SlideShare a Scribd company logo
ความหมาย
หนังสือ เป็นสิ่งพิมพ์ที่รวบรวมสารสนเทศทั้งทางด้านวิชาการ
สารคดีและบันเทิงคดี ให้เนื้อหาที่จบบริบูรณ์ในเล่มเดียวหรือหลาย
เล่มที่เรียกว่า หนังสือชุด ประเภทของหนังสือ
1.หนังวิการหรือตํารา
ตํารา" หมายถึง หนังสือที่ให้ความรู้ทางวิชาการ
(ไม่จํากัดว่าจะต้องเป็นหนังสือใช้ในระดับใด อาจเป็น
หนังสือที่ใช้ด้วยกันได้หลายระดับ) ใช้ในการเรียนการ
สอนในหลักสูตร และการเรียนรู้นอกหลักสูตร
การศึกษาตามระบบ
ประเภทของหนังสือ
ตํารา ควรมีลักษณะจําเพาะ ดังต่อไปนี้
1.เป็นหนังสือที่มุ่งให้ความรู้
2.มีลําดับขั้นตอน โดยไม่คํานึงศิลปะการประพันธ์ มุ่งให้ความสะดวกแก่การเรียนวิชา
ที่บรรจุอยู่ในหนังสือนั้น
3.ใช้ศัพท์และสํานวนที่มีความหมายเชิงวิชาการ
4.ความรู้ที่บรรจุในหนังสือนั้น จะต้องเป็นความรู้ที่คนในวงวิชาการเดียวกันรับรอง
แล้ว
5.ข้อความรู้ใด ซึ่งยังมิได้เป็นที่ประจักษ์แพร่หลายในวงวิชาการที่หนังสือนั้นนํามา
กล่าวไว้ ผู้เขียนจะต้องบอกแหล่งที่มาของข้อความรู้นั้น เพื่อผู้อ่านจะทดสอบได้
2.หนังสือสารคดี
หนังสือสารคดี (Non-fiction book) คือ หนังสือที่แต่งขึ้นจาก
เรื่องที่เรียบเรียงขึ้นจากความจริง ไม่ใช่จากจินตนาการ โดยมี
จุดประสงค์เพื่อมุ่งให้สาระความรู้แก่ผู้อ่านเป็นสําคัญ ไม่ได้เจาะจง
ให้ความเพลิดเพลิน ถึงแม้ว่าเนื้อหาในหนังสือบางเล่มจะให้ทั้งสาระ
ความรู้ ความเพลิดเพลินและความจรรโลงใจในการอ่านด้วยก็ตาม
ซึ่งครอบคลุมวิชาการสาขาต่างๆ เช่น หนังสือเกี่ยวกับการปฐม
พยาบาล การรักษาสุขภาพอนามัย ศาสนา ปรัชญา การศึกษา
วรรณกรรม ภูมิศาสตร์ ประวัติศาสตร์ วิทยาศาสตร์ ชีวประวัติ
เป็นต้น
ลักษณะของหนังสือสารคดี
สารคดีเป็นงานเขียนที่ผู้เขียนมุ่งให้ผู้อ่านได้รับรู้สิ่งต่างๆที่เกิดขึ้นในโลก จึงเป็นข้อมูล เรื่องราวที่เป็นเรื่อง
จริง มีรูปแบบการนําเสนอที่ไม่เจาะลึกด้านเนื้อหา และมีลีลาการเขียนที่สร้างความเพลิดเพลินแก่ผู้อ่าน
ซึ่งมีความแตกต่างจากงานเขียนประเภทอื่นๆลักษณะของสาร มีดังนี้
1.ความคิดสร้างสรรค์ (creativity) ในการเขียนสารคดี ผู้เขียนมีอิสระที่จะใช้ความสามารถในการผูกเรื่อง
ลําดับความตามที่ต้องการ
2.ความเป็นอัตวิสัย (subjectivity) ผู้เขียนสามารถถ่ายทอดอารมณ์ ความรู้สึก ความนึกคิดของตนให้ผู้อื่น
