SlideShare a Scribd company logo
1
(ร่าง)
มาตรฐานการบริการทางเภสัชกรรมชุมชน
(Standard of Community Pharmacy Service)
******************************
เพื่ อ ใ ห้ ก า ร เป็ น ผู้ มี ห น้ า ที่ ป ฏิ บั ติ ก า ร ใ น ก า ร ป รุ ง ย า จ่ า ย ย า
แ ล ะ ข า ย ย า ต า ม ก ฎ ห ม า ย ว่ า ด้ ว ย ย า แ ล ะ ก ฎ ห ม า ย อื่ น ๆ
รวมถึงการกระทาหรือปฏิบัติการร่วมกับสหวิชาชีพ ตลอด จนมีแนวทางการปฏิบัติที่ดี
อั น จ ะ น า ไ ป สู่ ก า ร บ ริ ก า ร ที่ มี คุ ณ ภ า พ ม า ต ร ฐ า น มี ป ร ะ สิ ท ธิ ภ า พ
เกิดความปลอดภัยแก่ผู้รับบริการเพื่อให้ได้ประโยชน์สูงสุด สมาคมเภสัชกรรมชุมชน (ประเทศไทย)
จึงเห็นควรให้กาหนดมาตรฐานการบริการทางเภสัชกรรมชุมชน ในการเป็นผู้มีหน้าที่ปฏิบัติการ
ในการปรุงยา จ่ายยา และขายยาตามกฎหมายว่าด้ วยยา และเงื่อนไขในการกระทา
หรือปฏิบัติการในเรื่องต่างๆ ดังกล่าว
หมวด ๑
บททั่วไป
ข้ อ ๑ ม าต รฐาน นี้เรียก ว่าม าต รฐ าน การบ ริก ารท าง เภ สั ช กรรม ชุม ช น
ว่าด้วยแนวทางการให้บริการและบริบาลทางเภสัชกรรมชุมชนที่ดี
ข้อ ๒ ในมาตรฐานนี้
“เภสัชกรรมชุมชน ” หมายถึง การประ กอบวิชาชีพ เภสัชกรรมใน การปรุงยา
จ่ายยาและขายยาตามกฎหมายว่าด้วยยา
“เภสัชกรชุมชน” หมายถึง ผู้ ประกอบวิชาชีพเภสัชกรรมซึ่งเป็ นผู้ มีหน้าที่ปฏิบัติการ
ในสถานที่จาหน่ายยาตามกฎหมายว่าด้วยยา
เอกสารหมายเลข 3
2
“พ นั ก ง า น ร้ า น ย า ”. ห ม า ย ถึ ง ผู้ ซึ่ ง เภ สั ช ก ร ผู้ มี ห น้ า ที่ ป ฏิ บั ติ ก า ร
มอบหมายเป็นลายลักษณ์อักษร ให้สนับสนุนการให้บริการทางเภสัชกรรมที่เกี่ยวข้องกับ การจ่ายยา
ก า ร รั ก ษ า คุ ณ ภ า พ ย า ก า ร ใ ห้ ค ว า ม รู้ ด้ า น สุ ข ภ า พ
ภายใต้ขอบเขตที่กาหนดและการกากับดูแลของผู้มีหน้าที่ปฏิบัติการฯ
3
“ผู้ รับ บ ริ ก า ร ” ห ม า ย ถึ ง ผู้ ใ ช้ บ ริ ก า รห รื อ ผู้ รับ บ ริ ก า รที่ ใ ช้ บ ริ ก า ร
จากผู้ประกอบวิชาชีพเภสัชกรรม
“สถานบริการเภสัชกรรมชุมชน หมายถึง สถานที่ประกอบวิชาชีพเภสัชกรรม ในการปรุงยา
จ่ายยา และขายยาตามกฎหมายว่าด้วยยา
“ การบ ริบ าล ท าง เภ สั ชกรรม ” หม ายถึง การบริการท าง ด้ าน เภสั ชก รรม
โดยมุ่งที่ผู้รับบริการเป็นสาคัญ เพื่อตอบสนองความต้องการที่เกี่ยวข้องสุขภาพ และยาของผู้รับบริการ
ทั้งทางตรงและทางอ้อม ครอบคลุม การระบุ การค้นหา การประเมิน การวิเคราะห์ การให้ความรู้
การติดตาม การป้ องกัน และแก้ไขปัญหาที่เกี่ยวข้องสุขภาพและการรักษาด้วยยา
“ก า ร จ่ า ย ย า ต า ม ใ บ สั่ ง ย า ข อ ง ผู้ ป ร ะ ก อ บ วิ ช า ชี พ ” ห ม า ย ถึ ง
การจ่ายยาตามใบสั่งยาของผู้ประกอบวิชาชีพตามกฏหมายว่าด้วยยา
“การจ่ายยาต ามใบสั่งยาซ้า” หมายถึง การจ่ายยาต ามใบสั่งยาซ้าหล ายค รั้ง
ตามจานวนครั้งที่แพทย์หรือผู้ประกอบวิชาชีพตามกฏหมายว่าด้วยยา
ข้ อ ๓ เ ภ สั ช ก ร ชุ ม ช น ต้ อ ง อ ยู่ ป ฏิ บั ติ ห น้ า ที่ ณ
สถานบริการเภสัชกรรมชุมชนที่ตนเป็นผู้มีหน้าที่ปฏิบัติการตามกฎหมาย ตลอดเวลาที่เปิดทาการ
หรือด าเนินการจัด ให้ มี เภ สัชกรชุม ชนต าม เงื่ อนไขที่กฎ หม ายว่าด้ วยยากาหน ด
และมีหน้าที่ต้องปฏิบัติตามกฎหมายว่าด้วยยาอย่างเคร่งครัด
การแต่งกายในการปฏิบัติหน้าที่ของเภสัชกรชุมชน ต้องเป็นไปตามควร เหมาะสมแก่ฐานะ
และศักดิ์ศรีแห่งวิชาชีพเภสัชกรรม ตามหลักเกณฑ์ที่สภาเภสัชกรรมกาหนด
ข้อ ๔ เภสัชกรชุมชนผู้ปฏิบัติการ ณ สถานบริการเภสัชกรรมชุมชน อาจจัดให้มีพนักงานร้านยา
ทาหน้าที่ช่วยงานเภสัชกรเพื่อช่วยสนับสนุนให้เภสัชกรปฏิบัติหน้าที่ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ข้อ ๕ เภสัชกรชุมชนจะต้องรับผิดชอบดูแลให้พนักงานร้านยา
ได้รับการฝึกอบรมจนมีความรู้ความความสามารถที่เหมาะสมแก่การช่วยงานในสถานบริการเภสัชกรร
มชุมชน
4
ข้อ ๖ เภสัชกรชุมชนจะต้องจัดให้พนักงานร้านยา แต่งกายอย่างเหมาะสม
สวมเสื้อหรือเครื่องแบบที่เห็นได้ว่าต่างจากเภสัชกร
และไม่ทาให้ผู้รับบริการเข้าใจหรือสาคัญผิดว่าผู้นั้นเป็น
เภสัชกร
ข้อ ๗ เภสัชกรชุมชนจะต้องดูแลให้พนักงานร้านยามีความรู้ที่เหมาะสม
และช่วยปฏิบัติหน้าที่โดยถูกตามหลักวิชา
ในขอบเขตของผู้ช่วยงานเภสัชกรและภายใต้กรอบที่กฎหมายกาหนด
แนวทางการช่วยงานและความรู้ที่พนักงานร้านยาควรมี
ให้เป็นไปตามมาตรฐานที่สภาเภสัชกรรมกาหนด
หมวด ๒
การเลือกสรร การจัดหา และการจัดเก็บยา
ข้ อ ๑ ๐
เภสัชกรชุมชนต้องเลือกสรรและจัดหายาที่นามาใช้ในสถานบริการเภสัชกรรมชุมชนจากผู้ผลิต นาเข้า
จาห น่ ายที่ มี ม าต รฐาน ต าม ห ลั กเกณ ฑ์ วิธี ก ารที่ ดี ใน การผ ลิ ต จัด เก็ บ ข น ส่ ง
โดยคานึงถึงคุณภาพและประสิทธิผลในการรักษา
ข้อ ๑๑ การจัดเก็บยาในสถานบริการเภสัชกรรมชุมชนต้องจัดเก็บให้ถูกต้อง เหมาะสม
ตามหลักวิชาการเพื่อให้ยานั้นคงคุณภาพที่ดี
ข้อ ๑๒ เภสัชกรชุมชนต้องจัดให้มีระบบกากับดูแล ที่มีประสิทธิภาพ เพื่อไม่ให้มียาที่หมดอายุ
หรือเสื่อมคุณภาพ ณ จุดจ่ายยารวมทั้งมีระบบการจัดการยาที่เสื่อมสภาพหรือยาหมดอายุ
ข้อ ๑๓ เภสัชกรชุมชน พึงจัดให้มีระบบเอกสารในการจัดหา จัดเก็บยาที่เป็นปัจจุบัน
เพื่อประโยชน์ในการตรวจสอบและการใช้ยาอย่างปลอดภัย
หมวด ๓
การให้บริการทางเภสัชกรรมชุมชน
5
ข้อ ๑๕ เพื่อให้การบริการทางเภสัชกรรมชุมชนเป็ นไปอย่างมีประสิทธิภาพ ปลอดภัย
ทั้งกรณี การจ่ายยาตามอาการ การจ่ายยาแล ะการจ่ายยาต่อเนื่องต ามใบสั่งแพ ทย์
เภสัชกรชุมชนต้องดาเนินการต่อไปนี้
๑. เภ สั ช ก รต้ อ ง วินิ จ ฉั ยท าง เภ สั ชก รรม โด ย ก ารซัก ป ระ วัติ สั ง เก ต
ป ร ะ เมิ น ส ภ า ว ะ ท า ง สุ ข ภ า พ เพื่ อ ให้ ได้ ข้ อ มู ล ที่ เพี ย ง พ อ
โดยเฉพาะอย่างยิ่งประวัติโรคประจาตัว การแพ้ยา และยาที่ใช้ต่อเนื่อง
๒. เภสัชกรต้องพิจารณาส่งต่อผู้รับบริการพร้อมรายละเอียดตามแนวทางการส่งต่อ
ใ น ก ร ณี ที่ พิ จ า ร ณ า ภ า ว ะ อ า ก า ร เ จ็ บ ป่ ว ย แ ล้ ว
เห็นสมควรให้ผู้ประกอบวิชาชีพอื่นที่เกี่ยวข้องดูแลผู้รับบริการตามมาตรฐานการปฏิบั
ติงานเภสัชกรรมชุมชน เรื่องการส่งต่อผู้รับบริการ
๓. เภสัชกรต้องรักษาความลับของผู้รับบริการอย่างเคร่งครัดเว้นแต่การปฏิบัติตามกฎหม
าย
๔. ก ร ณี ที่ ต้ อ ง จ่ า ย ย า
เภสัชกรต้องเลือกสรรยาที่ถูกต้องเหมาะสมให้กับผู้รับบริการและมีแนวทางแต่ละกร
