SlideShare a Scribd company logo
รายงานโครงงานคอมพิวเตอร์

   เรื่อง สื่อข้ อมูลตัวอย่ างจารีตและประเพณีในอาเซียน

                ชื่อผู้รับผิดชอบโครงงาน
        นางสาวสุดาวดี       ศรี วิบูลย์   เลขที่ 24
       นางสาวมณิ ภา         ชูตระกูล      เลขที่ 28
       นางสาววราภรณ์        พรมโสภา เลขที่ 35


                         เสนอ
                  คุณครู โอฬาร คาจีน
   กลุ่มสาระการเรี ยนรู้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี 3
             ภาคเรี ยนที่ 1 ปี การศึกษา 2555


คุณครูที่ปรึกษาโครงงาน นางสาวชนิษฎา            กาแพงทอง
อาจารย์วิชาภาษาอังกฤษฝ่ ายวิชาการเรี ยนรู้ภาษาต่างประเทศ
คานา
        โครงการนีอยู่ในกลุ่มสาระการเรี ยนรู้ การงานอาชี พและเทคโนโลยี 3 จัดทาขึนโดยมีวตถุประสงค์
                 ้                                                             ้      ั
เพือส่ งเสริมและแนะนาถึงความสาคัญของจารีตและประเพณี ของแต่ ละ 10 ประเทศในอาเซียน โดยนา
   ่
ข้ อมูลตัวอย่ างจารีตและประเพณีอย่ างละ1จารีต1ประเพณีในประชาคมอาเซียนมาใช้ ในการแนะนาและ
ส่ งเสริม กับกลุ่มนักเรี ยนตัวอย่ าง ม.3/9 โรงเรียน ราชวินิต มัธยม จานวน 49 คนตัวอย่าง โดยศึกษาและ
ค้ นคว้ าข้ อมูลจากอินเทอร์ เน็ตและหอสมุดแห่ งชาติ ทีต้ ังอยู่เขตดุสิต ถนนสามเสน และได้ มีการทา
                                                     ่
แบบสอบถามเพือทดสอบความรู้ ความเข้ าใจของกลุ่มตัวอย่ างและยังมีแบบทดสอบก่ อนใช้ สื่อ และหลังการ
            ่
ใช้ สื่อเพือทดสอบความรู้ ความเข้ าใจทีเ่ พิมขึนในกลุ่มตัวอย่ าง ใช้ แผ่ นพับใบความรู้ แบบทีน่าสนใจสามารถ
           ่                               ่ ้                                             ่
พกพาได้ ของทางกลุ่มสื่ อตัวอย่ างจารีตและประเพณีในอาเซียน มาเป็ นสื่ อกลางทีช่วยเสริมความรู้ แก่ กลุ่ม
                                                                            ่
นักเรียนตัวอย่าง โดยมีตัวชี้วดจากแบบทดสอบทีได้ จากผู้ถูกประเมิน หากโครงการสามารถสาเร็จลุล่วงไป
                             ั             ่
ได้ ด้วยดีกจะสามารถ
           ็



                                                                                                  จัดทาโดย

                                                                                     ผู้รับผิดชอบโครงการ

                                                      เรื่อง สื่ อข้ อมูลตัวอย่ างจารีตและประเพณีในอาเซียน
โครงงาน
สื่อข้ อมูลตัวอย่ างจารีตและประเพณีในอาเซียน


Another :                          คณะนักเรี ยนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่5 ห้อง 5กลุ่ม5

Project Name :                     สื่ อข้อมูลตัวอย่างจารี ตและประเพณี ในอาเซี ยน

Business sponsor :                 โรงเรี ยนราชวินิต มัธยม

Coordinator :                     คุณครู ชนิษฎา กาแพงทอง

Project Time :                    26 มิถุนายน ถึง 31 สิ งหาคม พ.ศ. 2555

Project Overview :

