SlideShare a Scribd company logo
1 of 4
Download to read offline
1




        การคิดเบียเลียงตามภาระงาน ส่ งเสริมหรือทาลายจริยธรรมแห่ งวิชาชีพ
                 ้ ้
                                                                      แสวง บุญเฉลิมวิภาส *



                 การปรับเปลี่ยนวิธีคิดเบี้ยเลี้ยงแบบเดิมมาเป็ นวิธีคิดตามภาระงาน หรื อเรี ยกกันแบบฝรั่งว่า
    P for P ที่กระทรวงสาธารณสุ ขได้นาแนวคิดนี้มาใช้ ได้ก่อให้เกิดปั ญหาขัดแย้งในกระทรวงสาธารณสุ ข
    การใช้ระบบดังกล่าว หากพิจารณาในหลักการ ดูเหมือนจะเป็ นเรื่ องที่ดี กล่าวคือ ใครทางานมาก ย่อม
    ได้ค่าตอบแทนมาก ซึ่ งก็คือหลักบริ หารโดยทัว ๆ ไป แต่เมื่อนาหลักดังกล่าวมาใช้กบลักษณะงานทาง
                                              ่                                  ั
    การแพทย์ ซึ่งมีลกษณะเป็ นวิชาชีพ (Profession) อาจจะมีความไม่เหมาะสมและสะท้อนให้เห็นว่า
                    ั
    ผูบริ หารในกระทรวงยังไม่เข้าใจลักษณะงานที่เป็ นวิชาชีพ (Profession) อย่างแท้จริ งว่า การประกอบ
      ้
    วิชาชีพมีความแตกต่างจากการประกอบอาชีพ (Occupation) โดยทัวไป และแตกต่างการประกอบธุ รกิจ
                                                            ่
    (Trade) อย่างมาก หรื อ อาจจะมีความเข้าใจ แต่จงใจที่จะปรับเปลี่ยนให้เป็ นไปตามแนวนโยบายที่ตน
    ต้องการ

                 1. ความหมายและลักษณะงานทีเ่ ป็ นวิชาชีพ
                          หากทราบความเป็ นมาของคาว่า Profession จะพบว่า คานี้มีความหมายอย่างยิง
                                                                                              ่
    คาว่า Profession มาจากคากริ ยา “to profess จากรากศัพท์ภาษาลาตินว่า Pro+fateri              แปลว่ายอมรับ
    หรื อรับว่าเป็ นของตน เดิมคานี้ใช้ในเรื่ องของศาสนาหมายความว่าเป็ นการประกาศปฏิญาณตน ซึ่ งกรม
    หมื่นนราธิ ปพงศ์ประพันธ์ ได้เคยให้ความหมายของวิชาชี พว่า อาชีวปฏิญาณ ซึ่ งอาชีวปฏิญาณดั้งเดิม
    ได้แก่วถีทางของนักบวชซึ่ งต้องเคร่ งครัดในระเบียบวินยที่วางไว้ ในเวลาต่อมาได้ขยายมาถึงนัก
           ิ                                            ั
    กฎหมายและแพทย์ ซึ่งลักษณะของงานที่เป็ น Profession จะเป็ นดังนี้

                   (1) เป็ นงานที่มีการอุทิศตนทาไปตลอดชีวต โดยคานึงถึงประโยชน์ของส่ วนรวม
                                                         ิ
    เป็ นสาคัญ เป็ นงานที่มีเจตนารมณ์เพื่อช่วยเหลือประชาชน
                   (2) การงานนั้นต้องได้รับการอบรมสั่งสอนเป็ นเวลานานหลายปี คือมีการศึกษา
    โดยเฉพาะในวิชานั้น มีการฝึ กอบรมอย่างสมบูรณ์แบบในทางวิทยาศาสตร์ ชัวระยะเวลาหนึ่ง
                                                                          ่
*
  ที่ปรึกษาศูนย์กฎหมายสุขภาพและจริยศาสตร์ คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ประธานกรรมการจริยธรรมประจา
ราชบัณฑิตยสถาน และกรรมการจริ ยธรรมการวิจยในคน คณะแพทยศาสตร์ ศิริราชพยาบาล
                                          ั
2


   (Prolonged formal scientific training) เป็ นการศึกษาอบรมทางความคิด (Intellectual) ยิงกว่าการ
                                                                                       ่
   ใช้มือ (Manual) และแรงงาน
                (3) มีชุมชนหรื อหมู่คณะที่มีขนบธรรมเนียมประเพณี ที่สานึกในจรรยาบรรณ และ
                                                                    ่
   มีองค์กรที่จะคอยสอดส่ องดูแลให้การทางานของผูประกอบวิชาชีพอยูในกรอบของจริ ยธรรม
                                                      ้