ได้ทราบ
โดยเลือกใช้ภาษาให้เหมาะสม
3.ความมีสาระ (informativeness) สารคดีเป็นงานเขียนที่นําเสนอข้อมูล เรื่องราวที่เป็นเรื่องจริง
4.ความบันเทิง (entertainment) ผู้เขียนมุ่งให้ความรู้ที่น่าสนใจ และความเพลิดเพลินแก่ผู้อ่าน
5.ความไม่ล้าสมัย (unperishable) สารคดีนั้นเป็นงานเขียนที่ไม่ต้องคํานึงถึงข้อจํากัดด้านเวลา ซึ่งแตกต่าง
จากข่าวที่ต้องสด
รวดเร็วต่อเหตุการณ์
3.หนังสือแบบเรียน
หนังสือแบบเรียนคือ หนังสือที่จัดทําขึ้นตามหลักสูตรรายวิชาเพื่อใช้
ประกอบการเรียนการสอนของนักเรียนนักศึกษาในระดับต่างๆ นําเสนอ
เนื้อหาตามข้อกําหนดในหลักสูตร ต่างจากหนังสือตําราทั่วไปที่มีคําถาม
ท้ายบทเพื่อให้ผู้เรียนได้ประเมินผลการเรียนและทบทวนบทเรียน
ลักษณะของหนังสือเรียนที่ดี
ปัจจุบันในการเรียนแต่ละวิชา ทางกระทรวงศึกษาธิการได้กําหนดเกรฑ์ในการเลือกหนังสือให้ใช้ในโรงเรียน
จะต้องเลือกจากบัญชีที่กระทรวงศึกษาธิการอนุญาตให้ใช้ได้ ฉะนั้นจึงเป็นหน้าที่ของครูที่ต้องพิจารณาเลือก
หนังสือที่คิดว่าเป็นแบบเรียนที่ดีที่สุด เหมาะสมที่สุด ละมีประโยชน์มากที่สุดสําหรับให้นักเรียนใช้เป็นหนังสือเรียน
ครูจึงควรศึกษาหลักเกณฑ์ในการเลืกหนังสือเรียนที่ดีที่สุดตามหลักการณ์เลือกดังนี้คือ
1. ควรมีเนื้อเรื่อง คําอธิบาย รูปภาพ กิจกรรม และแบบฝึกหัดให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของวิชานั้นๆ
2. ควรมีเนื้อเรื่องครบถ้วนตามหลักสูตร ข้อความกะทัดรัด คําอธิบายชัดเจน เข้าใจง่าย
3.สํานวนโวหารที่ใช้สละสลวยเหมาะกับวุฒิภาวะของผู้เรียน
4. แนวการเขียน ได้มาตรฐานและเป็นที่ยอมรับในปัจจุบัน
5. แบบเรียนควรมีรูปเล่มที่สวยงาม
6. มีเอกสารอ้างอิงและมีที่มาของข้อมูล มีสารบัญ คํานํา คําอธิบายศัพท์ และดัชนี
4.หนังสืออ้างอิง
หนังสืออ้างอิง คือ หนังสือที่ให้เรื่องราวข้อเท็จจริงแก่ผู้ใช้อย่าง
รวดเร็วและสะดวกในการค้นหา เพราะมีการเรียงลําดับอย่างเป็น
ระบบและมักจะมีเครื่องช่วยค้นที่ดี ที่สําคัญเขียนโดยผู้ทรงคุณวุฒิจึง
ให้ข้อมูลที่ถูกต้อง สมบูรณ์และเชื่อถือได้ หนังสืออ้างอิงเป็นหนังสือที่
ใช้ค้นคว้าหรืออ่านเพียงตอนใดตอนหนึ่ง มิใช่เป็นหนังสือที่ต้องอ่าน
ตลอดทั้งเล่ม
ลักษณะของหนังสืออ้างอิง มีดังนี้
1. มีวิธีการเรียบเรียงเนื้อหาที่เป็นระบบระเบียบ
