SlideShare a Scribd company logo
1 of 306
มลพิษทางนำ้า
ผศ.ดร. พิพัฒน์ ชูโต
1
324-472 2-2557
•ส
่่วนของ อ.พิพัฒน์ มลพิษทางนำ้า 10 ชั่วโมง คิดเป็น 22% ของทั้งวิชา
•ค
ะแนนส่วนของ อ.พิพัฒน์ 100% (22 % ของทั้งวิชา) แบ่งเป็น
•1
. เข้าเรียน 10% (2.2% ของทั้งวิชา)
•2
. สอบย่อย+Assignments 30% (6.6% ของทั้งวิชา)
•3
. สอบ 60% (13.2% ของทั้งวิชา)
2
นัดเรียน วันจันทร์ ที่ 16 กุมภาพันธ์ จะได้ไหม เวลา
เดิม
•อ
.พิพัฒน์ จะทำาเรื่องขอห้องอีกครั้ง
•ต
กลงเรียนวันศุกร์ที่ 13 เดือนกุมภาพันธ์ 2.5 ชม. (16.30-19.00 น.) ห้องเดิม
3
Powerpoint
• จาก Facebook
• จากหน้าคอม
4
Outline เค้าโครง
•น
่้่ำและวัฏจักร
•ส
มบัติของนำ้าเสีย
•ก
ารบำาบัด
•น
่้่ำเสียจากโรงงาน
•โ
ลหะ
•ส
ารอินทรีย์ 5
บทนำา
•น
่้่ำ
1.ส
ู่ตรเคมี
2.ค
วามหนาแน่น
3.น
่ำความร้อน
4.ต
่ัวทำาละลาย
5.ใ
ช้แล้วไม่หมดสิ้น 6
แหล่งทรัพยากรนำ้า-พื้นที่ต้นนำ้า
•แ
ม่นำ้าลำาธาร
•ป
ล่อยลงสู่ชุมชนในตัวเมือง
•ม
่ีความอุดมสมบูรณ์
•ซ
่ึมสู่ดิน
•ท
่ำให้มีใช้ตลอด
7
ประโยชน์ของนำ้าใช้ (นำ้าจืด)-อุปโภคและบริโภค
•ช
่ีวิตประจำาวัน
•ช
ะล้าง
•ส
่่วนประกอบของอาหาร
•อ
ุ่ตสาหกรรม เช่น หล่อเย็น
•พ
ลังงาน
•ช
ลประทาน 8
ปริมาณนำ้าบนพื้นโลก
9
10
วงจรนำ้า
11
12
ความต้องการใช้นำ้า
ปัญหาคือ---นำ้าเสีย
13
ความหมาย
•น
่้่ำเสียหมายถึงนำ้าที่มีสิ่งเจือปนต่าง ๆ
มากมาย จนกระทั่งกลายเป็นนำ้าที่ไม่เป็นที่
ต้องการและเป็นที่น่ารังเกียจของคนทั่วไป ไม่
เหมาะสมในการนำามาใช้ประโยชน์อีกต่อไป
หรือเป็นนำ้าที่หากปล่อยลงสู่ลำานำ้าธรรมชาติ ก็
จะทำาให้คุณภาพนำ้าเสียหายได้
14
ดัชนีการขาดแคลนนำ้า (water stress index)
•ค
่ือสัดส่วนของปริมาณนำ้าที่ลดลงกับปริมาณ
นำ้าที่มีอยู่
•แ
ม้แต่ประเทศที่มีนำ้าพอเพียงก็สามารถประสบ
ปัญหาการขาดแคลนนำ้า
•น
่้่ำที่นำามาใช้ไม่สามารถใช้ได้ทั้งหมด 15
ประชากรจำานวนมากของโลกกำาลังเผชิญปัญหานำ้า
•จ
่ำนวนประชากรที่เพิ่มขึ้น
•น
่ิสัยการเป็นอยู่
•โ
รงงานอุตสาหกรรมเพิ่มมากขึ้น
16
ความต้องการนำ้ามีอะไรบ้าง
•ก
ารดำารงชีวิต
•ช
ลประทาน
•อ
ุ่ตสาหกรรม
17
การจัดการทรัพยากรนำ้า (water Resource
Management)
•ท
่ำให้นำ้าไม่มากหรือน้อยเกินไป
•ใ
ช้งบประมาณมาก
•ม
่ีหน่วยงานรับผิดชอบ
•ม18
การแบ่งลุ่มนำ้าประธานของประเทศไทย
19
20
ผลกระทบ
•ช
่ีววิทยา
•เ
คมี
•ฟ
่ิสิกส์
•ก
ารเป็นอยู่
•ส
ุ่ขอนามัย
•ค
วามรู้สึก 21
ผลกระทบทางสุขอนามัย
•ไ
วรัส
•แ
บคทีเรีย
•เ
ชื้อโรคแฝง/ฟักตัว
•พ
ยาธิฝังเนื้อสัตว์
•พ
ยาธิในนำ้า
•แ
มลง 22
มลพิษและแหล่งมลพิษ
•ภ
าวะมลพิษทางนำ้า ( Water Pollution ) หมายถึง สภาวะที่นำ้ามีคุณภาพ
เปลี่ยนไปจากธรรมชาติเดิม จนมีสภาพที่เลวลง และส่งผลต่อการดำารงชีวิต
ของมนุษย์และสิ่งมีชีวิตในนำ้า
•แ
หล่งกำาเนิดภาวะมลพิษทางนำ้า
1. ชุมชน แหล่งนำ้าเสียประเภทนี้ได้แก่ แหล่งพักอาศัย อาคารชุด โรง
พยาบาล ร้านอาหาร โรงฆ่าสัตว์ โดยมีนำ้าเสียเกิดจากการชำาระร่างกาย การ
ซักเสื้อผ้า การประกอบอาหาร
2. อุตสาหกรรม เกิดจากกระบวนการในการผลิตทางอุตสาหกรรม เช่น นำ้า
หล่อเย็น นำ้าล้าง นำ้าทิ้งจากกระบวนการผลิต การทิ้งของเสียจากการผลิตสู่
แหล่งนำ้า รวมถึงการทำาเหมืองแร่
3. เกษตรกรรม นำ้าเสียมาจากการล้างภาชนะที่บรรจุหรืออุปกรณ์ฉีดพ่น และ
การระบายของเสียจากมูลสัตว์ลงแหล่งนำ้า เช่น ฟาร์มสุกร นากุ้ง บ่อเลี้ยงปลา
การฉีดพ่นสารเคมี การชะล้างหน้าดิน เป็นต้น
23
มลพิษทางนำ้า
1. นำ้าเน่า
2. นำ้าเป็นพิษ
3. นำ้าที่มีเชื้อโรค
4. นำ้าขุ่นข้น
5. นำ้าร้อน
6. นำ้าที่มีกัมมันตภาพรังสี
7. นำ้ากร่อย
8. นำ้าที่มีคราบนำ้ามัน
24
คุณภาพนำ้า 3 ลักษณะ
1. คุณภาพทางเคมี สารเคมีต่าง ๆ ที่ปะปนอยู่ในนำ้า
2. คุณภาพทางชีวภาพ สิ่งมีชีวิตในนำ้า
3. คุณภาพทางกายภาพ กลิ่น สี ความขุ่น อุณหภูมิ
25
สารมลพิษของนำ้า 3 แบบ ทำาให้แบ่งนำ้าเสียเป็น 3
แบบด้วย
1.สารมลพิษทางเคมี กรด ด่าง เกลือ ยาฆ่า
แมลง
2.สารมลพิษทางชีววิทยา สาหร่าย อุจจาระ
แบคทีเรีย
3.สารมลพิษทางกายภาพ ความร้อน สี กลิ่น
สารแขวนลอย
26
นำ้าเสีย 3 แบบ
1.นำ้าเสียทางกายภาพ มีสีผิดเพี้ยนไป
2.นำ้าเสียทางชีวภาพ มีเชื้อโรค
3.นำ้าเสียทางเคมี มีสารอินทรีย์และอนินทรีย์
มักมาจากอุตสาหกรรม
27
เสียทางกายภาพ (Physical Pollution)
•ม
่ีสีที่เกิดจากแร่ธาตุต่าง ๆ เช่น เหล็ก ไม้ผุ
•ม
่ีความขุ่นเพราะสารแขวนลอย โคลนตม หรือตะกอนในนำ้า
•ก
ารมีอุณหภูมิสูงทำาให้ออกซิเจนในนำ้าหมดไป
•ก
ารมีฟองเพราะมีผงซักฟอกที่ออกจากโรงงานอุตสาหกรรมหรือบ้านเรือน
•ก
ารมีสารกัมมันตรังสีเนื่องจากไอโซโทปตามธรรมชาติ
28
เสียทางชีวภาพ (Biological Pollution)
•เ
กิดจากนำ้าสกปรกที่ปล่อยจากโรงงานอุตสาหกรรม หรือ บ้านเรือน
•ม
่ีแบคทีเรียหรือสิ่งมีชีวิตอื่น ๆ ที่ทำาให้เกิดโรค
29
เสียทางเคมี (Chemical Pollution)
•ม
่ีของเสียที่เป็นสารอินทรีย์ (organic waste)
– โปรตีนจากโรงงานทำาแป้ง ทำาอาหาร โรงฟอกหนัง โรงงานนม
•ม
่ีของเสียที่เป็นสารอนินทรีย์ (inorganic waste)
– นำ้าเป็นด่างหรือเป็นกรดมากเกินไป
– มีสารเคมีซึ่งเป็นอันตรายต่อสิ่งมีชีวิต เช่นสารปรอท
30
สถานภาพของนำ้าเสีย (Status of waste water)
•ใ
นบางครั้งนำ้าเสียอาจไม่มีลักษณะใด ๆ ปรากฏให้เห็นโดยสายตา แต่ส่วน
ใหญ่ก็มีสภาพที่ไม่อาจนำาไปใช้บริโภคได้ เพราะมีสารพิษชนิดที่ไม่เห็นด้วย
ตาปรากฏอยู่
•ใ
นบางครั้งอาจมองเห็นด้วยตาโดยตรง เช่น มีสีที่แตกต่างออกไปจากนำ้าตาม
สภาพธรรมชาติ
•ป
ริมาณสารพิษสะสมจะแตกต่างกันออกไปตามลักษณะและขนาดการผลิตของ
โรงงาน เพื่อให้เห็นภาพดูตารางปริมาณนำ้าทิ้งจากแต่ละโรงงานใน
ประเทศไทย
[
31
32
แทรก Case study กรณีนำ้าคลองแห
•ศ
่ึกษาจากวิดีโอข่าวสงขลาแชนแนล (ไทย, อังกฤษ)
•ล
องตอบคำาถาม
33
นำ้าเสียทางกายภาพ (Physical waste water)
1. อุณหภูมิ
2. สีและความขุ่น
3. กลิ่น
4. รส
5. ความเป็นกรดด่าง
6. การนำาไฟฟ้า
7. ปริมาณของแข็ง
8. อื่น ๆ
34
1. อุณหภูมิ (temperature)
•ร
่้อนจัดเกิน
•เ
ย็นจัดเกิน
•ป
ลาในเขตอบอุ่น
•ส
่ัตว์นำ้าในประเทศไทย
•อ
ุ่ณหภูมิของนำ้าในแม่นำ้าลำาคลอง
•ภ
าคตะวันออกเฉียงเหนือ สูงกว่าที่อื่น 35
2. สีและความขุ่น (Color and turbidity)
•น
่้่ำอาจมีหลายสี
•เ
ป็นเพราะมีสารแขวนลอย
•น
อกจากทำาให้สีเปลี่ยนแล้ว ยังทำาให้ความขุ่นเปลี่ยนไปด้วย
•ส
่ีและความขุ่นที่เปลี่ยนไปส่งผลต่อการดำารงชีวิตของสัตว์ในนำ้า
•เ
ช่นพืชนำ้า หากแสงไม่พอ ทำาให้การสังเคราะห์แสงด้อยประสิทธิภาพลงไป
•ส
่ีอาจประกอบไปด้วยสารพิษที่ก่อให้เกิดพิษภัยต่อการดำารงชีวิต 36
•ค
วามขุ่น วัดในหน่วย Turbidity Unit (TU) เช่น JTU (Jetho Turbidity Unit)
•น
่้่ำธรรมชาติ ปกติจะอยู่ระหว่าง 11-18 JTU
•แ
ม่นำ้าเจ้าพระยา ท่าจีน บางปะกง 20-26 JTU
•แ
ม่นำ้าปัตตานี 400 JTU
37
3. กลิ่น (Odor)
•น
่้่ำตามสภาพธรรมชาติจะไม่มีกลิ่น
•เ
มื่อมีกลิ่น จึงหมายความว่านำ้านั้นเสีย
•โ