         ปั จจุบน ประชาคมอาเซี ยนได้เข้ามามีบทบาทกับประเทศไทยและประเทศอื่นๆที่ร่วมเป็ น
                ั
ประชาคมอาเซี ยนเป็ นอย่างมากจึงเป็ นกังวลมากว่าจารี ตและประเพณี ของแต่ละประเทศในอาเซี ยนนั้นจะมี
ผูคนรู้จกความสาคัญของจารี ตและประเพณี ลดน้อยลง โดยเฉพาะการเปลี่ยนแปลงในปี 58 นี้อาจจะส่ งผลต่อ
  ้     ั
จารี ตและประเพณี ที่ดีงามของประเทศในประชาคมอาเซียนอาจเลือนรางจางหายไปทางผูรับผิดชอบ
                                                                          ้
โครงการนี้จึงอยากที่จะส่ งเสริ มและแนะนาข้อมูลจารี ตและประเพณี ในประชาคม-อาเซี ยนให้มีความสาคัญ
ต่อความรู ้รอบตัวทางวิชาการและวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรมให้มากขึ้น รวมถึงเพื่อใช้เป็ นข้อมูล
ในการเรี ยนการสอนในอนาคต

        จากการสารวจพบว่านักเรี ยนโรงเรี ยนราชวินิตชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 3 ห้อง 9 ส่ วนใหญ่มกจะไม่ค่อย
                                                                                          ั
ให้ความสาคัญและความสนใจกับจารี ตและประเพณี ของไทยและประเทศในประชาคมอาเซี ยนกันสักเท่าไร
ในการเรี ยนการสอนนักเรี ยนในบางส่ วนก็ไม่ค่อยจะสนใจกับเนื้อหาของวิชาสังคมศึกษาที่เรี ยนกัน ทาให้
นักเรี ยนบางจานวนมีความรู้รอบตัวลดน้อยลง

        เพื่อสร้างความน่าสนใจในการเรี ยนและเพื่อเป็ นความรู ้รอบตัวในวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและ
วัฒนธรรมให้มีความสนใจในการเรี ยนมากยิงขึ้น จึงจาเป็ นต้องมีสื่อกลางเป็ นตัวช่วยในการเรี ยนรู้ขอมูล
                                     ่                                                        ้
จารี ตและประเพณี เพิ่มเติม
โครงการนี้จึงจัดทาตัวช่วยเสริ มความรู ้เพิ่มเติมแก่กลุ่มนักเรี ยนตัวอย่างหรื อผูที่สนใจในเนื้ อหาของ
                                                                                       ้
จารี ตและประเพณี ในอาเซี ยน ทั้งนี้เพื่อให้กลุ่มนักเรี ยนตัวอย่างโรงเรี ยนราชวินิต มัธยมได้มีคุณภาพในเรื่ อง
ของความรู ้รอบตัวเพิ่มมากขึ้น จึงจัดทาแผ่นพับใบความรู ้ลงใน เรื่ องตัวอย่างจารี ตและประเพณี ในอาเซี ยน
ขึ้นมาเป็ นตัวช่วยเสริ มความรู ้ที่ดีแก่กลุ่มนักเรี ยนตัวอย่าง ม.3/9

Project Objectives (จุดประสงค์):

1. เพื่อให้กลุ่มนักเรี ยนตัวอย่าง ม.3/9ได้มีความรู ้รอบตัวในเรื่ องของจารี ตและประเพณี ในอาเซี ยนมากยิงขึ้น
                                                                                                      ่

2. เพื่อให้ความรู ้เกี่ยวกับเรื่ องจารี ตและประเพณี ของแต่ละประเทศในประชาคมอาเซี ยนประเทศละ1จารี ต1
ประเพณี ให้แก่กลุ่มนักเรี ยนตัวอย่าง ม.3/9

3.เพื่อนาเสนอข้อมูลโดยใช้แผ่นพับใบความรู้และFacebook Fan pageเป็ นสื่ อกลางในการให้ความรู ้เพิ่มเติม
แก่กลุ่มนักเรี ยนตัวอย่าง ม.3/9

The process of implementation :

1.จัดการประชุมภายในกลุ่มเพื่อกาหนดขอบเขตของงาน รวมถึงมีหน้าที่ความรับผิดชอบ ของสมาชิก
ผูรับผิดชอบโครงการร่ วมพิจารณา
  ้

2.เข้าพบอาจารย์ที่ปรึ กษาโครงการและขออนุ ญาตพัฒนากลุ่มเป้ าหมาย

3.ปรับปรุ งแก้ไขสิ่ งที่จะจัดทา คือการนาข้อมูลมาเรี ยบเรี ยงให้เหมาะสม

4.ร่ างข้อมูลทั้งหมด(Draft)ส่ ง คุณครู โอฬาร โอฬาร คาจีน เพื่อพิจารณา

5.ปรับปรุ งแก้ไข ข้อมูลให้ชดเจน ถูกต้องยิงขึ้น แล้วนาส่ งคุณครู โอฬาร โอฬาร คาจีน อีกครั้ง
                           ั             ่