2. มีวิธีการเขียนที่กระชับ จบในตัวเองทุกเรื่อง
3. มักจะมีขนาดใหญ่ หรือหนากว่าหนังสือทั่วไป หรือเป็นชุดมีหลายเล่มจบ
4. เป็นหนังสือที่รวบรวมความรู้หลายประเภทไว้ด้วยกัน
5. เป็นหนังสือที่ให้ความรู้เกี่ยวกับเรื่องราวต่าง ๆ อย่างกว้าง ๆ
6. เป็นหนังสือที่หายาก ราคาแพง
7. ห้องสมุดจัดไว้เป็นหนังสือประเภทที่ไม่ให้ยืมออกจากห้องสมุด และมีสัญลักษณ์
คือ
ตัว อ หรือ R หรือ Ref
5. วิทยานิพนธ์
วิทยานิพนธ์ (Thesis, Dissertation) มีชื่อเรียกอีกอย่างว่า ปริญญานิพนธ์
หรือดุษฎีนิพนธ์ คือ งานวิจัยทางด้านวิชาการที่ได้มีการไตร่ตรอง หรือ
วางแผนงานวิจัยออกมาอย่างมีรูปแบบและเป็นระบบระเบียบ โดยผู้จัดทํา
วิทยานิพนธ์ ไม่ว่าจะเป็น นิสิต นักศึกษา นักวิจัย หรือนักวิชาการต่างๆ ได้
มีการจัดทําวิทยานิพนธ์ โดยการนําทฤษฎีเก่าๆ มาวิเคราะห์ และรวบรวม
ข้อมูลต่างๆ เพื่อนํามาใช้วิเคราะห์หรืออ้างอิงตามหลักเหตุและผล จน
กลายเป็นข้อมูลที่มีความน่าเชื่อถือผ่านกระบวนการคิด ขั้นตอน วิธีการ
และผลการศึกษาที่ค้นคว้าวิจัยมาได้ ซึ่งวิทยานิพนธ์ นี้เรียกได้ว่าเป็นสิ่งที่
นักศึกษาในระดับอุดมศึกษาทุกคนต้องทํา เนื่องจากเป็นเอกสารบังคับ
เพื่อให้จบการศึกษา แต่หากเป็นนักวิชาการหรือนักวิจัยจะใช้วิทยานิพนธ์นี้
เพื่อการเลื่อนขั้นเลื่อนตําแหน่ง หรือปรับฐานเงินเดือนนั่นเอง
ลักษณะของวิทยานิพนธ์
1.มีความถูกต้องและเป็นไปได้ในแง่มุมทางวิชาการ
2.นําเสนออย่างเป็นขั้นเป็นตอนและง่ายต่อการทําความเข้าใจ
3.ใช้ภาษาที่สละสลวยถูกต้องตามหลักไวยากรณ์
4.มีแง่มุมความคิดของการนําเสนอที่ลึกซึ้ง
5.ส่งเสริมให้มีการขยายผลการศึกษาหรือการวิจัยเพิ่มเติมใน
ภายหลัง
6.รายงานการวิจัย
รายงานการวิจัย คือเรื่องราวที่เป็นผลจากการค้นคว้าทาง
วิชาการ แล้วนํามาเรียบ เรียงอย่างมีระเบียบแบบแผน
เรื่องราวที่นํามาเขียนรายงานต้องเป็นข้อเท็จจริง หรือความรู้
อันเกิดจากการรวบรวมข้อมูลด้วยวิธีการค้น คว้าที่เป็นระบบ
มีลักษณะเป็นวิทยาศาสตร์
ลักษณะของรายงานการวิจัย มีดังนี้
1. การนําหลักการและทฤษฎีมาใช้อย่างเหมาะสม ในการศึกษาวิจัย จะต้องมีการ วิเคราะห์เจาะลึก
ในรายละเอียดของเนื้อหา โดยมีหลักการหรือทฤษฎีมารองรับอย่างเหมาะสม
2.การแสดงความคิดริเริ่มสร้างสรรค์อย่างเหมาะสม
