ประดิษฐ์คิดค้นชาวไทย ที่เอื้ออำนวยให้ผู้ใช้อินเทอร์เน็ตสามารถ
เรียกดูเว็บไซต์ผ่านทางชื่อโดเมนภาษาไทยเต็มรูปแบบ และเปิดโอกาสให้เจ้าของ
เว็บไซต์ที่ประสบปัญหากับการมีชื่อโดเมนภาษาอังกฤษที่จดจำยาก หรือใช้สื่อสาร
กับกลุ่มเป้าหมายได้อย่างลำบาก สามารถจดทะเบียนชื่อโดเมนภาษาไทยให้กับ
เว็บไซต์ของตัวเอง โดยใช้ตัวแปลงรหัสภาษาท้องถิ่นเพื่อทำงานร่วมกับระบบ
DNS
!
!
!
!
!
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ Page 29
Juthamart limwongsakornwanit
November 24, 2557 BE
10. เว็บ (Web)
เป็นคำเรียกแบบย่อ ของเวิลด์ไวด์เว็บ (World Wide Web) ซึ่งหมายถึง
สถานที่รวมของกลุ่มคอมพิว เตอร์ที่มีข้อมูลเตรียมพร้อมไว้ให้ผู้คนอ่านผ่านทาง
อินเทอร์เน็ต (Internet) โดยใช้ภาษา เอชทีทีพี (HTTP หรือ Hypertext Tranfer
Protocol) ทุกหน้าจะมีทั้งเนื้อหาเรื่องราวต่าง ๆ มีเมนูพร้อมที่จะให้เราสั่งงาน มีคำ
หลายคำที่มีแถบสีซึ่งเราสามารถกดเมาส์ถามหารายละเอียดต่าง ๆ ในเรื่องนั้นต่อ
ซึ่งอาจเป็นการเรียกหาจากแหล่งเดียวกัน หรือจากแหล่งคอมพิวเตอร์อื่นได้ทั่วโลก
ดู internet, HTML ประกอบ
11. เว็บไซต์
เว็บไซต์ (Web Site) คือ แหล่งที่เก็บรวบรวมข้อมูลเอกสารและสื่อประสม
ต่าง ๆ เช่น ภาพ เสียง ข้อความ ของแต่ละบริษัทหรือหน่วยงานโดยเรียกเอกสาร
ต่าง ๆ เหล่านี้ว่า เว็บเพจ (Web Page) และเรียกเว็บหน้าแรกของแต่ละเว็บไซต์ว่า
โฮมเพจ (Home Page) หรืออาจกล่าวได้ว่า เว็บไซต์ก็คือเว็บเพจอย่างน้อยสอง
หน้าที่มีลิงก์ (Links) ถึงกัน ตามหลักคำว่า เว็บไซต์จะใช้สำหรับผู้ที่มีคอมพิวเตอร์
แบบเซิร์ฟเวอร์หรือจดทะเบียนเป็นของตนเองเรียบร้อยแล้วเช่น
www.google.co.th ซึ่งเป็นเว็บไซต์ที่ให้บริการสืบค้นข้อมูลเป็นต้น
สรุป เว็บไซต์ คือ ชื่อเรียกหรือที่อยู่ของเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ให้บริการ
เว็บเพจ คือ หน้าแต่ละหน้าที่มีการเชื่อมโยงถึงกัน
โฮมเพจ คือ หน้าแรกที่เข้าสู่เว็บไซต์นั้น ๆ
ส่วนประกอบของเว็บเพจที่สำคัญ มีดังนี้
1. ข้อความ (Text) ได้แก่ ตัวอักษร ตัวเลข ซึ่งอาจเป็นภาษาอังกฤษ ไทย
หรือภาษา อื่น ๆ ก็ได้
2. กราฟิก (Graphics) ได้แก่ ภาพวาดและรูปภาพต่าง ๆ
3. มัลติมีเดีย (Multimedia) ได้แก่ ภาพเคลื่อนไหว ภาพวีดิทัศน์ เสียง
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ Page 30
Juthamart limwongsakornwanit
November 24, 2557 BE
4. ลิงก์ (Link) ข้อความหรือรูปภาพที่มีลักษณะพิเศษ ซึ่งสามารถเชื่อมโยง
ไปยัง เว็บเพจอื่น ๆ ได้ เราสามารถตรวจสอบได้ว่าส่วนใดเป็นลิงก์โดยนำเมาส์ไป
นี้สัญลักษณ์เมาส์จะเปลี่ยนเป็นมือ ? แสดงว่าส่วนนั้นเป็นลิงก์
!
12. HTTP โปรโตคอลของเว็บ
HTTP เป็นกลไกหรือโปรโตคอลหลักที่ใช้แลกเปลี่ยนข้อมูลกันระหว่าง
เซิร์ฟเวอร์และไคลเอนต์ของเวิลด์ไวด์เว็บ โดยถูกออกแบบมาให้มีความกระทัดรัด
สามารถทำงานได้รวดเร็ว มีกระบวนการทำงานที่ไม่ซับซ้อน และมีคำสั่งที่ใช้งาน
ไม่มากนัก แต่สามารถรองรับข้อมูลได้ทุกแบบ ไม่ว่าเป็นข้อมูลทั่วไปที่เข้ารหัสแบบ
MIME หรือข้อมูลที่เป็นกราฟิก
หลักการทำงานทั่วๆไปของ HTTP คือ จะแบบการทำงานออกเป็น 2 ด้านคือ
ด้านเว็บเซิร์ฟเวอร์ และด้านไคลเอนต์ โดยไคลเอนต์จะติดต่อเข้ามายังเซิร์ฟเวอร์
โดยใช้โปรแกรมบราวเซอร์ และอ้างถึงแอดเดรสของเซิร์ฟเวอร์โดยใช้รูปแบบ
ของ URL ส่วนด้านเซิร์ฟเวอร์จะส่งข้อมูลกลับมาในรูปแบบที่เป็น HTML โดยที่
โปรโตคอล HTTP ใช้วิธีการเข้ารหัสในแบบ MIME เป็นมาตรฐานของการทำงาน
โครงสร้างข้อมูลของ HTTP จะแบ่งออกเป็น 2 ส่วนใหญ่ๆคือ ส่วนเฮดเดอร์
หรือเรียกว่า metadata จะเป็นส่วนเก็บข้อมูลที่จำเป็นต้องใช้ภายในโปรโตคอล
ส่วนที่สองเป็นส่วนข้อมูลจริงที่ต้องการรับส่ง ทั้งนี้ HTTP ถูกออกแบบมาให้สามาร
รับส่งข้อมูลผ่าน Proxy หรือ Firewall ต่างๆได้ โดยการทำงาน HTTP จะอาศัย
โปรโตคอลพื้นฐาน TCP/IP ซึ่งทั่วไปจะใช้หมายเลขพอร์ตที่ 80
โปรโตคอล HTTP ในปัจจุบันได้พัฒนาขึ้นมาเป็นเวอร์ชั่น 1.1 (จากเดิมคือ
เวอร์ชั่น 1.0) ซึ่งโปรแกรมบราวเซอร์ที่แพร่หลายทั่วไปนั้นจะสามารถรองรับ
โปรโตคอลในเวอร์ชั่นใหม่นี้ได้ และได้กำหนดไว้เป็นมาตรฐานใน RFC2068 แล้ว
โดยในHTTP เวอร์ชั่น1.1 นี้ได้เพิ่มประสิทธิภาพทำงานให้สูงขึ้น และปรับปรุงใน
ด้านต่างๆที่ทำให้ความสามารถมากขึ้น
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ Page 31
Juthamart limwongsakornwanit
November 24, 2557 BE
13. HTML ภาษาของเว็บ
HTML ย่อมาจาก Hypertext Markup Language เป็นภาษาคอมพิวเตอร์
รูปแบบหนึ่ง ที่มีโครงสร้างการเขียนโดยอาศัยตัวกำกับ (Tag) ควบคุมการแสดง
ผลข้อความ รูปภาพ หรือวัตถุ อื่น ๆ ผ่านโปรแกรมเบราเซอร์ แต่ละ Tag อาจจะ
มีส่วนขยาย เรียกว่า Attribute สำหรับระบุ หรือควบคุมการแสดงผล ของเว็บได้
ด้วย HTML เป็นภาษาที่ถูกพัฒนาโดย World Wide Web Consortium (W3C)
จากแม่แบบของภาษา SGML (Standard Generalized Markup Language)
โดยตัดความสามารถบางส่วนออกไป เพื่อให้สามารถทำความเข้าใจและเรียนรู้ได้
ง่าย และด้วยประเด็นดังกล่าว ทำให้บริการ www เติบโตขยายตัวอย่างกว้างขวาง
Tag เป็นลักษณะเฉพาะของภาษา HTML ใช้ในการระบุรูปแบบคำสั่ง หรือ
การลงรหัสคำสั่ง HTML ภายในเครื่องหมาย less-than bracket (<) และ
greater-than bracket (>) โดยที่ Tag HTML แบ่งได้ 2 ลักษณะ คือ
1. Tag เดี่ยว เป็น Tag ที่ไม่ต้องมีการปิดรหัส เช่น <hr>(Tag กำหนดเส้น
คั่น), <br> (Tag กำหนดขึ้นบันทัดใหม่) เป็นต้น
2. Tag เปิด/ปิด เป็น Tag ที่ประกอบด้วย Tag เปิด และ Tag ปิด โดย Tag
ปิด จะมีเครื่องหมาย slash ( / ) นำหน้าคำสั่งใน Tag นั้น ๆ เช่น <B>……</B>
(Tag กำหนดตัวหนา), <a href=URL>…จุด link..</a> (Tag กำหนดการเชื่อม
โยงข้อมูล) เป็นต้น
3. Tag เปิด/ปิด บาง tag ละ tag ปิดได้ เช่น <tr> (Tag กำหนดแถว
ตาราง), <th> (Tag กำหนดคอลัมภ์ตาราง)
4. คำสั่งใน Tag เขียนด้วยอักษรตัวใหญ่หรือเล็กก็ได้ เช่น <Body> หรือ
<BODY> หรือ <body>
!
!
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ Page 32
Juthamart limwongsakornwanit
November 24, 2557 BE
โครงสร้างของภาษา HTML
การเขียนโฮมเพจด้วยภาษา HTML นั้น เอกสาร HTML จะประกอบ
ด้วยส่วนประกอบ 2 ส่วน ดังนี้
1. ส่วน Head คือส่วนที่จะเป็นหัว (Header) ของหน้าเอกสารทั่วไป หรือ
ส่วนชื่อเรื่อง (Title) ของหน้าต่างการทำงานในระบบ Windows
2. ส่วน Body จะเป็นส่วนเนื้อหาของเอกสารนั้น ๆ ซึ่งจะประกอบด้วย Tag
คำสั่งในการจัดรูปแบบ หรือตกแต่งเอกสาร HTML
ในทั้งสองส่วนนี้จะอยู่ภายใน Tag <HTML>…</HTML> ดังนี้
• <html>
• <head> <title> ส่วนชื่อเอกสาร </title> </head>
• <body>
• tag คำสั่ง
• </body>
• </html>
คำสั่ง หรือ Tag ที่ใช้ในภาษา HTML ประกอบไปด้วยเครื่องหมายน้อย
กว่า "<" ตามด้วย ชื่อคำสั่งและปิดท้ายด้วยเครื่องหมายมากกว่า ">" เป็นส่วนที่
ทำหน้าที่ตกแต่งข้อความ เพื่อ การแสดงผลข้อมูล โดยทั่วไปคำสั่งของ HTML
ส่วนใหญ่จะอยู่เป็นคู่ มีเพียงบาง คำสั่งเท่านั้น ที่มีรูปแบบคำสั่งอยู่เพียงตัวเดียว
ในแต่ละคำสั่ง จะมีคำสั่งเปิดและปิด คำสั่งปิดของแต่ละ คำสั่งจะมี รูปแบบเหมือน
คำสั่งเปิด เพียงแต่จะเพิ่ม "/" (Slash) นำหน้าคำสั่ง ปิดให้ดู แตกต่าง เท่านั้น และ
ในคำสั่งเปิดบางคำสั่ง อาจมีส่วนขยายอื่นผสมอยู่ด้วย
!
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ Page 33
onet-Work4-07
onet-Work4-07
onet-Work4-07
onet-Work4-07

More Related Content

What's hot

อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น อุไรพร ศรีชนะ เลขที่ 27
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น อุไรพร ศรีชนะ เลขที่ 27อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น อุไรพร ศรีชนะ เลขที่ 27
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น อุไรพร ศรีชนะ เลขที่ 27อุไรพร ศรีชนะ
 
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น อุไรพร ศรีชนะ เลขที่ 27
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น อุไรพร ศรีชนะ เลขที่ 27อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น อุไรพร ศรีชนะ เลขที่ 27
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น อุไรพร ศรีชนะ เลขที่ 27อุไรพร ศรีชนะ
 
อินเทอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ตอินเทอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ตPp'dan Phuengkun
 
1.ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับinternet1
1.ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับinternet11.ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับinternet1
1.ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับinternet1Mevenwen Singollo
 
3.1 พัฒนาการของอินเทอร์เน็ต
3.1 พัฒนาการของอินเทอร์เน็ต3.1 พัฒนาการของอินเทอร์เน็ต
3.1 พัฒนาการของอินเทอร์เน็ตMeaw Sukee
 
อินเทอร์เน็ต1
อินเทอร์เน็ต1อินเทอร์เน็ต1
อินเทอร์เน็ต1SupachaiPenjan
 
งานนำเสนอ อินเตอร์เน็ต
งานนำเสนอ อินเตอร์เน็ตงานนำเสนอ อินเตอร์เน็ต
งานนำเสนอ อินเตอร์เน็ตKunnawut Rueangsom
 
อินทรอเน็ต
อินทรอเน็ตอินทรอเน็ต
อินทรอเน็ตYongyut Nintakan
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1puangtong
 
เรื่อง อินเทอร์เน็ต
เรื่อง อินเทอร์เน็ตเรื่อง อินเทอร์เน็ต
เรื่อง อินเทอร์เน็ตTeerayut43
 
รายงานอินเทอร์เน็ต
รายงานอินเทอร์เน็ตรายงานอินเทอร์เน็ต
รายงานอินเทอร์เน็ตnatlove220
 
อินเตอร์เนต1
อินเตอร์เนต1อินเตอร์เนต1
อินเตอร์เนต1peter dontoom
 
วิชาเทคโนโลยีอินเทอร์เนต ปวส
วิชาเทคโนโลยีอินเทอร์เนต ปวสวิชาเทคโนโลยีอินเทอร์เนต ปวส
วิชาเทคโนโลยีอินเทอร์เนต ปวสpeter dontoom
 
อินเทอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ตอินเทอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ตSarocha Makranit
 

What's hot (18)

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ Internet
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ Internetความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ Internet
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ Internet
 
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น อุไรพร ศรีชนะ เลขที่ 27
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น อุไรพร ศรีชนะ เลขที่ 27อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น อุไรพร ศรีชนะ เลขที่ 27
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น อุไรพร ศรีชนะ เลขที่ 27
 
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น อุไรพร ศรีชนะ เลขที่ 27
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น อุไรพร ศรีชนะ เลขที่ 27อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น อุไรพร ศรีชนะ เลขที่ 27
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น อุไรพร ศรีชนะ เลขที่ 27
 
อินเทอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ตอินเทอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ต
 
1.ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับinternet1
1.ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับinternet11.ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับinternet1
1.ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับinternet1
 
Internet
InternetInternet
Internet
 
Internet History
Internet HistoryInternet History
Internet History
 
3.1 พัฒนาการของอินเทอร์เน็ต
3.1 พัฒนาการของอินเทอร์เน็ต3.1 พัฒนาการของอินเทอร์เน็ต
3.1 พัฒนาการของอินเทอร์เน็ต
 
อินเทอร์เน็ต1
อินเทอร์เน็ต1อินเทอร์เน็ต1
อินเทอร์เน็ต1
 
งานนำเสนอ อินเตอร์เน็ต
งานนำเสนอ อินเตอร์เน็ตงานนำเสนอ อินเตอร์เน็ต
งานนำเสนอ อินเตอร์เน็ต
 
อินทรอเน็ต
อินทรอเน็ตอินทรอเน็ต
อินทรอเน็ต
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
อินเทอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ตอินเทอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ต
 
เรื่อง อินเทอร์เน็ต
เรื่อง อินเทอร์เน็ตเรื่อง อินเทอร์เน็ต
เรื่อง อินเทอร์เน็ต
 
รายงานอินเทอร์เน็ต
รายงานอินเทอร์เน็ตรายงานอินเทอร์เน็ต
รายงานอินเทอร์เน็ต
 
อินเตอร์เนต1
อินเตอร์เนต1อินเตอร์เนต1
อินเตอร์เนต1
 
วิชาเทคโนโลยีอินเทอร์เนต ปวส
วิชาเทคโนโลยีอินเทอร์เนต ปวสวิชาเทคโนโลยีอินเทอร์เนต ปวส
วิชาเทคโนโลยีอินเทอร์เนต ปวส
 
อินเทอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ตอินเทอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ต
 

Similar to onet-Work4-07

อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น ธีระศักดิ์ ขำแห้ว เลขที่ 9
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น ธีระศักดิ์ ขำแห้ว เลขที่ 9อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น ธีระศักดิ์ ขำแห้ว เลขที่ 9
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น ธีระศักดิ์ ขำแห้ว เลขที่ 9Pop Areerob
 
งานนำเสนอดร.นิป
งานนำเสนอดร.นิปงานนำเสนอดร.นิป
งานนำเสนอดร.นิปguest0b1d15e4
 
สื่อการเรียนสอนInternet.ppt22
สื่อการเรียนสอนInternet.ppt22สื่อการเรียนสอนInternet.ppt22
สื่อการเรียนสอนInternet.ppt22terdtanin
 
ความหมายและพัฒนาการอินเทอร์เน็ต
ความหมายและพัฒนาการอินเทอร์เน็ตความหมายและพัฒนาการอินเทอร์เน็ต
ความหมายและพัฒนาการอินเทอร์เน็ตpatchu0625
 
งามคอม200
งามคอม200งามคอม200
งามคอม200เค้ก
 
Internet1
Internet1Internet1
Internet1mod2may
 
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้นอินเทอร์เน็ตเบื้องต้น
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้นNoomim
 
อินเทอร์เน็ต (Internet)
อินเทอร์เน็ต (Internet)อินเทอร์เน็ต (Internet)
อินเทอร์เน็ต (Internet)BAIFERN3112
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็ต
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็ตความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็ต
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็ตSutin Yotyavilai
 
บทที่3เรื่องอินเทอร์เน็ตและการใช้งาน
บทที่3เรื่องอินเทอร์เน็ตและการใช้งานบทที่3เรื่องอินเทอร์เน็ตและการใช้งาน
บทที่3เรื่องอินเทอร์เน็ตและการใช้งานPiyanoot Ch
 
อินเทอร์เน็ต Day2 เช้า
อินเทอร์เน็ต Day2 เช้าอินเทอร์เน็ต Day2 เช้า
อินเทอร์เน็ต Day2 เช้าJenchoke Tachagomain
 
อินเทอร์เน็ต Day2 เช้า
อินเทอร์เน็ต Day2 เช้าอินเทอร์เน็ต Day2 เช้า
อินเทอร์เน็ต Day2 เช้าJenchoke Tachagomain
 
อินเตอร์เน็ต
อินเตอร์เน็ต   อินเตอร์เน็ต
อินเตอร์เน็ต Thanradaphumkaew23
 
กลุ่ม5 เครือข่ายคอมพิวเตอร์และการสื่อสาร
กลุ่ม5 เครือข่ายคอมพิวเตอร์และการสื่อสารกลุ่ม5 เครือข่ายคอมพิวเตอร์และการสื่อสาร
กลุ่ม5 เครือข่ายคอมพิวเตอร์และการสื่อสารPeerapat Thungsuk
 

Similar to onet-Work4-07 (20)

อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น ธีระศักดิ์ ขำแห้ว เลขที่ 9
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น ธีระศักดิ์ ขำแห้ว เลขที่ 9อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น ธีระศักดิ์ ขำแห้ว เลขที่ 9
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น ธีระศักดิ์ ขำแห้ว เลขที่ 9
 
งานนำเสนอดร.นิป
งานนำเสนอดร.นิปงานนำเสนอดร.นิป
งานนำเสนอดร.นิป
 
อินเทอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ตอินเทอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ต
 
สื่อการเรียนสอนInternet.ppt22
สื่อการเรียนสอนInternet.ppt22สื่อการเรียนสอนInternet.ppt22
สื่อการเรียนสอนInternet.ppt22
 
ความหมายและพัฒนาการอินเทอร์เน็ต
ความหมายและพัฒนาการอินเทอร์เน็ตความหมายและพัฒนาการอินเทอร์เน็ต
ความหมายและพัฒนาการอินเทอร์เน็ต
 
งามคอม200
งามคอม200งามคอม200
งามคอม200
 
Internet1
Internet1Internet1
Internet1
 
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้นอินเทอร์เน็ตเบื้องต้น
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น
 
อินเทอร์เน็ต (Internet)
อินเทอร์เน็ต (Internet)อินเทอร์เน็ต (Internet)
อินเทอร์เน็ต (Internet)
 
Internet
InternetInternet
Internet
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็ต
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็ตความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็ต
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็ต
 
Communication Concept
Communication ConceptCommunication Concept
Communication Concept
 
บทที่3เรื่องอินเทอร์เน็ตและการใช้งาน
บทที่3เรื่องอินเทอร์เน็ตและการใช้งานบทที่3เรื่องอินเทอร์เน็ตและการใช้งาน
บทที่3เรื่องอินเทอร์เน็ตและการใช้งาน
 
อินเทอร์เน็ต Day2 เช้า
อินเทอร์เน็ต Day2 เช้าอินเทอร์เน็ต Day2 เช้า
อินเทอร์เน็ต Day2 เช้า
 
อินเทอร์เน็ต Day2 เช้า
อินเทอร์เน็ต Day2 เช้าอินเทอร์เน็ต Day2 เช้า
อินเทอร์เน็ต Day2 เช้า
 
Internet
InternetInternet
Internet
 
อินเตอร์เน็ต
อินเตอร์เน็ต   อินเตอร์เน็ต
อินเตอร์เน็ต
 
กลุ่ม5 เครือข่ายคอมพิวเตอร์และการสื่อสาร
กลุ่ม5 เครือข่ายคอมพิวเตอร์และการสื่อสารกลุ่ม5 เครือข่ายคอมพิวเตอร์และการสื่อสาร
กลุ่ม5 เครือข่ายคอมพิวเตอร์และการสื่อสาร
 