ณีดังนี้
๔.๑ การจ่ายยาตามอาการหรือภาวะของผู้รับบริการ
(ก)เภสัชกรชุมชนต้องประเมินความเจ็บป่วย
จัดการปัญหาสุขภาพและให้คาแนะนาการใช้ยาเพื่อรักษาตามมาตรฐานการปฏิบัติ
งานเภสัชกรรมชุมชน เรื่องการจ่ายยาตามอาการหรือภาวะของผู้รับบริการ
เพื่อให้บริการด้านยาอย่างปลอดภัย สมเหตุสมผล และคุ้มค่า
(แหล่งข้อมูลเชิงประจักษ์ได้แก่ หนังสืออ้างอิงทางการแพทย์ วารสาร
บัญชียาหลักแห่งชาติ มาตรฐานของแนวทางการรักษาโรค)
(ข)เภสัชกรชุมชนต้องให้ข้อมูลด้านยาภายใต้บริบทผู้รับบริการเฉพาะราย
เช่นการเลือกชนิดยา รูปแบบยา ขนาดยา วิธีใช้ยา
วิธีเก็บรักษามิให้ยาเสื่อมคุณภาพ
6
(ค)เภสัชกรชุมชนต้องให้คาแนะนาแก่ผู้รับบริการเฉพาะราย
โดยสังเกตผลการรักษาของยา
และวิธีเฝ้ าระวังอาการไม่พึงประสงค์ของยาอย่างต่อเนื่อง
(ง)เภสัชกรชุมชนต้องให้คาแนะนาการดูแลสุขภาพด้วยวิธีอื่นๆ นอกเหนือจากการใช้ยา
และจัดทาประวัติผู้รับบริการ จดบันทึกเพื่อการติดตามผลการรักษา
๔.๒ การจ่ายยาตามใบสั่งของผู้ประกอบวิชาชีพ
การจ่ายยาตามใบสั่งยาของผู้ประกอบวิชาชีพหรือการจ่ายยาตามใบสั่งยาซ้า
เภสัชกรชุมชนต้องปฏิบัติดังนี้
(๑) ตรวจสอบข้อมูลของใบสั่งยา อย่างน้อยต้องมีดังต่อไปนี้
(ก) ชื่อ และสถานที่ตั้งของสถานพยาบาล
(ข) ชื่อ นามสกุล ของผู้รับบริการ
(ค) ชื่อยา รูปแบบ และ ความแรงของยา
(ง) จานวน หรือ ปริมาณของยา กับระยะเวลาที่สั่งใช้ยา
(จ) วิธีการใช้ยา
(ฉ) ลายมือชื่อผู้ประกอบวิชาชีพ และเลขที่ใบอนุญาตผู้ประกอบวิชาชีพ(ถ้ามี)
(๒) ในกรณีที่พบว่ารายการในใบสั่งยาไม่เหมาะสม ไม่ถูกต้อง หรือมีข้อคลาดเคลื่อน
เภ สั ช กรชุม ช น ต้ อง ติ ด ต่ อ กับ ผู้ ป ระ ก อ บวิ ชาชี พ ที่ เป็ น ผู้ สั่ ง ใช้ ย า
เพื่อการประสานแก้ไขปัญหาของผู้รับบริการ
ห าก ไม่ ส าม ารถติ ด ต่ อผู้ ป ระ ก อบ วิช าชีพ ที่ เป็ น ผู้ สั่ ง ใช้ ย าได้
เภสัชกรชุมชนต้องปฏิเสธการจ่ายยาในกรณีนั้น
(๓ ) ใน กรณี ที่ ย าที่ จ่า ยต าม ใบ สั่ ง ย าข อ ง ผู้ ป ระ ก อบ วิช าชี พ นั้น
พ บ ว่ ามี แ น วโน้ ม ที่ จ ะ ก่ อ ให้ เกิ ด ปั ญ ห าที่ เกิ ด จ าก ก า รใช้ ย า ได้
เภสัชกรชุมชนต้องดาเนินการข้อใดข้อหนึ่งหรือหลายข้อดังต่อไปนี้
(ก) แนะนาวิธีการใช้ยาอย่างเหมาะสม เพื่อลดปัญหาจากการใช้ยา
(ข) แนะนาชี้แจงปัญหาที่อาจจะเกิดขึ้นแก่ผู้รับบริการที่ถือใบสั่งยานั้นให้ทราบ
7
( ค )
แนะนาชี้แจงปัญหาที่อาจจะเกิดขึ้นแก่ผู้ประกอบวิชาชีพที่สั่งจ่ายยานั้นหรื
อแจ้งรายละเอียดให้แก่เภสัชกรที่ปฏิบัติหน้าที่ในสถานพยาบาลเดียวกับผู้
ประกอบวิชาชีพที่สั่งจ่ายยานั้น
ในกรณีที่พบว่า ยาที่ผู้รับบริการได้รับอาจก่อให้เกิดปัญ หาจากการใช้ยา
เภสัชกรชุมชนพึง จัดทา “บันทึกประ วัติการใช้ยาของผู้ รับบริการ”
โด ย ระ บุ ราย ล ะ เอี ย ด เกี่ ย วกับ ปั ญ ห าด้ า น ย า ที่ อ าจ เกิ ด ขึ้น
และ ยาที่จ่ายพ ร้อมทั้งรายล ะเอียด ต่างๆ รวมทั้ง ข้อมูล การปฏิบัติ
คาแนะนาหรือการด าเนินการของเภสัชกรชุมชนที่ให้ กับผู้ รับบริการ
และจัดระบบให้สามารถสืบค้นกลับได้ง่าย
(๔) เภสัชกรชุมชนต้องลงนามและเลขที่ใบประกอบวิชาชีพ รวมทั้งระบุวัน เดือน
ปี ที่ จ่ า ย ย า
ในใบสั่งยาเมื่อดาเนินการตามกระบวนการจ่ายยาตามใบสั่งยาเรียบร้อยแล้ว
(๕) เภสัชกรชุมชนต้องเก็บใบสั่งยาที่ใบบริการแล้วไว้อย่างน้อย ๕ ปี
( ๖ ) ก ร ณี ที่ เ ป็ น ก า ร จ่ า ย ย า ต า ม ใ บ สั่ ง ย า ซ้ า
เภสัชกรชุมชนต้องจ่ายยาให้กับผู้รับบริการเฉพาะรายตามเงื่อนไขและจานวนราย
การยาตามที่ระบุไว้ในใบสั่งยาเท่านั้น
ข้ อ ….เภ สัชก รชุม ชนจ ะ ต้ อง เป็ น ผู้ ส่ ง มอ บยาอัน ต ราย ย าค วบคุ มพิ เศ ษ
วั ต ถุ อ อ ก ฤ ท ธิ์ ต่ อ จิ ต ป ร ะ ส า ท ย า เ ส พ ติ ด ใ ห้ โ ท ษ
ให้ กับผู้ มารับบริการเฉ พ าะรายในสถานบริการเภสัชกรรมชุมชน พ ร้อมให้ คาแนะนา
เพื่อให้ผู้รับบริการเกิดความเข้าใจเกี่ยวกับยาที่ได้รับ ดังนี้
(ก) ชื่อยา
(ข) ข้อบ่งใช้
(ค) ขนาด และวิธีการใช้
8
(ง) ผลข้างเคียง (Side effect) และอาการไม่พึงประสงค์จากการใช้ยา
(Adverse Drug Reaction) ที่อาจเกิดขึ้น (ถ้ามี)
(จ) ข้อควรระวังและข้อควรปฏิบัติในการใช้ยา
(ฉ) การปฏิบัติเมื่อเกิดปัญหาจากการใช้ยา
ข้อ ๑๕ เภสัชกรต้องบันทึกการจ่ายยาตามที่กฎหมายกาหนด
ข้ อ ๑ ๙ เภ สั ช ก ร ชุ ม ช น ต้ อ ง เลื อ ก ภ า ช น ะ บ ร ร จุ ที่ เห ม า ะ ส ม
เพื่อป้ องกันไม่ให้ยาเสื่อมสภาพก่อนเวลาอันควรพร้อมฉลากยา อันพึงมีรายละเอียดอย่างน้อย ดังนี้
(๑) ชื่อ ที่อยู่ของสถานบริการเภสัชกรรมชุมชน และเบอร์โทรศัพท์ที่ติดต่อได้
(๒) ข้อมูลเพื่อให้ผู้รับบริการใช้ยาได้อย่างถูกต้อง เหมาะสม ปลอดภัย ติดตามได้
ดังนี้
(ช) วันที่จ่ายยา
(ซ) ชื่อผู้รับบริการ
(ฌ) ชื่อยาที่เป็นชื่อสามัญทางยาหรือชื่อการค้า
(ญ) ความแรง
(ฎ) จานวนจ่าย
(ฏ) ข้อบ่งใช้
(ฐ) วิธีใช้ยา ที่ชัดเจนเข้าใจง่าย
(ฑ) ฉลากช่วย คาแนะนา คาเตือน หรือเอกสารให้ความรู้เพิ่มเติม
(ถ้าจาเป็น)
ข้อ ๑๙ เภสัชกรชุมชนควรจัดทาสมุดบันทึกการใช้ยาประจาตัวสาหรับผู้ รับบริการ
(กรณี ที่ค วรติดต าม) ซึ่งประกอบด้ วยยาที่แพ ทย์สั่งแล ะยาที่ผู้ รับบริการจัด หาเอง
และแนะนาให้ผู้รับบริการนาไปแสดงต่อเภสัชกรชุมชนหรือผู้ให้บริการทางการแพทย์ทุกครั้งที่ไปรับบริ
การ
หมวด ๔
9
การบริบาลทางเภสัชกรรมระดับบุคคล
ข้อ ๒๐ เภสัชกรชุมชนควรดาเนินการบริบาลทางเภสัชกรรมแก่ผู้ รับบริการทุกราย
จะต้องดาเนินการตามมาตรฐานการดูแลผู้รับบริการตามแนวทางการบริบาลทางเภสัชกรรมแก่ผู้รับบริ
การโรคที่สภาเภสัชกรรมกาหนด
ข้อ ๒๑ แนวทางการดาเนินการบริบาลเภสัชกรรมแก่ผู้รับบริการ
เพื่อให้การบริบาลทางเภสัชกรรมชุมชนเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและเหมาะสม
เภสัชกรชุมชนควรจัดทาบันทึกข้อมูลที่ได้จากการให้การบริบาลและวางแผนการติดตามผลหลังจากให้
บริการแก่ผู้รับบริการ โดยมีแนวทางการดาเนินการดังนี้
๑. เภสัชกรชุมชนทบทวนประวัติสุขภาพผู้รับบริการ ผลตรวจทางห้องปฏิบัติการ
และข้อมูลการใช้ยาอย่างเป็นระบบ
ซึ่งข้อมูลเหล่านี้จะช่วยให้สามารถสืบค้นและจาแนกปัญหาจากการใช้ยาเพื่อลาดั
บความสาคัญของปัญหาและวางแผนกิจกรรมเพื่อแก้ไข
๒. เภสัชกรชุมชนอาจให้ความช่วยเหลือทางด้านการแปลผลและบริการการตรวจทาง