3. ความสมบูรณ์และความถูกต้องของเนื้อหาสาระของรายงานที่ดีจะต้องมีความสมบูรณ์ถูกต้องใน
ข้อเท็จจริงเนื้อหาสาระชื่อเรื่องที่กําหนด การอ้างอิงที่มา หรือแหล่งค้นคว้า จะต้องสมบูรณ์และ
ถูกต้อง
4. ความชัดเจนของการเขียนรายงาน รายงานจะต้องมีความชัดเจนในด้านลําดับการเสนอเรื่อง
5. ความเหมาะสมของรูปแบบการเขียนรายงาน รายงานที่ดีนอกจากจะมีเนื้อหาสมบูรณ์แล้ว
รูปแบบยังจะต้องเหมาะสมในด้านการจัดเค้าโครงเรื่องอย่างเป็นระเบียบไม่ซํ้าซ้อนสับสนการอ้างอิง
ชี้แนะให้ผู้สนใจได้ติดตามศึกษาค้นคว้าต่อไป นอกจากนั้นยังเป็นการป้ องกันการละเมิดลิขสิทธิ์ตาม
กฎหมายอีกด้วย
7.รายงานการประชุมทางวิชาการ
รายงานการประชุมทางวิชาการการบันทึกความคิดเห็น
ของผู้มาประชุม ผู้เข้าร่วมประชุม และมติ
ของที่ประชุมไว้เป็นหลักฐานดังนั้น เมื่อมีการประชุมจึงเป็น
หน้าที่ของฝ่ายเลขานุการที่จะต้องรับผิดชอบจัดทํา
รายงานการประชุม
6.1 ความถูกต้อง ในการจดและจัดทํารายงานการประชุมนั้น จะต้องมีการเขียน
สรุปต้นเรื่อง ที่เป็นวาระการประชุมเสียก่อน
6.2 ความเที่ยงธรรมความเที่ยงธรรม ที่ว่าหมายถึงความพยายามที่จะต้องเขียน
รายงาน การประชุมอย่างปราศจากอคติ
6.3 ความชัดเจน รายงานการประชุม คือการบันทึกสิ่งที่ได้มีการแสดงความ
คิดเห็นในที่ ประชุม สําหรับใช้เป็นหลักฐานอ้างอิงยืนยัน ตรวจสอบติดตามงาน
ลักษณะของรายงานการประชุมทางวิชาการ มีดังนี้
นวนิยายและเรื่องสั้น เป็นหนังสือที่แตงขึ้นตามจินตนาการ เน้นความ
สนุกความเพลิดเพลินและอรรถรสวรรณกรรม สารสนเทศจาก
นวนิยายนํามาใช้อ้างอิงหลักฐานข้อเท็จจริงไม่ได้8.นวนิยายและเรื่องสั้น
๑. ต้องมีพฤติการณ์สําคัญอันเป็นต้นเรื่องแต่เพียงอย่างเดียว
๒. ต้องมีตัวละครที่มีบทบาทสําคัญที่สุดในท้องเรื่องแต่เพียงตัวเดียวเท่านั้น ๓. ต้องมี
จินตนาการหรือมโนคติ ซึ่งได้แก่ความสามารถที่จะสร้างภาพขึ้นในดวงจิต
๔. ต้องมีพล็อตหรือการผูกเค้าเรื่อง ซึ่งมักจะประกอบด้วย ปม หรือ ข้อความที่ทําให้
ผู้อ่านฉงนและอยากรู้ว่าจะเกิดมีอะไรต่อไป ซึ่งเรียกกัน ว่า ไคลแมกซ์ (Climax)
ลักษณะของนวนิยายและเรื่องสั้น มีดังนี้
๕. ต้องมีความแน่น ต้องเขียนอย่างรัดกุมเท่าที่จําเป็น
๖. ต้องมีการจัดรูป คือต้องวางรูปเรื่อง
๗. ข้อสุดท้าย เรื่องจะต้องให้ความรู้สึกโดยเฉพาะอย่างหนึ่งอย่างใด เมื่อผู้อ่าน