Internet
InternetInternet
Internet
 
Internet
InternetInternet
Internet
 

onet-Work4-07

  • 1. Juthamart limwongsakornwanit November 24, 2557 BE ! ! ! ! ! ! ! ! ! ! ! ! เครือข่ายคอมพิวเตอร์ Page 1 Assumption Convent School ! วิชา คอมพิวเตอร์ นางสาวจุฑามาศ ลิ้มวงศกรวณิช เลขที่ 7 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/1 ครูผู้สอน ม.คุณภัทร สังกลม บทที่ 10 เครือข่ายอินเตอร์เน็ต NETWORK
  • 2. Juthamart limwongsakornwanit November 24, 2557 BE CONTENT เครือข่ายอินเตอร์เน็ต ! 1. อินเทอร์เน็ตคืออะไร 2. ISP คืออะไร 3. ความเป็นมาของอินเทอร์เน็ต 4. อินเทอร์เน็ตเชื่อมต่อกันได้อย่างไร 5. เราจะเชื่อมต่อกับอินเทอร์เน็ตได้อย่างไร 6. โปรโตคอล: กติกาของอินเทอร์เน็ต 7. TCP/IP กับ IP address 8. ชื่อโดเมน 9. DNS และ DNS Server 10. เว็บ (Web) 11. เว็บไซต์ 12. HTTP โปรโตคอลของเว็บ 13. HTML ภาษาของเว็บ 14. URL (Uniform Resource Locator) 15. รู้จักกับ E-mail 16. รูปแบบของ E-mail address 17. การรับและส่งอีเมล 
 เครือข่ายคอมพิวเตอร์ Page 2
  • 3. Juthamart limwongsakornwanit November 24, 2557 BE เครือข่ายคอมพิวเตอร์ ! 1.อินเตอร์เน็ตคืออะไร คือ การเชื่อมต่อระหว่างเครือข่ายคอมพิวเอตร์ทั่วโลกเข้าไว้ด้วยกัน ภาย ใต้มาตรฐานการเชื่อมโยงด้วยโปรโตคอล (Transmission Control Protocol/ Internet Protocol หรือ TCP/IP ) เดียวกัน ซึ่งทำให้คอมพิวเตอร์ทุกเครื่องทั่วโลก สามารถสื่อสารระหว่างกันได้ ) 2.ISP คืออะไร ISP หรือ Internet Service Provider เป็นหน่วยงานที่ให้บริการเชื่อมต่อ เข้ากับเครือข่ายอินเทอร์เน็ต หรือพูดอีกนัยหนึ่งคือ ทำหน้าที่เสมือนเป็นประตูเปิด การเชื่อมต่อให้บุคคลหรือองค์กรสามารถใช้งานอินเทอร์เน็ตได้ สำหรับใน ประเทศไทยมีหน่วยงานที่ให้บริการด้านนี้อยู่ 2 ประเภทด้วยกันคือ ผู้ให้บริการ อินเทอร์เน็ตเชิงพาณิชย์ ( Commercial ISP) และผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ตสำหรับ สถาบันการศึกษา การวิจัยและหน่วยงานของรัฐ (non-commercial ISP ) ซึ่ง ปัจจุบันประเทศไทยมีผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ตมากกว่า 20 ราย ดังตัวอย่างใน ตารางต่อไปนี้ ! เครือข่ายคอมพิวเตอร์ Page 3
  • 4. Juthamart limwongsakornwanit November 24, 2557 BE ! ! ! ! ! ! เครือข่ายคอมพิวเตอร์ Page 4 ! ! ! ! !
  • 5. Juthamart limwongsakornwanit November 24, 2557 BE 3. ความเป็นมาของอินเตอร์ ! อินเทอร์เน็ต คือ การเชื่อมโยงเครือข่ายคอมพิวเตอร์เข้าด้วยกัน ตาม โครงการของอาร์ป้าเน็ต (ARPAnet = Advanced Research Projects Agency Network) เป็นหน่วยงานสังกัดกระทรวงกลาโหมของสหรัฐ (U.S.Department of Defense - DoD) ถูกก่อตั้งเมื่อประมาณ ปีค.ศ.1960(พ.ศ.2503) และได้ถูก พัฒนาเรื่อยมา ในปี พ.ศ. ๒๕๐๐ ประเทศรัสเซียส่งดาวเทียมขึ้นสู่อวกาศได้สำเร็จ กระทรวง กลาโหมของสหรัฐอเมริกาจึงได้รับรู้ว่า เทคโนโลยีชั้นสูงของประเทศยังล้าหลัง กว่าของรัสเซีย ซึ่งส่งผลให้เกิดการตื่นตัว ที่จะพัฒนาเทคโนโลยีชั้นสูง รัฐบาล สหรัฐอเมริกาโดยกระทรวงกลาโหม จึงก่อตั้งหน่วยงานวิจัยชั้นสูงที่ชื่อว่า Advanced Research Projects Agency หรือที่รู้จักกันในนามของ ARPA เครือข่ายคอมพิวเตอร์ Page 5
  • 6. Juthamart limwongsakornwanit November 24, 2557 BE ต่อมา ในปี พ.ศ. ๒๕๐๘ ARPA ได้ให้ทุนแก่มหาวิทยาลัยของสหรัฐอเมริกา เพื่อการทำวิจัยในหัวข้อเรื่อง เครือข่ายการทำงานร่วมกันของคอมพิวเตอร์แบบ แบ่งเวลา (Cooperative network of Time-Shared Computers) หลังจากนั้น อีก ๓ ปี กระทรวงกลาโหมก็ได้สนับสนุนโครงการวิจัยเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ที่ชื่อ ว่า ARPANET จนกระทั่งในปี พ.ศ. ๒๕๑๒ โครงการ ARPANET ได้เชื่อมโยง คอมพิวเตอร์ของมหาวิทยาลัย ๔ แห่ง เข้าด้วยกัน ในปี พ.ศ. ๒๕๑๔ เครือข่าย ARPANET ขยายใหญ่ขึ้น และสามารถเชื่อม โยงคอมพิวเตอร์ของมหาวิทยาลัยต่างๆ ได้ถึง ๒๓ เครื่อง จากการศึกษาเรื่องเครือข่ายคอมพิวเตอร์ จนถึงระยะเวลานั้น ผู้พัฒนาเครือ ข่ายหลายคน เริ่มเห็นปัญหาของการเชื่อมโยงระบบคอมพิวเตอร์ที่มีหลากหลาย ชนิด และหลากหลายผลิตภัณฑ์ จึงทำให้เกิดปัญหายุ่งยากในการเชื่อมโยง แนว ความคิดที่จะสร้างระบบเปิดจึงเกิดขึ้น กล่าวคือ กำหนดมาตรฐานกลางที่ ผลิตภัณฑ์ทุกยี่ห้อสามารถจะเชื่อมโยงเข้าสู่มาตรฐานนี้ได้ แนวคิดในการเชื่อมโยงเครือข่ายเข้าด้วยกัน และเชื่อมโยงในลักษณะวง กว้าง เป็นสิ่งที่เป็นไปได้ ดังนั้น ในปี พ.ศ. ๒๕๑๕ ผู้พัฒนาเครือข่ายจึงสร้าง โปรโตคอลใหม่ และให้ชื่อว่า TCP/IP (Transmission Control Protocol / Internet Protocol) และให้ชื่อเครือข่ายที่เชื่อมโยงโดยใช้โปรโตคอลนี้ว่า อินเทอร์เน็ต หลังจากนั้น โครงการ ARPANET ได้นำโปรโตคอล TCP/IP ไปใช้ การพัฒนาเครือข่ายคอมพิวเตอร์ได้ดำเนินการต่อมา ถึงแม้ว่าในช่วงหลัง กระทรวงกลาโหมของสหรัฐอเมริกาได้ยกเลิกการสนับสนุน และหันกลับไปทำวิจัย และพัฒนาเอง เครือข่ายนี้ก็เติบโตขึ้นอย่างรวดเร็ว และมีการพัฒนามาตรฐาน ต่างๆ เข้ามาใช้ประกอบร่วมกันอย่างต่อเนื่อง จนในที่สุดได้กลายเป็นมาตรฐาน การสื่อสารที่ชื่อว่า TCP/IP และใช้ชื่อเครือข่ายว่า อินเทอร์เน็ต (Internet) เครือข่ายคอมพิวเตอร์ Page 6
  • 7. Juthamart limwongsakornwanit November 24, 2557 BE ต่อมาการบริหาร และดำเนินงานเครือข่าย ได้รับการสนับสนุน จากมูลนิธิ การศึกษาวิทยาศาสตร์แห่งชาติสหรัฐอเมริกา หรือที่ใช้ชื่อย่อว่า NSF (National Science Foundation) มีการตั้งคณะกรรมการเข้ามาบริหารเครือข่ายกลาง ที่เปิด โอกาสให้ผู้อื่นเข้ามาเชื่อมโยง และได้ดำเนินการ จนอินเทอร์เน็ตกลายเป็นเครือ ข่ายคอมพิวเตอร์ที่ยิ่งใหญ่ของโลก สำหรับในประเทศไทย เริ่มเชื่อมโยงเข้าสู่ระบบอินเทอร์เน็ต ตั้งแต่กลางปี พ.ศ. ๒๕๓๐ โดยมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ได้ทำการเชื่อมโยง เพื่อส่ง อิเล็กทรอนิกส์เมลกับประเทศออสเตรเลีย ซึ่งทำให้มีระบบอิเล็กทรอนิกส์เมลเชื่อม ต่อกับอินเทอร์เน็ตเป็นครั้งแรก ต่อมาในวันที่ ๒๗ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๓๕ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ได้เช่าสายวงจรเชื่อมต่อกับอินเทอร์เน็ตเป็นครั้งแรก ใน ช่วงระยะเวลาเดียวกันนี้ กระทรวงวิทยาศาสตร์ฯ โดยศูนย์เทคโนโลยี อิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ ก็ได้มีโครงการที่จะเชื่อมโยงเครือข่าย คอมพิวเตอร์ระหว่างมหาวิทยาลัยขึ้น เครือข่ายคอมพิวเตอร์ระหว่างมหาวิทยาลัย ในประเทศไทย ได้พัฒนาก้าวหน้าขึ้นเป็นลำดับ จนทำให้มีสถาบันออนไลน์กับ อินเทอร์เน็ตเป็นกลุ่มแรก ได้แก่ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลับ มหาวิทยาลับ ธรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีแห่งเอเซีย เครือข่ายคอมพิวเตอร์ Page 7
  • 8. Juthamart limwongsakornwanit November 24, 2557 BE มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ และศูนย์ เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติการพัฒนาเครือข่ายจึงเป็นไป ตามกระแส การเชื่อมโยงเข้าสู่ระบบสากล มาตรฐานการเชื่อมโยงเป็นแบบโพรโท คอล TCP/IP ตามมาตรฐานนี้ มีการกำหนดหมายเลขแอดเดรส ให้แก่เครือข่าย และเครื่องคอมพิวเตอร์ โดยมีการสร้างเป็นลำดับชั้น เพื่อให้การเชื่อมโยงเครือ ข่ายเป็นระบบ แอดเดรสนี้จึงมีชื่อว่า ไอพีแอดเดรส (IP address) ไอพีแอดเดรสทุกตัว จะต้องได้รับการลงทะเบียน เพื่อจะได้มีหมายเลขไม่ซ้ำ กันทั่วโลก การกำหนดแอดเดรสจะเป็นการกำหนดหมายเลข ให้แก่เครือข่าย ผู้ใช้ เครือข่ายย่อยในเครือข่ายที่เชื่อมต่อกับอินเทอร์เน็ต จะเป็นสมาชิกของ อินเทอร์เน็ต โดยปริยาย เพราะเครื่องคอมพิวเตอร์ของตน สามารถเชื่อมโยงกับ เครื่องอื่นๆ ได้ทั่วโลก ผู้ใช้งานอยู่ที่บ้าน สามารถใช้คอมพิวเตอร์จากบ้าน ต่อผ่าน โมเด็ม มาที่เครื่องหลัก หลังจากนั้น ก็จะเชื่อมโยงเข้าสู่เครือข่ายต่างๆ ได้ นิสิต นักศึกษาซึ่งอยู่ที่บ้าน จะสามารถติดต่อกับอาจารย์ผู้สอนในมหาวิทยาลัย หรือ ติดต่อกับเพื่อนๆ ได้ ทั้งในมหาวิทยาลัย และต่างมหาวิทยาลัย หรือในต่างประเทศ อินเทอร์เน็ตจึงเป็นเครือข่ายคอมพิวเตอร์ มีอัตราการขยายตัวอย่างรวดเร็ว จนคาดกันว่า ในอนาคต เครือข่ายอินเทอร์เน็ตจะเชื่อมโยงคนทั้งโลกเข้าด้วยกัน เครือข่ายคอมพิวเตอร์ในประเทศไทย สามารถเชื่อมโยงได้ทุกมหาวิทยาลัย โดยมี การเชื่อมโยงเข้าสู่อินเทอร์เน็ต ที่เชื่อมโยงกันในประเทศ ซึ่งจัดการโดยหน่วย บริการอินเทอร์เน็ต หรือที่เรียกว่า ISP (Internet Service Provider) หน่วยบริการ ISP จะมีสายเชื่อมโยงไปยังต่างประเทศเข้าสู่อินเทอร์เน็ต ในปี พ.ศ. ๒๕๓๕ เครือข่ายระหว่างมหาวิทยาลัยได้เชื่อมโยงกัน โดยมีแกน กลางคือ ศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่ง ชาติ และให้ชื่อเครือ ข่ายนี้ว่า เครือข่ายไทยสาร (THAISARN - THAI Social / Scientific, Academic and Research Network) การเชื่อมโยงภายในประเทศ ทำให้ทุกเครือข่ายย่อย สามารถเชื่อมโยงเป็นอินเทอร์เน็ตสากลได้ ! เครือข่ายคอมพิวเตอร์ Page 8