ดยมีสารเคมีหรือสิ่งเน่าเปื่อยอยู่ในนำ้าจนทำาให้มีกลิ่น
•ส
่่วนใหญ่จะเป็นกลิ่นจาก แก๊สไข่เน่า ไฮโดรเจนซัลไฟด์ (H2S)
•ไ
ม่เหมาะในการนำาไปใช้บริโภค
38
4. รส (Taste)
•น
่้่ำตามธรรมชาติไม่มีรส หรือรสจืด
•ห
ากรสชาติเปลี่ยนแปลงไป ไม่ว่าเป็นรสชาติใด ๆ แสดงว่าเป็นนำ้าเสีย
39
5. ความเป็นกรดด่าง (pH)
•น
่้่ำที่ใช้ประโยชน์ ปกติจะเป็นกลาง (pH 6.5 – 8.5)
•ห
ากไม่อยู่ในช่วงนี้จะเป็นอันตรายต่อสิ่งมีชีวิตที่อยู่ในนำ้า
•ด
่ังนั้น ระดับความเป็นกรดด่าง (pH) จึงเป็นอีกปัจจัยหนึ่งที่บ่งบอกสภาพนำ้า
ได้
•ส
าเหตุเกิดจากมีสารปนเปื้อนจากแหล่งต่าง ๆ โดยเฉพาะโรงงานอุตสาหกรรม
40
6. สมบัติการนำาไฟฟ้า (Electrical conductivity)
•ส
มบัติการนำาไฟฟ้าของนำ้า นิยมนำามาใช้เพื่อบ่งบอกปริมาณไอออน ซึ่งก็คือ
ปริมาณเกลือที่ละลายอยู่ในนำ้านั่นเอง
•ป
ริมาณไอออนมาก ค่าการนำาไฟฟ้าก็จะสูง
•ซ
่ึ่่งหมายความว่า มีสภาพนำ้าเสีย
•ป
กติแหล่งนำ้าธรรมชาติมีค่าการนำาไฟฟ้า 0.10 – 5.00 mmho.cm-1
[mS/cm]
•ก
ารมีค่าการนำาไฟฟ้าน้อย บ่งบอกว่าสิ่งมีชีวิตสามารถอยู่ได้ดี
41
7. ปริมาณของแข็งรวม (total solids)
•ข
องแข็งในนำ้าประกอบด้วย
– สารแขวนลอย
– สารที่ละลายได้
•ป
กติอยู่ในช่วง 20-1,000 mg/L
•ส
่่วนใหญ่เป็นสารอินทรีย์
42
8. สมบัติอื่น ๆ (Other properties)
•ค
วามหนาแน่น ขึ้นกับ T, P
•ค
วามหนืด ขึ้นกับ T, P
•ร
ะดับความลึก
•ค
วามเข้มข้นของสารแขวนลอย
•ใ
นปัจจุบัน โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ความเค็มของนำ้า
•ใ
นปัจจุบัน โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ปริมาณนำ้ามันที่ปะปนอยู่ในนำ้า 43
นำ้าเสียทางเคมี (Chemical waste water)
• สภาวะนำ้าเสียที่สืบเนื่องมาจาการมีสารเคมีชนิดต่าง ๆ ปะปนอยู่ในปริมาณที่
มากนั้น อาจไม่สามารถมองเห็นด้วยสายตาโดยตรง
• สารเคมีบางประเภทสามารถละลายตัวไปกับนำ้าโดยไม่ทำาให้ลักษณะทาง
ฟิสิกส์ของนำ้าเปลี่ยนแปลงไป
• สารเคมีที่ทำาให้นำ้าเสียแบ่งกว้าง ๆ ได้สามแบบ
1. โลหะหนัก
2. สารกัมมันตรังสี
3. สารเคมีมีพิษ
44
1. โลหะหนัก (heavy metals)
•โ
ลหะหนัก หมายถึง ธาตุที่มีเลขอะตอมตั้งแต่ 23-92
•อ
ยู่ในคาบที่ 4-7 ของตารางธาตุ
•ม
่ีค่าความถ่วงจำาเพาะสูง
•ใ
นสภาพปกติ มีความเป็นพิษน้อย
•บ
างตัวพอเป็นไอก็จะมีความเป็นพิษมาก เช่น ปรอท
•โ
ลหะหนักมี 68 ธาตุ 45
46
47
48
วัฏจักรโลหะหนัก
•ส
ารโลหะหนักมักสะสมอยู่ในห่วงโซ่อาหาร และ ขบวนการทางชีวภาพ
•ม
นุษย์บริโภคเข้าไปโดยตรง
•ห
รือทางอ้อมเช่นการบริโภคพืชผัก ผลไม้ และเนื้อสัตว์
•ใ
นห่วงโซ่อาหาร พิษของโลหะหนักมักสะสมเพิ่มมากขึ้นเรื่อย ๆ
•แ
หล่งนำ้ามีโลหะหนักถ่ายทอดต่อยัง ดิน พืช สัตว์ เกิดการสะสม  มนุษย์
บริโภค
49
ปริมาณโลหะหนัก
•โ
ดยธรรมชาติจะมีโลหะหนักปะปนอยู่ในนำ้า เกิดมาจากการสลายตัวของหิน
หรือแร่
•ป
ริมาณน้อย ไม่เป็นอันตราย
•แ
ต่หากมีการรบกวนจากมนุษย์ กลับทำาให้มากขึ้นในเวลาอันรวดเร็ว
•เ
ช่นในแม่นำ้าสายต่าง ๆ ในบริเวณชุมชนมีมากกว่า 5.0 ppb
•แ
ต่ในบริเวณห่างไกลมีน้อยกว่า 0.5 ppb
•ป50
51
52
2. สารกัมมันตรังสี (Radioactive elements)
•เ
กิดโดยธรรมชาติจากการสลายตัวของหินและแร่
•เ
กิดจากโรงงานปรมาณูที่ปล่อยนำ้าเสียที่มีสารกัมมัตภาพลงไปในนำ้า
•เ
กิดจากโรงงานอุตสาหกรรมที่ใช้สารนี้
53
3. สารกำาจัดศัตรูพืชและสัตว์ (pesticides)
หมายถึง
•สารเคมีที่ใช้กำาจัดศัตรูพืชและสัตว์
•สารเคมีที่ใช้กำาจัดวัชพืช
•สารเคมีที่ใช้กำาจัดสัตว์ที่ทำาลายพืชผล
54
ชนิดของสารกำาจัดศัตรูพืชและสัตว์
1.C
hlorinated hydrocarbon
2.O
rganophosphate
3.C
arbamates
4.F
ungicides
55
Chlorinated hydrocarbon
•ก
่ำจัดแมลงและไรแดง
– ดีดีที
– เดลเธน
– คลอเดน
– ลินเดน
– อัลดริน
– ดีลดริน
– เอ็นดริน
•ส
ะสมในสิ่งแวดล้อมนานโดยไม่สลายตัว
•ส
่่งผลกระทบต่อมนุษย์และสิ่งมีชีวิตต่าง ๆ 56
Organophosphate
•ม
่ีพิษและผลตกค้างน้อย สลายตัวได้อย่างรวดเร็ว
– พาราไธออน
– ซูมิไธออน
– มาลาไธออน
– เมวินฟอส
– ไดอะซิโนน
– ไดซิสตอน
57
Carbamates
•ม
่ีความเป็นพิษต่อสัตว์เลือดอุ่นน้อย
•ใ
ช้กำาจัดแมลง
•ม
่ีพิษต่อแมลงที่เป็นประโยชน์หรือปลาด้วย
58
Fungicides
•ม
่ียาฆ่าหรือสารกำาจัดเชื้อรา เชื้อแบคทีเรีย วัชพืช ไส้เดือนฝอย หอยทาก
และแมงมุมแดง
– ทูโฟร์ที
– วาร์ฟาริล
– นีมากอน
– เมตาดีไฮด์
– เทมิค
59
สารเหล่านี้ไม่น่าจะอยู่ในสิ่งแวดล้อม เพราะ
สังเคราะห์โดยมนุษย์ แต่กลับพบมาก เพราะ
1.ก
ารใช้สารเคมีในการเพิ่มผลผลิต
2.ฝ
นตกหรือรดนำ้าทำาให้มีการชะ
3.น
่้่ำชะสารเคมีแล้วไหลสู่แหล่งนำ้าแล้วมีการสะสม
60
สิ่งที่ใช้บอกนำ้าเสียทางเคมี
1.p
H
2.D
O
3.B
OD
4.C
OD
5.N
itrogen and Phosphorus
6.F
OG: Fat, Oil And Grease 61
นำ้าเสียทางชีวภาพ
1. พิษต่อสุขภาพและอนามัย
2. การเปลี่ยนแปลงคุณภาพนำ้า
• สภาพนำ้าเสียทางชีววิทยา หมายถึง ลักษณะนำ้าที่ปรากฏสิ่งมีชีวิตที่แสดง
ความเป็นพิษภัยต่อมนุษย์ สัตว์ และพืช ไม่ชนิดใดก็ชนิดหนึ่ง
• สิ่งมีชีวิตเหล่านั้น อาจไม่ส่งผลกระทบให้นำ้าเน่าเสีย
• แต่เมื่อเมื่ออยู่ร่วมด้วยแล้วจะก่อให้เกิดความเป็นพิษเมื่อบริโภค
62
สิ่งมีชีวิตที่เป็นพิษต่อสุขภาพ
ทำาให้เกิดโรค
•แ
บคทีเรีย ไข้รากสาด อหิวาตกโรค โรคทางเดิน
อาหาร
•โ
ปรโตซัว โรคบิด
•ไ
วรัส โรคโปลิโอ โรคตับอักเสบ
•พ
ยาธิไส้เดือนกลม ใบไม้ ลำาไส้ แส้ม้า โรคพยาธิ
•เ
ชื้อรา 63
ผลกระทบที่ 1 พิษต่อสุขภาพอนามัย
•ม
่ีเชื้อโรคที่ทำาให้เกิดโรคของทางเดินอาหาร โรคตับ โรคระบบการ
หมุนเวียนของเลือด โรคพยาธิ และโรคผิวหนัง
•เ
ชื้อโรคมักเป็น แบคทีเรีย ไวรัส พยาธิ โปรโตซัว เชื้อรา สัตว์นำ้าขนาด
เล็กมาก
•ผ
ลจากการเข้าสู่ร่างกาย
– ผลโดยตรง (เกิดมากกว่า)
– บริโภค
– การสัมผัสทางผิวหนัง
– ผ่านระบบเส้นเลือดฝอย
– ผ่านระบบทางเดินหายใจ
– ผลโดยอ้อม 64
ผลกระทบที่ 2 การเปลี่ยนแปลงคุณภาพนำ้า
•ก
่ิจกรรมของสิ่งมีชีวิตขนาดเล็ก ทำาให้คุณภาพของนำ้าเปลี่ยนแปลงไป
•ส
ารแขวนลอยที่เกิดขึ้น ทั้งอินทรีย์และอนินทรีย์ ทำาให้คุณสมบัติของนำ้า
เปลี่ยนไป
•โ
ดยเฉพาะอย่างยิ่ง ปริมาณออกซิเจนที่ละลายนำ้า (Dissolved oxygen, DO)
•น
่้่ำจากแหล่งนำ้าธรรมชาติบริสุทธิ์ DO > 7 mg/L
•แ
หล่งนำ้าปัจจุบัน DO 1-2 mg/L
•เ65
ลักษณะนำ้าเสียทางชีวภาพ Biological
Characteristics
แบ่งตามชนิดของสิ่งมีชีวิต สิ่งมีชีวิตที่สำาคัญที่พบในนำ้าและนำ้าเสีย ได้แก่
• แบคทีเรีย (Bacteria)
•รา (Fungi)
•สาหร่าย (Algae)
•โปรโตซัว (Protozoa)
•หนอนและพยาธิต่าง ๆ (Worms)
•โรติเฟอร์ (Rotifers)
66
สิ่งมีชีวิตที่สำาคัญที่พบในนำ้าและนำ้าเสีย (ต่อ)
•ค
รัสเตเชียน (Crustaceans)
•ไ
วรัส (Virus)
•ส
่ิ่่งมีชีวิตอื่น ๆ
แ
หล่งนำ้าที่มีคุณภาพต่างกันจะพบ ชนิด ปริมาณ และความหลากหลายของสิ่งมี
ชีวิตเหล่านี้ต่างกัน ขึ้นอยู่กับสภาวะของแหล่งนำ้านั้น
ด
่ังนั้นจึงมีการใช้สิ่งมีชีวิตเหล่านี้เป็นตัวบ่งบอกคุณภาพนำ้า
เ67