6.ลงมือปฏิบติหลังจากที่ได้รับการอนุมติโครงการจากคุณครู โอฬาร โอฬาร คาจีน
           ั                        ั

7.เริ่ มจัดทาแผ่นพับใบความรู ้ลงในโปรแกรม Microsoft Word และจัดทาFacebook Fan page ขึ้นเพื่อเป็ น
สื่ อในการประชาสัมพันธ์โครงการฯและแนะนาข้อมูล

8.รวบรวมข้อมูล พร้อมหลักฐาน ทาแฟ้ มสรุ ปโครงการฯ ส่ งคุณครู โอฬาร โอฬาร คาจีน
Expected Results ผลที่คาดว่าจะได้รับ :

    1.       กลุมเปาหมายได้ รับความรู้เกี่ยวกับข้ อมูลตัวอย่างจารี ตและประเพณีของแต่ละประเทศใน
                ่ ้
            ประชาคมอาเซียนประเทศละ1จารี ต1ประเพณี

    2.       กลุมเปาหมายได้ รับความรู้เพิ่มเติมจากการใช้ แผ่นพับใบความรู้เป็ นสื่อกลางในการนาเสนอ
                ่ ้
            ข้ อมูลและนาความรู้เพิ่มเติมที่ได้ จากสื่อกลางที่ทางคณะผู้จดทาได้ จดทาขึ ้นมาใช้ ในใบการทา
                                                                       ั       ั
            แบบทดสอบ

การประเมินผล

ตัวชี้วด
       ั

สาเร็จ

 - นักเรี ยนกลุ่มตัวอย่างชั้นมัธยมศึกษาปี ที่3ห้อง9จานวน49คนได้คะแนนประเมินหลังการศึกษามากกว่า
ก่อนศึกษา

- นักเรี ยนกลุ่มตัวอย่างชั้นมัธยมศึกษาปี ที่3ห้อง9จานวน49คนได้คะแนนหลังการศึกษาซึ่งได้คะแนน
มากกว่าหรื อเท่ากับ 50%

- นักเรี ยนกลุ่มตัวอย่างชั้นมัธยมศึกษาปี ที่3ห้อง9จานวน49คน นักเรี ยนมากกว่าหรื อเท่ากับ 60%จานวน
30คนจากนักเรี ยนทั้งหมด49คนผ่านเกณฑ์การประเมินผลจึงถือว่าผ่าน

ล้มเหลว

- นักเรี ยนกลุ่มตัวอย่างชั้นมัธยมศึกษาปี ที่3 ห้อง9 จานวน 49 คนได้คะแนนประเมินหลังการศึกษาน้อย
กว่าก่อนศึกษา

- นักเรี ยนกลุ่มตัวอย่างชั้นมัธยมศึกษาปี ที่3ห้อง9จานวน49คนได้คะแนนหลังการศึกษาซึ่งได้คะแนนน้อย
กว่า 50%

- นักเรี ยนกลุ่มตัวอย่างชั้นมัธยมศึกษาปี ที่3ห้อง9จานวน49คน นักเรี ยนน้อยกว่า 60%หรื อน้อยกว่า 30คน
                            ่                               ่
จากนักเรี ยนทั้งหมด49คน ไม่ผานเกณฑ์การประเมินผลจึงถือว่าไม่ผาน
เอกสารและทฤษฏีที่เกี่ยวข้อง
หลักการและเทคนิคการเขียนโครงการ
                                                                                    หทัยรัตน์ ลิ่มอรุ ณวงศ์
                                                                       เจ้าหน้าที่บริ หารงาน กองแผนงาน
                                                                                       มหาวิทยาลัยทักษิณ