ห้องปฏิบัติการเบื้องต้นโดยใช้ชุดทดสอบเพื่อประโยชน์ในการดูแลผู้รับบริการตาม
หลักการของการบริบาลทางเภสัชกรรม เพิ่มความปลอดภัยในการใช้ยา
ลดความคลาดเคลื่อนในการใช้ยา ของผู้รับบริการแต่ละราย
ตามมาตรฐานการปฏิบัติงานเภสัชกรรมชุมชน
เรื่องแปลผลและบริการการตรวจทางห้องปฏิบัติการ
๓. เภสัชกรชุมชนประเมินปัญหาจากการใช้ยา
๔. เภสัชกรจัดทาแผนกิจกรรมเพื่อแก้ปัญหาร่วมกับผู้รับบริการแต่ละราย
โดยกาหนดเป้ าประสงค์ที่ต้องการจากกิจกรรมนั้นๆ
เพื่อมุ่งไปสู่เป้ าหมายของการรักษา
และแผนกิจกรรมนี้เภสัชกรชุมชนและผู้รับบริการจะใช้เป็นเครื่องมือในการติดตาม
ผลลัพธ์
๕. เภสัชกรชุมชนดาเนินการให้บริการตามแผนแก่ผู้รับบริการและหรือผู้ดูแลแต่ละรา
ย
10
โดยมีเป้ าหมายเพื่อแก้ปัญหาอันเกี่ยวเนื่องจากการใช้ยาที่เหมาะสมและเพื่อเสริม
สร้างพลังความสามารถการดูแลสุขภาพตนเอง ประกอบด้วย การให้ความรู้
การให้การปรึกษาแนะนา การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม การเยี่ยมบ้านผู้รับบริการ
การแก้ปัญหาความร่วมมือในการใช้ยาหรือประสานงานส่งต่อผู้รับบริการไปยังสถ
านพยาบาล
๖. เภสัชกรชุมชนติดตามผลการจัดทาแผนกิจกรรมเพื่อแก้ปัญหาร่วมกับผู้รับบริการแ
ต่ละรายอย่างต่อเนื่อง
หมวด ๕
การค้นหาปัจจัยเสี่ยง สร้างเสริมสุขภาพและป้ องกันโรค ระดับบุคคล ครอบครัวและชุมชน
ข้อ ๒๕
เภสัชกรชุมชนควรจัดให้สถานบริการเภสัชกรรมชุมชนเป็นแหล่งข้อมูลของชุมชนเรื่องปัจจัยเสี่ยงด้านสุ
ขภาพ ให้ความรู้ความเข้าใจเรื่องยาและผลิตภัณฑ์สุขภาพ ให้คาปรึกษาแนะนาเพื่อสร้างเสริมสุขภาพ
ป้ องกันโรคและส่งเสริมการลด ละ เลิก สิ่งบั่นทอนต่อสุขภาพ
ข้ อ ๒ ๖
เภสัชกรชุมชนควรจัดให้มีกิจกรรมการคัดกรองโรคตามมาตรฐานการปฏิบัติงานเภสัชกรรมชุมชน
เรื่องการคัดกรองโรคและส่งต่อเพื่อรับการวินิจฉัยจากผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรมที่ถูกต้องตามหลักเก
ณฑ์แนวทางที่หน่วยงานที่เกี่ยวข้องกาหนดในระดับบุคคลและครอบครัว
ข้ อ ๒ ๗ เภ สั ช ก ร ชุ ม ช น ค ว ร มี ห น้ า ที่ ใ น ก า ร เฝ้ า ร ะ วั ง ป้ อ ง กั น
และแก้ไขผลไม่พึงประสงค์จากการใช้ยาและผลิตภัณฑ์สุขภาพ และให้สุขศึกษากับชุมชน
ข้ อ ๒ ๘
เภสัชกรชุมชนควรมีหน้าที่ให้คาแนะนาแก่ผู้ใช้บริการเกี่ยวกับการปฏิบัติตัวเพื่อลดหรือเลี่ยงพฤติกรรมเ
สี่ ย ง ท า ง สุ ข ภ า พ
โดยเฉพาะในกลุ่มโรคที่มีความเสี่ยงของอุบัติการณ์ที่เนื่องมาจากนิสัยและรูปแบบการดาเนินชีวิตในระ
ดับบุคคลและครอบครัว
11
ข้ อ ๒ ๙ เภ สั ช ก ร ชุ ม ช น ค ว ร ส นั บ ส นุ น ข้ อ มู ล ด้ า น ร ะ บ า ด วิ ท ย า
ใ ห้ ชุ ม ช น แ ล ะ ห น่ ว ย ง า น ที่ เ กี่ ย ว ข้ อ ง ใ น ก า ร ค ว บ คุ ม โ ร ค
รวมทั้งร่วมรณรงค์เพื่อลดความเสี่ยงในการระบาดของโรค
ข้ อ ๓ ๐ ก ารบ ริบ าล ท าง เภ สั ชก รรม กา รส่ ง เส ริม สุ ข ภ าพ ป้ อง กัน โรค
แ ล ะ ค ว บ คุ ม สิ่ ง คุ ก ค า ม ต่ อ สุ ข ภ า พ อ า จ เ ป็ น ก า ร ป ฏิ บั ติ
หรือดาเนินการในเชิงรุกในชุมชนตามสภาพและสถานการณ์ของแต่ละปัญหาก็ได้
หมวด ๖
การบริการเภสัชสนเทศและการประมวลข้อมูลอาการไม่พึงประสงค์ที่เกิดจากการใช้
ยาและผลิตภัณฑ์สุขภาพ
ข้ อ ๓ ๑
เภสัชกรชุมชนต้องจัดให้มีแหล่งข้อมูลอ้างอิงเกี่ยวกับยาและผลิตภัณฑ์สุขภาพที่น่าเชื่อถือและเป็นปัจ
จุ บั น เพื่ อ ส่ ง เส ริ ม ก า ร ใ ช้ อ ย่ า ง ถู ก ต้ อ ง เห ม า ะ ส ม แ ล ะ ป ล อ ด ภั ย
รวมทั้งเพื่อให้บริการข้อสนเทศด้านยาแก่ประชาชนในชุมชน
ข้ อ ๓ ๒
เภสัชกรชุมชนต้องให้บริการข้อมูลและให้ความรู้เรื่องยาและผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ถูกต้องและเป็นปัจจุบั
น อย่างไม่มีอคติ แก่ผู้รับบริการ ตลอดจนประชาชนในชุมชน
ข้อ ๓๓
เภสัชกรชุมชนพึงส่งเสริมการให้ความรู้เพื่อให้เกิดความปลอดภัยในการใช้ยาและผลิตภัณฑ์สุขภาพ
ในเรื่องต่อไปนี้
(๑) การป้ องกันอาการไม่พึงประสงค์ โทษ พิษภัยของยาและผลิตภัณฑ์สุขภาพ
(๒) การป้ องกันอันตรกิริยาระหว่าง ยากับยา ยากับอาหาร ยากับ สมุนไพร
ยากับผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร ยากับโรค ยากับเครื่องดื่ม
(๓) วิธีการใช้ยาและผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ถูกต้อง
12
ข้ อ ๓ ๔
เภสัชกรชุมชนพึงมีบทบาทหรือมีส่วนร่วมในการเป็นวิทยากรและเขียนบทความให้ความรู้แก่ชุมชนหรือ
บุคลากร ในโอกาสต่างๆ ตามสมควร
ข้ อ ๓ ๕
เภสัชกรชุมชนพึงช่วยเฝ้ าระวังและรายงานอาการไม่พึงประสงค์จากการใช้ยาและผลิตภัณฑ์สุขภาพ
แก่หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
หมวด ๗
การคุ้มครองผู้บริโภคและมาตรการความปลอดภัยที่เกี่ยวกับการใช้ยาและผลิตภัณฑ์สุขภาพ
ข้อ ๓๖ เภสัชกรชุมชนต้องทาหน้าที่คุ้มครองผู้บริโภคที่เกี่ยวกับยาและผลิตภัณฑ์สุขภาพ
โดยดาเนินการ ดังนี้
(๑) ประเมินและคัดกรอง ข้อมูลสื่อโฆษณ าของยาและผลิตภัณ ฑ์สุขภาพ
ในสถานบริการเภสัชกรรมชุมชน
(๒) ไม่เผยแพร่ข้อมูลหรือสื่อโฆษณาของยาและผลิตภัณฑ์สุขภาพที่โฆษณาอันเป็นเ
ท็จเกินจริง หรือไม่มีข้อมูลสนับสนุนทางวิชาการในสถานบริการเภสัชกรรมชุมชน
(๓) ไม่เผยแพร่ข้อมูลเกี่ยวกับยาและผลิตภัณฑ์สุขภาพที่มีปัญหาหรือผิดกฎหมาย
แก่ประชาชน
(๔) ไม่ผลิต จาหน่าย จ่าย แจก ยาและผลิตภัณ ฑ์สุขภาพที่ไม่มีคุณ ภาพ
มีปัญหาความปลอดภัย หรือผิดกฎหมาย
(๕) เภสัชกรชุมชนพึงมีหน้าที่ในการร่วมมือกับหน่วยงานรัฐที่เกี่ยวข้องในการเฝ้ าระวั
งการบริการ ผลิตภัณฑ์สุขภาพหรือการโฆษณาที่มีปัญหาหรือผิดกฎหมาย
หมวด ๘
13
การพัฒนาขีดความสามารถของเภสัชกรชุมชน
ข้อ ๓๗ เภสัชกรชุมชนพึงพยายามแสวงหาความรู้ ความก้าวหน้าทางวิชาการต่าง ๆ
เพื่อการพัฒนาตนเองและวิชาชีพให้ทันสมัยอยู่เสมอ
ข้ อ ๓ ๘ เภ สั ช ก ร ชุ ม ช น พึ ง ร ว ม ก ลุ่ ม กั บ เพื่ อ น ร่ว ม ส า ข า วิ ช า ชี พ
เพื่อประโยชน์ในการพัฒนาขีดความสามารถร่วมกัน
ข้อ ๓๙ เภสัชกรชุมชนพึงพัฒนาส มรรถนะให้ สามารถเป็ นแหล่งฝึ กปฎิบัติที่ดี
แ ล ะ ถ่ า ย ท อ ด ค ว า ม รู้
ทักษะและประสบการณ์ ในงานเภสัชกรรมชุมชนให้แก่นิสิต/นักศึกษาทางเภสัชศาสต ร์
ของสถาบันการศึกษาต่าง ๆ ได้
ประกาศ ณ วันที่......................................
นายกสภาเภสัชกรรม