  • 9. Juthamart limwongsakornwanit November 24, 2557 BE 4. อินเตอร์เชื่อมต่อกันอย่างไร อินเตอร์เน็ตเชื่อมต่อโดยการเข้าสู่อินเทอร์เน็ตโดยผ่านทางระบบเครือข่าย ของสำนักงาน บริษัท หรือ สถานศึกษาของตน ซึ่งตามปกติแล้วหากเป็นหน่วยงาน หรือสำนักงานใหญ่ๆ จะต่อคอมพิวเตอร์เป็นระบบภายในองค์กร (LAN) ซึ่งมักจะ เชื่อมต่อกับผู้ให้บริการ (ISP) ผ่านสายนำสัญญาณความเร็วสูง (High-Speed Leased Line) แทนที่จะเชื่อมต่อ ผ่านโมเด็ม (Modem) แต่ถ้าหากว่าคอมพิวเตอร์ ที่ใช้อยู่ในวง LAN ที่ไม่โตมากนักก็อาจใช้เชื่อมต่อผ่านโมเด็มก็ได้ เพราะ จะ ทำให้ลดค่าใช้จ่ายในการเชื่อมต่อระบบ แต่อาจจะมีปัญหาในเรื่องของความเร็ว ในการเข้าสู่อินเทอร์เน็ตบ้างเล็กน้อย 5. เราจะเชื่อมต่อกับอินเตอร์ได้อย่างไร 1.อุปกรณ์ 1.1) คอมพิวเตอร์ 1.2) โมเด็ม (Modulator Demodulator Machine) โมเด็มคืออุปกรณ์ซึ่งทำหน้าที่แปลงข้อมูลที่ได้จากเครื่องคอมพิวเตอร์ไป เป็นสัญญาณไฟฟ้ารูปแบบหนึ่ง (Impulse) ซึ่งสามารถส่งผ่านสายโทรศัพท์ทั่วไป ได้ซึ่งสัญญาณโทรศัพท์นั้นจะเป็นสัญญาณอนาล๊อกส่วนสัญญาณข้อมูลที่มาจาก คอมพิวเตอร์จะเป็นสัญญาณ ดิจิตอลทำให้ต้องใช้ โมเด็มในการแปลงสัญญาณอ นาล๊อกเป็นดิจิตอลและดิจิตอลเป็นอนาล๊อกก่อน โมเด็มสามารถแยกได้เป็น 3 ชนิด แต่ละชนิดก็มีข้อดีข้อเสียแตกต่างกันไปดังนี้ เครือข่ายคอมพิวเตอร์ Page 9
  • 10. Juthamart limwongsakornwanit November 24, 2557 BE ! ! 1.โมเด็มแบบติดตั้งภายใน โมเด็มชนิดนี้จะมีลักษณะเป็นแผ่นวงจรอิเล็ก ทรอนิกนำมาติดตั้งเข้ากับภายในตัวเครื่องคอมพิวเตอร์โดยตรง รูปร่างจะแตก ต่างกันตามที่ผู้ผลิตจะออกแบบมาสำหรับคอมพิวเตอร์ชนิดนั้นๆโมเด็มชนิดนี้จะ ใช้ไฟฟ้าจากพาวเวอร ์ซับพายที่มันต่ออยู่ทำให้เราไม่ต้องต่อไฟหม้อแปลงต่าง หากจากภายนอก ส่วนมากโมเด็มติดตั้งภายในจะทำการติดตั้งผ่านทาง Port อนุกรม RS-232C รวมอยู่ด้วย ทำให้ไม่มีปัญหาในเรื่อง port อนุกรมรุ่นเก่าที่ติด มากับเครื่องคอมพิวเตอร์ การเชื่อมต่อโมเด็มกับเครื่องคอมพิวเตอร์จะต่อทาง slot มาตรฐานในเครื่องคอมพิวเตอร์และเมื่อติดตั้งแล้วจะไม่เปลืองเนื้อที่ภายนอกใดๆ เลย และโมเด็มสำหรับติดตั้งภายในจะมีจุดให้ผู้ใช้เสียบสายโทรศัพท์เข้ากับ โมเด็มโดยใช้ปลั๊กโทรศัพท์ธรรมดา แบบ RJ-11 และมีลำโพงประกอบด้วย 2.โมเด็มแบบติดตั้งภายนอก จะมีลักษณะเป็นกล้องสี่เหลี่ยมแบนๆภายในมี วงจรโมเด็มไฟสถานะและลำโพง เนื่องจากต่อภายนอกจึงต้องมี adapter แปลง สัญญาณก่อนและจะมีสายต่อแบบ 25 ขา DB25 เอาไว้ใช้เชื่อมต่อผ่านทาง port อนุกรม RS - 232C 1 3.PCMCIA (Personal Computer Memory Card International Asociation) จะเป็นโมเด็มที่มีขนาดเล็ที่สุดคือ มีขนาดเท่าบัตรเครดิตรอละหนา เพียง 5 มิลเท่านั้นซึ่งโมเด็มชนิดนี้ออกแบบมาโดยให้คอมพิวเตอร์โน๊ตบุคโดย เฉพาะซึ่งในปัจจุบันโมเด็มชนิดนี้จะมีความเร็วพอๆ กับโมเด็มที่ติตตั้งภายนอก และภายใน ในปัจจุบันนี้โมเด็มมีความเร็วสูงสุดที่ 56Kbps(Kilobyte per second)โดยจะใช้มาตรฐาน V.90 เป็นตัวกำหนด ! เครือข่ายคอมพิวเตอร์ Page 10
  • 11. Juthamart limwongsakornwanit November 24, 2557 BE 2.วิธีการเข้าสู่อินเทอร์เน็ต เครื่องคอมพิวเตอร์ของเราสามารถติดต่อกับอินเทอร์เน็ตได้หลายวิธี ทั้งนี้ ขึ้นอยู่กับว่าเราต้องการความเร็วมากน้อยเพียงใดในการติดต่อรวมทั้งสถานที่ที่ เราใช้เครื่องของเราด้วยว่าห่างไกลจากศูนย์คอมพิวเตอร์ ที่ทำหน้าที่เป็นเครื่องที่ แจกจ่ายข้อมูลและก็ขึ้นอยู่กับงบประมาณของผู้ใช้ว่าต้องการความเร็วหรือความ สะดวกรวดเร็วมากน้อยเพียงใดด้วย ในปัจจุบันผู้ใช้อินเทอร์เน็ตที่ไม่ได้เป็น สมาชิกของสถาบันการศึกษาจะต้องเสียค่าบริการอินเทอร์เน็ตในอัตราที่ค่อนข้าง สูง กล่าวกันว่าอัตราค่าบริการอินเทอร์เน็ตของบุคคลทั่วไปในประเทศไทยนี้สูง ที่สุดในโลก ทั้งนี้ก็เป็นไปตามนโยบายของรัฐบาลที่จะถือว่าผู้ใช้อินเทอร์เน็ตเป็น คนร่ำรวยและ สามารถจ่ายค่าบริการจำนวนนี้ได้โดยไม่เดือดร้อน ทั้งนี้การเก็บค่า บริการอินเทอร์เน็ต นี้ยังคงเป็นการผูกขาดของการสื่อสารแห่งประเทศไทย ซึ่งเป็น ผู้ควบคุมดูแลการโทรคมนาคมระหว่างประเทศทั้งหมด การสื่อสารฯได้รายได้จาก การผูกขาดนี้เป็นกอบเป็นกำ เหตุผลที่การสื่อสารมักจะอ้างก็คือว่า เนื่องจากผู้ใช้ อินเทอร์เน็ตมีฐานะดี ดังนั้นจึงควรเก็บค่าบริการแพงๆเหมือนกับการเก็บภาษี กลายๆเพื่อเป็นทุนในการช่วยเหลือผู้ด้อยโอกาส เหตุผลนี้ดูเหมือนจะมีน้ำหนักพอ สมควร แต่ถ้าพิจารณาว่า การใช้จ่ายเงินของภาครัฐฯไม่มีความโปร่งใสใดๆ ให้ ตรวจสอบได้อย่างจริงจัง ก็ไม่น่าเชื่อว่าข้ออ้างดังกล่าวนี้เป็นความจริง นอกจากนี้ การอ้างว่าผู้ใช้อินเทอร์เน็ตเป็นผู้ร่ำรวยเท่านั้นยังเป็นการแบ่งชนชั้นวรรณะอย่าง โจ่งแจ้ง และเท่ากับว่าคนอื่นๆ ที่ไม่ใช่คนรวยจะไม่มีวันสัมผัสกับอินเทอร์เน็ตได้ ความคิดเช่นนี้ไม่เอื้อต่อการผลักดันให้ประเทศไทยก้าวไปข้างหน้าได้เป็นอย่างยิ่ง ย้อนมาพูดถึงเรื่องการติดต่อกับอินเทอร์เน็ต ในขณะนี้เรามีวิธีติดต่ออยู่ 4 วิธี 1.การติดต่อแบบถาวร หรือ Permanent Connection การติดต่อแบบนี้ เป็นแบบที่รวดเร็วที่สุด แต่ก็สิ้นเปลืองค่าใช้จ่ายมากที่สุดด้วยเช่นกัน ระบบเครือ ข่ายที่เรียกว่า Ethernet ซึ่งเป็นระบบฮาร์ดแวร ์ของเครือข่ายที่ใช้กันมากที่สุด สายที่เชื่อมต่อจากแม่ข่ายมายังอาคารอบรมนี้เป็นสายใยแก้วนำแสง ซึ่งให้ ความเร็วข้อมูลสูงมาก ! เครือข่ายคอมพิวเตอร์ Page 11
  • 12. Juthamart limwongsakornwanit November 24, 2557 BE 2.การติดต่อโดยตรงเมื่อต้องการ หรือการติดต่อโดยตรงผ่านสายโทรศัพท์ (On Demand Permanent Connection) การติดต่อแบบนี้เป็นวิธีที่ดีที่สุดถ้า เครื่องของเราไม่ได้ติดต่อโดยตรงโดยเครือข่าย แบบ Ethernet วิธีการก็คือเราใช้ สายโทรศัพท์ธรรมดาที่เราใช้กันอยู่เป็นเส้นทาง ในการเชื่อมโยงข้อมูลแทน การที่ คอมพิวเตอร์ติดต่อกันโดยผ่านสายโทรศัพท์จำเป็น ที่จะต้องมีอุปกรณ ์อันหนึ่งเรี กว่า "โมเด็ม" (modem) ซึ่งทำหน้าที่แปรข้อมูลจากคอมพิวเตอร์ ซึ่งเป็นข้อมูลแบ บดิจิตัล เป็นสัญญาณโทรศัพท์ซึ่งเป็นสัญญาณแบบอนาล็อก และนอกจากโมเด็ม แล้วก็จะต้องมีโปรแกรมพิเศษ อีกโปรแกรมหนึ่งเพื่อทำให้เครื่องของเราทำงาน เป็นส่วนหนึ่งของอินเทอร์เน็ตจริงๆ โปรแกรมนี้ก็เป็นภาษาเครือข่ายบน อินเทอร์เน็ตอีกภาษาหนึ่ง เรียกว่า "PPP" ซึ่งย่อมาจาก Point-to-Point Protocol การใช้โปรแกรมนี้ทำให้เครื่องของเราสามารถทำงานได้ทุกอย่าง เช่นเดียวกับที่ เครื่องแม่ข่ายหรือเครื่องที่ต่อกับแม่ข่ายด้วย Ethernet ทำได้ เพียงแต่ว่าสาย โทรศัพท์ นั้นจะเท่ากับมีการพูดสายอยู่ตลอดเวลาที ่เราต่อกับระบบอยู่ศูนย์ บริการอินเทอร์เน็ตมักจะเรียกการบริการแบบนี้ว่า "แบบรูปภาพ" หรือ Graphic Service เนื่องจากการติดต่อแบบนี้ทำให้เราสามารถดึงเอาข้อมูลที่เป็นรูปภาพ หรือ เสียงมาดูหรือฟังได้โดยตรง 3.การติดต่อแบบเทอร์มินัล (Dial-Up Terminal Connection) การใช้ โปรแกรม PPP นี้จำเป็นต้องอาศัยเครื่อง ที่มีสมรรถนะสูงพอสมควร โดยเฉพาะ อย่างยิ่งถ้าเราใช้โปรแกรมใหม่ๆสำหรับค้นหาข้อมูลบนอินเทอร์เน็ต แต่ถ้าเรา ไม่มีเครื่องแบบนั้น เราก็ยังไม่หมดหวังเสียทีเดียว เนื่องจากยังมีการติดต่ออีกวิธี หนึ่ง ได้แก่การติดต่อแบบเทอร์มินัล ซึ่งไม่จำเป็นต้องใช้เครื่องเร็วๆแต่อย่างใด เลย วิธีการนี้ก็คล้ายคลึงกับวิธีที่สองตรงที่เป็นการเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์เข้ากับ อินเทอร์เน็ตโดยใช้โมเด็ม แต่แตกต่างกันที่ในการต่อแบบนี้เครื่องของเรามีฐานะ เป็นเพียงจอของเครื่องที่เราต่อไปหาเท่านั้น เครื่องของเราไม่มีฐานะเป็นส่วนหนึ่ง ของอินเทอร์เน็ตแต่ประการใด แต่ในขณะที่เราใช้การติดต่อแบบนี้อยู่นั้น การ ประมวลผลของเครื่องไม่มีบทบาทอะไรเกี่ยวกับการติดต่อนี้เลย นอกจากบทบาท เล็กน้อยเวลาเราถ่ายโอนข้อมูลระหว่างเครื่องที่เราต่อไปหากับเครื่องของเรา เท่านั้น โปรแกรมที่ใช้สำหรับการติดต่อแบบนี้ก็เป็นโปรแกรมสั่งงานโมเด็มตาม เครือข่ายคอมพิวเตอร์ Page 12