ชนิดและลักษณะของสารมลพิษทางนำ้า 9 ประการ
1. สารอนินทรีย์อาหารพืช
2. สารแขวนลอย
3. สารอินทรีย์สลายได้
4. จุลินทรีย์
5. สารกรดด่าง
6. สารทำาให้เกิดฟอง
7. สารเคมีพิษ
8. สารกัมมันตรังสี
9. ความร้อน
68
สารอนินทรีย์ที่เป็นอาหารพืช (Inorganic plant
nutrients)
•ส
ารเหล่านี้มีอยู่ทั่วไปในของเสียจากโรงงานอุตสาหกรรม
•ท
่ำให้นำ้ากระด้าง
•ไ
ม่สามารถใช้ในการอุปโภคบริโภค อุตสาหกรรม หรือการเกษตร
•น
่้่ำกระด้างทำาให้เกิดตะกรันซึ่งทำาให้ท่ออุดตัน นำ้าไหลช้ากว่าปรกติ
•น
่้่ำกระด้างไม่เหมาะสมที่จะใช้ในอุตสาหกรรมอาหาร เช่น โรงงานเบียร์
อาหารกระป๋อง
•ต69
ความกระด้างของนำ้าแบ่งออกเป็น 2 ชนิด
1.ค
วามกระด้างชั่วคราว (Temporary Hardness)
น
่้่ำพวกนี้มีความกระด้างที่มีสาเหตุมาจากสารพวก Carbonate และ
Bicarbonate ของธาตุ Calcium และ Magnesium บางครั้งเรียกนำ้านี้ว่า
Carbonate Hardness
2
. ความกระด้างถาวร (Permanent Hardness)
ค
วามกระด้างชนิดนี้เกิดจากพวก Sulfate และ Chloride ของ Calcium และ
Magnesium ที่มีอยู่ในนำ้า
70
ตารางลักษณะความกระด้าง (Description of
water)
Hardness---mg/L as CaCO3 or ppm
ppm state comment
50 Soft water potable
50-100 Moderately soft
100-150 Slightly hard
150-250 Moderately hard
250-300 Hard water Not recommended for drinking
300 Very hard or Excessively hard
71
สารประกอบไนโตรเจนและฟอสฟอรัส
•เ
ป็นปุ๋ยเนื่องจากเป็นธาตุอหารหลักของพืชทุกชนิดทั้งพืชบกและพืชนำ้า
•ป
กติจะมีอยู่ในนำ้าธรรมชาติเพียงเล็กน้อย
•เ
กษตรกรใช้ปุ๋ย
•ผ
งซักฟอกมีแร่ธาตุฟอสฟอรัสในรูปไตรโซเดียมฟอสเฟต
•ก
ารซักล้างของชาวบ้าน ร้านค้า ร้านอาหาร ภัตตาคาร โรงแรม ผนวกกับนำ้า
จากพื้นที่เกษตร จากนำ้าทิ้งของโรงงานปุ๋ย
•ท72
•ป
กติ สาหร่ายและพืชนำ้าทำาให้ปริมาณออกซิเจนในนำ้าเพิ่มมากขึ้น
•แ
ต่จากการที่สาหร่ายเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วจนมีปริมาณมากมายมหาศาล ทำาให้
นำ้ามีสีเขียวและมีความขุ่นมาก
•เ
รียกปรากฏการณ์นี้ว่า Eutrophication หรือ Algae bloom
•ท
่ำให้นำ้าเน่าเสีย เพราะจะมีการบดบังแสงแดด ทำาให้พืชใต้นำ้าไม่สามารถ
สังเคราะห์แสงได้และตายลง
•เ
มื่อพืชตายทำาให้นำ้าเน่าเหม็น เต็มไปด้วยจุลินทรีย์เชื้อโรค ซึ่งจะย่อยสลายสิ่ง
ที่ตาย
73
74
75
สารประกอบไนเตรต (NO3
-
)
•อ
ยู่ในปุ๋ยเคมีที่ถูกชะล้างลงสู่แหล่งนำ้า
•เ
มื่อนำานำ้าที่มีไนเตรตสูงไปบริโภค ทำาให้ร่างกายได้รับสารไนเตรตมาก
•ร
่่างกายจะเปลี่ยนไนเตรตเป็นไนไตรท์ (NO2
-
) ซึ่งจะจับกับฮีโมโกลบินทำาให้
ไม่สามารถลำาเลียงออกซิเจนได้
•พ
บมากในเด็กทารก โดยจะมีอาการขาดออกซิเจน ปลายมือปลายเท้าและริม
ฝีปากเขียว
•B
lue baby syndrome 76
77
สารแขวนลอย (Suspended matter)
•ค
ืือสารทั้งอินทรีย์และอนินทรีย์ที่ไม่ละลายนำ้า
•ท
ืำให้นำ้ามีสี มีกลิ่น และขุ่น
•เ
ช่น ตะกอนดิน ทราย สี นำ้ามัน ไขมัน
•อ
าจเกิดการสลายตัวทำาให้เกิดกลิ่นและปริมาณออกซิเจนลดลง
•ท
ืำให้แหล่งนำ้าสกปรก ไม่เหมาะต่อการเป็นที่พักผ่อนหย่อนใจ
•ส
ารแขวนลอยบางประเภทอยู่บนผิวนำ้า ทำาให้เกิดปัญหาในการเจริญเติบโต 78
79
ตะกอนดินทราย
•เ
กิดจากการที่นำ้ากัดเซาะผิวดิน
– พื้นที่เพาะปลูก
– พื้นที่เลี้ยงสัตว์
– การตัดไม้ทำาลายป่า
– การทำาถนน
– บริเวณก่อสร้าง
– พื้นที่ริมฝั่งนำ้า
– การทำาเหมืองแร่ฉีด
– การทำาเหมืองแร่ในทะเล
– การทิ้งเศษไม้จากโรงเลื่อยไม้
80
ตะกอนดินทราย
•ท
ืำให้นำ้าขุ่นข้นจนไม่สามารถนำามาใช้ในการอุปโภคบริโภคได้
•ป
ืิดกั้นแสงแดดทำาให้ไม่สามารถส่องลงมายังใต้นำ้าได้
•อ
ืุดกั้นทางเดินหายใจและทางเดินอาหารของสัตว์นำ้า
•ก
ารสะสมโดยตกตะกอนและทับถมใต้ท้องนำ้าของตะกอนดินทรายทำาลายแหล่ง
ที่อยู่อาศัยของแหล่งอาหารและแหล่งเพาะพันธุ์สัตว์นำ้า ทำาให้ปริมาณสัตว์นำ้า
ลดลง
•ต
ะกอนยังทำาให้แม่นำ้าตื้นเขิน เป็นอุปสรรคต่อการเดินเรือ ทางระบายนำ้าอุดตัน
ลดความสามารถในการรองรับแหล่งนำ้า เกิดนำ้าท่วม
81
สี (Dyes)
•เ
ป็นสารเคมีที่มีส่วนประกอบทั้งที่เป็นสารอิทรีย์และสารอนินทรีย์
•ส
ื่วนใหญ่สีจะปนเปื้อนมากับนำ้าทิ้งจากโรงงาน
– โรงงานกระดาษ (ต้องฟอกสี)
– โรงย้อมผ้า (ต้องทำาสี)
– โรงงานทอผ้า (ต้องทำาสีและล้างสี)
82
ผลเสียของสีที่รั่วไหลสู่แหล่งนำ้าธรรมชาติ
•ก
ารปิดกั้นแสงแดด
– เช่นเดียวกับสารแขวนลอย
– ทำาให้การส่องผ่านของแสงแดดลดลง
– มีผลกระทบต่อการสังเคราะห์แสงของพืช
•ส
ารประกอบของสีที่เป็นสารอินทรีย์จะทำาปฏิกิริยากับออกซิเจน ทำาให้
ออกซิเจนในนำ้าลดลง
•ส
ารอนินทรีย์มีสีป็นสารพิษที่ก่อให้เกิดอันตรายในสิ่งมีชีวิต เช่น ปรอท ตะกั่ว
– เป็นพิษต่อสัตว์และพืชนำ้า
– เป็นพิษต่อการใช้นำ้าสำาหรับบ้านเรือน
– โรงงานอุตสาหกรรมที่อยู่ท้ายนำ้าไม่อาจนำานำ้ามาใช้ประโยชน์ได้ 83
นำ้ามันปิโตรเลียม
•ม
ลพิษทางนำ้าที่เกิดจากนำ้ามันปิโตรเลียมเรียกว่า มลพิษทางนำ้ามัน (oil
pollution)
•ล
ื้วนแล้วแต่ทำาให้เกิดผลเสียต่อคุณภาพนำ้า แม้จะยังคงมีการปล่อยของเสียสู่
แหล่งธรรมชาติตลอด แต่นับได้ว่าส่งผลไม่หนัก
•น
ื้ืำมันที่ปนเปื้อนอาจเป็น
– นำ้ามันปิโตรเลียมที่ยังไม่ได้ผ่านการกลั่น (นำ้ามันดิบ)
 มีบริษัทนำ้ามันมากมายในอ่าวไทย
– นำ้ามันที่ผ่านการกลั่นลำาดับส่วนทุกชนิด
 นำ้ามันเบนซิน
 นำ้ามันดีเซล
 นำ้ามันเตา
84
ผลจากนำ้ามันปิโตรเลียม
•น
ื้ืำมันปิโตรเลียมเป็นสารอินทรีย์ที่ย่อยสลายตามธรรมชาติ
•ม
ืีคุณสมบัติไม่ละลายนำ้า เบากว่านำ้า
•เ
มื่อนำ้ามันรั่วไหลลงสู่แหล่งนำ้าจะลอยปกคลุมพื้นผิวนำ้า
•ค
ราบนำ้ามันจะขัดขวางการสังเคราะห์แสงของพืชและสาหร่ายเซลล์เดียวใต้นำ้า
•ส
ื่งผลต่อการเจริญเติบโตและแพร่ขยายของสัตว์นำ้า
•ก
ารรั่วไหลของนำ้ามันจากสถานีเติมนำ้ามัน หรือบริการซ่อมรถยนต์ ทำาให้แหล่ง85
การรั่วไหลของนำ้ามันลงสู่ท้องทะเล ส่งผลกว้างและ
มาก
•ย
ากต่อการกำาจัดและควบคุม
•ส
ื่งผลให้เกิดความเสียหายต่อระบบนิเวศน์ของท้องทะเลอย่างรุนแรง
•ส
ืิื่งมีชีวิตในทะเลทุกชนิด
– สาหร่าย
– ปะการัง
– พืชทะเล
– ปลาดาว
– กุ้ง
– เม่นทะเล
– เต่า
– ปลา
86
•น
กทะเล
•ส
ืัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม
– ปลาโลมา
– ปลาพะยูน
– ปลาวาฬ
– แมวนำ้า
– สิงโตทะเล
– หมีขั้วโลก
•ส
ืัตว์เปรอะเปื้อนนำ้ามันจะไม่สามารถดำารงชีวิตตามปกติได้และตายในที่สุด
โดยเฉพาะการที่ทางเดินหายใจอุดตันจากคราบนำ้ามัน 87
•ก
ารที่นำ้ามันถูกกระแสนำ้าพัดสู่ชายฝั่ง ส่งผลให้เกิดความเสียหายต่อระบบ
นิเวศน์ทางทะเลอย่างรุนแรงในหลายบริเวณ
– ชายฝั่ง
– ชายหาด
– ชายคลอง
– ป่าชายเลน
88
3. สารอินทรีย์ย่อยสลายได้ (Biodegradable
organic matters) มีทั้ง
•ส
ารละลายนำ้า
• สารแขวนลอย
• สารอินทรีย์ที่ย่อยสลายได้
 คาร์โบไฮเดรต
 โปรตีน
 ไขมัน
89
สารอินทรีย์แบ่งตามแหล่งที่มา
1.ช
ืุมชน (มากที่สุด)
– ซากพืช
– ซากสัตว์
– เศษอาหาร
– เศษผัก
– ใบไม้
– นำ้าทิ้งจากครัวเรือน
– ของเสียจากการประกอบอาหาร