More Related Content

What's hot

เอกสารประกอบการเรียนวิชาโภชนบำบัด
เอกสารประกอบการเรียนวิชาโภชนบำบัดเอกสารประกอบการเรียนวิชาโภชนบำบัด
เอกสารประกอบการเรียนวิชาโภชนบำบัด
sucheera Leethochawalit
 
คู่มือให้บริการ รพสต
คู่มือให้บริการ รพสตคู่มือให้บริการ รพสต
คู่มือให้บริการ รพสตsivapong klongpanich
 
Rdu hospital mar_9_2015
Rdu hospital mar_9_2015Rdu hospital mar_9_2015
Rdu hospital mar_9_2015
Utai Sukviwatsirikul
 
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับยา
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับยาบทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับยา
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับยา
Pa'rig Prig
 
Pwp อุปทานของระบบบริการสุขภาพ
Pwp อุปทานของระบบบริการสุขภาพPwp อุปทานของระบบบริการสุขภาพ
Pwp อุปทานของระบบบริการสุขภาพKittipan Marchuen
 
GPP for community pharmacist
GPP for community pharmacistGPP for community pharmacist
GPP for community pharmacist
Utai Sukviwatsirikul
 
คู่มือสำหรับเภสัชกรในการดำเนินงานเภสัชกรรมในหน่วยบริการปฐมภูมิ
คู่มือสำหรับเภสัชกรในการดำเนินงานเภสัชกรรมในหน่วยบริการปฐมภูมิคู่มือสำหรับเภสัชกรในการดำเนินงานเภสัชกรรมในหน่วยบริการปฐมภูมิ
คู่มือสำหรับเภสัชกรในการดำเนินงานเภสัชกรรมในหน่วยบริการปฐมภูมิ
Utai Sukviwatsirikul
 
Ppt.hfe
Ppt.hfePpt.hfe
จรรยาบรรณวิชาชีพเภสัชกรรม
จรรยาบรรณวิชาชีพเภสัชกรรมจรรยาบรรณวิชาชีพเภสัชกรรม
จรรยาบรรณวิชาชีพเภสัชกรรม
Surang Judistprasert
 
การพันผ้าแบบต่างๆ
การพันผ้าแบบต่างๆการพันผ้าแบบต่างๆ
การพันผ้าแบบต่างๆDashodragon KaoKaen
 
Cross hypersensivity to NSIADs, Allergic and pseudoallergic reactions.
Cross hypersensivity to NSIADs, Allergic and pseudoallergic reactions.Cross hypersensivity to NSIADs, Allergic and pseudoallergic reactions.
Cross hypersensivity to NSIADs, Allergic and pseudoallergic reactions.
Utai Sukviwatsirikul
 
ความรู้ทั่วไปเรื่องยา (ภญกนิษฐา) 19/6/58
ความรู้ทั่วไปเรื่องยา (ภญกนิษฐา) 19/6/58ความรู้ทั่วไปเรื่องยา (ภญกนิษฐา) 19/6/58
ความรู้ทั่วไปเรื่องยา (ภญกนิษฐา) 19/6/58
Junee Sara
 
ภาษาอังกฤษกับทักษะทางเภสัชศาสตร์  ภญ.ปุณฑริก ประสิทธิศาสตร์
ภาษาอังกฤษกับทักษะทางเภสัชศาสตร์  ภญ.ปุณฑริก ประสิทธิศาสตร์ภาษาอังกฤษกับทักษะทางเภสัชศาสตร์  ภญ.ปุณฑริก ประสิทธิศาสตร์
ภาษาอังกฤษกับทักษะทางเภสัชศาสตร์  ภญ.ปุณฑริก ประสิทธิศาสตร์
Utai Sukviwatsirikul
 
การใช้ยาในผู้สูงอายุ
การใช้ยาในผู้สูงอายุการใช้ยาในผู้สูงอายุ
การใช้ยาในผู้สูงอายุ
Sirinoot Jantharangkul
 
อาหารและโภชนาการ
อาหารและโภชนาการอาหารและโภชนาการ
อาหารและโภชนาการพัน พัน
 
ความรู้ทั่วไปเรื่องยา (ภญโมเรศ)
ความรู้ทั่วไปเรื่องยา (ภญโมเรศ)ความรู้ทั่วไปเรื่องยา (ภญโมเรศ)
ความรู้ทั่วไปเรื่องยา (ภญโมเรศ)
Junee Sara
 
กลไกการคลอดปกติ 8 ขั้นตอน
กลไกการคลอดปกติ 8 ขั้นตอนกลไกการคลอดปกติ 8 ขั้นตอน
กลไกการคลอดปกติ 8 ขั้นตอนda priyada
 
ยาสามัญประจำบ้านแผนปจจุบันและแผนโบราณ
ยาสามัญประจำบ้านแผนปจจุบันและแผนโบราณยาสามัญประจำบ้านแผนปจจุบันและแผนโบราณ
ยาสามัญประจำบ้านแผนปจจุบันและแผนโบราณ
Utai Sukviwatsirikul
 
คู่มือยาจิตเวชชุมชน
คู่มือยาจิตเวชชุมชนคู่มือยาจิตเวชชุมชน
คู่มือยาจิตเวชชุมชน
Utai Sukviwatsirikul
 

What's hot (20)

เอกสารประกอบการเรียนวิชาโภชนบำบัด
เอกสารประกอบการเรียนวิชาโภชนบำบัดเอกสารประกอบการเรียนวิชาโภชนบำบัด
เอกสารประกอบการเรียนวิชาโภชนบำบัด
 
คู่มือให้บริการ รพสต
คู่มือให้บริการ รพสตคู่มือให้บริการ รพสต
คู่มือให้บริการ รพสต
 
Rdu hospital mar_9_2015
Rdu hospital mar_9_2015Rdu hospital mar_9_2015
Rdu hospital mar_9_2015
 
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับยา
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับยาบทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับยา
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับยา
 
Pwp อุปทานของระบบบริการสุขภาพ
Pwp อุปทานของระบบบริการสุขภาพPwp อุปทานของระบบบริการสุขภาพ
Pwp อุปทานของระบบบริการสุขภาพ
 
GPP for community pharmacist
GPP for community pharmacistGPP for community pharmacist
GPP for community pharmacist
 
Drug
DrugDrug
Drug
 
คู่มือสำหรับเภสัชกรในการดำเนินงานเภสัชกรรมในหน่วยบริการปฐมภูมิ
คู่มือสำหรับเภสัชกรในการดำเนินงานเภสัชกรรมในหน่วยบริการปฐมภูมิคู่มือสำหรับเภสัชกรในการดำเนินงานเภสัชกรรมในหน่วยบริการปฐมภูมิ
คู่มือสำหรับเภสัชกรในการดำเนินงานเภสัชกรรมในหน่วยบริการปฐมภูมิ
 
Ppt.hfe
Ppt.hfePpt.hfe
Ppt.hfe
 
จรรยาบรรณวิชาชีพเภสัชกรรม
จรรยาบรรณวิชาชีพเภสัชกรรมจรรยาบรรณวิชาชีพเภสัชกรรม
จรรยาบรรณวิชาชีพเภสัชกรรม
 
การพันผ้าแบบต่างๆ
การพันผ้าแบบต่างๆการพันผ้าแบบต่างๆ
การพันผ้าแบบต่างๆ
 
Cross hypersensivity to NSIADs, Allergic and pseudoallergic reactions.
Cross hypersensivity to NSIADs, Allergic and pseudoallergic reactions.Cross hypersensivity to NSIADs, Allergic and pseudoallergic reactions.
Cross hypersensivity to NSIADs, Allergic and pseudoallergic reactions.
 
ความรู้ทั่วไปเรื่องยา (ภญกนิษฐา) 19/6/58
ความรู้ทั่วไปเรื่องยา (ภญกนิษฐา) 19/6/58ความรู้ทั่วไปเรื่องยา (ภญกนิษฐา) 19/6/58
ความรู้ทั่วไปเรื่องยา (ภญกนิษฐา) 19/6/58
 
ภาษาอังกฤษกับทักษะทางเภสัชศาสตร์  ภญ.ปุณฑริก ประสิทธิศาสตร์
ภาษาอังกฤษกับทักษะทางเภสัชศาสตร์  ภญ.ปุณฑริก ประสิทธิศาสตร์ภาษาอังกฤษกับทักษะทางเภสัชศาสตร์  ภญ.ปุณฑริก ประสิทธิศาสตร์
ภาษาอังกฤษกับทักษะทางเภสัชศาสตร์  ภญ.ปุณฑริก ประสิทธิศาสตร์
 
การใช้ยาในผู้สูงอายุ
การใช้ยาในผู้สูงอายุการใช้ยาในผู้สูงอายุ
การใช้ยาในผู้สูงอายุ
 
อาหารและโภชนาการ
อาหารและโภชนาการอาหารและโภชนาการ
อาหารและโภชนาการ
 
ความรู้ทั่วไปเรื่องยา (ภญโมเรศ)
ความรู้ทั่วไปเรื่องยา (ภญโมเรศ)ความรู้ทั่วไปเรื่องยา (ภญโมเรศ)
ความรู้ทั่วไปเรื่องยา (ภญโมเรศ)
 
กลไกการคลอดปกติ 8 ขั้นตอน
กลไกการคลอดปกติ 8 ขั้นตอนกลไกการคลอดปกติ 8 ขั้นตอน
กลไกการคลอดปกติ 8 ขั้นตอน
 
ยาสามัญประจำบ้านแผนปจจุบันและแผนโบราณ
ยาสามัญประจำบ้านแผนปจจุบันและแผนโบราณยาสามัญประจำบ้านแผนปจจุบันและแผนโบราณ
ยาสามัญประจำบ้านแผนปจจุบันและแผนโบราณ
 
คู่มือยาจิตเวชชุมชน
คู่มือยาจิตเวชชุมชนคู่มือยาจิตเวชชุมชน
คู่มือยาจิตเวชชุมชน
 

Similar to (ร่าง) มาตรฐานการบริการทางเภสัชกรรมชุมชน (Standard of Community Pharmacy Service) NO.3

แนวทางการบริหารจัดการโครงการรับยาที่ร้านยาใกล้บ้าน_ปี64_110564.pdf
แนวทางการบริหารจัดการโครงการรับยาที่ร้านยาใกล้บ้าน_ปี64_110564.pdfแนวทางการบริหารจัดการโครงการรับยาที่ร้านยาใกล้บ้าน_ปี64_110564.pdf
แนวทางการบริหารจัดการโครงการรับยาที่ร้านยาใกล้บ้าน_ปี64_110564.pdf
ssusercd124f
 
ใบความรู้เรื่องอาหารและโภชนาการ
ใบความรู้เรื่องอาหารและโภชนาการใบความรู้เรื่องอาหารและโภชนาการ
ใบความรู้เรื่องอาหารและโภชนาการ
tassanee chaicharoen
 
ร่าง กฎหมาย Gpp สถานที่ และอุปกรณ์
ร่าง กฎหมาย Gpp สถานที่ และอุปกรณ์ร่าง กฎหมาย Gpp สถานที่ และอุปกรณ์
ร่าง กฎหมาย Gpp สถานที่ และอุปกรณ์Utai Sukviwatsirikul
 
หลักในการบำบัดรักษาผู้ติดยาเสพติด
หลักในการบำบัดรักษาผู้ติดยาเสพติดหลักในการบำบัดรักษาผู้ติดยาเสพติด
หลักในการบำบัดรักษาผู้ติดยาเสพติดpluakdeang Hospital
 
การพัฒนาร้านยาเข้าสุ่ร้านยาคุณภาพ
การพัฒนาร้านยาเข้าสุ่ร้านยาคุณภาพการพัฒนาร้านยาเข้าสุ่ร้านยาคุณภาพ
การพัฒนาร้านยาเข้าสุ่ร้านยาคุณภาพ
Utai Sukviwatsirikul
 
แนวทางการตรวจสุขภาพที่จําเปนและเหมาะสมสําหรับประชาชน 2559
แนวทางการตรวจสุขภาพที่จําเปนและเหมาะสมสําหรับประชาชน 2559แนวทางการตรวจสุขภาพที่จําเปนและเหมาะสมสําหรับประชาชน 2559
แนวทางการตรวจสุขภาพที่จําเปนและเหมาะสมสําหรับประชาชน 2559
Utai Sukviwatsirikul
 
แผนปฎิบัติราชการ 2556 2559 กรมการแพทย์แผนไทย
แผนปฎิบัติราชการ 2556 2559 กรมการแพทย์แผนไทยแผนปฎิบัติราชการ 2556 2559 กรมการแพทย์แผนไทย
แผนปฎิบัติราชการ 2556 2559 กรมการแพทย์แผนไทยTanawat Sudsuk
 
4ชี้แจงผู้เกี่ยวข้องglucosamine cgd revised
4ชี้แจงผู้เกี่ยวข้องglucosamine cgd revised 4ชี้แจงผู้เกี่ยวข้องglucosamine cgd revised
4ชี้แจงผู้เกี่ยวข้องglucosamine cgd revised Nithimar Or
 
ดารณี หมู่ขจรพันธ์ ข้อเสนอต่อการปฏิรูประบบอาหารปลอดภัย
ดารณี หมู่ขจรพันธ์ ข้อเสนอต่อการปฏิรูประบบอาหารปลอดภัยดารณี หมู่ขจรพันธ์ ข้อเสนอต่อการปฏิรูประบบอาหารปลอดภัย
ดารณี หมู่ขจรพันธ์ ข้อเสนอต่อการปฏิรูประบบอาหารปลอดภัยแผนงาน นสธ.
 