  • 13. Juthamart limwongsakornwanit November 24, 2557 BE ปกติ เช่น Procomm หรือ Terminal ใน Windows หรือ Zterm ในเครื่อง แมคอินทอช การติดต่อแบบนี้ก็ทำให้เราสามารถติดต่อกับทุกๆ ส่วนของ อินเทอร์เน็ตได้ เพียงแต่ว่าเราต้องใช้วิธีการบางอย่างเปลี่ยนข้อมูลที่ไม่ใช่ตัว อักษรมาเป็นไฟล์ที่ใช้งานได้ ศูนย์บริการอินเทอร์เน็ตมักเรียก การบริการแบบนี้ว่า "ตัวอักษรล้วนๆ" (Text only) เนื่องจากการติดต่อมีแต่ทางตัวอักษรเท่านั้น แต่ไม่ ได้หมายความว่าเราไม่สามารถดึงเอาข้อมูลชนิดอื่นมาได้ 4.การติดต่อแบบไปรษณีย์เท่านั้น (E-mail Only Connection ) การติดต่อ แบบนี้เป็นวิธีที่มีข้อจำกัดมากที่สุด แต่ก็ประหยัดทรัพยากรมากที่สุดด้วยเช่นกัน วิธีนี้เกือบจะเหมือนกับแบบที่สาม ต่างกันเพียงแค่ว่าเราใช้บริการได้แต่เพียง ไปรษณีย์อิเล็กโทรนิกส์ หรืออีเมล์เท่านั้น ไม่สามารถใช้บริการอื่นๆบนอินเทอร์เน็ต ได้ (เช่น การถ่ายโอนข้อมูล การสืบค้นข้อมูลบนเวิร์ลไวด์เว็บ ฯลฯ) บริการอย่าง เดียวที่เราใช้ได้ก็คือ ไปรษณีย์อิเล็กโทรนิกส์ 6. โปรโตคอล:กติกาของอินเตอร์เน็ต การทำงานขององค์ประกอบต่าง ๆ ของอินเทอร์เน็ตจะสอดคล้องกันได้ ก็ ต้องมีกติกาที่ทุกเครื่องทุกโปรแกรมรับรู้และทำตามเป็นมาตรฐานเดียวกัน บน อินเทอร์เน็ตมีกติกาทำนองนี้มากมายสำหรับแต่ละเรื่อง เรียกว่า โปรโตคอล ซึ่งที่ สำคัญก็เช่น TCP/IP กับ IP address เป็นกติกาหลักในการับส่งข้อมูลผ่านอินเทอร์เน็ต ข้อมูลทุกรูปแบบไม่ว่าจาก โปรแกรมใดจะต้องแปลงให้อยู่ในมาตรฐานของ TCP/IP เสียก่อนจึงจะรับส่งได้ กติกาจะนี้กำหนดวิธี ขั้นตอนในการรับส่งข้อมูล และการตรวจสอบความถูกต้อง อย่างรัดกุม ! ! เครือข่ายคอมพิวเตอร์ Page 13
  • 14. Juthamart limwongsakornwanit November 24, 2557 BE ส่วนที่เกี่ยวข้องกับผู้ใช้คือการเรียกชื่อเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ต่อกับ อินเทอร์เน็ต ซึ่งทางเทคนิคเรียกว่า “ที่อยู่ IP” หรือ IP Address เป็นตัวเลขล้วน ๆ 4 ชุด แต่ละชุดมีค่าระหว่าง 0-255 คั่นด้วยจุด เช่น 202.44.202.22 หรือ 203.15.225.69 ซึ่งจะทำให้ตั้งชื่อเครื่องคอมพิวเตอร์ได้นับพันล้านเครื่องโดยไม่ ซ้ำกัน โดเมนเนม (Domain Name) เนื่องจากผู้ใช้ทั่วไปจะรู้สึกว่า IP Address นั้นจำยาก มีการคิดระบบชื่อ โดเมนหรือโดเมนเนม ขึ้นมาโดยใช้ภาษาอังกฤษเป็นคำ ๆ ซึ่งสื่อความหมายนำ มาเรียงต่อกันโดยคั่นแต่ละคำด้วยจุด (.) เช่น www.provision.co.th คือ ชื่อ เครื่องคอมพิวเตอร์ที่เป็นเว็บเซิร์ฟเวอร์ (www) ของบริษัทโปรวิชั่น (.provision) เป็นหน่วยงานประเภทบริษัท (.co) และจดทะเบียนในประเทศไทย (.th) เป็นต้น DNS และ DNS Server เมื่อมีชื่อที่ใช้อ้างถึงเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ต่อกับอินเทอร์เน็ตอยู่สองระบบดัง กล่าวข้างต้น ก็ทำให้ต้องมีกลไกการเปลี่ยนแปลงชื่อซึ่งเรียกว่า Domain Name System (DNS) เข้ามาช่วยโดยแต่ละ ISP จะมีคอมพิวเตอร์เฉพาะที่คอยเก็บข้อมูล ว่าชื่อโดเมนแต่ละชื่อมี IP Address อะไร เราเรียกเครื่องที่ทำหน้าที่นี้ว่า DNS Server HTTP : โปรโตคอลของ www โปรโตคอลสำหรับเปิดดูข้อมูลจาก www มีชื่อว่า HTTP ซึ่งเราเรียกใช้ได้ โดยระบุ http:// ในช่องที่กรอกชื่อเว็บของบราวเซอร์ แล้วตามด้วยชื่อเครื่องที่จะ เรียกดูข้อมูล ! ! ! เครือข่ายคอมพิวเตอร์ Page 14
  • 15. Juthamart limwongsakornwanit November 24, 2557 BE URL = โปรโตคอล + ชื่อโดเมน + ชื่อไฟล์ในเครื่อง การเข้าถึงข้อมูลใด ๆ บนอินเทอรเน็ต ไม่ว่าจะเป็นเว็บเพจหรือไฟล์ประเภท อื่นเราจะต้องรู้ที่อยู่ (Address) ของข้อมูลนั้น ซึ่งรูปแบบของที่อยู่นี้ถูกกำหนดไว้ เป็นมาตรฐานเรียกว่า URL โดยมีองค์ประกอบ 3 ส่วนคือ - โปรโตคอล - ชื่อโดเมนของเครื่อง - ชื่อไฟล์เว็บเพจ ! เว็บไซท์และเว็บเพจ เว็บไซท์ (Web Site) หมายถึง กลุ่มของเว็บเพจที่เกี่ยวข้องสัมพันธ์กัน เช่น กลุ่มของเว็บเพจที่ให้ข้อมูลเกี่ยวกับประวัติ รวมทั้งสินค้าและบริการของบริษัทหนึ่ง เป็นต้น ภายในเว็บไซท์นอกจากเว็บเพจหรือไฟล์ HTML แล้ว ยังประกอบด้วยไฟล์ ชนิดอื่น ๆ ที่จำเป็นสำหรับสร้างเป็นหน้าเว็บเพจ เช่น รูปภาพ มัลติมีเดีย ไฟล์ โปรแกรมภาษาสคริปต์ และไฟล์ข้อมูลสำหรับให้ดาวน์โหลด เป็นต้น เครื่องคอมพิวเตอร์ที่ให้บริการ www ซึ่งมีให้เราสามารถเรียกดูเว็บเพจใน เครื่องนั้นได้ จะเรียกว่า เว็บเซิร์ฟเวอร์ (Web Server) โฮมเพจ โฮมเพจ (Home Page) คือเว็บเพจหน้าแรก เป็นทางเข้าหลักของเว็บไซท์ ปกติเว็บเพจทุก ๆ หน้าในเว็บไซท์จะถูกลิงค์มาจากโฮมเพจ ดังนั้นบางครั้งจึงมีผู้ ใช้คำว่าโฮมเพจโดยหมายถึงเว็บไซท์ทั้งหมด แต่ความจริงแล้วโฮมเพจหมายถึง หน้าแรกเท่านั้น ถ้าเปรียบกับร้านค้า โฮมเพจก็เป็นเสมือนหน้าร้านนั่นเอง ! ! เครือข่ายคอมพิวเตอร์ Page 15
  • 16. Juthamart limwongsakornwanit November 24, 2557 BE เว็บเพจ เว็บเพจ (Web Page) หมายถึง หน้าเอกสารของบริการ www ตามปกติจะ ถูกเก็บอยูในรูปแบบไฟล์ Html โดยไฟล์ Html 1 ไฟล์ก็คือเว็บเพจ 1 หน้านั่นเอง ภายในเว็บเพจอาจประกอบไปด้วยข้อความ ภาพ เสียง วิดีโอ และภาพเคลื่อนไหว แบบมัลติมีเดีย นอกจากนี้เว็บเพจแต่ละหน้าจะมีการเชื่อมโยงหรือ “ลิงค์” (Link) เพื่อให้ผู้ชมเรียกดูเอกสารหน้าอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องได้สะดวกอีกด้วย นอกจากรูปแบบไฟล์ HTML แล้ว ปัจจุบันเว็บเพจบางส่วนจะถูกเก็บอยู่ใน รูปไฟล์โปรแกรมภาษาสคริปต์ เช่น PHP ซึ่งเป็นภาษาที่ใช้สำหรับสร้างเว็บเพจ ออกมาโดยขึ้นกับเงื่อนไขการทำงาน หรือข้อมูลที่มีอยู่ที่มีอยู่ในฐานข้อมูล ณ ขณะ นั้น 7.TCP/IP กับ IP address ทีซีพี หรือ TCP มาจากคำว่า Transmission Control Protocol ทีซีพี เป็น ชุดของโปรโตคอลที่ถูกใช้ในการสื่อสารผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต โดยมี วัตถุประสงค์เพื่อให้สามารถใช้ สื่อสารจากต้นทางข้ามเครือข่ายไปยังปลายทาง ได้ และสามารถหาเส้นทางที่จะส่งข้อมูลไปได้เองโดยอัตโนมัติ ถึงแม้ว่า ใน ระหว่างทางอาจจะผ่านเครือข่ายที่มีปัญหา โปรโตคอลก็ยังคงหาเส้นทางอื่นใน การส่งผ่านข้อมูลไปให้ถึงปลายทางได้ ทีซีพี เป็นโปรโตคอลที่ได้รับความนิยมที่สุดในโลกของอินเทอร์เน็ต มีแอป พลิเคชันจำนวนมากที่ใช้โปรโตคอลทีซีพีเป็นสื่อกลางในการเชื่อมต่อ เช่น เวิลด์ ไวด์เว็บ เป็นต้น ! ! ! เครือข่ายคอมพิวเตอร์ Page 16
  • 17. Juthamart limwongsakornwanit November 24, 2557 BE TCP เป็นโปรโตคอลในระดับชั้นที่ 4 เมื่อเทียบกับ OSI มีลักษณะการ ทำงานเป็น Virtual Circuit คือจะมีการทำวงจร เสมือนขึ้นมาก่อนที่จะรับส่งข้อมูล กัน นั่นคือ แต่ละโหนดต้องมีตารางของ address และ destination route เพื่อให้ รู้ว่าจะต่อกับใครจึงจะได้วงจรเสมือนตามต้องการ เมื่อทำ connection setup เสร็จแล้วก็จะรับส่งข้อมูลกัน โดยใช้เส้นทางนี้ตลอด ดังนั้นจะไม่มีปัญหาเรื่องการ เรียงลำดับของชุดข้อมูลผิดพลาด หรือ เกิดการซ้ำซ้อนของข้อมูล การส่งผ่าน ข้อมูลบน TCP เป็น byte stream-oriented สำหรับหน้าที่ของ TCP นี้ก็คือ จัดการเรื่อง ตรวจสอบ error , ทำ flow control , ทำการ multiplex หรือ demultiplex application layer connection นอกจากนี้ก็ยังทำ หน้าที่ควบคุม แลกเปลี่ยนสถานะและทำ Synchronization ด้วย หน้าที่ของ TCP : Transmission Control Protocal (TCP) จะทำหน้าที่ใน การแยกข้อมูลเป็นส่วน ๆ หรือที่เรียกว่า Package ส่งออกไป ส่วน TCP ปลายทาง ก็จะทำการรวบรวมข้อมูลแต่ละส่วนเข้าด้วยกัน เพื่อนำไปประมวลผลต่อไป โดย ระหว่างการรับส่งข้อมูลนั้นก็จะมีการตรวจสอบความถูกต้องของ ข้อมูลด้วย ถ้า เกิดผิดพลาด TCP ปลายทาง ก็จะขอไปยัง TCP ต้นทางให้ส่งข้อมูลมาใหม่ หน้าที่ของ IP : Internet Protocal (IP) จะทำหน้าที่ในการจัดส่งข้อมูลจาก เครื่องต้นทาง ไปยังเครื่องปลายทาง โดยอาศัย IP Address ซึ่ง IP address คือ ระบบการอ้างอิง การมีตัวตนอยู่ของคอมพิวเตอร์ ซึ่งอ้างอิงจากหมายเลขประจำ เครื่องคอมพิวเตอร์ ซึ่งประกอบด้วยตัวเลข 4 ชุด มีเครื่องหมายจุดขั้นระหว่างชุด ! ! ! ! ! เครือข่ายคอมพิวเตอร์ Page 17