              จะเห็นว่าความหมายของ Profession ต่างกับ Occupation ซึ่งเป็ นการประกอบอาชีพโดยทัวไป       ่
   และต่างจาก Trade ซึ่ งเป็ นเรื่ องของธุ รกิจการค้า โดยลักษณะของ Profession เป็ นงานที่ผประกอบการ
                                                                                             ู้
   งานนั้น มีความตั้งใจอุทิศตัวช่วยเหลือประชาชน เมื่อเป็ นเช่นนี้ ความสัมพันธ์ระหว่างแพทย์และผูป่วย      ้
         ่
   จึงอยูบนพื้นฐานของความนับถือไว้เนื้ อเชื่ อใจซึ่ งกันและกันที่เรี ยกว่าเป็ น Fiduciary Relationship แต่
   เมื่อ Profession ถูกทาให้เป็ น Trade ความสัมพันธ์ดงกล่าวก็จะค่อย ๆ หมดไป
                                                           ั
               ความเปลียนแปลงทีเ่ กิดขึนในสั งคมไทยทีผ่านมาก็คือการนาโรงพยาบาลเข้ าตลาดหลักทรัพย์
                        ่                ้               ่
   ทาให้ ความเป็ นวิชาชี พแปรเปลียนไปเป็ นธุรกิจ โรงพยาบาลหลายแห่ งทีถูกนักการเมืองและนักธุรกิจที่
                                     ่                                         ่
   เป็ นแพทย์บ้าง ไม่ ใช่ แพทย์บ้าง เข้ าครอบงา โดยมองความเจ็บป่ วยเป็ นธุรกิจที่ทากาไรได้ มองผู้ป่วยว่ า
   เป็ นลูกค้ า และตามด้ วยการโฆษณาที่แอบแฝง หรือเกินความเป็ นจริง เพราะนั่นคือความปกติทธุรกิจ      ี่
   มักจะทากัน ความสั มพันธ์ ที่เป็ น Fiduciary ก็จะถูกแปรเปลียนเป็ น Contractual Relationship คือเป็ น
                                                                ่
   ความสั มพันธ์ กนในเชิงสั ญญาเข้ าแทนที่
                    ั


                2. เมื่อวิชาชี พถูกแปรเปลี่ยนเป็ นธุรกิจและอิสระวิชาชี พถูกคุกคาม

                เมื่อนักธุ รกิจและนักการเมืองเข้าครอบงางานทางด้านการแพทย์ และนานโยบาย

                                                                               ั
แบบธุ รกิจมาบริ หาร อิสระของวิชาชีพย่อมถูกกระทบไปด้วย ความสัมพันธ์ระหว่างแพทย์กบ

ผูบริ หารโรงพยาบาล ที่เคยเป็ นความสั มพันธ์ แบบผู้ร่วมวิชาชี พ จะกลายเป็ นการบังคับบัญชาแบบผู้มี
  ้
อานาจเหนือ การแสดงความคิดเห็นจะถูกจากัด กลายเป็ นเพียงทางานเพือสนองนโยบาย และลุกลามเข้ าไป
                                                              ่
ในส่ วนทีเ่ ป็ นดุลยพินิจหรืออิสระของวิชาชีพ เกิดระบบตรวจสอบว่าแพทย์แต่ละท่านตรวจผูป่วยชัวโมงละ
                                                                                   ้     ่
กี่ราย ให้ผป่วยนอนรักษาตัวที่โรงพยาบาลกี่ราย มีการกาหนดแนวทางให้สั่งยามากเกินความจาเป็ น สั่ง
           ู้
ให้พยาบาลต้องนอบน้อมยกมือไหว้ผป่วยเหมือนร้านสะดวกซื้ อ ซึ่ งเป็ นเรื่ องของรู ปแบบมากกว่าทาด้วย
                              ู้
จิตใจเหมือนในอดีต ผูประกอบวิชาชีพส่ วนหนึ่งถูกทาให้เป็ นเวชบริ กรเหมือนที่ผมีอานาจสั่งนักกฎหมาย
                    ้                                                      ู้
ส่ วนหนึ่งให้เป็ นเนติบริ กร เมื่ออิสระของวิชาชีพถูกทาลายลง ปั ญญาถูกบดบังโดยอานาจ เกียรติของ
วิชาชีพจะค่อย ๆ หายไป แม้แต่สภาวิชาชีพก็ถูกครอบงาด้วยวิธีคิดในระบบทุนนิยม
3




              หากศึกษาให้เข้าใจถึงลักษณะงานที่เป็ นวิชาชีพ ก็จะเข้าใจว่าการประกอบวิชาชีพของแพทย์
และนักกฎหมายต่างกับการประกอบอาชีพโดยทัวไป เพราะการทางานต้องใช้ความรู้โดยเฉพาะและต้องใช้
                                      ่
ความรู ้ในการตรวจวินิจฉัยให้ถูกต้องเหมาะสมกับผูที่มาขอความช่วยเหลือ ลักษณะงานเช่นนี้ จึงต้องมีความ
                                               ้
ละเอียดถี่ถวนในการทางาน ไม่เหมือนการทางานในลักษณะอื่น แพทย์และนักกฎหมายจึงต้องมีอิสระของ
           ้
วิชาชีพในการทางาน หากจะถาม แพทย์หรื อนักกฎหมายว่า ผูป่วยหรื อผูที่มาขอคาปรึ กษา 20 คน จะต้อง
                                                    ้          ้
ใช้เวลาเท่าไร คาตอบคือ ยังตอบไม่ได้ ไม่เหมือนการผลิตสิ นค้าในโรงงานหรื องานบริ การอย่างอื่น ที่
กาหนดเวลาได้ การตรวจผูป่วยได้เร็ ว ได้จานวนมาก มิได้แปลว่า ทางานดีเสมอไป หากกาหนดนโยบาย
                      ้
เช่นนี้ โดยไม่เข้าใจลักษณะงานที่แท้จริ งของความเป็ นวิชาชีพจะส่ งผลโดยตรงให้กระทบต่อจริ ยธรรมแห่ง
                                      ่
วิชาชีพที่ครู บาอาจารย์พร่ าสอนกันไว้วา เวลาตรวจผูป่วยต้องคุยกับผูป่วยให้เกิดความเข้าใจ ต้องตรวจ
                                                  ้               ้
ร่ างกาย ต้องใช้ความรู ้อย่างรอบคอบในการวินิจฉัยโรค ต้องให้เวลาผูป่วยได้ซกถาม การกาหนดภาระงาน
                                                                 ้       ั
จะต้องคานึงถึงความจริ งเหล่านี้เป็ นสาคัญ