– อุจจาระ
– ขยะมูลฝอย
90
2. โรงงานที่ใช้นำ้ามากและมีนำ้าทิ้งในปริมาณมาก
– โรงงานนำ้าตาล
– โรงงานกระดาษ
– โรงงานผลิตอาหาร
– โรงงานเครื่องดื่ม
3. เกษตร
– ปุ๋ยคอกที่ใช้เป็นแร่ธาตุอาหารพืช
– มูลสัตว์จากคอกปศุสัตว์
– นำ้าทิ้งจากบ่อเลี้ยงสัตว์นำ้า
91
ผลที่เกิดขึ้นเมื่อสารอินทรีย์ลงสู่แหล่งนำ้า
•จ
ืุลินทรีย์ที่ใช้ออกซิเจนย่อยสลาย
•ป
ริมาณสารอินทรีย์มีมาก ปริมาณออกซิเจนลดลงจนหมด สัตว์และพืชก็ไม่
สามารถมีชีวิตอยู่ในแหล่งนำ้านั้น ๆ ได้
•ย
กเว้นแบคทีเรียที่หายใจโดยไม่ใช่แก๊สออกซิเจนจะยังคงสามารถเติบโตได้
•ส
ามาถทำาหน้าที่ย่อยสลายสารอินทรีย์ต่อไปได้
•แ
ต่กระบวนการย่อยสลายสารอินทรีย์ด้วยจุลินทรีย์ที่ไม่ใช้ออกซิเจนจะให้
ผลิตภัณฑ์ที่ส่งผลเสียต่อสิ่งแวดล้อม
– แก๊สไฮโดรเจนซัลไฟด์ (H2S)
92
•ส
ารอินทรีย์จากขยะมูลฝอย โรงงานอุตสาหกรรม และอื่น ๆ ที่มีการทิ้งลงไป
ในแหล่งนำ้า
•จ
ะผ่านการย่อยสลายโดยจุลินทรีย์
•ท
ืำให้ออกซิเจนที่ละลายอยู่ในนำ้าลดลง
•ห
ากออกซิเจนลดลงไปมาก เช่น น้อยกว่า 3 ppm
•ก
ื็จะส่งผลให้ปลาและสัตว์นำ้าบางชนิดตายเพราะออกซิเจนไม่เพียงพอ
•ก93
94
95
96
97
4. จุลินทรีย์ในสิ่งแวดล้อม
•จ
ืุลินทรีย์เป็นสิ่งมีชีวิตขนาดเล็ก ไม่สามรถมองเห็นได้ด้วยตาเปล่า
– แบคทีเรีย
– ไวรัส
– โปรโตซัว
– เชื้อรา
•ส
ามาถพบจุลินทรีย์ได้ทั่วไป
– แหล่งนำ้าธรรมชาติ
– นำ้าทิ้งจากแหล่งชุมชน
– นำ้าทิ้งจากโรงงานอุตสาหกรรม
– นำ้าทิ้งจากเกษตรกรรม
98
•จ
ืุลินทรีย์มี 2 ประเภท
– จุลินทรีย์ที่ช่วยในการสลายสารอินทรีย์
– จุลินทรีย์ที่ทำาให้เกิดโรค (pathogen)
•น
ื้ืำที่มีมลพิษ จะปนเปื้อนไปด้วยด้วยจุลินทรีย์ที่ทำาให้เกิดโรค และทำาให้เกิด
การแพร่กระจาย การระบาดของโรค
– แบคทีเรีย
 โรคบิด
 ไข้ไทฟอนด์
 อหิวาตกโรค
– ไวรัส
 โรคตับอักเสบ
– โปรโตซัว 99
แบคทีเรียที่ใช้เป็นตัวบ่งชี้คุณภาพนำ้าว่ามีความ
สกปรกหรือไม่
•ก
ระทรวงสาธารณสุขใช้ โคลิฟอร์ม แบคทีเรีย (Coliform bacteria)
•ท
ืีื่เป็นที่รู้จักกันมากคือ E. Coli
•โ
ดยปกติ แบคทีเรียกลุ่มนี้ อาศัยอยู่ในลำาไส้คนและสัตว์โดยไม่ก่อให้เกิดโรค
•ส
ามารถตรวจพบได้ในอุจจาระของคนและสัตว์
•ห
ากรับประทานนำ้าหรืออาหารที่มีโคลิฟอร์มแบคทีเรียปนเปื้อนอยู่ จะทำาให้เกิด
อาการผิดปกติของระบบทางเดินอาหารได้ เช่นปวดท้อง หรือ ท้องเสีย
•น100
มาตรฐานคุณภาพนำ้าโดยกรมวิทยาศาสตร์การ
แพทย์ กระทรวงสาธารณสุข
•น
ื้ืำดื่ม
– ต้องไม่มีโคลิฟอร์มแบคทีเรียเกิน 2.2 หน่วย/ 100 มิลลิลิตร
•น
ื้ืำสำาหรับเป็นแหล่งพักผ่อนหย่อนใจและว่ายนำ้า
– ต้องไม่มีโคลิฟอร์มแบคทีเรียเกิน 500-1,000 หน่วย/ 100
มิลลิลิตร
•ห
ากนำานำ้าที่ไม่ได้มาตรฐานตามที่กำาหนดมาใช้อุปโภคบริโภค จะก่อให้เกิด
อันตรายต่อสุขภาพ
101
5. สารที่เป็นกรด-ด่าง
•ไ
ด้จากการปล่อยมาจากโรงงาน
– โรงงานทอผ้า
– โรงงานทำาสบู่ (สบู่ได้มาจากอะไรทำาปฏิกิริยากับอะไร)
•ต
ืัวอย่างสารที่มีฤทธิ์เป็นกรด-ด่าง
– กรดกำามะถัน
– โซดาไฟ
•ส
ารเหล่านี้เป็นอันตรายต่อมนุษย์และสิ่งมีชีวิตอื่น ๆ ในนำ้า
•ม
ืีผลกระทบต่ออุตสาหกรรมอื่น ๆ ที่ใช้นำ้าในแหล่งนำ้านั้น โดยเฉพาะ
อุตสาหกรรมอาหาร 102
6. สารที่ทำาให้เกิดฟอง
•ไ
ด้จากการปล่อยมาจากโรงงาน
– โรงงานทอผ้า
– โรงงานทำาสบู่
– โรงงานผงซักฟอก
– โรงงานกระดาษ
– โรงงานเคมี
•ส
ารที่ทำาให้เกิดฟองจะแตกต่างกันออกไป ขึ้นกับวัตถุดิบที่ใช้ในแต่ละโรงงาน
•ส
ารบางอย่างเป็นสารที่ทำาการย่อยสลายด้วยจุลินทรีย์ได้ยาก
•ส
ารบางอย่างเป็นพิษต่อจุลินทรีย์ 103
104
•(
28 ก.ย. 56) สำานักข่าวต่างประเทศรายงาน เมื่อบ่ายวันที่ 25 ก.ย.ที่ผ่านมา
หลังจากฝนที่ตกหนักนำ้าในลำาห้วยแห่งหนึ่งแถบชานเมืองในนครกวางเจา
ประเทศจีน เกิดเหตุการณ์แปลกประหลาดนำ้าในลำาห้วยเต็มไปด้วยฟองคล้าย
กับหิมะสูงเกือบเท่าตึก 2 ชั้นและเอ่อล้นไปไกลกว่า 10 เมตร
•จ
นกระทั่งบ่ายวันที่ 26 ก.ย. หลังจากหน่วยงานป้องกันสิ่งแวดล้อมได้เดินทาง
ไปตรวจสอบเผยว่า ฟองเหล่านี้เกิดจากนำ้ายาดับกลิ่นล้างสารขยะมูลฝอย
ปล่อยผ่านท่อระบายนำ้า หากไม่ปนเปื้อนอาหารจำานวนมากก็ไม่เป็นอันตราย
ต่อสุขภาพ
•ด
ื้านชาวบ้านที่อาศับอยู่ในบริเวณใกล้เคียงเล่าว่า ฟองเหล่านี้เกิดขึ้นเมื่อวันที่
25 ก.ย.แล้ว ก่อนหน้านี้มีฝนตกหนัก ที่น่ากลัวคือฟองในลำาห้วยดังกล่าวสูง
เท่าตึก 2 ชั้น และล้นไปยังพุ่มไม้ตรงชายฝั่งไกลกว่า 10 เมตร ขณะที่มีรถขับ105
106
107
7. สารเคมีเป็นพิษ (Toxic substances) ส่วนใหญ่
มาจาก
•ย
าฆ่าแมลง
•โ
รงงานอุตสาหกรรม
•ก
ารระบายนำ้าจากแหล่งเกษตร
•ฝ
นตกชะสารเคมีเป็นพิษลงสู่แหล่งนำ้า
•อ
าจเป็นอันตรายต่อผู้บริโภคและจุลินทรีย์ที่อยู่ในนำ้า
108
Case Study ปรอทและแคดเมียม
•ป
รอทในนำ้าสามารถสะสมอยู่ในปลา
•ค
นบริโภคปลา ปรอทก็จะไปสะสมอยู่ในคน
•เ
มื่อมีการสะสมอยู่ในร่างกายระดับหนึ่ง ก็จะเกิดโรคแพ้พิษปรอท โรคมินามา
ตะ
•พ
บในประเทศญี่ปุ่น (อาการเป็นอย่างไร)
•แ
คดเมียมทำาให้เกิดโรคแพ้พิษแคดเมียม โรคอิไตอิไต
109
สารพิษ (Toxic substance)
•ส
ารพิษที่ปนเปื้อนในแหล่งนำ้ามักเกิดจากการกระทำาของมนุษย์ซึ่งนับวันจะเพิ่ม
ปริมาณมากขึ้นทุกที
•ส
ื่วนใหญ่เป็นสารเคมีที่มีฤทธิ์เป็นพิษและสามาถทำาอันตรายต่อสิ่งมีชีวิตได้
•ม
ืีทั้งสารอินทรีย์และอนินทรีย์
•ป
ระกอบด้วย
1. โลหะหนัก
2. สารประกอบอินทรีย์สังเคราะห์
 สารกำาจัดศัตรูพืช
 สาร PCBs 110
โลหะหนัก (Heavy Metals)
•โ
ลหะหนักเป็นสารอนินทรีย์ที่เมื่ออยู่ในรูปของสารประกอบ จะมีความเป็นพิษ
มากกว่าอยู่ในรูปของธาตุบริสุทธิ์
•โ
ลหะหนักมีทั้งหมด 68 ธาตุ (มีอะไรบ้าง) เช่น ตะกั่ว ปรอท แคดเมียม สังกะสี
ทองแดง นิเกิล โครเมียม เหล็ก แมงกานีส โคบอลต์ สารหนู เป็นต้น (สัญญ
ลักษณ์เป็นอย่างไร)
•โ
ลหะหนักส่วนใหญ่มาจากโรงงานอุตสาหกรรม เช่น
– โรงงานพลาสติก
– โรงงานสี
– โรงงานผลิตกระจก
– โรงงานแบตเตอรี่
(โรงงานอะไรให้โลหะอะไรออกมา)
111
โลหะหนักแต่ละชนิดมีพิษต่อสิ่งมีชีวิตแตกต่างกัน
ตามแต่ขนิดของโลหะหนัก
•ป
รอท มีพิษทำาลายระบบประสาท ทำาให้ร่างกายผอม แขนขาพิการ และตายใน
ที่สุด
•ก
ารพิษที่เกิดจากปรอท เรียกว่าโคร....?
•แ
คดเมียม มีพิษทำาลายกระดูก ทำาให้เคลื่อนไหวไม่ได้ เพลีย เบื่ออาหาร ปวด
กระดูก และตายในที่สุด
•อ
าการพิษที่เกิดจากแคดเมียม เรียกว่า โรค....?
•ต
ะกั่ว มีพิษทำาลายไขกระดูกที่ทำาหน้าที่สร้างเม็ดเลือดแดง ทำาเป็นโรคโลหิต
จาง ทำาลายสมองและไต
112
ปัญหาเพิ่มเติมจากโลหะหนัก
•น
อกจากโลหะจะเป็นสารที่มีพิษแล้ว โลหะหนักยังสลายตัวในธรรมชาติได้ยาก
บางชนิดมีความคงทนอยู่นานนับ 100 ปี
•โ
ลหะหนักสามารถเข้าสู่ร่างกายได้หลายทาง
– การบริโภค
– การหายใจ
– การซึมผ่านเข้าทางผิวหนัง
•โ
ลหะหนักป็นสารเคมีที่ไม่สามารถถูกขับอออกจากร่างกายได้
•ท
ืำให้เมื่อสิ่งมีชีวิตได้รับโลหะหนัก จะสะสมโลหะหนักไว้ในเนื้อเยื่อ
•เ
113
ปัญหาเพิ่มเติมจากโลหะหนัก (ต่อ)
•ก
ารที่โลหะหนักมีคุณสมบัติเป็นประจุบวก ทำาให้โลหะหนักมักจะยึดติดได้ดีกับ