ดารณี หมู่ขจรพันธ์ ข้อเสนอต่อการปฏิรูประบบอาหารปลอดภัย
ดารณี หมู่ขจรพันธ์ ข้อเสนอต่อการปฏิรูประบบอาหารปลอดภัยดารณี หมู่ขจรพันธ์ ข้อเสนอต่อการปฏิรูประบบอาหารปลอดภัย
ดารณี หมู่ขจรพันธ์ ข้อเสนอต่อการปฏิรูประบบอาหารปลอดภัยแผนงาน นสธ.
 
แนวทางการบริหารงบค่าใช้จ่ายบริการแพทย์แผนไทย ปี 2562 (สปสช.)
แนวทางการบริหารงบค่าใช้จ่ายบริการแพทย์แผนไทย ปี 2562 (สปสช.)แนวทางการบริหารงบค่าใช้จ่ายบริการแพทย์แผนไทย ปี 2562 (สปสช.)
แนวทางการบริหารงบค่าใช้จ่ายบริการแพทย์แผนไทย ปี 2562 (สปสช.)
Sakarin Habusaya
 
หลักสูตร 6 ปี สาขาเภสัชศาสตร์ พ.ศ.2552
หลักสูตร 6  ปี สาขาเภสัชศาสตร์ พ.ศ.2552หลักสูตร 6  ปี สาขาเภสัชศาสตร์ พ.ศ.2552
หลักสูตร 6 ปี สาขาเภสัชศาสตร์ พ.ศ.2552tanong2516
 
อ แสวง เขียนมาดีมาก
อ แสวง เขียนมาดีมากอ แสวง เขียนมาดีมาก
อ แสวง เขียนมาดีมากSupat Hasuwankit
 
Healthcare ปัญหาและอุปสรรค ในการพัฒนาพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
Healthcare ปัญหาและอุปสรรค ในการพัฒนาพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์Healthcare ปัญหาและอุปสรรค ในการพัฒนาพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
Healthcare ปัญหาและอุปสรรค ในการพัฒนาพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
Jaratpan Onghununtakul
 
Electronic Health Records: What Does The HITECH Act Teach Thailand?
Electronic Health Records: What Does The HITECH Act Teach Thailand?Electronic Health Records: What Does The HITECH Act Teach Thailand?
Electronic Health Records: What Does The HITECH Act Teach Thailand?Nawanan Theera-Ampornpunt
 
MTM (JC 16/8/59)
MTM (JC 16/8/59)MTM (JC 16/8/59)
การให้บริการในร้านยาที่เชื่อมต่อกับสถานพยาบาลหลัก
การให้บริการในร้านยาที่เชื่อมต่อกับสถานพยาบาลหลักการให้บริการในร้านยาที่เชื่อมต่อกับสถานพยาบาลหลัก
การให้บริการในร้านยาที่เชื่อมต่อกับสถานพยาบาลหลัก
Ziwapohn Peecharoensap
 

Similar to (ร่าง) มาตรฐานการบริการทางเภสัชกรรมชุมชน (Standard of Community Pharmacy Service) NO.3 (20)

แนวทางการบริหารจัดการโครงการรับยาที่ร้านยาใกล้บ้าน_ปี64_110564.pdf
แนวทางการบริหารจัดการโครงการรับยาที่ร้านยาใกล้บ้าน_ปี64_110564.pdfแนวทางการบริหารจัดการโครงการรับยาที่ร้านยาใกล้บ้าน_ปี64_110564.pdf
แนวทางการบริหารจัดการโครงการรับยาที่ร้านยาใกล้บ้าน_ปี64_110564.pdf
 
12.คู่มือการบริหารยาชัยบาดาล
12.คู่มือการบริหารยาชัยบาดาล12.คู่มือการบริหารยาชัยบาดาล
12.คู่มือการบริหารยาชัยบาดาล
 
ใบความรู้เรื่องอาหารและโภชนาการ
ใบความรู้เรื่องอาหารและโภชนาการใบความรู้เรื่องอาหารและโภชนาการ
ใบความรู้เรื่องอาหารและโภชนาการ
 
ร่าง กฎหมาย Gpp สถานที่ และอุปกรณ์
ร่าง กฎหมาย Gpp สถานที่ และอุปกรณ์ร่าง กฎหมาย Gpp สถานที่ และอุปกรณ์
ร่าง กฎหมาย Gpp สถานที่ และอุปกรณ์
 
หลักในการบำบัดรักษาผู้ติดยาเสพติด
หลักในการบำบัดรักษาผู้ติดยาเสพติดหลักในการบำบัดรักษาผู้ติดยาเสพติด
หลักในการบำบัดรักษาผู้ติดยาเสพติด
 
การพัฒนาร้านยาเข้าสุ่ร้านยาคุณภาพ
การพัฒนาร้านยาเข้าสุ่ร้านยาคุณภาพการพัฒนาร้านยาเข้าสุ่ร้านยาคุณภาพ
การพัฒนาร้านยาเข้าสุ่ร้านยาคุณภาพ
 
แนวทางการตรวจสุขภาพที่จําเปนและเหมาะสมสําหรับประชาชน 2559
แนวทางการตรวจสุขภาพที่จําเปนและเหมาะสมสําหรับประชาชน 2559แนวทางการตรวจสุขภาพที่จําเปนและเหมาะสมสําหรับประชาชน 2559
แนวทางการตรวจสุขภาพที่จําเปนและเหมาะสมสําหรับประชาชน 2559
 
บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8
 
วพบ นครราชสีมา๕๖
วพบ นครราชสีมา๕๖วพบ นครราชสีมา๕๖
วพบ นครราชสีมา๕๖
 
แผนปฎิบัติราชการ 2556 2559 กรมการแพทย์แผนไทย
แผนปฎิบัติราชการ 2556 2559 กรมการแพทย์แผนไทยแผนปฎิบัติราชการ 2556 2559 กรมการแพทย์แผนไทย
แผนปฎิบัติราชการ 2556 2559 กรมการแพทย์แผนไทย
 
4ชี้แจงผู้เกี่ยวข้องglucosamine cgd revised
4ชี้แจงผู้เกี่ยวข้องglucosamine cgd revised 4ชี้แจงผู้เกี่ยวข้องglucosamine cgd revised
4ชี้แจงผู้เกี่ยวข้องglucosamine cgd revised
 
ดารณี หมู่ขจรพันธ์ ข้อเสนอต่อการปฏิรูประบบอาหารปลอดภัย
ดารณี หมู่ขจรพันธ์ ข้อเสนอต่อการปฏิรูประบบอาหารปลอดภัยดารณี หมู่ขจรพันธ์ ข้อเสนอต่อการปฏิรูประบบอาหารปลอดภัย
ดารณี หมู่ขจรพันธ์ ข้อเสนอต่อการปฏิรูประบบอาหารปลอดภัย
 
ดารณี หมู่ขจรพันธ์ ข้อเสนอต่อการปฏิรูประบบอาหารปลอดภัย
ดารณี หมู่ขจรพันธ์ ข้อเสนอต่อการปฏิรูประบบอาหารปลอดภัยดารณี หมู่ขจรพันธ์ ข้อเสนอต่อการปฏิรูประบบอาหารปลอดภัย
ดารณี หมู่ขจรพันธ์ ข้อเสนอต่อการปฏิรูประบบอาหารปลอดภัย
 
แนวทางการบริหารงบค่าใช้จ่ายบริการแพทย์แผนไทย ปี 2562 (สปสช.)
แนวทางการบริหารงบค่าใช้จ่ายบริการแพทย์แผนไทย ปี 2562 (สปสช.)แนวทางการบริหารงบค่าใช้จ่ายบริการแพทย์แผนไทย ปี 2562 (สปสช.)
แนวทางการบริหารงบค่าใช้จ่ายบริการแพทย์แผนไทย ปี 2562 (สปสช.)
 
หลักสูตร 6 ปี สาขาเภสัชศาสตร์ พ.ศ.2552
หลักสูตร 6  ปี สาขาเภสัชศาสตร์ พ.ศ.2552หลักสูตร 6  ปี สาขาเภสัชศาสตร์ พ.ศ.2552
หลักสูตร 6 ปี สาขาเภสัชศาสตร์ พ.ศ.2552
 
อ แสวง เขียนมาดีมาก
อ แสวง เขียนมาดีมากอ แสวง เขียนมาดีมาก
อ แสวง เขียนมาดีมาก
 
Healthcare ปัญหาและอุปสรรค ในการพัฒนาพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
Healthcare ปัญหาและอุปสรรค ในการพัฒนาพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์Healthcare ปัญหาและอุปสรรค ในการพัฒนาพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
Healthcare ปัญหาและอุปสรรค ในการพัฒนาพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
 
Electronic Health Records: What Does The HITECH Act Teach Thailand?
Electronic Health Records: What Does The HITECH Act Teach Thailand?Electronic Health Records: What Does The HITECH Act Teach Thailand?
Electronic Health Records: What Does The HITECH Act Teach Thailand?
 