             3. นโยบาย Medicul Hub เพือรักษาคนต่ างชาติและการดึงบุคลากรทางด้ านการแพทย์ ออก
                                      ่
จากภาครัฐ
             นโยบาย Medical Hub ที่จะทาให้ประเทศไทยเป็ นศูนย์สุขภาพและดึงต่างชาติมารับการ
รักษาพยาบาล ดูโดยผิวเผินเหมือนจะดีเพราะมีเงินไหลเข้าประเทศไทย แต่ในความเป็ นจริ ง ต้องถามว่า
เงินไหลเข้ากระเป๋ าใคร การกาหนดนโยบายเช่นนี้ เป็ นประโยชน์โดยตรงกับกลุ่มนายทุน ที่ได้ทาให้งาน
การแพทย์เป็ นธุ รกิจ ผลกระทบที่มีต่อสังคมอย่างมากก็คือ การซื้ อตัวบุคลากรทางแพทย์ออกจากภาครัฐ ยิ่ง
นโยบายภาครั ฐ ทาให้ ค่าตัวของบุคลากรถูกลง การดึงคนออกจากภาครัฐ ก็ยงทาได้ ง่ายขึน บุคลากรทีถูก
                                                                  ิ่           ้          ่
ดึงออกจากภาครัฐ แม้ จะมีรายได้ เพิมขึน แต่ กต้องระมัดระวังมากขึน เพราะการที่ทาให้ วชาชีพแพทย์
                                  ่ ้       ็                  ้                   ิ
กลายเป็ นธุรกิจ จะทาให้ ค่ารั กษาพยาบาลแพงขึน เมื่อชาวบ้ านถูกเรียกเก็บค่ ารักษาพยาบาลทีแพงมาก
                                            ้                                           ่
ความสั มพันธ์ ทดีย่อมลดลง ชาวบ้ านไม่ ร้ ู หรอกว่ าใครถือหุ้นในโรงพยาบาล แต่ จะมองว่ าหมอและพยาบาล
               ี่
เปลียนไป เมื่อถูกเก็บค่ ารักษาพยาบาลมากประกอบกับโรงพยาบาลโฆษณาว่ารักษาได้ สารพัด ย่อมทาให้
    ่
เกิดความความคาดหวังในบริการ เมื่อผลออกมาไม่ พงประสงค์ ปัญหาการฟองร้ องจะตามมา จะ
                                             ึ                 ้
สังเกตเห็นว่า คดีฟ้องร้องเรี ยกค่าเสี ยหายมาก ๆ ส่ วนใหญ่จะเกิดในโรงพยาบาลเอกชน ซึ่ งหลายกรณี
โรงพยาบาลก็ปฏิเสธความรับผิดและโยนความผิดมาให้แพทย์และพยาบาล การใช้ กลไกแบบธุรกิจที่ขาด
4


มนุษยธรรมมาบริ หารโรงพยาบาล ย่ อมส่ งผลกระทบโดยตรงต่ อผู้ประกอบวิชาชี พและประชาชน เมื่อเกิด
ปัญหาขึนกลับกลายเป็ นปั ญหาระหว่ างผู้ประกอบวิชาชี พกับประชาชน ผู้ถือหุ้นของโรงพยาบาลมักไม่ ต้อง
       ้
เข้ าพัวพันด้ วย เพราะเขาเป็ นเพียงแต่ ผ้ ูรับเงินปันผลปลายปี โดยมีแพทย์ ส่วนหนึ่งเป็ นผู้บริ หารให้ ตาม
นโยบายทีวางไว้ ในเรื่ องดังกล่าวนี้ ถ้าจะเปรี ยบเทียบไปแล้ว บุคลากรในโรงพยาบาลของรัฐจะดีกว่าใน
        ่
แง่ที่ได้รับความคุมครองตามพระราชบัญญัติความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ พ.ศ.2539 เพราะถ้าเป็ น
                  ้
การปฏิบติหน้าที่ในหน่วยงานของรัฐ กฎหมายกาหนดให้ฟ้องเรี ยกค่าเสี ยหายจากหน่วยงานรัฐ จะฟ้ อง
       ั
เจ้าหน้าที่ไม่ได้