อ่านจบแล้ว ควรจะได้รับรสหรือเกิดอารมณ์ขึ้นอย่างใดอย่างหนึ่ง
1. หนังสือให้รายละเอียด เนื้อหาได้มากและลึกซึ้งกว่าสื่ออื่น ๆ
2. ค่าใช้จ่ายถูก
3. เป็นสื่อที่มีความน่าเชื่อถือ
4. สามารถออกแบบรูปแบบสื่อได้เต็มที่ เพราะไม่มีขีดจํากัดด้านเนื้อที่ ขนาด
5. เป็นสื่อมีอายุยาวนาน
6. มีความคงทนถาวร
7.การเก็บและบํารุงรักษาหนังสือจะสะดวกกว่าสื่ออื่น ๆ เพราะไม่ต้องมี
เทคนิคและวิธีการที่ซับซ้อน
8.หนังสือสะดวกต่อการใช้ สามารถอ่านได้ตลอดเวลาโดยไม่จํากัดสถานที่
จุดเด่นของหนังสือ
1. ไม่สามารถเข้าถึงผู้อ่านที่อ่านหนังสือไม่ออก หรือผู้สูงอายุที่
สายตาไม่ดี
2. ผู้อ่านจะเลือกอ่านเฉพาะที่เกี่ยวข้องกับเขา
3. งบประมาณเป็นอุปสรรคในการจัดทํา
4. ยุบหรือเลิกง่าย
5. มีวัตถุประสงค์ไม่แน่นอน หรือขาดความรู้ที่น่าสนใจ
6. การเผยแพร่อยู่ในวงจํากัดเฉพาะกลุ่ม
ข้อจํากัดของหนังสือ
1. อธิบายเรื่องไม่รู้ให้กระจ่างได้ในขอบเขต และความสามารถของแต่ละบุคคล
2. ส่งเสริมความใฝ่รู้ให้แก่ผู้อ่านจากภาษาที่เข้าใจง่าย และรูปเล่มที่ดึงดูดความสนใจ
3. หนังสือจะบันทึกเรื่องราวในอดีตเป็นประวัติศาสตร์ สนับสนุนให้มีการศึกษาค้นคว้าให้
กว้างขวางต่อไป
4. หนังสือจะกล่อมเกลาจิตใจผู้อ่านให้เกิดอารมณ์สุนทรี และประทับใจกับบุคคลและ
เหตุการณ์บางอย่าง
5. ช่วยสร้างนิสัยรักการอ่าน และส่งเสริมให้การอ่านเป็นความจําเป็นของชีวิต เมื่อต้องการ
ทราบและแก้ปัญหาต่าง ๆ ด้วยวิธีการแสวงหาคําตอบจากหนังสือ
6.หนังสือเป็นเพื่อนคลายเหงา ช่วยให้ผู้อ่านรู้จักใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์
ความสําคัญและประโยชน์ของหนังสือ
การอ่านหนังสือมีบทบาทสําคัญในยุคปัจจุบันนี้มาก อาจกล่าวได้ว่า ไม่ว่าจะเป็น
ทางด้านการศึกษาเล่าเรียน การประกอบอาชีพ ด้านบุคลิกภาพ นันทนาการและ
ด้านพัฒนาสังคมและประเทศชาติ ซึ่งบทบาทของหนังสือ มีดังนี้
1) บทบาทด้านการศึกษา
2) บทบาทด้านอาชีพ
3) บทบาทด้านการปรับปรุงบุคลิกภาพ
4) บทบาทด้านนันทนาการ
5) บทบาทด้านพัฒนาสังคมและพัฒนาประเทศ
บทบาทของหนังสือในปัจจุบัน
สมาชิกในกลุ่ม
1นางสาวอานีซะ กามะ รหัสนักศึกษา 405904006
2นางสาวอีมาน แบฆอ รหัสนักศึกษา 405904015
3นางสาวสริญญา แกสมาน รหัสนักศึกษา 405904027
4นางสาวซีดะ สะมะแอ รหัสนักศึกษา 405904036
สาขาวิชาคณิตศาสตร์