MTM (JC 16/8/59)
MTM (JC 16/8/59)MTM (JC 16/8/59)
MTM (JC 16/8/59)
 
การให้บริการในร้านยาที่เชื่อมต่อกับสถานพยาบาลหลัก
การให้บริการในร้านยาที่เชื่อมต่อกับสถานพยาบาลหลักการให้บริการในร้านยาที่เชื่อมต่อกับสถานพยาบาลหลัก
การให้บริการในร้านยาที่เชื่อมต่อกับสถานพยาบาลหลัก
 

More from Utai Sukviwatsirikul

Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืนNanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
Utai Sukviwatsirikul
 
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลันClinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
Utai Sukviwatsirikul
 
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
Utai Sukviwatsirikul
 
Supply chain management
Supply chain managementSupply chain management
Supply chain management
Utai Sukviwatsirikul
 
Best practice in communication
Best practice in communicationBest practice in communication
Best practice in communication
Utai Sukviwatsirikul
 
Basic communication skills 2554
Basic communication skills 2554Basic communication skills 2554
Basic communication skills 2554
Utai Sukviwatsirikul
 
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoeaSaccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
Utai Sukviwatsirikul
 
SME Handbook
SME HandbookSME Handbook
SME Handbook
Utai Sukviwatsirikul
 
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
Utai Sukviwatsirikul
 
Scientific evidence of BIOFLOR
Scientific evidence of BIOFLORScientific evidence of BIOFLOR
Scientific evidence of BIOFLOR
Utai Sukviwatsirikul
 
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee VaravithyaDrugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
Utai Sukviwatsirikul
 
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
Utai Sukviwatsirikul
 
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
Utai Sukviwatsirikul
 
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
Utai Sukviwatsirikul
 
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไตแนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
Utai Sukviwatsirikul
 
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
Utai Sukviwatsirikul
 
ความรู้เรื่องโรคไต
ความรู้เรื่องโรคไตความรู้เรื่องโรคไต
ความรู้เรื่องโรคไต
Utai Sukviwatsirikul
 
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
Utai Sukviwatsirikul
 
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการพระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
Utai Sukviwatsirikul
 
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉินข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
Utai Sukviwatsirikul
 

More from Utai Sukviwatsirikul (20)

Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืนNanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
 
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลันClinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
 
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
 
Supply chain management
Supply chain managementSupply chain management
Supply chain management
 
Best practice in communication
Best practice in communicationBest practice in communication
Best practice in communication
 
Basic communication skills 2554
Basic communication skills 2554Basic communication skills 2554
Basic communication skills 2554
 
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoeaSaccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
 
SME Handbook
SME HandbookSME Handbook
SME Handbook
 
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
 
Scientific evidence of BIOFLOR
Scientific evidence of BIOFLORScientific evidence of BIOFLOR
Scientific evidence of BIOFLOR
 
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee VaravithyaDrugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
 
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
 
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
 
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
 
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไตแนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
 
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
 
ความรู้เรื่องโรคไต
ความรู้เรื่องโรคไตความรู้เรื่องโรคไต
ความรู้เรื่องโรคไต
 
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
 
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการพระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
 
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉินข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
 

(ร่าง) มาตรฐานการบริการทางเภสัชกรรมชุมชน (Standard of Community Pharmacy Service) NO.3