ตะกอนดินซึ่งมีประจุลบ
•เ
มื่อมีโลหะหนักปนเนื้อนลงสู่แหล่งนำ้า โลหะหนักส่วนใหญ่จะตกค้างใน
ตะกอนใต้นำ้ามากกว่าที่จะลลายอยู่ในนำ้า
•เ
ป็นสาเหตุสำาคัญที่ทำาห่สิ่งมีชีวิตที่อาศัยอยู่ใต้นำ้าในตะกอนดินโคลนเช่น หอย
ปู และปลาบางชนิดได้รับโลหะหนักมากกว่าสัตว์นำ้าชนิดอื่น
•เ
มื่อมีโลหะหนักสะสมในเนื้อเยื่อมาก ทำาให้ปริมาณโลหะหนักที่ถูกถ่ายทอดไป
ตามห่วงโซ่อาหารมรปริมาณมากขึ้น
•อ
114
Heavy Metal Pollution Is More Common Than
You Think
www.fairfaxcounty.gov
•(
Co nse rvatio n Curre nts, No rthe rn Virg inia So iland Wate r
Co nse rvatio n District)
•T
o many people, heavy metal pollution is a problem associated with
areas of intensive industry. However, roadways and automobiles
now are considered to be one of the largest sources of heavy
metals. Zinc, copper, and lead are three of the most common heavy
metals released from road travel, accounting for at least 90 of the
total metals in road runoff. Lead concentrations, however,
consistently have been decreasing since leaded gasoline was
discontinued. Smaller amounts of many other metals, such as nickel
and cadmium, are also found in road runoff and exhaust.
115
•A
bout half of the zinc and copper contribution to the environment
from urbanization is from automobiles. Brakes release copper, while
tire wear releases zinc. Motor oil also tends to accumulate metals
as it comes into contact with surrounding parts as the engine runs,
so oil leaks become another pathway by which metals enter the
environment.
•O
n the road surface, most heavy metals become bound to the
surfaces of road dust or other particulates. During precipitation, the
bound metals will either become soluble (dissolved) or be swept off
the roadway with the dust. In either case, the metals enter the soil
or are channeled into a storm drain. Whether in the soil or aquatic
environment, metals can be transported by several processes.
These processes are governed by the chemical nature of metals,
soil and sediment particles, and the pH of the surrounding
environment.
116
•M
ost heavy metals are cations, meaning they carry a positive charge.
Zinc and copper, for instance, both carry a 2+ charge. Soil particles
and loose dust also carry charges. Most clay minerals have a net
negative charge. Soil organic matter tends to have a variety of
charged sites on their surfaces, some positive and some negative.
The negative charges of these various soil particles tend to attract
and bind the metal cations and prevent them from becoming soluble
and dissolved in water. The soluble form of metals is thought to be
more dangerous because it easily is transported and more readily
available to plants and animals. By contrast, soil bound metals tend
to stay in place.
117
•M
etal behavior in the aquatic (streams, lakes and rivers) environment
is surprisingly similar to that outside a water body. Streambed
sediments exhibit the same binding characteristics found in the
normal soil environment. As a result, many heavy metals tend to be
sequestered at the bottom of water bodies. Some of these metals
will dissolve. The aquatic environment is more susceptible to the
harmful effects of heavy metal pollution because aquatic organisms
are in close and prolonged contact with the soluble metals.
118
•p
H tends to be a master variable in this whole process. pH is a
measure of the concentration of hydrogen (H+) ions dissolved in
water. H+ is the ion that causes acidity; however, it is also a cation.
As a cation it is attracted to the negative charges of the soil and
sediment particles. In acid conditions, there are enough H+ ions in
to occupy many of the negatively charged surfaces of clay and
organic matter. Little room is left to bind metals, and as a result,
more metals remain in the soluble phase.
•T
he effects of pH are even more pronounced in the Washington, DC
metropolitan area because of the problem of acid rain. Acid rainfall
can cause a large increase in acidity and a corresponding increase
in the amount of heavy metals becoming soluble. 119
Common Metals in Road Runoff
•L
ead: leaded gasoline, tire wear, lubricating oil and grease, bearing
wear
•Z
inc: tire wear, motor oil, grease, brake emissions, corrosion of
galvanized parts
•I
ron: auto body rust, engine parts
•C
opper: bearing wear, engine parts, brake emissions
•C
admium: tire wear, fuel burning, batteries
•C
hromium: air conditioning coolants, engine parts, brake emissions
120
สารประกอบอินทรีย์สังเคราะห์
•ส
ารเคมีประเภทสารอินทรีย์สังเคราะห์มีจำานวนมากนับพันชนิด
•ม
ืีทั้งที่ถูกนำามาใช้ทั้งในภาคอุตสาหกรรมและเกษตรกรรม
•ก
ลุ่มของสารอินทรีย์สังเคราะห์มี่มีผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมที่สำาคัญคือ
– สารกำาจัดศัตรูพืช
– สาร PCBs
121
สารกำาจัดศัตรูพืช
•ส
ารกำาจัดศัตรูพืชเป็นสารอินทรีย์สังเคราะห์ที่มีอยู่หลายร้อยชนิด
•เ
ป็นสารเคมีที่นำามาใช้ในการกำาจัดแมลงที่เป็นศัตรูพืช วัชพืช หนู และส่งมี
ชีวิตอื่น ๆ ที่มนุษย์ไม่ต้องการ รวมทั้งใช้ในการกำาจัดแมลงและสัตว์ที่เป็น
พาหะนำาโรคมายังมนุษย์และสัตว์เลี้ยง
•ต
ืัวอย่างของสารกำาจัดศัตรูพืชเช่น ดีดีที เมททิลพาราไทออน เฮปตาคลอ ดิ
ลดริน เอนตริล มาลาไธออน และ ลินเดน เป็นต้น (สูตรเป็นอย่างไร)
•เ
มื่อมีการใช้สารกำาจัดศัตรูพืช สารเหล่านั้นจะแพร่กระจายลงสู่แหล่งนำ้าได้
จาก
– การนำามาฉีดพ่นเข้าสู่อากาศ แล้วตกลงสู่แหล่งนำ้า 122
•ส
ารกำาจัดศัตรูพืชที่กระจายอยู่ในสิ่งแวดล้อมส่วนใหญ่สามารถย่อยสลายตาม
กระบวนการในธรรมชาติได้เอง
•แ
ต่อาจต้องใช้เวลาเป็นเดือน บางชนิดใช้เวลาหลายสิบปีจนถึงร้อยปีจึงจะ
สามารถย่อยสลายได้หมด
•น
อกจากนั้น สารกำาจัดศัตรูพืชบางชนิดยังสามารถถูกสะสมในสิ่งมีชีวิต และ
ถ่ายทอดไปยังห่วงโว่อาหารได้เช่นเดียวกับโลหะหนัก
123
พิษของสารกำาจัดศัตรูพืช
1.ท
ืำลายระบบประสาทส่วนกลาง คือสมอง
2.ท
ืำลายระบบประสาทส่วนปลาย ได้แก่เส้นประสาทบริเวณแขนขาและ
อวัยวะต่าง ๆ
3.ท
ืำให้ร่างกายมีอาการต่าง ๆ เช่นคลื่นไส้อาเจียน เพ้อ เป็นตะคริว ชัก เกร็ง