  • 18. Juthamart limwongsakornwanit November 24, 2557 BE ตัวอย่าง IP Address 192.168.0.1 โดยปกติแบ่ง IP address เป็น 2 แบบ 1. Public IP address (อาจเรียกอย่างไม่เป็นทางการว่า WAN IP address) คือ IP address ที่ใช้งานจริงมีการจดทะเบียนและเสียเงินเพื่อใช้งาน จริงๆ มีการจดบันทึกในระบบว่า ใครใช้งาน IP อะไรในวงกว้าง 2. Private IP address (อาจเรียกว่า LAN IP address) คือ IP address ที่ใช้กันในเฉพาะระบบวงปิด เช่นใน Office หรือในบ้านที่มีคอมพิวเตอร์ มากกว่า 1 เครื่อง IP ระบบนี้หากต้องการใช้กับ เครื่องนอกวงต้องใช้ อุปกรณ์ที่ เรียกว่า NAT (Network Address Translator) จะทำการแปลข้อมูลจากวง LAN ไปออกภายนอก IP Address จะประกอบด้วยตัวเลข 2 ส่วน คือ 1. Network Address 2. Computer Address ! การแบ่งขนาดของเครือข่าย สามารถแบ่งขนาดของการแจกจ่าย Network Address ได้ 3 ขนาดคือ 1.Class A nnn.ccc.ccc.ccc (nnn ชุดแรก ตัวเลขอยู่ระหว่าง 1-126) เครือข่าย Class A สามารถแจกจ่าย IP Address ได้มากที่สุดถึง 16 ล้าน หมายเลข 2. Class B nnn.nnn.ccc.ccc (nnn ชุดแรก ตัวเลขอยู่ระหว่าง 128-191) เครือข่าย Class A สามารถแจกจ่าย IP Address ได้มากเป็นอันดับสอง คือ 65,000 หมายเลข 3. Class c nnn.nnn.nnn.ccc (nnn ชุดแรก ตัวเลขอยู่ระหว่าง 192-233) เครือข่าย Class A สามารถแจกจ่าย IP Address ได้น้อยที่สุด คือ 256 หมายเลข เครือข่ายคอมพิวเตอร์ Page 18
  • 19. Juthamart limwongsakornwanit November 24, 2557 BE nnn หมายถึง Network Address ccc หมายถึง Computer Address เนื่องจากเครือข่ายก็อาจจำเป็นต้องใช้ IP Address ดังนั้น จึงจำเป็นต้องมี การจำกัดบางหมายเลขเพื่อใช้เป็นการภายใน ได้แก่ Class A ตั้งแต่ 10.xxx.xxx.xxx Class B ตั้งแต่ 172.16.xxx.xxx ถึง 172.31.xxx.xxx Class C ตั้งแต่ 192.168.0.xxx ถึง 192.168.255.xxx สำหรับภายในองค์กร ก็มีหมายเลขต้องห้ามเช่นกัน ได้แก่ 127.xxx.xxx.xxx หมายเลขนี้ใช้สื่อสารกับตัวเอง การกำหนด IP address มี 2 วิธีหลักๆ 1. Static IP address คือการกำหนด เลข IP address เอาดื้อๆ เครื่องอื่นๆ ในวงต้องมี Network Address อยู่ในกลุ่มเดียวกัน จึงจะมองเห็นกันได้ 2. Dynamic IP address คือการกำหนด เลข IP address โดยอุปกรณ์ หรือ Server ที่เรียกว่า DHCP server (Dynamic Host Configuration Protocol Server) ซึ่งจะง่ายกว่าแบบแรกเนื่องจากไม่ต้องทราบอะไรเลยเสียบปุ๊บ ตั้ง Auto ใช้งานได้เลย การตั้งค่า Static IP address เพื่อให้วง เป็นวงเดียวกัน จะต้อง 1. มี Subnet mask เดียวกัน 2. หากต้องการวิ่งไปยังช่องทางออกผ่านการแชร์ของเครื่องใดเครื่องหนึ่ง ให้เช็ค IP address ของทางออก แล้ว Set ค่าที่ Gateway ให้ตรงกับ เครื่องที่ใช้ เป็นทางออก 3. มี Network Address เดียวกัน 4. มี Host Address ไม่ตรงกัน ! เครือข่ายคอมพิวเตอร์ Page 19
  • 20. Juthamart limwongsakornwanit November 24, 2557 BE การหาค่า Host และ Network Address เนื่องจากระบบ IP address ทำงานอยู่บน ระบบ เลขฐาน 2 เป็นจำนวน 32 ตัว เพื่อความง่ายต่อการเรียก จึงแบ่งออกเป็น 4 ชุด ชุดละแปดตัว (2 ยกกำลัง แปด = 256 เลขที่เป็นไปได้คือ 0-255) การหาค่า Host และ Network Address ทำได้ดังนี้ตั้งค่าเครื่องคิดเลขของท่านไปเป็นแบบ Logical Calculator เอาเลข Subnet mask มา and กับ IP Address ค่าที่ได้เป็น Network Address invert Subnet mask มา and กับ IP Address ค่าที่ได้เป็น Host Address 8. ชื่อโดเมน Domain Name (โดเมน) คือ ชื่อเว็บไซต์ (www.yourdomain.com) ที่ ท่านสามารถเป็นเจ้าของ ซึ่งจะต้องไม่ซ้ำกับคนอื่น เพื่อการเรียกหาเว็บไซต์ที่ ต้องการ "ชื่อเว็บไซต์" คือ สิ่งแรกที่แสดง หรือ ประกาศความมีตัวตนบน อินเตอร์เน็ตให้คนทั่วไปได้รู้จัก สามารถมีได้ชื่อเดียวในโลกเท่านั้น เช่น www.gict.co.th เมื่อผู้ใช้กรอกชื่อลงไปในช่อง Address ของ Internet Explorer ก็จะส่งชื่อไปร้องถามจากเครื่องแปลชื่อ โดเมน (Domain Name Server) และได้รับกลับมาเป็นไอพีแอดเดรส (Internet Protocol) แล้วส่งคำร้อง ไปให้กับเครื่องปลายทางตามไอพีแอดเดรส และได้ข้อมูลกลับมาตามรูปแบบที่ ร้องขอไป Sub Domain ( ซับโดเมน ) คือ เว็บย่อยของเว็บไซต์ของเราอีกที โดยปกติ ถ้ามี Domain (โดเมน) ชื่อ www.gict.co.th เราจะเข้าชมเว็บไซต์ของเราโดย พิมพ์ www.gict.co.th แต่หากเราต้องเข้าชมเว็บย่อยของเราจะต้องพิมพ์ http:// domain.gict.co.th มีประโยชน์สำหรับท่านที่มีธุรกิจหลายประเภท เป็นการ จำแนกแยกแยะหมวดหมู่ธุรกิจ โดนเมนเนม มีด็อทอยู่หลายประเภทแต่ที่นิยมมากที่สุดนั้นก็คือ .com เพราะเป็นด็อทในยุคแรกๆ ที่เริ่มใช้กัน และง่ายต่อการจดจำ เครือข่ายคอมพิวเตอร์ Page 20
  • 21. Juthamart limwongsakornwanit November 24, 2557 BE ประเภทของ Domain Name แบ่งได้เป็น 2 ประเภท 1. โดเมน 2 ระดับ ชื่อโดเมน . ประเภทของโดเมน 2. โดเมน 3 ระดับ ชื่อโดเมน . ประเภทของโดเมน . ประเทศ โดนเมนเนม 2 ระดับ จะประกอบด้วย www . ชื่อโดเมน . ประเภทของโดเมน เช่น www.b2ccreation.com ประเภทของโดเมน คือ คำย่อขององค์กร โดยประเภทขององค์กรที่พบบ่อย มีดังต่อไปนี้ * .com คือ บริษัท หรือ องค์กรพาณิชย์ * .org คือ องค์กรเอกชนที่ไม่แสวงผลกำไร * .net คือ องค์กรที่เป็นเกตเวย์ หรือ จุดเชื่อมต่อเครือข่าย * .edu คือ สถาบันการศึกษา * .gov คือ องค์กรของรัฐบาล * .mil คือ องค์กรทางทหาร ! ! ! ! เครือข่ายคอมพิวเตอร์ Page 21
  • 22. Juthamart limwongsakornwanit November 24, 2557 BE โดนเมนเนม 3 ระดับ จะประกอบด้วย www . ชื่อโดเมน . ประเภทของโดเมน . ประเทศ เช่น www.kmitnb.ac.th, www.nectec.or.th, www.google.co.th ประเภทขององค์กรที่พบบ่อยคือ * .co คือ บริษัท หรือ องค์กรพาณิชย์ * .ac คือ สถาบันการศึกษา * .go คือ องค์กรของรัฐบาล * .net คือ องค์กรที่ให้บริการเครือข่าย * .or คือ องค์กรเอกชนที่ไม่แสวงผลกำไร ตัวย่อของประเทศที่ตั้งขององค์กร * .th คือ ประเทศไทย * .cn คือ ประเทศจีน * .uk คือ ประเทศอังกฤษ * .jp คือ ประเทศญี่ปุ่น * .au คือ ประเทศออสเตรเลีย ! ! เครือข่ายคอมพิวเตอร์ Page 22
  • 23. Juthamart limwongsakornwanit November 24, 2557 BE โดนเมนเนม ถือเป็นสิ่งสำคัญอันดับแรกที่มองข้ามไม่ได้เลยสำหรับเว็บไซต์ นั้นๆ โดยเฉพาะกับการโฆษณาบนอินเตอร์เน็ท ถ้าได้ชื่อที่เฉพาะเจาะจง ตรงกับ กลุ่มเป้าหมายที่มีความสนใจเป็นพื้นฐานเดิมอยู่แล้วนั้น จะทำให้โดเมนเนม หรือ เว็บไซต์นั้นๆ จะได้รับความสนใจและเป็นที่จดจำได้ง่ายไม่ใช่กับผู้เข้าชมหรือ กลุ่มเป้าหมายที่เข้ามาชมเว็บไซต์ผ่านโดมเนมเท่านั้นยังรวมไปถึง Search Engine ชื่อดังต่างๆ เช่น Google Yahoo MSN เป็นต้น ที่จะเข้ามาแวะเวียนเข้า มาทำ index กับเว็บเพจหน้าต่างๆ ในเว็บไซต์ของเรา หลังจากจดโดนเมนเนมเป็นที่เรียบร้อยแล้ว สิ่งสำคัญลำดับถัดมานั้นก็คือ โฮสติ้ง (Hosting) หรือ ที่เก็บข้อมูลเว็บไซต์ของเรานั้นเอง ซึ่งโฮสติ้งแต่ละที่จะมี DNS หรือ Name Server ที่ทางผู้ให้บริการโฮสติ้ง จะเป็นคนกำหนดและแจ้งให้ เราทราบเพื่อเอาไปใส่ให้โดมเมเนมของเรา เช่น DNS ของ B2C Creation จะมีชื่อว่า NS1.B2CCREATION.COM และ NS2.B2CCREATION.COM ซึ่งคุณไม่ต้องกังวลในเรื่องนี้ เพราะถ้าคุณจด Domain Nameและใช้บริการโฮสติ้งกับผู้ให้บริการคน เดียวกันจะไม่มีปัญหาอะไรเลยครับ หรือแม้ว่าจะเป็นคนละคนกัน เพียงแค่นำ DNS ที่ได้ ไประบุให้กับโดเมนเนมนั้นตามที่ได้อธิบายไปแล้ว - See more at: http://www.b2ccreation.com/content/ knowledgebase/kb_view.asp?kbid=19#sthash.PrEhBDBc.dpuf ข้อควรรู้ก่อนจดโดเมน 1.ความยาวของชื่อ Domain ตั้งได้ไม่เกิน 63 ตัวอักษร 2.Domain ต้องจดในชื่อของคุณเท่านั้น Domain Ownership 3.ถ้าเป็น Domain ของบริษัท พยายามจดภายใต้ชื่อบริษัท อย่าจดด้วยชื่อ พนักงาน IT เครือข่ายคอมพิวเตอร์ Page 23