  • 1. 1 (ร่าง) มาตรฐานการบริการทางเภสัชกรรมชุมชน (Standard of Community Pharmacy Service) ****************************** เพื่ อ ใ ห้ ก า ร เป็ น ผู้ มี ห น้ า ที่ ป ฏิ บั ติ ก า ร ใ น ก า ร ป รุ ง ย า จ่ า ย ย า แ ล ะ ข า ย ย า ต า ม ก ฎ ห ม า ย ว่ า ด้ ว ย ย า แ ล ะ ก ฎ ห ม า ย อื่ น ๆ รวมถึงการกระทาหรือปฏิบัติการร่วมกับสหวิชาชีพ ตลอด จนมีแนวทางการปฏิบัติที่ดี อั น จ ะ น า ไ ป สู่ ก า ร บ ริ ก า ร ที่ มี คุ ณ ภ า พ ม า ต ร ฐ า น มี ป ร ะ สิ ท ธิ ภ า พ เกิดความปลอดภัยแก่ผู้รับบริการเพื่อให้ได้ประโยชน์สูงสุด สมาคมเภสัชกรรมชุมชน (ประเทศไทย) จึงเห็นควรให้กาหนดมาตรฐานการบริการทางเภสัชกรรมชุมชน ในการเป็นผู้มีหน้าที่ปฏิบัติการ ในการปรุงยา จ่ายยา และขายยาตามกฎหมายว่าด้ วยยา และเงื่อนไขในการกระทา หรือปฏิบัติการในเรื่องต่างๆ ดังกล่าว หมวด ๑ บททั่วไป ข้ อ ๑ ม าต รฐาน นี้เรียก ว่าม าต รฐ าน การบ ริก ารท าง เภ สั ช กรรม ชุม ช น ว่าด้วยแนวทางการให้บริการและบริบาลทางเภสัชกรรมชุมชนที่ดี ข้อ ๒ ในมาตรฐานนี้ “เภสัชกรรมชุมชน ” หมายถึง การประ กอบวิชาชีพ เภสัชกรรมใน การปรุงยา จ่ายยาและขายยาตามกฎหมายว่าด้วยยา “เภสัชกรชุมชน” หมายถึง ผู้ ประกอบวิชาชีพเภสัชกรรมซึ่งเป็ นผู้ มีหน้าที่ปฏิบัติการ ในสถานที่จาหน่ายยาตามกฎหมายว่าด้วยยา เอกสารหมายเลข 3
  • 2. 2 “พ นั ก ง า น ร้ า น ย า ”. ห ม า ย ถึ ง ผู้ ซึ่ ง เภ สั ช ก ร ผู้ มี ห น้ า ที่ ป ฏิ บั ติ ก า ร มอบหมายเป็นลายลักษณ์อักษร ให้สนับสนุนการให้บริการทางเภสัชกรรมที่เกี่ยวข้องกับ การจ่ายยา ก า ร รั ก ษ า คุ ณ ภ า พ ย า ก า ร ใ ห้ ค ว า ม รู้ ด้ า น สุ ข ภ า พ ภายใต้ขอบเขตที่กาหนดและการกากับดูแลของผู้มีหน้าที่ปฏิบัติการฯ
  • 3. 3 “ผู้ รับ บ ริ ก า ร ” ห ม า ย ถึ ง ผู้ ใ ช้ บ ริ ก า รห รื อ ผู้ รับ บ ริ ก า รที่ ใ ช้ บ ริ ก า ร จากผู้ประกอบวิชาชีพเภสัชกรรม “สถานบริการเภสัชกรรมชุมชน หมายถึง สถานที่ประกอบวิชาชีพเภสัชกรรม ในการปรุงยา จ่ายยา และขายยาตามกฎหมายว่าด้วยยา “ การบ ริบ าล ท าง เภ สั ชกรรม ” หม ายถึง การบริการท าง ด้ าน เภสั ชก รรม โดยมุ่งที่ผู้รับบริการเป็นสาคัญ เพื่อตอบสนองความต้องการที่เกี่ยวข้องสุขภาพ และยาของผู้รับบริการ ทั้งทางตรงและทางอ้อม ครอบคลุม การระบุ การค้นหา การประเมิน การวิเคราะห์ การให้ความรู้ การติดตาม การป้ องกัน และแก้ไขปัญหาที่เกี่ยวข้องสุขภาพและการรักษาด้วยยา “ก า ร จ่ า ย ย า ต า ม ใ บ สั่ ง ย า ข อ ง ผู้ ป ร ะ ก อ บ วิ ช า ชี พ ” ห ม า ย ถึ ง การจ่ายยาตามใบสั่งยาของผู้ประกอบวิชาชีพตามกฏหมายว่าด้วยยา “การจ่ายยาต ามใบสั่งยาซ้า” หมายถึง การจ่ายยาต ามใบสั่งยาซ้าหล ายค รั้ง ตามจานวนครั้งที่แพทย์หรือผู้ประกอบวิชาชีพตามกฏหมายว่าด้วยยา ข้ อ ๓ เ ภ สั ช ก ร ชุ ม ช น ต้ อ ง อ ยู่ ป ฏิ บั ติ ห น้ า ที่ ณ สถานบริการเภสัชกรรมชุมชนที่ตนเป็นผู้มีหน้าที่ปฏิบัติการตามกฎหมาย ตลอดเวลาที่เปิดทาการ หรือด าเนินการจัด ให้ มี เภ สัชกรชุม ชนต าม เงื่ อนไขที่กฎ หม ายว่าด้ วยยากาหน ด และมีหน้าที่ต้องปฏิบัติตามกฎหมายว่าด้วยยาอย่างเคร่งครัด การแต่งกายในการปฏิบัติหน้าที่ของเภสัชกรชุมชน ต้องเป็นไปตามควร เหมาะสมแก่ฐานะ และศักดิ์ศรีแห่งวิชาชีพเภสัชกรรม ตามหลักเกณฑ์ที่สภาเภสัชกรรมกาหนด ข้อ ๔ เภสัชกรชุมชนผู้ปฏิบัติการ ณ สถานบริการเภสัชกรรมชุมชน อาจจัดให้มีพนักงานร้านยา ทาหน้าที่ช่วยงานเภสัชกรเพื่อช่วยสนับสนุนให้เภสัชกรปฏิบัติหน้าที่ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ข้อ ๕ เภสัชกรชุมชนจะต้องรับผิดชอบดูแลให้พนักงานร้านยา ได้รับการฝึกอบรมจนมีความรู้ความความสามารถที่เหมาะสมแก่การช่วยงานในสถานบริการเภสัชกรร มชุมชน
  • 4. 4 ข้อ ๖ เภสัชกรชุมชนจะต้องจัดให้พนักงานร้านยา แต่งกายอย่างเหมาะสม สวมเสื้อหรือเครื่องแบบที่เห็นได้ว่าต่างจากเภสัชกร และไม่ทาให้ผู้รับบริการเข้าใจหรือสาคัญผิดว่าผู้นั้นเป็น เภสัชกร ข้อ ๗ เภสัชกรชุมชนจะต้องดูแลให้พนักงานร้านยามีความรู้ที่เหมาะสม และช่วยปฏิบัติหน้าที่โดยถูกตามหลักวิชา ในขอบเขตของผู้ช่วยงานเภสัชกรและภายใต้กรอบที่กฎหมายกาหนด แนวทางการช่วยงานและความรู้ที่พนักงานร้านยาควรมี ให้เป็นไปตามมาตรฐานที่สภาเภสัชกรรมกาหนด หมวด ๒ การเลือกสรร การจัดหา และการจัดเก็บยา ข้ อ ๑ ๐ เภสัชกรชุมชนต้องเลือกสรรและจัดหายาที่นามาใช้ในสถานบริการเภสัชกรรมชุมชนจากผู้ผลิต นาเข้า จาห น่ ายที่ มี ม าต รฐาน ต าม ห ลั กเกณ ฑ์ วิธี ก ารที่ ดี ใน การผ ลิ ต จัด เก็ บ ข น ส่ ง โดยคานึงถึงคุณภาพและประสิทธิผลในการรักษา ข้อ ๑๑ การจัดเก็บยาในสถานบริการเภสัชกรรมชุมชนต้องจัดเก็บให้ถูกต้อง เหมาะสม ตามหลักวิชาการเพื่อให้ยานั้นคงคุณภาพที่ดี ข้อ ๑๒ เภสัชกรชุมชนต้องจัดให้มีระบบกากับดูแล ที่มีประสิทธิภาพ เพื่อไม่ให้มียาที่หมดอายุ หรือเสื่อมคุณภาพ ณ จุดจ่ายยารวมทั้งมีระบบการจัดการยาที่เสื่อมสภาพหรือยาหมดอายุ ข้อ ๑๓ เภสัชกรชุมชน พึงจัดให้มีระบบเอกสารในการจัดหา จัดเก็บยาที่เป็นปัจจุบัน เพื่อประโยชน์ในการตรวจสอบและการใช้ยาอย่างปลอดภัย หมวด ๓ การให้บริการทางเภสัชกรรมชุมชน
  • 5. 5 ข้อ ๑๕ เพื่อให้การบริการทางเภสัชกรรมชุมชนเป็ นไปอย่างมีประสิทธิภาพ ปลอดภัย ทั้งกรณี การจ่ายยาตามอาการ การจ่ายยาแล ะการจ่ายยาต่อเนื่องต ามใบสั่งแพ ทย์ เภสัชกรชุมชนต้องดาเนินการต่อไปนี้ ๑. เภ สั ช ก รต้ อ ง วินิ จ ฉั ยท าง เภ สั ชก รรม โด ย ก ารซัก ป ระ วัติ สั ง เก ต ป ร ะ เมิ น ส ภ า ว ะ ท า ง สุ ข ภ า พ เพื่ อ ให้ ได้ ข้ อ มู ล ที่ เพี ย ง พ อ โดยเฉพาะอย่างยิ่งประวัติโรคประจาตัว การแพ้ยา และยาที่ใช้ต่อเนื่อง ๒. เภสัชกรต้องพิจารณาส่งต่อผู้รับบริการพร้อมรายละเอียดตามแนวทางการส่งต่อ ใ น ก ร ณี ที่ พิ จ า ร ณ า ภ า ว ะ อ า ก า ร เ จ็ บ ป่ ว ย แ ล้ ว เห็นสมควรให้ผู้ประกอบวิชาชีพอื่นที่เกี่ยวข้องดูแลผู้รับบริการตามมาตรฐานการปฏิบั ติงานเภสัชกรรมชุมชน เรื่องการส่งต่อผู้รับบริการ ๓. เภสัชกรต้องรักษาความลับของผู้รับบริการอย่างเคร่งครัดเว้นแต่การปฏิบัติตามกฎหม าย ๔. ก ร ณี ที่ ต้ อ ง จ่ า ย ย า เภสัชกรต้องเลือกสรรยาที่ถูกต้องเหมาะสมให้กับผู้รับบริการและมีแนวทางแต่ละกร ณีดังนี้ ๔.๑ การจ่ายยาตามอาการหรือภาวะของผู้รับบริการ (ก)เภสัชกรชุมชนต้องประเมินความเจ็บป่วย จัดการปัญหาสุขภาพและให้คาแนะนาการใช้ยาเพื่อรักษาตามมาตรฐานการปฏิบัติ งานเภสัชกรรมชุมชน เรื่องการจ่ายยาตามอาการหรือภาวะของผู้รับบริการ เพื่อให้บริการด้านยาอย่างปลอดภัย สมเหตุสมผล และคุ้มค่า (แหล่งข้อมูลเชิงประจักษ์ได้แก่ หนังสืออ้างอิงทางการแพทย์ วารสาร บัญชียาหลักแห่งชาติ มาตรฐานของแนวทางการรักษาโรค) (ข)เภสัชกรชุมชนต้องให้ข้อมูลด้านยาภายใต้บริบทผู้รับบริการเฉพาะราย เช่นการเลือกชนิดยา รูปแบบยา ขนาดยา วิธีใช้ยา วิธีเก็บรักษามิให้ยาเสื่อมคุณภาพ
  • 6. 6 (ค)เภสัชกรชุมชนต้องให้คาแนะนาแก่ผู้รับบริการเฉพาะราย โดยสังเกตผลการรักษาของยา และวิธีเฝ้ าระวังอาการไม่พึงประสงค์ของยาอย่างต่อเนื่อง (ง)เภสัชกรชุมชนต้องให้คาแนะนาการดูแลสุขภาพด้วยวิธีอื่นๆ นอกเหนือจากการใช้ยา และจัดทาประวัติผู้รับบริการ จดบันทึกเพื่อการติดตามผลการรักษา ๔.๒ การจ่ายยาตามใบสั่งของผู้ประกอบวิชาชีพ การจ่ายยาตามใบสั่งยาของผู้ประกอบวิชาชีพหรือการจ่ายยาตามใบสั่งยาซ้า เภสัชกรชุมชนต้องปฏิบัติดังนี้ (๑) ตรวจสอบข้อมูลของใบสั่งยา อย่างน้อยต้องมีดังต่อไปนี้ (ก) ชื่อ และสถานที่ตั้งของสถานพยาบาล (ข) ชื่อ นามสกุล ของผู้รับบริการ (ค) ชื่อยา รูปแบบ และ ความแรงของยา (ง) จานวน หรือ ปริมาณของยา กับระยะเวลาที่สั่งใช้ยา (จ) วิธีการใช้ยา (ฉ) ลายมือชื่อผู้ประกอบวิชาชีพ และเลขที่ใบอนุญาตผู้ประกอบวิชาชีพ(ถ้ามี) (๒) ในกรณีที่พบว่ารายการในใบสั่งยาไม่เหมาะสม ไม่ถูกต้อง หรือมีข้อคลาดเคลื่อน เภ สั ช กรชุม ช น ต้ อง ติ ด ต่ อ กับ ผู้ ป ระ ก อ บวิ ชาชี พ ที่ เป็ น ผู้ สั่ ง ใช้ ย า เพื่อการประสานแก้ไขปัญหาของผู้รับบริการ ห าก ไม่ ส าม ารถติ ด ต่ อผู้ ป ระ ก อบ วิช าชีพ ที่ เป็ น ผู้ สั่ ง ใช้ ย าได้ เภสัชกรชุมชนต้องปฏิเสธการจ่ายยาในกรณีนั้น (๓ ) ใน กรณี ที่ ย าที่ จ่า ยต าม ใบ สั่ ง ย าข อ ง ผู้ ป ระ ก อบ วิช าชี พ นั้น พ บ ว่ ามี แ น วโน้ ม ที่ จ ะ ก่ อ ให้ เกิ ด ปั ญ ห าที่ เกิ ด จ าก ก า รใช้ ย า ได้ เภสัชกรชุมชนต้องดาเนินการข้อใดข้อหนึ่งหรือหลายข้อดังต่อไปนี้ (ก) แนะนาวิธีการใช้ยาอย่างเหมาะสม เพื่อลดปัญหาจากการใช้ยา (ข) แนะนาชี้แจงปัญหาที่อาจจะเกิดขึ้นแก่ผู้รับบริการที่ถือใบสั่งยานั้นให้ทราบ