               สิ่ งที่นาเสนอไปนั้น คือ ความห่วงใยกับภัยที่กาลังเกิดขึ้นกับบุคลากรทางการแพทย์และ
ผลกระทบที่จะมีต่อภาคประชาชน ผูเ้ ขียนเคยพูดเรื่ องเช่นนี้ในการประชุมวิชาการของแพทย์เมื่อประมาณ 8
ปี ที่แล้ว แต่แพทย์ส่วนหนึ่งก็ยงมองไม่เห็นภัยลักษณะนี้ แพทย์ส่วนหนึ่งได้เปลี่ยนตัวเองไปเป็ นแพทย์
                               ั
พาณิ ชย์ ร่ วมมือกับกลุ่มทุนหาเงินใส่ ตวโดยไม่สนใจจรรยาบรรณวิชาชีพ นโยบายทางการเมืองในระยะ
                                       ั
หลังได้ทาให้เกิดความแตกแยกกันในกลุ่มแพทย์ ซึ่ งเมื่อเกิดการแตกแยก ย่อมง่ายแก่การปกครอง
เหตุการณ์เหล่านี้ เป็ นเรื่ องที่เกิดขึ้นแล้วในวงการแพทย์ของประเทศไทย และจะเกิดผลกระทบต่อภาค
ประชาชนตามมามากขึ้น




                                    ***************************

More Related Content

Similar to อ แสวง เขียนมาดีมาก

หลักในการบำบัดรักษาผู้ติดยาเสพติด
หลักในการบำบัดรักษาผู้ติดยาเสพติดหลักในการบำบัดรักษาผู้ติดยาเสพติด
หลักในการบำบัดรักษาผู้ติดยาเสพติดpluakdeang Hospital
 
โครงร่างวิจัยเกี่ยวกับการแพทย์แผนไทยประยุกต์
โครงร่างวิจัยเกี่ยวกับการแพทย์แผนไทยประยุกต์โครงร่างวิจัยเกี่ยวกับการแพทย์แผนไทยประยุกต์
โครงร่างวิจัยเกี่ยวกับการแพทย์แผนไทยประยุกต์Apichat kon
 
9789740330592
97897403305929789740330592
9789740330592CUPress
 
(ร่าง) มาตรฐานการบริการทางเภสัชกรรมชุมชน (Standard of Community Pharmacy Serv...
(ร่าง) มาตรฐานการบริการทางเภสัชกรรมชุมชน (Standard of Community Pharmacy Serv...(ร่าง) มาตรฐานการบริการทางเภสัชกรรมชุมชน (Standard of Community Pharmacy Serv...
(ร่าง) มาตรฐานการบริการทางเภสัชกรรมชุมชน (Standard of Community Pharmacy Serv...Utai Sukviwatsirikul
 
PICO : ค้นข้อมูลอย่างไรให้ตรงประเด็นการรักษา
PICO : ค้นข้อมูลอย่างไรให้ตรงประเด็นการรักษาPICO : ค้นข้อมูลอย่างไรให้ตรงประเด็นการรักษา
PICO : ค้นข้อมูลอย่างไรให้ตรงประเด็นการรักษาsongsri
 
Business Plan for CMU Pharmacy 2540
Business Plan for CMU Pharmacy 2540Business Plan for CMU Pharmacy 2540
Business Plan for CMU Pharmacy 2540Utai Sukviwatsirikul
 
Pdทฤษฎีการส่มเสริมสุขภาพของเพนเดอร์
Pdทฤษฎีการส่มเสริมสุขภาพของเพนเดอร์Pdทฤษฎีการส่มเสริมสุขภาพของเพนเดอร์
Pdทฤษฎีการส่มเสริมสุขภาพของเพนเดอร์Nan Natni
 
จรรยาบรรณวิชาชีพเภสัชกรรม
จรรยาบรรณวิชาชีพเภสัชกรรมจรรยาบรรณวิชาชีพเภสัชกรรม
จรรยาบรรณวิชาชีพเภสัชกรรมSurang Judistprasert
 
Social media policy สำหรับนักศึกษาแพทย์
Social media policy สำหรับนักศึกษาแพทย์Social media policy สำหรับนักศึกษาแพทย์
Social media policy สำหรับนักศึกษาแพทย์Nawanan Theera-Ampornpunt
 
เอกสารประกอบการเรียนรู้ที่1
เอกสารประกอบการเรียนรู้ที่1เอกสารประกอบการเรียนรู้ที่1
เอกสารประกอบการเรียนรู้ที่1Rim Wattanaree
 
Healthcare ปัญหาและอุปสรรค ในการพัฒนาพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
Healthcare ปัญหาและอุปสรรค ในการพัฒนาพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์Healthcare ปัญหาและอุปสรรค ในการพัฒนาพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
Healthcare ปัญหาและอุปสรรค ในการพัฒนาพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์Jaratpan Onghununtakul
 
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6Taraya Srivilas
 
Integrated care การดูแลแบบบูรณาการ
Integrated care การดูแลแบบบูรณาการIntegrated care การดูแลแบบบูรณาการ
Integrated care การดูแลแบบบูรณาการmaruay songtanin
 
Journal Of Km Lerdsin Hospittal V 2 n 2 2009
Journal Of Km Lerdsin Hospittal V 2 n 2 2009Journal Of Km Lerdsin Hospittal V 2 n 2 2009
Journal Of Km Lerdsin Hospittal V 2 n 2 2009DMS Library
 
ร่วมแสดงความเห็นใน 12 ประเด็น ที่เกี่ยวกับร่าง พรบ.697
ร่วมแสดงความเห็นใน 12 ประเด็น ที่เกี่ยวกับร่าง พรบ.697ร่วมแสดงความเห็นใน 12 ประเด็น ที่เกี่ยวกับร่าง พรบ.697
ร่วมแสดงความเห็นใน 12 ประเด็น ที่เกี่ยวกับร่าง พรบ.697dentyomaraj
 