  • 24. Juthamart limwongsakornwanit November 24, 2557 BE 4.ข้อมูลที่สำคัญที่สุดของ Domain คือ Owner Detail 5.ใช้อีเมล์ที่จะอยู่กับคุณตลอดไปในการจดโดเมน ซึ่งเป็นสิ่งเดียวที่ใช้ ติดต่อกับคุณ เรียกว่า Registrant E-Mail 6.บันทึกข้อมูลเกี่ยวกับ Domain ของคุณไว้ให้ดี วันหมดอายุ ผู้ติดต่อ และ อื่น ๆ อักขระที่จะใช้ในการตั้งชื่อโดเมน 1. ชื่อ Domain สามารถใช้ ตัวอักษรภาษาไทย ภาษาอังกฤษ ตัวเลข และ "-" (ยัติภังค์) ได้ 2. ชื่อ Domain โดยปกติ จะขึ้นต้นด้วยตัวอักษร และลงท้ายด้วยตัวอักษร หรือตัวเลข 3. ชื่อ Domain มีความยาวตั้งแต่ 1 ถึง 63 ตัวอักษร 4. ชื่อ Domain ตัวอักษรตัวใหญ่ A-Z หรือตัวอักษรตัวเล็ก ถือว่าเหมือนกัน 5. ชื่อ Domain ต้องไม่ขึ้นต้นหรือลงท้ายด้วยเครื่องหมาย - และต้องไม่มี Space หลัการตั้งชื่อโดเมน ภาษาไทย 1. ชื่อ Domain จะต้องไม่เกี่ยวข้องกับพระมหากษัตริย์ พระราชวงศ์ พระบรมวงศานุวงศ์ และสถานที่ที่เกี่ยวข้องกับพระมหากษัตริย์ พระราชวงศ์ และ พระบรมวงศานุวงศ์ 2. ชื่อ Domain จะต้องไม่ก่อให้เกิดความเสื่อมเสียชื่อเสียงแก่ผู้หนึ่งผู้ใด หรือองค์กรหนึ่งองค์กรใด 3. ชื่อ Domain จะต้องไม่เป็นชื่อต่าง ๆ ของประเทศไทย จังหวัด รวมถึง สถานที่อันเป็นสาธารณะต่าง ๆ ในประเทศ เครือข่ายคอมพิวเตอร์ Page 24
  • 25. Juthamart limwongsakornwanit November 24, 2557 BE 4. ชื่อ Domain จะต้องไม่ประกอบด้วยคำหยาบหรือคำที่ผิดต่อศีลธรรมอัน ดีงามของไทย 5. ชื่อ Domain จะต้องมีความสัมพันธ์อย่างหนึ่งอย่างใดกับชื่อโดเมน ภาษาอังกฤษที่อ้างอิงดังนี้ คืออ่านออกเสียงได้ตรงกันและ มีความหมายตรงกัน การจดทะเบียนโดเมนเนม การจดทะเบียนโดเมนเนม แบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ 1.การจดทะเบียนโดเมนเนมภายในประเทศ การจดทะเบียนโดเมนเนมภายในประเทศจะได้นามสกุล โดเมน เป็น .จด โดเมน .co.th, .or.th, .ac.th, in.th เช่นนามสกุล ".CO.TH" มีคนจดมากกว่าชนิด อื่นๆ เป็นเว็บไซต์ของบริษัท ห้างร้านโดยทั่วไป การจดทะเบียนชื่อโดเมน ต้องเป็น ชื่อเดียวกับชื่อบริษัท หรือชื่อย่อของชื่อบริษัท ซึ่งจดทะเบียนไว้กับกระทรวง พาณิชย์ ดังนั้นการจดทะเบียนจึงต้องใช้สำเนาใบทะเบียนการค้า หรือสำเนาใบรับ รอง หรือสำเนาใบ ภ.พ. 20 เป็นหลักฐาน • โดเมน นามสกุล .OR.TH ใช้ทำเว็บไซต์ของส่วนราชการ และชื่อโดเมน ต้องเป็นชื่อขององกร หรือตัวย่อของชื่อองค์กรนั้นๆ ต้องใช้สำเนาเอกสารทาง ราชการเป็นหลักฐานการจดทะเบียน • โดเมน นามสกุล .AC.TH เป็นเวบไซตืของสถานศุกษาต่างๆ ชื่อของ โดเมนที่จดทะเบียนต้องเป็นชื่อของสถานศึกษานั้นๆ หรือชื่อย่อของชื่อสถาน ศึกษา ใช้สำเนาเอกสารการขออนุญาตก่อตั้งสถานศึกษาเป็นหลักฐาน • โดเมน นามสกุล .IN.TH เป็นเวบไซต์ของบุคคลธรรมดาโดยทั่วไป ชื่อ โดเมนจะใช้ชื่ออะไรก็ได้ ใช้สำเนาบัตรประชาชน หรือสำเนาใบขับขี่เป็นหลัก ฐานการจดทะเบียน เครือข่ายคอมพิวเตอร์ Page 25
  • 26. Juthamart limwongsakornwanit November 24, 2557 BE • โดเมน นามสกุล .GO.TH เป็นเวบไซต์ของส่วนราชการของประเทศไทย โดยปกติจะเป็นองค์กรขนาดใหญ่ • โดเมน นามสกุล NET.TH เป็นเว็บไซต์เกี่ยวกับบริษัทที่เกียวกับระบบ Network หรือ ISP (ผู้ให้บริการอินเตอร์เน็ต) ในประเทศไทย การจดทะเบียนโดเมนเนมภายในประเทศ มีกฏระเบียบมาก ต้องจด ทะเบียนโดเมนเนม แบ่งประเภทตามที่เขาแบ่งไว้ จึงจดทะเบียนโดเมนเนม ได้ยาก กว่าการจดทะเบียนโดเมนเนม ต่างประเทศ ปัจจุบันการจดทะเบียนโดเมนเนม ภายในประเทศ ยังถือว่ามีน้อยมาก เนื่องจากการจดทะเบียนโดเมนเนม มีข้อยุ่ง ยากดังที่กล่าวข้างต้น และมูลค่าของเว็บไซต์มักจะถูกมองว่ามีค่าน้อยกว่าการจด ทะเบียนโดเมนเนม ที่มีนามสกุลเป็น".COM" กับศูนย์จดทะเบียนโดเมนเนม ต่าง ประเทศ ทั้งๆ ที่มีความสามารถเหมือนกัน 2.การจดทะเบียนโดเมนเนมต่างประเทศ การจดทะเบียนโดเมนเนมต่างประเทศจะได้นามสกุล โดเมน เป็น .COM .NET .ORG • โดเมน นามสกุล .COM ใช้ทำเว็บไซต์ของบริษัท ห้างร้านโดยทั่วไป รวม ทั้งเว็บไซต์ส่วนตัว และมีบางครั้งนำไปใช้ทำเว็บไซต์ (web site) ประเภทอื่นๆ ด้วย • โดเมน นามสกุล .NET ใช้ทำเว็บไซต์เกี่ยวกับระบบเน็ตเวิร์ค (network) ของคอมพิวเตอร์ หรือเว็บไซต์บริการอินเตอร์เน็ต แต่บางครั้งก็นำไปใช้ด้านอื่น ด้วย ! ! ! เครือข่ายคอมพิวเตอร์ Page 26
  • 27. Juthamart limwongsakornwanit November 24, 2557 BE • โดเมน นามสกุล .ORG ใช้ทำเว็บไซต์ของส่วนราชการ บางครั้งก็มีการ จดทะเบียนนำไปใช้กับเว็บไซต์ประเภทอื่นด้วย ปัจจุบันได้เกิด โดเมน ชนิดอื่นขึ้นอีกมากมาย เนื่องจากว่ามีการพยายาม แบ่งประเภทเว็บไซต์ออกไป และขณะเดียวกันชื่อ โดเมน ก็เหลือน้อยลง ดังมีราย ละเอียดดังนี้ • โดเมน นามสกุล .cc เป็น โดเมน ที่คาดว่าน่าจะมีความนิยมทัดเทียม กับ .com ในเวลาอันใกล้นี้เนื่องจาก .com แทบจะไม่มีชื่อดีๆ เหลืออยู่แล้ว การนำไปใช้งานสามารถนำไปใช้กับเว็บไซต์ธุรกิจโดยทั่วไปได้ • โดเมน นามสกุล .biz สำหรับเว็บไซต์ธุรกิจโดยทั่วไป เป็น โดเมน น้อง ใหม่ พึงเกิดขึ้นจากการรวมกลุ่มธุรกิจที่เป็น ธุรกิจจริงๆ ซึ่งก็ได้รับความสนใจ และเป็นที่รู้จักค่อนข้างเร็ว • โดเมน นามสกุล .info ใช้สำหรับเว็บไซต์ที่ให้รายละเอียดเกียวกับข้อมูล ต่างๆ เช่น ข้อมูลของประเทศต่างๆ เป็นต้น • โดเมน นามสกุล .ws เป็นชนิดของชื่อเว็บไซต์หนึ่งที่พยามยามสร้างขึ้นมา เพื่อแข่งขันกับ .cc การนำไปใช้งานสามารถนำไปใช้ได้กับทุประเภทเว็บไซต์ • โดเมน นามสกุล .tv เป็นเว็บไซต์ของสื่อโฆษณาต่างๆ โดยเฉพาะสื่อทาง ด้านภาพและเสียง ปัจจุบันค่อนข้างได้รับความนิยมจากเว็บไซต์ประเภทสื่อพอ สมควร แม้ว่าปัจจุบันจะมีโดเมนถูกนำเสนอออกมาหลายประเภท หลายชนิดก็ตาม แต่ .com .net และ .org ก็ยังถือว่าเป็นโดเมนมาตราฐานสากล ที่ได้รับความนิยม และยอมรับกันอย่างกว้างขวางทั่วโลก ! ! เครือข่ายคอมพิวเตอร์ Page 27
  • 28. Juthamart limwongsakornwanit November 24, 2557 BE 9. DNS และ DNS Server DNS server ย่อมาจาก Domain Name System server คือเครื่องบริการ แปลงชื่อเว็บเป็นหมายเลข IP ซึ่งการแปลงชื่อนี้อาจเกิดในเครื่อง local เอง จาก Cache ในเครื่อง local หรือจากเครื่องบริการของผู้ให้บริการเพราะ เบอร์ IP Address เป็นตัวเลขที่ใช้ไม่ค่อยสะดวกและจำยาก ด้วยเหตุนี้จึงมีการคิดระบบตั้ง ชื่อแบบที่เป็นตัวอักษรให้มีความหมายเพื่อการจดจำได้ง่ายขึ้น จึงเป็นที่มาของ DNS server DNS ทำหน้าที่คล้ายสมุดโทรศัพท์คือ เมื่อมีคนต้องการจะโทรศัพท์หาใคร คนนั้นก็จะเปิดสมุดโทรศัพท์ดู เพื่อค้นหาหมายเลขโทรศัพท์ของคนที่ต้องการ ติดต่อ คอมพิวเตอร์ก็เช่นกัน เมื่อต้องการสื่อสารกับคอมพิวเตอร์เครื่องอื่น เครื่อง นั้นก็จะทำการสอบถามหมายเลข IP ของเครื่องที่ต้องการสื่อสารด้วยกับ DNS server ซึ่งจะทำการค้นหาหมายเลขดังกล่าวในฐานข้อมูลแล้วแจ้งให้โฮสต์ดัง กล่าว ทราบ ระบบ DNS แบ่งออกเป็น 3 ส่วนคือ 1.Name Resolvers : ดังที่ได้กล่าวมาแล้วว่าจุดประสงค์หลักของ DNS คือการแปลงชื่อคอมพิวเตอร์ ให้เป็นหมายเลข IP ในเทอมของ DNS แล้วเครื่อง ไคลเอนท์ที่ต้องการสอบถามหมายเลข IP จะเรียกว่า "รีโซล์ฟเวอร์ (resolver)" วอฟแวร์ที่ทำหน้าที่เป็นรีโซล์ฟเวอร์นั้นจะถูกสร้างมากับแอพพลิเคชันหรืออาจจะ เป็นไลบรารีที่มีอยู่ในเครื่องไคลเอนท์ 2.Domain Name Space : ฐานข้อมูลระบบ DNS มีโครงสร้างเป็นต้น ไม้ ซึ่งจะเรียกว่า "โดเมนเนมสเปซ (Domain Name Space)" แต่ละโดเมนจะ มีชื่อและสามารถมีโดเมนย่อยหรือซับโดเมน (Subdomain) การเรียกชื่อจะใช้จุด ( .) เป็นตัวแบ่งแยกระหว่างโดเมนหลักและโดเมนย่อย ! เครือข่ายคอมพิวเตอร์ Page 28