More Related Content

What's hot

การเขียนโครงการวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน
การเขียนโครงการวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียนการเขียนโครงการวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน
การเขียนโครงการวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน
ppisoot07
 
วิจัยในชั้นเรียน
วิจัยในชั้นเรียนวิจัยในชั้นเรียน
วิจัยในชั้นเรียน
Kritsadin Khemtong
 
เค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียน
เค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียนเค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียน
เค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียนnang_phy29
 
IS1 การศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ กลุ่ม1
IS1  การศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ กลุ่ม1IS1  การศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ กลุ่ม1
IS1 การศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ กลุ่ม1พัน พัน
 
การวิเคราะห์ผู้เรียน เก๋
การวิเคราะห์ผู้เรียน เก๋การวิเคราะห์ผู้เรียน เก๋
การวิเคราะห์ผู้เรียน เก๋Kaekea Bio
 
Slโครงสร้างรายวิชาหน่วย is1 การศึกษาและการสร้างองค์ความรู้
Slโครงสร้างรายวิชาหน่วย is1 การศึกษาและการสร้างองค์ความรู้Slโครงสร้างรายวิชาหน่วย is1 การศึกษาและการสร้างองค์ความรู้
Slโครงสร้างรายวิชาหน่วย is1 การศึกษาและการสร้างองค์ความรู้krupornpana55
 
สาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ หลักสูตรแกนกลาง
สาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ หลักสูตรแกนกลางสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ หลักสูตรแกนกลาง
สาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ หลักสูตรแกนกลางสปายด์ 'ดื้อ
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่เน้นการเรียนรู้ที่เน้นการเรียนรู้แบบร่วมมือแบบ Jigsaw
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่เน้นการเรียนรู้ที่เน้นการเรียนรู้แบบร่วมมือแบบ Jigsawชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่เน้นการเรียนรู้ที่เน้นการเรียนรู้แบบร่วมมือแบบ Jigsaw
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่เน้นการเรียนรู้ที่เน้นการเรียนรู้แบบร่วมมือแบบ Jigsaw
Krutanapron Nontasaen
 
1ความรู้เกี่ยวกับห้องสมุดpdf
1ความรู้เกี่ยวกับห้องสมุดpdf1ความรู้เกี่ยวกับห้องสมุดpdf
1ความรู้เกี่ยวกับห้องสมุดpdfkrujee
 
วิเคราะห์ผู้เรียน
วิเคราะห์ผู้เรียนวิเคราะห์ผู้เรียน
วิเคราะห์ผู้เรียนguestabb00
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาท
ssuser21a057
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้yuapawan
 
คู่มือครูชุดที่ 3
คู่มือครูชุดที่ 3คู่มือครูชุดที่ 3
คู่มือครูชุดที่ 3
sripayom
 
คู่มือการเขียนรายงาน การอ้างอิง การประกวดโครงงานวิทยาศาสตร์ สมาคมวิทยาศาสตร์ ...
คู่มือการเขียนรายงาน การอ้างอิง การประกวดโครงงานวิทยาศาสตร์ สมาคมวิทยาศาสตร์ ...คู่มือการเขียนรายงาน การอ้างอิง การประกวดโครงงานวิทยาศาสตร์ สมาคมวิทยาศาสตร์ ...
คู่มือการเขียนรายงาน การอ้างอิง การประกวดโครงงานวิทยาศาสตร์ สมาคมวิทยาศาสตร์ ...
Totsaporn Inthanin
 
Power point นำเสนองานวิจัย
Power point นำเสนองานวิจัยPower point นำเสนองานวิจัย
Power point นำเสนองานวิจัย
ชัชจิรา จำปาทอง
 

What's hot (19)

การเขียนโครงการวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน
การเขียนโครงการวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียนการเขียนโครงการวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน
การเขียนโครงการวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน
 
วิจัยในชั้นเรียน
วิจัยในชั้นเรียนวิจัยในชั้นเรียน
วิจัยในชั้นเรียน
 
บทที่ 4
บทที่ 4 บทที่ 4
บทที่ 4
 
เค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียน
เค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียนเค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียน
เค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียน
 
IS1 การศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ กลุ่ม1
IS1  การศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ กลุ่ม1IS1  การศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ กลุ่ม1
IS1 การศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ กลุ่ม1
 
การวิเคราะห์ผู้เรียน เก๋
การวิเคราะห์ผู้เรียน เก๋การวิเคราะห์ผู้เรียน เก๋
การวิเคราะห์ผู้เรียน เก๋
 
บทที่ 4 new
บทที่ 4 newบทที่ 4 new
บทที่ 4 new
 
Slโครงสร้างรายวิชาหน่วย is1 การศึกษาและการสร้างองค์ความรู้
Slโครงสร้างรายวิชาหน่วย is1 การศึกษาและการสร้างองค์ความรู้Slโครงสร้างรายวิชาหน่วย is1 การศึกษาและการสร้างองค์ความรู้
Slโครงสร้างรายวิชาหน่วย is1 การศึกษาและการสร้างองค์ความรู้
 
สาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ หลักสูตรแกนกลาง
สาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ หลักสูตรแกนกลางสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ หลักสูตรแกนกลาง
สาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ หลักสูตรแกนกลาง
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่เน้นการเรียนรู้ที่เน้นการเรียนรู้แบบร่วมมือแบบ Jigsaw
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่เน้นการเรียนรู้ที่เน้นการเรียนรู้แบบร่วมมือแบบ Jigsawชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่เน้นการเรียนรู้ที่เน้นการเรียนรู้แบบร่วมมือแบบ Jigsaw
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่เน้นการเรียนรู้ที่เน้นการเรียนรู้แบบร่วมมือแบบ Jigsaw
 
1ความรู้เกี่ยวกับห้องสมุดpdf
1ความรู้เกี่ยวกับห้องสมุดpdf1ความรู้เกี่ยวกับห้องสมุดpdf
1ความรู้เกี่ยวกับห้องสมุดpdf
 
วิเคราะห์ผู้เรียน
วิเคราะห์ผู้เรียนวิเคราะห์ผู้เรียน
วิเคราะห์ผู้เรียน
 
Pan14
Pan14Pan14
Pan14
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาท
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
 
คู่มือครูชุดที่ 3
คู่มือครูชุดที่ 3คู่มือครูชุดที่ 3
คู่มือครูชุดที่ 3
 
คู่มือการเขียนรายงาน การอ้างอิง การประกวดโครงงานวิทยาศาสตร์ สมาคมวิทยาศาสตร์ ...
คู่มือการเขียนรายงาน การอ้างอิง การประกวดโครงงานวิทยาศาสตร์ สมาคมวิทยาศาสตร์ ...คู่มือการเขียนรายงาน การอ้างอิง การประกวดโครงงานวิทยาศาสตร์ สมาคมวิทยาศาสตร์ ...
คู่มือการเขียนรายงาน การอ้างอิง การประกวดโครงงานวิทยาศาสตร์ สมาคมวิทยาศาสตร์ ...
 
รูปแบบ Powerpoint
รูปแบบ Powerpointรูปแบบ Powerpoint
รูปแบบ Powerpoint
 
Power point นำเสนองานวิจัย
Power point นำเสนองานวิจัยPower point นำเสนองานวิจัย
Power point นำเสนองานวิจัย
 

Similar to G.14 (1.หนังสือ)

หลักสูตร Is คำอธิบายรายวิชา ม.ปลายdoc
หลักสูตร Is คำอธิบายรายวิชา ม.ปลายdocหลักสูตร Is คำอธิบายรายวิชา ม.ปลายdoc
หลักสูตร Is คำอธิบายรายวิชา ม.ปลายdockrupornpana55
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3
kanwan0429
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3
kanwan0429
 
บทที่ 4 new
บทที่ 4 newบทที่ 4 new
บทที่ 4 new
Rathapon Silachan
 
ทฤ.หลักสูตร
ทฤ.หลักสูตรทฤ.หลักสูตร
ทฤ.หลักสูตร
Tawatchai Bunchuay
 
ใบความรู้ การเขียนรายงาน
ใบความรู้ การเขียนรายงานใบความรู้ การเขียนรายงาน
ใบความรู้ การเขียนรายงานDuangsuwun Lasadang
 
การออกแบบการจัดการการเรียนรู้อิงมาตรฐาน หลักสูตรแกนกลาง 2551 ...
การออกแบบการจัดการการเรียนรู้อิงมาตรฐาน   หลักสูตรแกนกลาง 2551               ...การออกแบบการจัดการการเรียนรู้อิงมาตรฐาน   หลักสูตรแกนกลาง 2551               ...
การออกแบบการจัดการการเรียนรู้อิงมาตรฐาน หลักสูตรแกนกลาง 2551 ...
Weerachat Martluplao
 
หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน 4
หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน 4หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน 4
หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน 4
CC Nakhon Pathom Rajabhat University
 