Similar to อ แสวง เขียนมาดีมาก (20)

หลักในการบำบัดรักษาผู้ติดยาเสพติด
หลักในการบำบัดรักษาผู้ติดยาเสพติดหลักในการบำบัดรักษาผู้ติดยาเสพติด
หลักในการบำบัดรักษาผู้ติดยาเสพติด
 
Kanniga วพบ แพร่
Kanniga วพบ แพร่Kanniga วพบ แพร่
Kanniga วพบ แพร่
 
แพทย์
แพทย์แพทย์
แพทย์
 
โครงร่างวิจัยเกี่ยวกับการแพทย์แผนไทยประยุกต์
โครงร่างวิจัยเกี่ยวกับการแพทย์แผนไทยประยุกต์โครงร่างวิจัยเกี่ยวกับการแพทย์แผนไทยประยุกต์
โครงร่างวิจัยเกี่ยวกับการแพทย์แผนไทยประยุกต์
 
9789740330592
97897403305929789740330592
9789740330592
 
อาชีพของนักธุรกิจ
อาชีพของนักธุรกิจอาชีพของนักธุรกิจ
อาชีพของนักธุรกิจ
 
(ร่าง) มาตรฐานการบริการทางเภสัชกรรมชุมชน (Standard of Community Pharmacy Serv...
(ร่าง) มาตรฐานการบริการทางเภสัชกรรมชุมชน (Standard of Community Pharmacy Serv...(ร่าง) มาตรฐานการบริการทางเภสัชกรรมชุมชน (Standard of Community Pharmacy Serv...
(ร่าง) มาตรฐานการบริการทางเภสัชกรรมชุมชน (Standard of Community Pharmacy Serv...
 
PICO : ค้นข้อมูลอย่างไรให้ตรงประเด็นการรักษา
PICO : ค้นข้อมูลอย่างไรให้ตรงประเด็นการรักษาPICO : ค้นข้อมูลอย่างไรให้ตรงประเด็นการรักษา
PICO : ค้นข้อมูลอย่างไรให้ตรงประเด็นการรักษา
 
บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8
 
Business Plan for CMU Pharmacy 2540
Business Plan for CMU Pharmacy 2540Business Plan for CMU Pharmacy 2540
Business Plan for CMU Pharmacy 2540
 
Pdทฤษฎีการส่มเสริมสุขภาพของเพนเดอร์
Pdทฤษฎีการส่มเสริมสุขภาพของเพนเดอร์Pdทฤษฎีการส่มเสริมสุขภาพของเพนเดอร์
Pdทฤษฎีการส่มเสริมสุขภาพของเพนเดอร์
 
จรรยาบรรณวิชาชีพเภสัชกรรม
จรรยาบรรณวิชาชีพเภสัชกรรมจรรยาบรรณวิชาชีพเภสัชกรรม
จรรยาบรรณวิชาชีพเภสัชกรรม
 
Social media policy สำหรับนักศึกษาแพทย์
Social media policy สำหรับนักศึกษาแพทย์Social media policy สำหรับนักศึกษาแพทย์
Social media policy สำหรับนักศึกษาแพทย์
 
เอกสารประกอบการเรียนรู้ที่1
เอกสารประกอบการเรียนรู้ที่1เอกสารประกอบการเรียนรู้ที่1
เอกสารประกอบการเรียนรู้ที่1
 
วพบ นครราชสีมา๕๖
วพบ นครราชสีมา๕๖วพบ นครราชสีมา๕๖
วพบ นครราชสีมา๕๖
 
Healthcare ปัญหาและอุปสรรค ในการพัฒนาพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
Healthcare ปัญหาและอุปสรรค ในการพัฒนาพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์Healthcare ปัญหาและอุปสรรค ในการพัฒนาพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
Healthcare ปัญหาและอุปสรรค ในการพัฒนาพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
 
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6
 
Integrated care การดูแลแบบบูรณาการ
Integrated care การดูแลแบบบูรณาการIntegrated care การดูแลแบบบูรณาการ
Integrated care การดูแลแบบบูรณาการ
 
Journal Of Km Lerdsin Hospittal V 2 n 2 2009
Journal Of Km Lerdsin Hospittal V 2 n 2 2009Journal Of Km Lerdsin Hospittal V 2 n 2 2009
Journal Of Km Lerdsin Hospittal V 2 n 2 2009
 
ร่วมแสดงความเห็นใน 12 ประเด็น ที่เกี่ยวกับร่าง พรบ.697
ร่วมแสดงความเห็นใน 12 ประเด็น ที่เกี่ยวกับร่าง พรบ.697ร่วมแสดงความเห็นใน 12 ประเด็น ที่เกี่ยวกับร่าง พรบ.697
ร่วมแสดงความเห็นใน 12 ประเด็น ที่เกี่ยวกับร่าง พรบ.697
 