หมดสติ หรือจนถึงขั้นหยุดหายใจและตายในที่สุด
4.ส
ารกำาจัดศัตรูพืชบางชนิดเป็นสารก่อมะเร็ง
124
PCBs
•ย
ื่อมาจจาก Polychlorinated biphenyls
•เ
ป็นกลุ่มของสารอินทรีย์สังเคราะห์ มีประมาณ 200 กว่าชนิด
•ส
ารพวกนี้มีทั้งลักษณะ
•ม
ืีคุณสมบัติทนต่อกรดด่างและเป็นฉนวนไฟฟ้าที่ดี
•ถ
ืูกนำาไปใช้ในอุตสาหกรรมหลายประเภท
– เป็นส่วนผสมของสี
– หมึกพิมพ์ นำ้ามันหล่อลื่น
– ฉนวนไฟฟ้าในหม้อแปลงไฟฟ้า
125
พิษจาก PCBs
•ร
ืับพิษจากสารโดยตรง
•ม
ืีการปล่อยสู่แหล่งนำ้า และสามารถถ่ายทอดไปตามห่วงโซ่อาหาร
•เ
ป็นอันตรายต่อพืชและสัตว์
•ท
ืีื่ญี่ปุ่น มีผู้ได้สาร PCBs ปนเปื้อนมากับนำ้ามันรำาข้าวจากขบวนการผลิต
•ท
ืำให้ผู้ที่ได้รับพิษจากสาร PCBs มีอาการ
– ตาอักเสบเรื้อรัง
– ผิวหนังตามร่างกายเป็นผื่นสีคลำ้าและเป็นตุ่มคล้ายสิว
– นำ้าหนักตัวลด
126
การสะสมพิษผ่านห่วงโซ่อาหาร (Biological
magnification)
•ส
ารพิษประเภทโลหะหนัก สารกำาจัดศัตรูพืชบางชนิด สาร PCBs เข้าสู่
ร่างกายได้ 2 ทาง
– ทางตรง
– ปาก
– หายใจ
– สัมผัส
– ทางอ้อม (จากห่วงโซ่อาหาร)
•เ
มื่อสารพิษแพร่กระจายลงสู่แหล่งนำ้า ตกค้างอยู่ในนำ้าและตะกอนใต้นำ้า
•จ
ะสามารถสะสมในพืชและสัตว์นำ้าขนาดเล็ก
•ม127
•ก
ารกินตามลำาดับขั้นอาหารจะทำาให้มีการถ่ายทอดและสะสมสารพิษต่อไปเป็น
ขั้น ๆ
•ป
ริมาณของสารพิษจะเพิ่มขึ้นตามระดับอาหาร (Trophic levels) ในห่วงโซ่
อาหาร (Food chain)
•ก
ระบวนการนี้เรียกว่า “การสะสมพิษผ่านห่วงโซ่อาหาร” (Biological
magnification)
•ม
นุษย์ซึ่งเป็นผู้บริโภคลำาดับสุดท้าย มีโอกาสได้รับสารพิษมากที่สุดจากการ
สะสมต่อมาเป็นขั้น ๆ และอาจได้รับมากจนถึงขั้นอันตรายถึงชีวิตได้
128
สารเคมีอื่น ๆ จจากโรงงานอุตสาหกรรม หากมีมาก
เกินไปก็ก่อให้เกิดมลพิษทางนำ้า
•ส
ารที่มีฤทธ์กัดกร่อน
•ก
รด-เบส
•เ
กลือของโลหะ เช่น แคลเซียม โปตัสเซียม และแมกนีเซียม
– คลอไรด์
– ซัลเฟต
– ไบคาร์บอเนต
•แ
ร่ธาตุต่าง ๆ จากการทำาเหมืองแร่ เช่นเหล็กซัลไฟด์จากเหมืองถ่านหิน เมื่อ
รวมตัวกับอากาศและนำ้าจะกลายเป็นกรด (ปฏิกิริยา?)เป็นอันตรายต่อสัตว์นำ้า
ทำาลายสิ่งก่อสร้างที่อยู่ในนำ้า 129
8. สารกัมมันตรังสี (Radioactivity)
•ส
ารกัมมันตรังสีมีการสลายตัวและปล่อยพลังงานสูงออกมาในลักษณะของรังสี
ที่เป็นอันตรายต่อสิ่งมีชีวิต
•ม
นุษย์ได้นำาสารกัมมันตรังสีมาใช้ประโยชน์
•ก
ืิจกรรมต่าง ๆ ที่มนุษย์ได้นำากัมมันตรังสีมาใช้ อาจเกิดการรั่วไหลของสาร
กัมมันตรังสีเข้าสู่สิ่งแวดล้อมได้ เช่น
– การทดลองระเบิดนิวเคลียร์กลางทะเล
– การรั่วไหลมากับนำ้าระบายความร้อน
130
•ห
ากร่างกายได้รับกัมมันตรังสีปริมาณมาก จะมีโอกาสเสียชีวิตทันที
•ห
ากได้รับปริมาณไม่มาก
•ด
ืังนั้นถึงแม้ว่าสารกัมมันตรังสีจะเป็นแร่ที่มนุษย์สามารถนำามาใช้ประโยชน์
ได้มาก แต่ก็สามารถก่อให้เกิดอันตรายต่อสิ่งมีชีวิตทุกชนิดได้อย่างรุนแรง
131
132
9. ความร้อน (Heat)
•ค
วามร้อนถูกจัดเป็นสารมลพิษทางนำ้าชนิดหนึ่ง
•เ
นื่องจากเป็นสาเหตุหนึ่งที่ทำาให้คุณภาพนำ้าเสื่อมลงได้
•ภ
าวะมลพิษในแฟล่งนำ้าที่เกิดจากนำ้าทิ้งที่มีความร้อน เราเรียกว่า มลพิษทาง
อุณหภูมิ (Thermal pollution)
•น
ื้ืำทิ้งที่มีความร้อนส่วนใหญ่มาจาก
– โรงงานอตสาหกรรมประเภทโรงงานผลิตกระแสไฟฟ้าโดยใช้นำ้ามัน
– โรงไฟฟ้าเครื่องจักรไอนำ้า
– โรงไฟฟ้าพลังงานนิวเคลียร์
– โรงงานถลุงเหล็ก 133
•โ
รงงานเหล่านี้จะมีการปล่อยนำ้าระบายความร้อนเครื่องจักรที่เรียกว่า นำ้าหล่อ
เย็น
•น
ื้ืำระบายความร้อนแล้วจะมีอุณหภูมิประมาณ 60 องศาเซลเซียส
•เ
มื่อปล่อยออกสู่แหล่งนำ้าธรรมชาติ ทำาให้อุณหภูมิของนำ้าในแหล่งนำ้าสูงขึ้น
•ถ
ืึงแม้อุณหภูมิของนำ้าจะเพิ่มมากขึ้นเพียง 2 o
C – 3 o
C ก็สามารถทำาให้แหล่ง
นำ้ามีการเปลี่ยนแปลงได้อย่างมากมายจนทำาให้นำ้าเน่าเสียได้
134
นำ้าร้อน (Hot water) หรือความร้อน (Heat) จาก
โรงงาน
•เ
มื่อปล่อยนำ้าร้อนนั้นลงสู่แหล่งนำ้าธรรมชาติ นำ้าร้อนเบากว่านำ้าเย็นจึงอยู่ด้าน
บน
•เ
มื่อมีการทิ้งของเสียลงสู่แหล่งนำ้า จุลินทรีย์ที่อยู่ชั้นบนของนำ้าซึ่งอุ่นกว่าจะ
ย่อยสลายสารอินทรีย์ด้วยอัตราเร็วกว่าในนำ้าเย็น
•ท
ืำให้ออกซิเจนที่ละลายในนำ้าซึ่งมีน้อยอยู่แล้วหมดไปอย่างรวดเร็ว เป็นผล
ให้เกิดมลภาวะเป็นพิษขึ้นได้
•แ
ก๊สออกซิเจนละลายในนำ้าที่มีอุณหภูมิตำ่าได้ดีกว่าในนำ้าที่มีอุณหภูมิสูง
•เ
มื่อนำ้ามีอุณหภูมิจะทำาให้จุลินทรีย์ในนำ้าสามารถย่อยสลายสารอินทรีย์ได้เร็ว
135
•ส
รุปได้ว่า เหตุจากอุณหภูมิของนำ้าที่สูงขึ้นมีผลทำาให้ปริมาณแก๊สออกซิเจนใน
นำ้าลดลงและยังมีผลต่อการดำาเนินชีวิตและและพฤติกรรมของสัตว์นำ้า
– ช่วงระยะเวลาการสืบพันธุ์
– อัตราการกินอาหาร
– การหายใจของสัตว์นำ้ามีการเปลี่ยนแปลง
•ต
ืัวอย่างเช่น ผลของการเพิ่มอุณหภูมิที่มีต่อการดำารงชีวิตของปลา
– ปลาต้องการอาหารเพิ่มมากขึ้น
– ช่วงชีวิตสั้นลง
– จำานวนลูกปลาลดลง
– นำ้ามีปริมาณแก๊สออกซิเจนลดลง ทำาให้ปลาและสัตว์นำ้าลดจำานวนลง
•ก
ระทรวงอุตสาหกรรมได้กำาหนดมาตรฐานนำ้าทิ้งจากโรงงานอุตสาหกรรมว่า
136
137
สรุปสิ่งปนเปื้อนที่ทำาให้นำ้าเป็นนำ้าเสีย 13 ประการ
1 สารอินทรีย์ 8 สารที่ก่อให้เกิดฟอง
2 สารอนินทรีย์ 9 สารกัมมันตรังสี
3 โลหะหนัก 10 สารเป็นพิษ
4 นำ้ามันและไขมัน 11 ความร้อน
5 ของแข็ง 12 กลิ่น
6 สีและความขุ่น 13 จุลินทรีย์
7 กรด ด่าง
138
สรุปสิ่งปนเปื้อนที่ทำาให้นำ้าเป็นนำ้าเสีย
1. สารอินทรีย์ (Organic substances)
 เศษผลไม้
 ซากพืช
 ซากสัตว์
1. สารอนินทรีย์ (Inorganic substances)
 เศษโลหะ
 คลอไรด์
 ซัลเฟอร์
 แคลเซียม
 แมกนีเซียม
 ทำาให้นำ้ากระด้างหรือทำาให้นำ้าเป็นพิษต่อสิ่งมีชีวิต
139
3. โลหะหนัก (Heavy metal)
 ปรอท
 แคดเมียม
 ตะกั่ว
 มักมาจากนำ้าทิ้งจากโรงงานอุตสาหกรรม
 ชุบโลหะ
 ทำาแบตเตอรี่
 เป็นสารที่สะสมได้ในวงจรอาหารและเป็นพิษต่อสิ่งมีชีวิต
4. นำ้ามันและไขมัน (Oil and grease)
 อาจมาจาก
 โรงงานทำาอาหาร
 โรงงานนำ้ามันพืช
 โรงงานปิโตรเคมี
 สารพวกนี้เมื่อลอยบนผิวนำ้าจะทำาให้ออกซิเจนถ่ายเทลงไปในนำ้าไม่ได้
140
5. ของแข็ง (Solids)
•ประกอบด้วย
 ของแข็งละลาย
 ของแข็งแขวนลอย
 ของแข็งไม่ละลาย
•อาจเป็น
 สารอินทรีย์
 สารอนินทรีย์
•เช่น
 แป้ง
 เยื่อกระดาษ
 โฟม
141
6. สีและความขุ่น (Color and Transparency)
•นำ้าเสียจากโรงงาน
 โรงงานฟอกย้อม
 โรงงานทำาสี
 โรงงานกระดาษ
•เมื่อนำ้ามีสีหรือขุ่น จะส่งผลต่อ
 การสังเคราะห์แสงของพืชนำ้า
 การนำานำ้าไปใช้ประโยชน์
 ทัศนียภาพ
7. กรด ด่าง (Acids and bases)
•เป็นสารที่ใช้ในกระบวนการผลิต
•เมื่อถูกปล่อยทิ้งจะทำาให้นำ้าเสีย เป็นอันตรายต่อสิ่งมีชีวิตในนำ้า
142
8. สารเกิดฟอง (Foaming agents)
•ส
ารซักฟอกเมื่อเกิดฟองในนำ้าจะปิดกั้นการถ่ายเทออกซิเจนลงสู่นำ้า
นำ้าทิ้งจากโรงงานสบู่
ผงซักฟอก
แชมพู
สารลดแรงตึงผิว
9. สารกัมมันตรังสี (Radioactive)
•จ
ืัดเป็นสารอันตรายประเภทหนึ่ง ซึ่งเมื่อสะสมอยู่ในสิ่งมีชีวิตแล้ว อาจก่อให้