  • 29. Juthamart limwongsakornwanit November 24, 2557 BE 3.Name Servers : เนมเซิร์ฟเวอร์ คือเครื่องคอมพิวเตอร์ที่รันโปรแกรมที่ จัดการฐานข้อมูลบางส่วนของระบบ DNS เนมเซิร์ฟเวอร์จะตอบกลับการร้องขอ ทันทีโดยการค้นหาข้อมูลในฐานของมูลตัวเอง หรือจะส่งต่อการร้องขอ ไปยังเนม เซิร์ฟเวอร์อื่น ถ้าเนมเซิร์ฟเวอร์มีเร็คคอร์ดของส่วนของโดเมน แสดงว่าเนมเซิร์ฟเวอร์นั้นเป็นเจ้าของโดเมนนั้น (Authoritative) ถ้าไม่มีก็ จะเรียกว่า Non-Authoritative ข้อจำกัดของระบบ DNS รับรู้เฉพาะตัวอักษรละติน (ASCII character set) ใน RFC 1035 ระบุว่าสัญลักษณ์ที่ใช้ได้ในโดเมนเนม คือ 1.ตัวอักษร a ถึง z (case insensitive) 2.เลข 0 ? 9 3.เครื่องหมายยติภังค์ (-) ปัจจุบัน ประเทศมีการประดิษฐ์คิดค้นเทคโนโลยีชื่อโดเมนภาษาไทยในปี 2542 โดยกลุ่มผู้ประดิษฐ์คิดค้นชาวไทย ที่เอื้ออำนวยให้ผู้ใช้อินเทอร์เน็ตสามารถ เรียกดูเว็บไซต์ผ่านทางชื่อโดเมนภาษาไทยเต็มรูปแบบ และเปิดโอกาสให้เจ้าของ เว็บไซต์ที่ประสบปัญหากับการมีชื่อโดเมนภาษาอังกฤษที่จดจำยาก หรือใช้สื่อสาร กับกลุ่มเป้าหมายได้อย่างลำบาก สามารถจดทะเบียนชื่อโดเมนภาษาไทยให้กับ เว็บไซต์ของตัวเอง โดยใช้ตัวแปลงรหัสภาษาท้องถิ่นเพื่อทำงานร่วมกับระบบ DNS ! ! ! ! ! เครือข่ายคอมพิวเตอร์ Page 29
  • 30. Juthamart limwongsakornwanit November 24, 2557 BE 10. เว็บ (Web) เป็นคำเรียกแบบย่อ ของเวิลด์ไวด์เว็บ (World Wide Web) ซึ่งหมายถึง สถานที่รวมของกลุ่มคอมพิว เตอร์ที่มีข้อมูลเตรียมพร้อมไว้ให้ผู้คนอ่านผ่านทาง อินเทอร์เน็ต (Internet) โดยใช้ภาษา เอชทีทีพี (HTTP หรือ Hypertext Tranfer Protocol) ทุกหน้าจะมีทั้งเนื้อหาเรื่องราวต่าง ๆ มีเมนูพร้อมที่จะให้เราสั่งงาน มีคำ หลายคำที่มีแถบสีซึ่งเราสามารถกดเมาส์ถามหารายละเอียดต่าง ๆ ในเรื่องนั้นต่อ ซึ่งอาจเป็นการเรียกหาจากแหล่งเดียวกัน หรือจากแหล่งคอมพิวเตอร์อื่นได้ทั่วโลก ดู internet, HTML ประกอบ 11. เว็บไซต์ เว็บไซต์ (Web Site) คือ แหล่งที่เก็บรวบรวมข้อมูลเอกสารและสื่อประสม ต่าง ๆ เช่น ภาพ เสียง ข้อความ ของแต่ละบริษัทหรือหน่วยงานโดยเรียกเอกสาร ต่าง ๆ เหล่านี้ว่า เว็บเพจ (Web Page) และเรียกเว็บหน้าแรกของแต่ละเว็บไซต์ว่า โฮมเพจ (Home Page) หรืออาจกล่าวได้ว่า เว็บไซต์ก็คือเว็บเพจอย่างน้อยสอง หน้าที่มีลิงก์ (Links) ถึงกัน ตามหลักคำว่า เว็บไซต์จะใช้สำหรับผู้ที่มีคอมพิวเตอร์ แบบเซิร์ฟเวอร์หรือจดทะเบียนเป็นของตนเองเรียบร้อยแล้วเช่น www.google.co.th ซึ่งเป็นเว็บไซต์ที่ให้บริการสืบค้นข้อมูลเป็นต้น สรุป เว็บไซต์ คือ ชื่อเรียกหรือที่อยู่ของเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ให้บริการ เว็บเพจ คือ หน้าแต่ละหน้าที่มีการเชื่อมโยงถึงกัน โฮมเพจ คือ หน้าแรกที่เข้าสู่เว็บไซต์นั้น ๆ ส่วนประกอบของเว็บเพจที่สำคัญ มีดังนี้ 1. ข้อความ (Text) ได้แก่ ตัวอักษร ตัวเลข ซึ่งอาจเป็นภาษาอังกฤษ ไทย หรือภาษา อื่น ๆ ก็ได้ 2. กราฟิก (Graphics) ได้แก่ ภาพวาดและรูปภาพต่าง ๆ 3. มัลติมีเดีย (Multimedia) ได้แก่ ภาพเคลื่อนไหว ภาพวีดิทัศน์ เสียง เครือข่ายคอมพิวเตอร์ Page 30
  • 31. Juthamart limwongsakornwanit November 24, 2557 BE 4. ลิงก์ (Link) ข้อความหรือรูปภาพที่มีลักษณะพิเศษ ซึ่งสามารถเชื่อมโยง ไปยัง เว็บเพจอื่น ๆ ได้ เราสามารถตรวจสอบได้ว่าส่วนใดเป็นลิงก์โดยนำเมาส์ไป นี้สัญลักษณ์เมาส์จะเปลี่ยนเป็นมือ ? แสดงว่าส่วนนั้นเป็นลิงก์ ! 12. HTTP โปรโตคอลของเว็บ HTTP เป็นกลไกหรือโปรโตคอลหลักที่ใช้แลกเปลี่ยนข้อมูลกันระหว่าง เซิร์ฟเวอร์และไคลเอนต์ของเวิลด์ไวด์เว็บ โดยถูกออกแบบมาให้มีความกระทัดรัด สามารถทำงานได้รวดเร็ว มีกระบวนการทำงานที่ไม่ซับซ้อน และมีคำสั่งที่ใช้งาน ไม่มากนัก แต่สามารถรองรับข้อมูลได้ทุกแบบ ไม่ว่าเป็นข้อมูลทั่วไปที่เข้ารหัสแบบ MIME หรือข้อมูลที่เป็นกราฟิก หลักการทำงานทั่วๆไปของ HTTP คือ จะแบบการทำงานออกเป็น 2 ด้านคือ ด้านเว็บเซิร์ฟเวอร์ และด้านไคลเอนต์ โดยไคลเอนต์จะติดต่อเข้ามายังเซิร์ฟเวอร์ โดยใช้โปรแกรมบราวเซอร์ และอ้างถึงแอดเดรสของเซิร์ฟเวอร์โดยใช้รูปแบบ ของ URL ส่วนด้านเซิร์ฟเวอร์จะส่งข้อมูลกลับมาในรูปแบบที่เป็น HTML โดยที่ โปรโตคอล HTTP ใช้วิธีการเข้ารหัสในแบบ MIME เป็นมาตรฐานของการทำงาน โครงสร้างข้อมูลของ HTTP จะแบ่งออกเป็น 2 ส่วนใหญ่ๆคือ ส่วนเฮดเดอร์ หรือเรียกว่า metadata จะเป็นส่วนเก็บข้อมูลที่จำเป็นต้องใช้ภายในโปรโตคอล ส่วนที่สองเป็นส่วนข้อมูลจริงที่ต้องการรับส่ง ทั้งนี้ HTTP ถูกออกแบบมาให้สามาร รับส่งข้อมูลผ่าน Proxy หรือ Firewall ต่างๆได้ โดยการทำงาน HTTP จะอาศัย โปรโตคอลพื้นฐาน TCP/IP ซึ่งทั่วไปจะใช้หมายเลขพอร์ตที่ 80 โปรโตคอล HTTP ในปัจจุบันได้พัฒนาขึ้นมาเป็นเวอร์ชั่น 1.1 (จากเดิมคือ เวอร์ชั่น 1.0) ซึ่งโปรแกรมบราวเซอร์ที่แพร่หลายทั่วไปนั้นจะสามารถรองรับ โปรโตคอลในเวอร์ชั่นใหม่นี้ได้ และได้กำหนดไว้เป็นมาตรฐานใน RFC2068 แล้ว โดยในHTTP เวอร์ชั่น1.1 นี้ได้เพิ่มประสิทธิภาพทำงานให้สูงขึ้น และปรับปรุงใน ด้านต่างๆที่ทำให้ความสามารถมากขึ้น เครือข่ายคอมพิวเตอร์ Page 31
  • 32. Juthamart limwongsakornwanit November 24, 2557 BE 13. HTML ภาษาของเว็บ HTML ย่อมาจาก Hypertext Markup Language เป็นภาษาคอมพิวเตอร์ รูปแบบหนึ่ง ที่มีโครงสร้างการเขียนโดยอาศัยตัวกำกับ (Tag) ควบคุมการแสดง ผลข้อความ รูปภาพ หรือวัตถุ อื่น ๆ ผ่านโปรแกรมเบราเซอร์ แต่ละ Tag อาจจะ มีส่วนขยาย เรียกว่า Attribute สำหรับระบุ หรือควบคุมการแสดงผล ของเว็บได้ ด้วย HTML เป็นภาษาที่ถูกพัฒนาโดย World Wide Web Consortium (W3C) จากแม่แบบของภาษา SGML (Standard Generalized Markup Language) โดยตัดความสามารถบางส่วนออกไป เพื่อให้สามารถทำความเข้าใจและเรียนรู้ได้ ง่าย และด้วยประเด็นดังกล่าว ทำให้บริการ www เติบโตขยายตัวอย่างกว้างขวาง Tag เป็นลักษณะเฉพาะของภาษา HTML ใช้ในการระบุรูปแบบคำสั่ง หรือ การลงรหัสคำสั่ง HTML ภายในเครื่องหมาย less-than bracket (<) และ greater-than bracket (>) โดยที่ Tag HTML แบ่งได้ 2 ลักษณะ คือ 1. Tag เดี่ยว เป็น Tag ที่ไม่ต้องมีการปิดรหัส เช่น <hr>(Tag กำหนดเส้น คั่น), <br> (Tag กำหนดขึ้นบันทัดใหม่) เป็นต้น 2. Tag เปิด/ปิด เป็น Tag ที่ประกอบด้วย Tag เปิด และ Tag ปิด โดย Tag ปิด จะมีเครื่องหมาย slash ( / ) นำหน้าคำสั่งใน Tag นั้น ๆ เช่น <B>……</B> (Tag กำหนดตัวหนา), <a href=URL>…จุด link..</a> (Tag กำหนดการเชื่อม โยงข้อมูล) เป็นต้น 3. Tag เปิด/ปิด บาง tag ละ tag ปิดได้ เช่น <tr> (Tag กำหนดแถว ตาราง), <th> (Tag กำหนดคอลัมภ์ตาราง) 4. คำสั่งใน Tag เขียนด้วยอักษรตัวใหญ่หรือเล็กก็ได้ เช่น <Body> หรือ <BODY> หรือ <body> ! ! เครือข่ายคอมพิวเตอร์ Page 32
  • 33. Juthamart limwongsakornwanit November 24, 2557 BE โครงสร้างของภาษา HTML การเขียนโฮมเพจด้วยภาษา HTML นั้น เอกสาร HTML จะประกอบ ด้วยส่วนประกอบ 2 ส่วน ดังนี้ 1. ส่วน Head คือส่วนที่จะเป็นหัว (Header) ของหน้าเอกสารทั่วไป หรือ ส่วนชื่อเรื่อง (Title) ของหน้าต่างการทำงานในระบบ Windows 2. ส่วน Body จะเป็นส่วนเนื้อหาของเอกสารนั้น ๆ ซึ่งจะประกอบด้วย Tag คำสั่งในการจัดรูปแบบ หรือตกแต่งเอกสาร HTML ในทั้งสองส่วนนี้จะอยู่ภายใน Tag <HTML>…</HTML> ดังนี้ • <html> • <head> <title> ส่วนชื่อเอกสาร </title> </head> • <body> • tag คำสั่ง • </body> • </html> คำสั่ง หรือ Tag ที่ใช้ในภาษา HTML ประกอบไปด้วยเครื่องหมายน้อย กว่า "<" ตามด้วย ชื่อคำสั่งและปิดท้ายด้วยเครื่องหมายมากกว่า ">" เป็นส่วนที่ ทำหน้าที่ตกแต่งข้อความ เพื่อ การแสดงผลข้อมูล โดยทั่วไปคำสั่งของ HTML ส่วนใหญ่จะอยู่เป็นคู่ มีเพียงบาง คำสั่งเท่านั้น ที่มีรูปแบบคำสั่งอยู่เพียงตัวเดียว ในแต่ละคำสั่ง จะมีคำสั่งเปิดและปิด คำสั่งปิดของแต่ละ คำสั่งจะมี รูปแบบเหมือน คำสั่งเปิด เพียงแต่จะเพิ่ม "/" (Slash) นำหน้าคำสั่ง ปิดให้ดู แตกต่าง เท่านั้น และ ในคำสั่งเปิดบางคำสั่ง อาจมีส่วนขยายอื่นผสมอยู่ด้วย ! เครือข่ายคอมพิวเตอร์ Page 33