  • 7. 7 ( ค ) แนะนาชี้แจงปัญหาที่อาจจะเกิดขึ้นแก่ผู้ประกอบวิชาชีพที่สั่งจ่ายยานั้นหรื อแจ้งรายละเอียดให้แก่เภสัชกรที่ปฏิบัติหน้าที่ในสถานพยาบาลเดียวกับผู้ ประกอบวิชาชีพที่สั่งจ่ายยานั้น ในกรณีที่พบว่า ยาที่ผู้รับบริการได้รับอาจก่อให้เกิดปัญ หาจากการใช้ยา เภสัชกรชุมชนพึง จัดทา “บันทึกประ วัติการใช้ยาของผู้ รับบริการ” โด ย ระ บุ ราย ล ะ เอี ย ด เกี่ ย วกับ ปั ญ ห าด้ า น ย า ที่ อ าจ เกิ ด ขึ้น และ ยาที่จ่ายพ ร้อมทั้งรายล ะเอียด ต่างๆ รวมทั้ง ข้อมูล การปฏิบัติ คาแนะนาหรือการด าเนินการของเภสัชกรชุมชนที่ให้ กับผู้ รับบริการ และจัดระบบให้สามารถสืบค้นกลับได้ง่าย (๔) เภสัชกรชุมชนต้องลงนามและเลขที่ใบประกอบวิชาชีพ รวมทั้งระบุวัน เดือน ปี ที่ จ่ า ย ย า ในใบสั่งยาเมื่อดาเนินการตามกระบวนการจ่ายยาตามใบสั่งยาเรียบร้อยแล้ว (๕) เภสัชกรชุมชนต้องเก็บใบสั่งยาที่ใบบริการแล้วไว้อย่างน้อย ๕ ปี ( ๖ ) ก ร ณี ที่ เ ป็ น ก า ร จ่ า ย ย า ต า ม ใ บ สั่ ง ย า ซ้ า เภสัชกรชุมชนต้องจ่ายยาให้กับผู้รับบริการเฉพาะรายตามเงื่อนไขและจานวนราย การยาตามที่ระบุไว้ในใบสั่งยาเท่านั้น ข้ อ ….เภ สัชก รชุม ชนจ ะ ต้ อง เป็ น ผู้ ส่ ง มอ บยาอัน ต ราย ย าค วบคุ มพิ เศ ษ วั ต ถุ อ อ ก ฤ ท ธิ์ ต่ อ จิ ต ป ร ะ ส า ท ย า เ ส พ ติ ด ใ ห้ โ ท ษ ให้ กับผู้ มารับบริการเฉ พ าะรายในสถานบริการเภสัชกรรมชุมชน พ ร้อมให้ คาแนะนา เพื่อให้ผู้รับบริการเกิดความเข้าใจเกี่ยวกับยาที่ได้รับ ดังนี้ (ก) ชื่อยา (ข) ข้อบ่งใช้ (ค) ขนาด และวิธีการใช้
  • 8. 8 (ง) ผลข้างเคียง (Side effect) และอาการไม่พึงประสงค์จากการใช้ยา (Adverse Drug Reaction) ที่อาจเกิดขึ้น (ถ้ามี) (จ) ข้อควรระวังและข้อควรปฏิบัติในการใช้ยา (ฉ) การปฏิบัติเมื่อเกิดปัญหาจากการใช้ยา ข้อ ๑๕ เภสัชกรต้องบันทึกการจ่ายยาตามที่กฎหมายกาหนด ข้ อ ๑ ๙ เภ สั ช ก ร ชุ ม ช น ต้ อ ง เลื อ ก ภ า ช น ะ บ ร ร จุ ที่ เห ม า ะ ส ม เพื่อป้ องกันไม่ให้ยาเสื่อมสภาพก่อนเวลาอันควรพร้อมฉลากยา อันพึงมีรายละเอียดอย่างน้อย ดังนี้ (๑) ชื่อ ที่อยู่ของสถานบริการเภสัชกรรมชุมชน และเบอร์โทรศัพท์ที่ติดต่อได้ (๒) ข้อมูลเพื่อให้ผู้รับบริการใช้ยาได้อย่างถูกต้อง เหมาะสม ปลอดภัย ติดตามได้ ดังนี้ (ช) วันที่จ่ายยา (ซ) ชื่อผู้รับบริการ (ฌ) ชื่อยาที่เป็นชื่อสามัญทางยาหรือชื่อการค้า (ญ) ความแรง (ฎ) จานวนจ่าย (ฏ) ข้อบ่งใช้ (ฐ) วิธีใช้ยา ที่ชัดเจนเข้าใจง่าย (ฑ) ฉลากช่วย คาแนะนา คาเตือน หรือเอกสารให้ความรู้เพิ่มเติม (ถ้าจาเป็น) ข้อ ๑๙ เภสัชกรชุมชนควรจัดทาสมุดบันทึกการใช้ยาประจาตัวสาหรับผู้ รับบริการ (กรณี ที่ค วรติดต าม) ซึ่งประกอบด้ วยยาที่แพ ทย์สั่งแล ะยาที่ผู้ รับบริการจัด หาเอง และแนะนาให้ผู้รับบริการนาไปแสดงต่อเภสัชกรชุมชนหรือผู้ให้บริการทางการแพทย์ทุกครั้งที่ไปรับบริ การ หมวด ๔
  • 9. 9 การบริบาลทางเภสัชกรรมระดับบุคคล ข้อ ๒๐ เภสัชกรชุมชนควรดาเนินการบริบาลทางเภสัชกรรมแก่ผู้ รับบริการทุกราย จะต้องดาเนินการตามมาตรฐานการดูแลผู้รับบริการตามแนวทางการบริบาลทางเภสัชกรรมแก่ผู้รับบริ การโรคที่สภาเภสัชกรรมกาหนด ข้อ ๒๑ แนวทางการดาเนินการบริบาลเภสัชกรรมแก่ผู้รับบริการ เพื่อให้การบริบาลทางเภสัชกรรมชุมชนเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและเหมาะสม เภสัชกรชุมชนควรจัดทาบันทึกข้อมูลที่ได้จากการให้การบริบาลและวางแผนการติดตามผลหลังจากให้ บริการแก่ผู้รับบริการ โดยมีแนวทางการดาเนินการดังนี้ ๑. เภสัชกรชุมชนทบทวนประวัติสุขภาพผู้รับบริการ ผลตรวจทางห้องปฏิบัติการ และข้อมูลการใช้ยาอย่างเป็นระบบ ซึ่งข้อมูลเหล่านี้จะช่วยให้สามารถสืบค้นและจาแนกปัญหาจากการใช้ยาเพื่อลาดั บความสาคัญของปัญหาและวางแผนกิจกรรมเพื่อแก้ไข ๒. เภสัชกรชุมชนอาจให้ความช่วยเหลือทางด้านการแปลผลและบริการการตรวจทาง ห้องปฏิบัติการเบื้องต้นโดยใช้ชุดทดสอบเพื่อประโยชน์ในการดูแลผู้รับบริการตาม หลักการของการบริบาลทางเภสัชกรรม เพิ่มความปลอดภัยในการใช้ยา ลดความคลาดเคลื่อนในการใช้ยา ของผู้รับบริการแต่ละราย ตามมาตรฐานการปฏิบัติงานเภสัชกรรมชุมชน เรื่องแปลผลและบริการการตรวจทางห้องปฏิบัติการ ๓. เภสัชกรชุมชนประเมินปัญหาจากการใช้ยา ๔. เภสัชกรจัดทาแผนกิจกรรมเพื่อแก้ปัญหาร่วมกับผู้รับบริการแต่ละราย โดยกาหนดเป้ าประสงค์ที่ต้องการจากกิจกรรมนั้นๆ เพื่อมุ่งไปสู่เป้ าหมายของการรักษา และแผนกิจกรรมนี้เภสัชกรชุมชนและผู้รับบริการจะใช้เป็นเครื่องมือในการติดตาม ผลลัพธ์ ๕. เภสัชกรชุมชนดาเนินการให้บริการตามแผนแก่ผู้รับบริการและหรือผู้ดูแลแต่ละรา ย
  • 10. 10 โดยมีเป้ าหมายเพื่อแก้ปัญหาอันเกี่ยวเนื่องจากการใช้ยาที่เหมาะสมและเพื่อเสริม สร้างพลังความสามารถการดูแลสุขภาพตนเอง ประกอบด้วย การให้ความรู้ การให้การปรึกษาแนะนา การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม การเยี่ยมบ้านผู้รับบริการ การแก้ปัญหาความร่วมมือในการใช้ยาหรือประสานงานส่งต่อผู้รับบริการไปยังสถ านพยาบาล ๖. เภสัชกรชุมชนติดตามผลการจัดทาแผนกิจกรรมเพื่อแก้ปัญหาร่วมกับผู้รับบริการแ ต่ละรายอย่างต่อเนื่อง หมวด ๕ การค้นหาปัจจัยเสี่ยง สร้างเสริมสุขภาพและป้ องกันโรค ระดับบุคคล ครอบครัวและชุมชน ข้อ ๒๕ เภสัชกรชุมชนควรจัดให้สถานบริการเภสัชกรรมชุมชนเป็นแหล่งข้อมูลของชุมชนเรื่องปัจจัยเสี่ยงด้านสุ ขภาพ ให้ความรู้ความเข้าใจเรื่องยาและผลิตภัณฑ์สุขภาพ ให้คาปรึกษาแนะนาเพื่อสร้างเสริมสุขภาพ ป้ องกันโรคและส่งเสริมการลด ละ เลิก สิ่งบั่นทอนต่อสุขภาพ ข้ อ ๒ ๖ เภสัชกรชุมชนควรจัดให้มีกิจกรรมการคัดกรองโรคตามมาตรฐานการปฏิบัติงานเภสัชกรรมชุมชน เรื่องการคัดกรองโรคและส่งต่อเพื่อรับการวินิจฉัยจากผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรมที่ถูกต้องตามหลักเก ณฑ์แนวทางที่หน่วยงานที่เกี่ยวข้องกาหนดในระดับบุคคลและครอบครัว ข้ อ ๒ ๗ เภ สั ช ก ร ชุ ม ช น ค ว ร มี ห น้ า ที่ ใ น ก า ร เฝ้ า ร ะ วั ง ป้ อ ง กั น และแก้ไขผลไม่พึงประสงค์จากการใช้ยาและผลิตภัณฑ์สุขภาพ และให้สุขศึกษากับชุมชน ข้ อ ๒ ๘ เภสัชกรชุมชนควรมีหน้าที่ให้คาแนะนาแก่ผู้ใช้บริการเกี่ยวกับการปฏิบัติตัวเพื่อลดหรือเลี่ยงพฤติกรรมเ สี่ ย ง ท า ง สุ ข ภ า พ โดยเฉพาะในกลุ่มโรคที่มีความเสี่ยงของอุบัติการณ์ที่เนื่องมาจากนิสัยและรูปแบบการดาเนินชีวิตในระ ดับบุคคลและครอบครัว
  • 11. 11 ข้ อ ๒ ๙ เภ สั ช ก ร ชุ ม ช น ค ว ร ส นั บ ส นุ น ข้ อ มู ล ด้ า น ร ะ บ า ด วิ ท ย า ใ ห้ ชุ ม ช น แ ล ะ ห น่ ว ย ง า น ที่ เ กี่ ย ว ข้ อ ง ใ น ก า ร ค ว บ คุ ม โ ร ค รวมทั้งร่วมรณรงค์เพื่อลดความเสี่ยงในการระบาดของโรค ข้ อ ๓ ๐ ก ารบ ริบ าล ท าง เภ สั ชก รรม กา รส่ ง เส ริม สุ ข ภ าพ ป้ อง กัน โรค แ ล ะ ค ว บ คุ ม สิ่ ง คุ ก ค า ม ต่ อ สุ ข ภ า พ อ า จ เ ป็ น ก า ร ป ฏิ บั ติ หรือดาเนินการในเชิงรุกในชุมชนตามสภาพและสถานการณ์ของแต่ละปัญหาก็ได้ หมวด ๖ การบริการเภสัชสนเทศและการประมวลข้อมูลอาการไม่พึงประสงค์ที่เกิดจากการใช้ ยาและผลิตภัณฑ์สุขภาพ ข้ อ ๓ ๑ เภสัชกรชุมชนต้องจัดให้มีแหล่งข้อมูลอ้างอิงเกี่ยวกับยาและผลิตภัณฑ์สุขภาพที่น่าเชื่อถือและเป็นปัจ จุ บั น เพื่ อ ส่ ง เส ริ ม ก า ร ใ ช้ อ ย่ า ง ถู ก ต้ อ ง เห ม า ะ ส ม แ ล ะ ป ล อ ด ภั ย รวมทั้งเพื่อให้บริการข้อสนเทศด้านยาแก่ประชาชนในชุมชน ข้ อ ๓ ๒ เภสัชกรชุมชนต้องให้บริการข้อมูลและให้ความรู้เรื่องยาและผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ถูกต้องและเป็นปัจจุบั น อย่างไม่มีอคติ แก่ผู้รับบริการ ตลอดจนประชาชนในชุมชน ข้อ ๓๓ เภสัชกรชุมชนพึงส่งเสริมการให้ความรู้เพื่อให้เกิดความปลอดภัยในการใช้ยาและผลิตภัณฑ์สุขภาพ ในเรื่องต่อไปนี้ (๑) การป้ องกันอาการไม่พึงประสงค์ โทษ พิษภัยของยาและผลิตภัณฑ์สุขภาพ (๒) การป้ องกันอันตรกิริยาระหว่าง ยากับยา ยากับอาหาร ยากับ สมุนไพร ยากับผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร ยากับโรค ยากับเครื่องดื่ม (๓) วิธีการใช้ยาและผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ถูกต้อง
  • 12. 12 ข้ อ ๓ ๔ เภสัชกรชุมชนพึงมีบทบาทหรือมีส่วนร่วมในการเป็นวิทยากรและเขียนบทความให้ความรู้แก่ชุมชนหรือ บุคลากร ในโอกาสต่างๆ ตามสมควร ข้ อ ๓ ๕ เภสัชกรชุมชนพึงช่วยเฝ้ าระวังและรายงานอาการไม่พึงประสงค์จากการใช้ยาและผลิตภัณฑ์สุขภาพ แก่หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง หมวด ๗ การคุ้มครองผู้บริโภคและมาตรการความปลอดภัยที่เกี่ยวกับการใช้ยาและผลิตภัณฑ์สุขภาพ ข้อ ๓๖ เภสัชกรชุมชนต้องทาหน้าที่คุ้มครองผู้บริโภคที่เกี่ยวกับยาและผลิตภัณฑ์สุขภาพ โดยดาเนินการ ดังนี้ (๑) ประเมินและคัดกรอง ข้อมูลสื่อโฆษณ าของยาและผลิตภัณ ฑ์สุขภาพ ในสถานบริการเภสัชกรรมชุมชน (๒) ไม่เผยแพร่ข้อมูลหรือสื่อโฆษณาของยาและผลิตภัณฑ์สุขภาพที่โฆษณาอันเป็นเ ท็จเกินจริง หรือไม่มีข้อมูลสนับสนุนทางวิชาการในสถานบริการเภสัชกรรมชุมชน (๓) ไม่เผยแพร่ข้อมูลเกี่ยวกับยาและผลิตภัณฑ์สุขภาพที่มีปัญหาหรือผิดกฎหมาย แก่ประชาชน (๔) ไม่ผลิต จาหน่าย จ่าย แจก ยาและผลิตภัณ ฑ์สุขภาพที่ไม่มีคุณ ภาพ มีปัญหาความปลอดภัย หรือผิดกฎหมาย (๕) เภสัชกรชุมชนพึงมีหน้าที่ในการร่วมมือกับหน่วยงานรัฐที่เกี่ยวข้องในการเฝ้ าระวั งการบริการ ผลิตภัณฑ์สุขภาพหรือการโฆษณาที่มีปัญหาหรือผิดกฎหมาย หมวด ๘
  • 13. 13 การพัฒนาขีดความสามารถของเภสัชกรชุมชน ข้อ ๓๗ เภสัชกรชุมชนพึงพยายามแสวงหาความรู้ ความก้าวหน้าทางวิชาการต่าง ๆ เพื่อการพัฒนาตนเองและวิชาชีพให้ทันสมัยอยู่เสมอ ข้ อ ๓ ๘ เภ สั ช ก ร ชุ ม ช น พึ ง ร ว ม ก ลุ่ ม กั บ เพื่ อ น ร่ว ม ส า ข า วิ ช า ชี พ เพื่อประโยชน์ในการพัฒนาขีดความสามารถร่วมกัน ข้อ ๓๙ เภสัชกรชุมชนพึงพัฒนาส มรรถนะให้ สามารถเป็ นแหล่งฝึ กปฎิบัติที่ดี แ ล ะ ถ่ า ย ท อ ด ค ว า ม รู้ ทักษะและประสบการณ์ ในงานเภสัชกรรมชุมชนให้แก่นิสิต/นักศึกษาทางเภสัชศาสต ร์ ของสถาบันการศึกษาต่าง ๆ ได้ ประกาศ ณ วันที่...................................... นายกสภาเภสัชกรรม