เกิดมะเร็งได้
•น
ื้ืำที่มีสารกัมมันตรังสี
นำ้าเสียจากโรงงานอุตสาหกรรมยา
นำ้าเสียจากโรงงานผลิตเครื่องมือแพทย์
143
10. สารพิษ (Toxic substances)
นำ้าเสียจากโรงงานผลิสารเคมีสำาหรับปราบศัตรูพืชปราบแมลง อาจเป็น
อันตรายต่อสิ่งมีชีวิต
11. ความร้อน (Heat)
นำ้าหล่อเย็น
นำ้าเสียจากโรงงานกระดาษ
โรงงานอุตสาหกรรมประเภท ต้ม กลั่น
ความร้อนจะเร่งปฏิกิริยาการใช้ออกซิเจนของจุลินทรีย์และลดระดับการ
ละลายของออกซิเจน ทำาให้เกิดสภาพเน่าเหม็นได้
144
12. กลิ่น (Smell)
เกิดจากโรงงานอุตสาหกรรมทำาปลาป่น
โรงฟอกหนัง
โรงฆ่าสัตว์
ทำาให้เกิดกลิ่นเหม็น
อีกประเภทหนึ่งเป็นกลิ่นสารเคมีที่ระเหยได้ เข่น
 นำ้ามัน
 แอมโมเนีย
145
13. จุลินทรีย์ (Microbes)
เช่นนำ้าทิ้งจากโรงงานฟอกหนัง
โรงฆ่าสัว์
โรงงานอาหารกระป๋อง
จุลินทรีย์ใช้ออกซิเนในการดำารงชีวิต ทำาให้เกดินำ้าขาดออกซิเจน และเน่า
เหม็นได้
146
ปัจจัยทางกายภาพและทางเคมีที่มีผลต่อสิ่งมีชีวิตใน
แหล่งนำ้า
1.อ
อกซิเจนละลาย
2.อ
ืุณหภูมิ
3.ค
วามขุ่น
4.แ
ร่ธาตุ
5.ก
ระแสนำ้า
-
--มาดูรายละเอียดเล็กน้อยสำาหรับแต่ละหัวข้อ--- 147
1. ออกซิเจนละลาย (Dissolved oxygen)
•อ
อกซิเจนละลายนำ้าได้ มีค่าการละลาย 13 มิลลิกรัมต่อลิตร
•ส
ื่วนใหญ่ออกซิเจนจะได้จาก
บรรยากาศ
การสังเคราะห์แสงของพืช
•ป
ริมาณของออกซิเจนในแหล่งนำ้าต่าง ๆ จะแตกต่างกันไป ขึ้นอยู่กับหลาย
ปัจจัย
ปริมาณพืชในนำ้า [เคยกล่าวถึงมาแล้ว]
ปริมาณแสงที่มีส่วนช่วยในการสังเคราะห์แสงของนำ้า [เคยกล่าวถึงมาแล้ว]
อุณหภูมิ อุณหภูมิตำ่าค่าการละลายออกซิเจนในนำ้าจะสูง เมื่ออุณหภูมิสูงค่าการละลาย
ของงออกซิเจนในนำ้าจะตำ่า
กระแสนำ้า กระแสนำ้าที่ไหลเชี่ยวและรุนแรงจะทำาให้เกิดการแลกเปลี่ยนออกซิเจนที่
148
2. อุณหภูมิ (Temperature)
•ใ
นแหล่งนำ้าจืดมีสภาพของอุณหภูมิคงที่กว่า อากาศเปลี่ยนแปลงน้อย
•ส
ืิื่งมีชีวิตในนำ้าจึงมีความเคยชินต่อสภาพที่มีการเปลี่ยนแปลงน้อย
•ด
ืังนั้นเมื่อเกิดมลภาวะอุณหภูมิ (Thermal pollution) จึงเป็นเหตุให้เกิดความ
เสียหายได้
149
3. ความใสของนำ้า (Transparency)
•ค
วามขุ่นใสมีผลต่อแสงที่ส่องลงสู่แหล่งนำ้านั้น
•ต
ืัวการสำาคัญที่เป็นเหตุให้นำ้าขุ่นคือ
อนุภาคดินเหนียว
วัสดุที่ล่องลอยอยู่ในนำ้า
สิ่งมีชีวิตที่มีขนาดเล็กที่ล่องลอยในแหล่งนำ้า โดยเฉพาะแพลงตอนพืช (Plankton)
•ส
ืิื่งเหล่านี้เมื่อมีปริมาณมาก จะทำาให้แสงสว่างส่องลงสู่แหล่งนำ้าได้น้อยลง
150
4. ปริมาณแร่ธาตุ (Mineral content)
•แ
ร่ธาตุที่ปรากฏในแหล่งนำ้าจืด มากหรือน้อย ขึ้นกับสภาพภูมิศาสตร์ของพื้น
ดินที่อยู่รอบ ๆ
•เ
นื่องจากแร่ธาตุที่ปรากฏในแหล่งนำ้าจืดได้จากแร่ธาตุต่าง ๆ ที่ผิวดินข้างเคียง
ถูกชะล้างลงสู่แหล่งนำ้านั้น
•แ
ละแร่ธาตุยังได้จากการกระทำาของแบคทีเรียที่ย่อยสลายสารอินทรีย์ แล้ว
ปลดปล่อยแร่ธาตุออกมาสู่แหล่งนำ้านั้น เช่น
แคลเซียม
โซเดียม
แมกนีเซียม
โปตัสเซียม
151
5. กระแสนำ้า (Current)
•ก
ระแสนำ้ากัดเซาะก้นแม่นำ้าลำาธาร พัดพาไปตกตะกอน
152
ดัชนีคุณภาพนำ้า
•ก
ารศึกษาคุณลักษณะของนำ้าเพื่อที่จะบอกได้ว่านำ้านั้นดีหรือเลว เหมาะสมที่จะ
นำาไปใช้ประโยชน์ที่ต้องการหรือไม่
•จ
ืำเป็นต้องมีตัวกำาหนด (parameters) หรือดัชนี (indicators) ที่จะบอก
ลักษณะของนำ้า
•ส
ามารถแบ่งออกเป็น 4 กลุ่มใหญ่ ๆ ตามลักษณะคุณภาพของนำ้าได้ดังนี้
1.ค
ืุณภาพทางกายภาพ (Physical Quality)
2.ค
ืุณภาพด้านเคมี (Chemical Quality)
153
คุณภาพทางกายภาพ (Physical Quality)
•อ
ืุณหภูมิ
•ส
ืี
•ก
ลิ่น
•ค
วามขุ่น
•ส
ารแขวนลอย
154
คุณภาพด้านเคมี (Chemical Quality)
•อ
กกซิเจนละลาย (DO)
•ค
วามสกปรกในรูปสารอินทรีย์ (BOD)
•ค
วามเป็นกรดด่าง (pH)
•ธ
าตุและสารประกอบที่ละลายอยู่ในนำ้า
155
คุณภาพด้านชีววิทยา (Biological Quality)
•ว
ััดจากปริมาณสิ่งมีชีวิตที่มีอยู่ในแหล่งนำ้านั้น เช่นปริมาณสัตว์นำ้าที่จับได้ตาม
จังหวัดต่าง ๆ ของประเทศ
156
ปริมาณหอยที่จับได้ในบริเวณที่มีโรงงานอุตสาหกรรมหนา
แน่น 2514-2516
157
คุณภาพทางด้านจุลชีววิทยา (Microbiological
Quality)
•ว
ััดจากปริมาณจุลินทรีย์ต่าง ๆ ที่ปนเปื้อนอยู่ในนำ้า
•น
ั้ัำที่ใช้บริโภคจะต้องปราศจากจุลินทรีย์ที่ทำาให้เกิดโรคและก่อให้เกิด
สภาพที่ไม่น่าดู เช่น
Bacteria
Algae
Fungi
Virus
Worms
•จ
ัุลินทรีย์บางตัวอาจมาจากอุจจาระของผู้ป่วย ดังนั้นจึงจำาเป็นต้องหาทาง
ป้องกันมิให้อุจจาระหรือนำ้าโสโครกไปทำาให้นำ้าบริโภคสกปรก
•แ158
การพิจารณาคุณภาพของนำ้า หรือวิธีวัดความเน่า
เสียของนำ้า สามารถทำาได้หลายวิธี ดัชนีคุณภาพนำ้า
ที่สำาคัญมีดังนี้
1.D
O
2.B
OD
3.C
OD
4.จ
ัุลินทรีย์
*ฟิคอล
*นอนฟิคอล 159
1.ปริมาณออกซิเจนละลาย (Dissolved Oxygen:
DO)
•D
O หมายถึงปริมาณออกซิเจนที่ละลายในแหล่งนำ้า
•เ
ป็นลักษณะสำาคัญที่จะบอกให้ทราบว่านำ้านั้นมีความเหมาะสมเพียงใดต่อการ
ดำารงชีวิตของสิ่งมีชีวิตในนำ้า
•ค
วามสามารถในการละลายของออกซิเจนในนำ้าสัมพันธ์กับ
อุณหภูมิของนำ้า
ความกดดันของอากาศ
สิ่งเจือปนในนำ้า
•ถ
ั้าปริมาณออกซิเจนละลายในนำ้าไม่เพียงพอ จะมีผลต่อสิ่งมีชีวิตที่อาศัยอยู่
ในนำ้า 160
Envi chem
Envi chem
Envi chem
Envi chem
Envi chem
Envi chem
Envi chem
Envi chem
Envi chem
Envi chem
Envi chem
Envi chem
Envi chem
Envi chem
Envi chem
Envi chem
Envi chem
Envi chem
Envi chem
Envi chem
Envi chem
Envi chem
Envi chem
Envi chem
Envi chem
Envi chem
Envi chem
Envi chem
Envi chem
Envi chem
Envi chem
Envi chem
Envi chem
Envi chem
Envi chem
Envi chem
Envi chem
Envi chem
Envi chem
Envi chem
Envi chem
Envi chem
Envi chem
Envi chem
Envi chem
Envi chem
Envi chem
Envi chem
Envi chem
Envi chem
Envi chem
Envi chem
Envi chem
Envi chem
Envi chem
Envi chem
Envi chem
Envi chem
Envi chem
Envi chem
Envi chem
Envi chem
Envi chem
Envi chem
Envi chem
Envi chem
Envi chem
Envi chem
Envi chem
Envi chem
Envi chem
Envi chem
Envi chem
Envi chem
Envi chem
Envi chem
Envi chem
Envi chem
Envi chem
Envi chem
Envi chem
Envi chem
Envi chem
Envi chem
Envi chem
Envi chem
Envi chem
Envi chem
Envi chem
Envi chem
Envi chem
Envi chem
Envi chem
Envi chem
Envi chem
Envi chem
Envi chem
Envi chem
Envi chem
Envi chem
Envi chem
Envi chem
Envi chem
Envi chem
Envi chem
Envi chem
Envi chem
Envi chem
Envi chem
Envi chem
Envi chem
Envi chem
Envi chem
Envi chem
Envi chem
Envi chem
Envi chem
Envi chem
Envi chem
Envi chem
Envi chem
Envi chem
Envi chem
Envi chem
Envi chem
Envi chem
Envi chem
Envi chem
Envi chem
Envi chem
Envi chem
Envi chem
Envi chem
Envi chem
Envi chem
Envi chem
Envi chem
Envi chem
Envi chem
Envi chem
Envi chem
Envi chem
Envi chem
Envi chem
Envi chem
Envi chem