อ แสวง เขียนมาดีมาก

  • 1. 1 การคิดเบียเลียงตามภาระงาน ส่ งเสริมหรือทาลายจริยธรรมแห่ งวิชาชีพ ้ ้ แสวง บุญเฉลิมวิภาส * การปรับเปลี่ยนวิธีคิดเบี้ยเลี้ยงแบบเดิมมาเป็ นวิธีคิดตามภาระงาน หรื อเรี ยกกันแบบฝรั่งว่า P for P ที่กระทรวงสาธารณสุ ขได้นาแนวคิดนี้มาใช้ ได้ก่อให้เกิดปั ญหาขัดแย้งในกระทรวงสาธารณสุ ข การใช้ระบบดังกล่าว หากพิจารณาในหลักการ ดูเหมือนจะเป็ นเรื่ องที่ดี กล่าวคือ ใครทางานมาก ย่อม ได้ค่าตอบแทนมาก ซึ่ งก็คือหลักบริ หารโดยทัว ๆ ไป แต่เมื่อนาหลักดังกล่าวมาใช้กบลักษณะงานทาง ่ ั การแพทย์ ซึ่งมีลกษณะเป็ นวิชาชีพ (Profession) อาจจะมีความไม่เหมาะสมและสะท้อนให้เห็นว่า ั ผูบริ หารในกระทรวงยังไม่เข้าใจลักษณะงานที่เป็ นวิชาชีพ (Profession) อย่างแท้จริ งว่า การประกอบ ้ วิชาชีพมีความแตกต่างจากการประกอบอาชีพ (Occupation) โดยทัวไป และแตกต่างการประกอบธุ รกิจ ่ (Trade) อย่างมาก หรื อ อาจจะมีความเข้าใจ แต่จงใจที่จะปรับเปลี่ยนให้เป็ นไปตามแนวนโยบายที่ตน ต้องการ 1. ความหมายและลักษณะงานทีเ่ ป็ นวิชาชีพ หากทราบความเป็ นมาของคาว่า Profession จะพบว่า คานี้มีความหมายอย่างยิง ่ คาว่า Profession มาจากคากริ ยา “to profess จากรากศัพท์ภาษาลาตินว่า Pro+fateri แปลว่ายอมรับ หรื อรับว่าเป็ นของตน เดิมคานี้ใช้ในเรื่ องของศาสนาหมายความว่าเป็ นการประกาศปฏิญาณตน ซึ่ งกรม หมื่นนราธิ ปพงศ์ประพันธ์ ได้เคยให้ความหมายของวิชาชี พว่า อาชีวปฏิญาณ ซึ่ งอาชีวปฏิญาณดั้งเดิม ได้แก่วถีทางของนักบวชซึ่ งต้องเคร่ งครัดในระเบียบวินยที่วางไว้ ในเวลาต่อมาได้ขยายมาถึงนัก ิ ั กฎหมายและแพทย์ ซึ่งลักษณะของงานที่เป็ น Profession จะเป็ นดังนี้ (1) เป็ นงานที่มีการอุทิศตนทาไปตลอดชีวต โดยคานึงถึงประโยชน์ของส่ วนรวม ิ เป็ นสาคัญ เป็ นงานที่มีเจตนารมณ์เพื่อช่วยเหลือประชาชน (2) การงานนั้นต้องได้รับการอบรมสั่งสอนเป็ นเวลานานหลายปี คือมีการศึกษา โดยเฉพาะในวิชานั้น มีการฝึ กอบรมอย่างสมบูรณ์แบบในทางวิทยาศาสตร์ ชัวระยะเวลาหนึ่ง ่ * ที่ปรึกษาศูนย์กฎหมายสุขภาพและจริยศาสตร์ คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ประธานกรรมการจริยธรรมประจา ราชบัณฑิตยสถาน และกรรมการจริ ยธรรมการวิจยในคน คณะแพทยศาสตร์ ศิริราชพยาบาล ั
  • 2. 2 (Prolonged formal scientific training) เป็ นการศึกษาอบรมทางความคิด (Intellectual) ยิงกว่าการ ่ ใช้มือ (Manual) และแรงงาน (3) มีชุมชนหรื อหมู่คณะที่มีขนบธรรมเนียมประเพณี ที่สานึกในจรรยาบรรณ และ ่ มีองค์กรที่จะคอยสอดส่ องดูแลให้การทางานของผูประกอบวิชาชีพอยูในกรอบของจริ ยธรรม ้ จะเห็นว่าความหมายของ Profession ต่างกับ Occupation ซึ่งเป็ นการประกอบอาชีพโดยทัวไป ่ และต่างจาก Trade ซึ่ งเป็ นเรื่ องของธุ รกิจการค้า โดยลักษณะของ Profession เป็ นงานที่ผประกอบการ ู้ งานนั้น มีความตั้งใจอุทิศตัวช่วยเหลือประชาชน เมื่อเป็ นเช่นนี้ ความสัมพันธ์ระหว่างแพทย์และผูป่วย ้ ่ จึงอยูบนพื้นฐานของความนับถือไว้เนื้ อเชื่ อใจซึ่ งกันและกันที่เรี