ปัญหาการเข้าสู่ตำแหน่งวิชาการระดับสูง
ปัญหาการเข้าสู่ตำแหน่งวิชาการระดับสูงปัญหาการเข้าสู่ตำแหน่งวิชาการระดับสูง
ปัญหาการเข้าสู่ตำแหน่งวิชาการระดับสูง
vru.ac.th
 
การทำวิทยานิพนธ์ บทที่ 1 03-thesis_manual.pdf
การทำวิทยานิพนธ์ บทที่ 1 03-thesis_manual.pdfการทำวิทยานิพนธ์ บทที่ 1 03-thesis_manual.pdf
การทำวิทยานิพนธ์ บทที่ 1 03-thesis_manual.pdf
DadaPiggygirl
 
ความหมาย ความสำคัญของหลักสูตร
ความหมาย ความสำคัญของหลักสูตรความหมาย ความสำคัญของหลักสูตร
ความหมาย ความสำคัญของหลักสูตรmaturos1984
 
แผนการจัดการาเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการาเรียนรู้ที่  1แผนการจัดการาเรียนรู้ที่  1
แผนการจัดการาเรียนรู้ที่ 1kruruttika
 
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยpanggoo
 
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยVs'veity Sirvcn
 
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยVs'veity Sirvcn
 

Similar to G.14 (1.หนังสือ) (20)

Km1
Km1Km1
Km1
 
หลักสูตร Is คำอธิบายรายวิชา ม.ปลายdoc
หลักสูตร Is คำอธิบายรายวิชา ม.ปลายdocหลักสูตร Is คำอธิบายรายวิชา ม.ปลายdoc
หลักสูตร Is คำอธิบายรายวิชา ม.ปลายdoc
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3
 
บทที่ 4 new
บทที่ 4 newบทที่ 4 new
บทที่ 4 new
 
ทฤ.หลักสูตร
ทฤ.หลักสูตรทฤ.หลักสูตร
ทฤ.หลักสูตร
 
บทที่ 4
บทที่ 4 บทที่ 4
บทที่ 4
 
ใบความรู้ การเขียนรายงาน
ใบความรู้ การเขียนรายงานใบความรู้ การเขียนรายงาน
ใบความรู้ การเขียนรายงาน
 
การออกแบบการจัดการการเรียนรู้อิงมาตรฐาน หลักสูตรแกนกลาง 2551 ...
การออกแบบการจัดการการเรียนรู้อิงมาตรฐาน   หลักสูตรแกนกลาง 2551               ...การออกแบบการจัดการการเรียนรู้อิงมาตรฐาน   หลักสูตรแกนกลาง 2551               ...
การออกแบบการจัดการการเรียนรู้อิงมาตรฐาน หลักสูตรแกนกลาง 2551 ...
 
หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน 4
หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน 4หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน 4
หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน 4
 
03chap1
03chap103chap1
03chap1
 
ปัญหาการเข้าสู่ตำแหน่งวิชาการระดับสูง
ปัญหาการเข้าสู่ตำแหน่งวิชาการระดับสูงปัญหาการเข้าสู่ตำแหน่งวิชาการระดับสูง
ปัญหาการเข้าสู่ตำแหน่งวิชาการระดับสูง
 
การทำวิทยานิพนธ์ บทที่ 1 03-thesis_manual.pdf
การทำวิทยานิพนธ์ บทที่ 1 03-thesis_manual.pdfการทำวิทยานิพนธ์ บทที่ 1 03-thesis_manual.pdf
การทำวิทยานิพนธ์ บทที่ 1 03-thesis_manual.pdf
 
บทที่ 4 new
บทที่ 4 newบทที่ 4 new
บทที่ 4 new
 
บทที่ 4 new
บทที่ 4 newบทที่ 4 new
บทที่ 4 new
 
ความหมาย ความสำคัญของหลักสูตร
ความหมาย ความสำคัญของหลักสูตรความหมาย ความสำคัญของหลักสูตร
ความหมาย ความสำคัญของหลักสูตร
 
แผนการจัดการาเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการาเรียนรู้ที่  1แผนการจัดการาเรียนรู้ที่  1
แผนการจัดการาเรียนรู้ที่ 1
 
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
 
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
 
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
 

G.14 (1.หนังสือ)