More Related Content

What's hot

โครงงาน เรื่อง การย้อมผ้าจากเปลือกมังคุด
โครงงาน เรื่อง การย้อมผ้าจากเปลือกมังคุดโครงงาน เรื่อง การย้อมผ้าจากเปลือกมังคุด
โครงงาน เรื่อง การย้อมผ้าจากเปลือกมังคุดพัน พัน
 
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มด
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มดโครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มด
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มดพัน พัน
 
ตัวอย่างโครงงาน
ตัวอย่างโครงงานตัวอย่างโครงงาน
ตัวอย่างโครงงานThitaree Permthongchuchai
 
ปฏิบัติการอินดิเคเตอร์จากธรรมชาติ
ปฏิบัติการอินดิเคเตอร์จากธรรมชาติปฏิบัติการอินดิเคเตอร์จากธรรมชาติ
ปฏิบัติการอินดิเคเตอร์จากธรรมชาติPhakawat Owat
 
โครงงานวิทยาศาสตร
โครงงานวิทยาศาสตร โครงงานวิทยาศาสตร
โครงงานวิทยาศาสตร Patcharida Nun'wchph
 
แผนการจัดการเรียนรู้ค่าpH กับความเป็นกรดเบส
แผนการจัดการเรียนรู้ค่าpH กับความเป็นกรดเบสแผนการจัดการเรียนรู้ค่าpH กับความเป็นกรดเบส
แผนการจัดการเรียนรู้ค่าpH กับความเป็นกรดเบสNoopatty Sweet
 
ผักตบชวาไล่แมลง
ผักตบชวาไล่แมลงผักตบชวาไล่แมลง
ผักตบชวาไล่แมลงพัน พัน
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง น้ำยาเช็ดกระจกจากแป้งข้าวโพด
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง น้ำยาเช็ดกระจกจากแป้งข้าวโพดโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง น้ำยาเช็ดกระจกจากแป้งข้าวโพด
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง น้ำยาเช็ดกระจกจากแป้งข้าวโพดพัน พัน
 
โครงงาน Is-กลุ่มสบู่-1-5
โครงงาน Is-กลุ่มสบู่-1-5โครงงาน Is-กลุ่มสบู่-1-5
โครงงาน Is-กลุ่มสบู่-1-5Nontagan Lertkachensri
 
โครงงานกระถางต้นไม้จากขวดพลาสติก
โครงงานกระถางต้นไม้จากขวดพลาสติกโครงงานกระถางต้นไม้จากขวดพลาสติก
โครงงานกระถางต้นไม้จากขวดพลาสติกพัน พัน
 
โครงร่างผ้ามัดย้อม
โครงร่างผ้ามัดย้อมโครงร่างผ้ามัดย้อม
โครงร่างผ้ามัดย้อมsupansa phuprasong
 
สมบัติของสารและการจำแนก
สมบัติของสารและการจำแนกสมบัติของสารและการจำแนก
สมบัติของสารและการจำแนกSupaluk Juntap
 
ปกโครงงานดูดซับคราบไขมัน
ปกโครงงานดูดซับคราบไขมันปกโครงงานดูดซับคราบไขมัน
ปกโครงงานดูดซับคราบไขมันkrupornpana55
 
บทที่ 3 สารละลาย
บทที่ 3 สารละลายบทที่ 3 สารละลาย
บทที่ 3 สารละลายNang Ka Nangnarak
 

What's hot (20)

โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 
โครงงาน เรื่อง การย้อมผ้าจากเปลือกมังคุด
โครงงาน เรื่อง การย้อมผ้าจากเปลือกมังคุดโครงงาน เรื่อง การย้อมผ้าจากเปลือกมังคุด
โครงงาน เรื่อง การย้อมผ้าจากเปลือกมังคุด
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 
โครงงานวิทยาศาสตร์
โครงงานวิทยาศาสตร์โครงงานวิทยาศาสตร์
โครงงานวิทยาศาสตร์
 
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มด
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มดโครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มด
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มด
 
ตัวอย่างโครงงาน
ตัวอย่างโครงงานตัวอย่างโครงงาน
ตัวอย่างโครงงาน
 
ปฏิบัติการอินดิเคเตอร์จากธรรมชาติ
ปฏิบัติการอินดิเคเตอร์จากธรรมชาติปฏิบัติการอินดิเคเตอร์จากธรรมชาติ
ปฏิบัติการอินดิเคเตอร์จากธรรมชาติ
 
โครงงานวิทยาศาสตร
โครงงานวิทยาศาสตร โครงงานวิทยาศาสตร
โครงงานวิทยาศาสตร
 
แผนการจัดการเรียนรู้ค่าpH กับความเป็นกรดเบส
แผนการจัดการเรียนรู้ค่าpH กับความเป็นกรดเบสแผนการจัดการเรียนรู้ค่าpH กับความเป็นกรดเบส
แผนการจัดการเรียนรู้ค่าpH กับความเป็นกรดเบส
 
ผักตบชวาไล่แมลง
ผักตบชวาไล่แมลงผักตบชวาไล่แมลง
ผักตบชวาไล่แมลง
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง น้ำยาเช็ดกระจกจากแป้งข้าวโพด
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง น้ำยาเช็ดกระจกจากแป้งข้าวโพดโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง น้ำยาเช็ดกระจกจากแป้งข้าวโพด
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง น้ำยาเช็ดกระจกจากแป้งข้าวโพด
 
10737451 748431268585255 338303037_n
10737451 748431268585255 338303037_n10737451 748431268585255 338303037_n
10737451 748431268585255 338303037_n
 
โครงงาน Is-กลุ่มสบู่-1-5
โครงงาน Is-กลุ่มสบู่-1-5โครงงาน Is-กลุ่มสบู่-1-5
โครงงาน Is-กลุ่มสบู่-1-5
 
โครงงานกระถางต้นไม้จากขวดพลาสติก
โครงงานกระถางต้นไม้จากขวดพลาสติกโครงงานกระถางต้นไม้จากขวดพลาสติก
โครงงานกระถางต้นไม้จากขวดพลาสติก
 
โครงร่างผ้ามัดย้อม
โครงร่างผ้ามัดย้อมโครงร่างผ้ามัดย้อม
โครงร่างผ้ามัดย้อม
 
สมบัติของสารและการจำแนก
สมบัติของสารและการจำแนกสมบัติของสารและการจำแนก
สมบัติของสารและการจำแนก
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
ปกโครงงานดูดซับคราบไขมัน
ปกโครงงานดูดซับคราบไขมันปกโครงงานดูดซับคราบไขมัน
ปกโครงงานดูดซับคราบไขมัน
 
P80319121248
P80319121248P80319121248
P80319121248
 
บทที่ 3 สารละลาย
บทที่ 3 สารละลายบทที่ 3 สารละลาย
บทที่ 3 สารละลาย
 

Viewers also liked

โวลแทมเมตรี
โวลแทมเมตรีโวลแทมเมตรี
โวลแทมเมตรีPipat Chooto
 
โวลแทมเมตรี
โวลแทมเมตรีโวลแทมเมตรี
โวลแทมเมตรีPipat Chooto
 
Electrogravimetry and coulometry
Electrogravimetry and coulometryElectrogravimetry and coulometry
Electrogravimetry and coulometryPipat Chooto
 
Key to voltammetry exercise
Key to voltammetry exerciseKey to voltammetry exercise
Key to voltammetry exercisePipat Chooto
 
Electrogravimetry and coulometry
Electrogravimetry and coulometryElectrogravimetry and coulometry
Electrogravimetry and coulometryPipat Chooto
 

Viewers also liked (10)

Conductometry
ConductometryConductometry
Conductometry
 
โวลแทมเมตรี
โวลแทมเมตรีโวลแทมเมตรี
โวลแทมเมตรี
 
โวลแทมเมตรี
โวลแทมเมตรีโวลแทมเมตรี
โวลแทมเมตรี
 
Conductometry
ConductometryConductometry
Conductometry
 
Electrogravimetry and coulometry
Electrogravimetry and coulometryElectrogravimetry and coulometry
Electrogravimetry and coulometry
 
Key to voltammetry exercise
Key to voltammetry exerciseKey to voltammetry exercise
Key to voltammetry exercise
 
Electrogravimetry and coulometry
Electrogravimetry and coulometryElectrogravimetry and coulometry
Electrogravimetry and coulometry
 
Key ex conduct
Key ex conductKey ex conduct
Key ex conduct
 
Key ex eg cou
Key ex eg couKey ex eg cou
Key ex eg cou
 
บทนำ1
บทนำ1บทนำ1
บทนำ1
 

More from Pipat Chooto

แบบฝึกหัด Coulometry & electrogrovimetry
แบบฝึกหัด Coulometry & electrogrovimetryแบบฝึกหัด Coulometry & electrogrovimetry
แบบฝึกหัด Coulometry & electrogrovimetryPipat Chooto
 
แบบฝึกหัด โวลแทมเมตรี
แบบฝึกหัด โวลแทมเมตรีแบบฝึกหัด โวลแทมเมตรี
แบบฝึกหัด โวลแทมเมตรีPipat Chooto
 
แบบฝึกหั ดConduct
แบบฝึกหั ดConductแบบฝึกหั ดConduct
แบบฝึกหั ดConductPipat Chooto
 
3.3 สมดุลไอออนในน้ำ
3.3 สมดุลไอออนในน้ำ3.3 สมดุลไอออนในน้ำ
3.3 สมดุลไอออนในน้ำPipat Chooto
 
3.2 สมดุลแบบต่างๆ
3.2 สมดุลแบบต่างๆ3.2 สมดุลแบบต่างๆ
3.2 สมดุลแบบต่างๆPipat Chooto
 
3.1 สมดุลเคมี57
3.1 สมดุลเคมี573.1 สมดุลเคมี57
3.1 สมดุลเคมี57Pipat Chooto
 
เฉลยโจทย์
เฉลยโจทย์เฉลยโจทย์
เฉลยโจทย์Pipat Chooto
 
ปริมาณสัมพันธ์
ปริมาณสัมพันธ์ปริมาณสัมพันธ์
ปริมาณสัมพันธ์Pipat Chooto
 

More from Pipat Chooto (11)

แบบฝึกหัด Coulometry & electrogrovimetry
แบบฝึกหัด Coulometry & electrogrovimetryแบบฝึกหัด Coulometry & electrogrovimetry
แบบฝึกหัด Coulometry & electrogrovimetry
 
แบบฝึกหัด โวลแทมเมตรี
แบบฝึกหัด โวลแทมเมตรีแบบฝึกหัด โวลแทมเมตรี
แบบฝึกหัด โวลแทมเมตรี
 
แบบฝึกหั ดConduct
แบบฝึกหั ดConductแบบฝึกหั ดConduct
แบบฝึกหั ดConduct
 
Envi chem
Envi chemEnvi chem
Envi chem
 
Conductometry
ConductometryConductometry
Conductometry
 
3.3 สมดุลไอออนในน้ำ
3.3 สมดุลไอออนในน้ำ3.3 สมดุลไอออนในน้ำ
3.3 สมดุลไอออนในน้ำ
 
3.2 สมดุลแบบต่างๆ
3.2 สมดุลแบบต่างๆ3.2 สมดุลแบบต่างๆ
3.2 สมดุลแบบต่างๆ
 
3.1 สมดุลเคมี57
3.1 สมดุลเคมี573.1 สมดุลเคมี57
3.1 สมดุลเคมี57
 
บทนำ1
บทนำ1บทนำ1
บทนำ1
 
เฉลยโจทย์
เฉลยโจทย์เฉลยโจทย์
เฉลยโจทย์
 
ปริมาณสัมพันธ์
ปริมาณสัมพันธ์ปริมาณสัมพันธ์
ปริมาณสัมพันธ์
 

Envi chem