ยกว่าเป็ น Fiduciary Relationship แต่ เมื่อ Profession ถูกทาให้เป็ น Trade ความสัมพันธ์ดงกล่าวก็จะค่อย ๆ หมดไป ั ความเปลียนแปลงทีเ่ กิดขึนในสั งคมไทยทีผ่านมาก็คือการนาโรงพยาบาลเข้ าตลาดหลักทรัพย์ ่ ้ ่ ทาให้ ความเป็ นวิชาชี พแปรเปลียนไปเป็ นธุรกิจ โรงพยาบาลหลายแห่ งทีถูกนักการเมืองและนักธุรกิจที่ ่ ่ เป็ นแพทย์บ้าง ไม่ ใช่ แพทย์บ้าง เข้ าครอบงา โดยมองความเจ็บป่ วยเป็ นธุรกิจที่ทากาไรได้ มองผู้ป่วยว่ า เป็ นลูกค้ า และตามด้ วยการโฆษณาที่แอบแฝง หรือเกินความเป็ นจริง เพราะนั่นคือความปกติทธุรกิจ ี่ มักจะทากัน ความสั มพันธ์ ที่เป็ น Fiduciary ก็จะถูกแปรเปลียนเป็ น Contractual Relationship คือเป็ น ่ ความสั มพันธ์ กนในเชิงสั ญญาเข้ าแทนที่ ั 2. เมื่อวิชาชี พถูกแปรเปลี่ยนเป็ นธุรกิจและอิสระวิชาชี พถูกคุกคาม เมื่อนักธุ รกิจและนักการเมืองเข้าครอบงางานทางด้านการแพทย์ และนานโยบาย ั แบบธุ รกิจมาบริ หาร อิสระของวิชาชีพย่อมถูกกระทบไปด้วย ความสัมพันธ์ระหว่างแพทย์กบ ผูบริ หารโรงพยาบาล ที่เคยเป็ นความสั มพันธ์ แบบผู้ร่วมวิชาชี พ จะกลายเป็ นการบังคับบัญชาแบบผู้มี ้ อานาจเหนือ การแสดงความคิดเห็นจะถูกจากัด กลายเป็ นเพียงทางานเพือสนองนโยบาย และลุกลามเข้ าไป ่ ในส่ วนทีเ่ ป็ นดุลยพินิจหรืออิสระของวิชาชีพ เกิดระบบตรวจสอบว่าแพทย์แต่ละท่านตรวจผูป่วยชัวโมงละ ้ ่ กี่ราย ให้ผป่วยนอนรักษาตัวที่โรงพยาบาลกี่ราย มีการกาหนดแนวทางให้สั่งยามากเกินความจาเป็ น สั่ง ู้ ให้พยาบาลต้องนอบน้อมยกมือไหว้ผป่วยเหมือนร้านสะดวกซื้ อ ซึ่ งเป็ นเรื่ องของรู ปแบบมากกว่าทาด้วย ู้ จิตใจเหมือนในอดีต ผูประกอบวิชาชีพส่ วนหนึ่งถูกทาให้เป็ นเวชบริ กรเหมือนที่ผมีอานาจสั่งนักกฎหมาย ้ ู้ ส่ วนหนึ่งให้เป็ นเนติบริ กร เมื่ออิสระของวิชาชีพถูกทาลายลง ปั ญญาถูกบดบังโดยอานาจ เกียรติของ วิชาชีพจะค่อย ๆ หายไป แม้แต่สภาวิชาชีพก็ถูกครอบงาด้วยวิธีคิดในระบบทุนนิยม
  • 3. 3 หากศึกษาให้เข้าใจถึงลักษณะงานที่เป็ นวิชาชีพ ก็จะเข้าใจว่าการประกอบวิชาชีพของแพทย์ และนักกฎหมายต่างกับการประกอบอาชีพโดยทัวไป เพราะการทางานต้องใช้ความรู้โดยเฉพาะและต้องใช้ ่ ความรู ้ในการตรวจวินิจฉัยให้ถูกต้องเหมาะสมกับผูที่มาขอความช่วยเหลือ ลักษณะงานเช่นนี้ จึงต้องมีความ ้ ละเอียดถี่ถวนในการทางาน ไม่เหมือนการทางานในลักษณะอื่น แพทย์และนักกฎหมายจึงต้องมีอิสระของ ้ วิชาชีพในการทางาน หากจะถาม แพทย์หรื อนักกฎหมายว่า ผูป่วยหรื อผูที่มาขอคาปรึ กษา 20 คน จะต้อง ้ ้ ใช้เวลาเท่าไร คาตอบคือ ยังตอบไม่ได้ ไม่เหมือนการผลิตสิ นค้าในโรงงานหรื องานบริ การอย่างอื่น ที่ กาหนดเวลาได้ การตรวจผูป่วยได้เร็ ว ได้จานวนมาก มิได้แปลว่า ทางานดีเสมอไป หากกาหนดนโยบาย ้ เช่นนี้ โดยไม่เข้าใจลักษณะงานที่แท้จริ งของความเป็ นวิชาชีพจะส่ งผลโดยตรงให้กระทบต่อจริ ยธรรมแห่ง ่ วิชาชีพที่ครู บาอาจารย์พร่ าสอนกันไว้วา เวลาตรวจผูป่วยต้องคุยกับผูป่วยให้เกิดความเข้าใจ ต้องตรวจ ้ ้ ร่ างกาย ต้องใช้ความรู ้อย่างรอบคอบในการวินิจฉัยโรค ต้องให้เวลาผูป่วยได้ซกถาม การกาหนดภาระงาน ้ ั จะต้องคานึงถึงความจริ งเหล่านี้เป็ นสาคัญ 3. นโยบาย Medicul Hub เพือรักษาคนต่ างชาติและการดึงบุคลากรทางด้ านการแพทย์ ออก ่ จากภาครัฐ นโยบาย Medical Hub ที่จะทาให้ประเทศไทยเป็ นศูนย์สุขภาพและดึงต่างชาติมารับการ รักษาพยาบาล ดูโดยผิวเผินเหมือนจะดีเพราะมีเงินไหลเข้าประเทศไทย แต่ในความเป็ นจริ ง ต้องถามว่า เงินไหลเข้ากระเป๋ าใคร การกาหนดนโยบายเช่นนี้ เป็ นประโยชน์โดยตรงกับกลุ่มนายทุน ที่ได้ทาให้งาน การแพทย์เป็ นธุ รกิจ ผลกระทบที่มีต่อสังคมอย่างมากก็คือ การซื้ อตัวบุคลากรทางแพทย์ออกจากภาครัฐ ยิ่ง นโยบายภาครั ฐ ทาให้ ค่าตัวของบุคลากรถูกลง การดึงคนออกจากภาครัฐ ก็ยงทาได้ ง่ายขึน บุคลากรทีถูก ิ่ ้ ่ ดึงออกจากภาครัฐ แม้ จะมีรายได้ เพิมขึน แต่ กต้องระมัดระวังมากขึน เพราะการที่ทาให้ วชาชีพแพทย์ ่ ้ ็ ้ ิ กลายเป็ นธุรกิจ จะทาให้ ค่ารั กษาพยาบาลแพงขึน เมื่อชาวบ้ านถูกเรียกเก็บค่ ารักษาพยาบาลทีแพงมาก ้ ่ ความสั มพันธ์ ทดีย่อมลดลง ชาวบ้ านไม่ ร้ ู หรอกว่ าใครถือหุ้นในโรงพยาบาล แต่ จะมองว่ าหมอและพยาบาล ี่ เปลียนไป เมื่อถูกเก็บค่ ารักษาพยาบาลมากประกอบกับโรงพยาบาลโฆษณาว่ารักษาได้ สารพัด ย่อมทาให้ ่ เกิดความความคาดหวังในบริการ เมื่อผลออกมาไม่ พงประสงค์ ปัญหาการฟองร้ องจะตามมา จะ ึ ้ สังเกตเห็นว่า คดีฟ้องร้องเรี ยกค่าเสี ยหายมาก ๆ ส่ วนใหญ่จะเกิดในโรงพยาบาลเอกชน ซึ่ งหลายกรณี โรงพยาบาลก็ปฏิเสธความรับผิดและโยนความผิดมาให้แพทย์และพยาบาล การใช้ กลไกแบบธุรกิจที่ขาด
  • 4. 4 มนุษยธรรมมาบริ หารโรงพยาบาล ย่ อมส่ งผลกระทบโดยตรงต่ อผู้ประกอบวิชาชี พและประชาชน เมื่อเกิด ปัญหาขึนกลับกลายเป็ นปั ญหาระหว่ างผู้ประกอบวิชาชี พกับประชาชน ผู้ถือหุ้นของโรงพยาบาลมักไม่ ต้อง ้ เข้ าพัวพันด้ วย เพราะเขาเป็ นเพียงแต่ ผ้ ูรับเงินปันผลปลายปี โดยมีแพทย์ ส่วนหนึ่งเป็ นผู้บริ หารให้ ตาม นโยบายทีวางไว้ ในเรื่ องดังกล่าวนี้ ถ้าจะเปรี ยบเทียบไปแล้ว บุคลากรในโรงพยาบาลของรัฐจะดีกว่าใน ่ แง่ที่ได้รับความคุมครองตามพระราชบัญญัติความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ พ.ศ.2539 เพราะถ้าเป็ น ้ การปฏิบติหน้าที่ในหน่วยงานของรัฐ กฎหมายกาหนดให้ฟ้องเรี ยกค่าเสี ยหายจากหน่วยงานรัฐ จะฟ้ อง ั เจ้าหน้าที่ไม่ได้ สิ่ งที่นาเสนอไปนั้น คือ ความห่วงใยกับภัยที่กาลังเกิดขึ้นกับบุคลากรทางการแพทย์และ ผลกระทบที่จะมีต่อภาคประชาชน ผูเ้ ขียนเคยพูดเรื่ องเช่นนี้ในการประชุมวิชาการของแพทย์เมื่อประมาณ 8 ปี ที่แล้ว แต่แพทย์ส่วนหนึ่งก็ยงมองไม่เห็นภัยลักษณะนี้ แพทย์ส่วนหนึ่งได้เปลี่ยนตัวเองไปเป็ นแพทย์ ั พาณิ ชย์ ร่ วมมือกับกลุ่มทุนหาเงินใส่ ตวโดยไม่สนใจจรรยาบรรณวิชาชีพ นโยบายทางการเมืองในระยะ ั หลังได้ทาให้เกิดความแตกแยกกันในกลุ่มแพทย์ ซึ่ งเมื่อเกิดการแตกแยก ย่อมง่ายแก่การปกครอง เหตุการณ์เหล่านี้ เป็ นเรื่ องที่เกิดขึ้นแล้วในวงการแพทย์ของประเทศไทย และจะเกิดผลกระทบต่อภาค ประชาชนตามมามากขึ้น ***************************