บทนา
เรามักจะได้ยนหน่วยงานหรื อผูที่เกี่ยวข้องกับการเขียนโครงการพูดอยูเ่ สมอว่า เขียนโครงการไม่เป็ น
              ิ                 ้
เขียนโครงการไม่ชดเจน เขียนโครงการไม่สอดคล้องกับแผนงานและกรอบนโยบาย มีขอมูลสาหรับการ
                       ั                                                           ้
ตัดสิ นใจในการเขียนโครงการน้อย และที่สาคัญช่วงเวลาที่ให้เขียนโครงการนั้นสั้น จึงทาให้เขียนโครงการ
                                                 ่
แบบขอไปทีหรื อนาเอาโครงการเดิม ๆ ที่เคยทาอยูมาปรับเสี ยใหม่ ปรับเปลี่ยนบางประเด็นเท่านั้น
                  ่
โครงการจึงไม่ผานการวิเคราะห์ความเป็ นไปได้ในด้านต่าง ๆ ขาดการวิเคราะห์ตามหลัก “SWOT” และ
ขาดการกลันกรองโครงการก่อนที่จะเสนอให้หน่วยงานระดับสู งได้หลอมรวมโครงการและงานต่อไป
            ่
ดังนั้นในปั จจุบนหลายหน่วยงานจึงให้ความสาคัญกับการจัดทาแผนและการเขียนโครงการมาก โดยมีการ
                ั
                                                                          ่
ฝึ กอบรมเชิงปฏิบติการเขียนแผนหรื อเขียนโครงการขึ้นมา ภายใต้ความเชื่อที่วา ถ้าเราเข้าใจองค์ความรู้
                     ั
เกี่ยวกับการจัดทาแผนและการจัดทาโครงการ ตลอดจนเทคนิคและวิธีการเขียนโครงการแล้ว จะทาให้
                    เขียนโครงการได้ถูกต้อง ครอบคลุมชัดเจน และสามารถนาไปปฏิบติได้ง่าย
                                                                                ั



ความหมายของโครงการ
    คาว่า“โครงการ”ภาษาอังกฤษใช้คาว่า “Project”ซึ่งหมายความว่า แผนงานย่อยที่ประกอบด้วยกิจกรรม
หรื องานหลายงานที่ระบุรายละเอียดชัดเจน อาทิ วัตถุประสงค์ เป้ าหมาย ระยะเวลาดาเนินการวิธีการหรื อ
ขั้นตอนในการดาเนิ นงาน พื้นที่ในการดาเนินงาน งบประมาณที่ใช้ในการดาเนินงานตลอดจนผลลัพธ์ที่คาด
ว่าจะได้รับ

   แผนงานที่ปราศจากโครงย่อมเป็ นแผนงานที่ไม่สมบูรณ์ ไม่สามารถนาไปปฏิบติให้เป็ นรู ปธรรมได้
                                                                     ั
ดังนั้นการเขียนโครงการขึ้นมารองรับแผนงาน ย่อมเป็ นสิ่ งสาคัญและจาเป็ นยิงเพราะจะทาให้ง่ายในการ
                                                                        ่
ปฏิบติ และง่ายต่อการติดตามและประเมินผลเพราะถ้าโครงการบรรลุผลสาเร็ จ นั้นหมายความว่าแผนงาน
    ั
และนโยบายนั้นบรรลุผลสาเร็ จด้วย
โครงการจึงเปรี ยบเสมือนพาหนะที่นาแผนปฏิบติการไปสู่ การดาเนินงานให้เกิดผลเพื่อไปสู่ จุดหมาย
                                             ั
ปลายทางตามที่ตองการ อีกทั้งยังเป็ นจุดเชื่อมโยงจากแผนงานไปสู่ แผนเงิน และแผนคนอีกด้วยดังนั้น
              ้
โครงการจึงมีความสัมพันธ์กบแผนงาน(Progam)และนโยบาย(Policy)
                         ั

ลักษณะสาคัญกับโครงการ
โครงการหนึ่งๆ จะต้องประกอบด้วยคุณลักษณะสาคัญ คือ

1.ประกอบด้วยกิจกรรมย่อยๆ ที่เกี่ยวข้องระยะสอดคล้องกันภายใต้วตถุประสงค์เดียวกัน
                                                            ั

2.มีการกาหนดวัตถุประสงค์ (objective) ที่ชดเจน วัดได้และปฏิบติได้ ทังนี้เพื่อเป็ นแนวทางในการ
                                         ั                 ั       ่
ดาเนินงานและติดตามประเมินผลได้โครงการหนึ่งๆอาจเป็ นส่ วนหนึ่งของวัตถุประสงค์ก็ได้มีวตถุประสงค์
                                                                                    ั
หลักและวัตถุประสงค์รองและต้องกาหนดวัตถุประสงค์ที่สามารถปฏิบติได้มีใช้วตถุประสงค์ที่เลื่อนลอย
                                                           ั          ั
เพ้อฝันหรื อเกินความเป็ นจริ ง

3.มีการกาหนดจุดเริ่ มต้นและจุดสิ้ นสุ ดของกิจกรรม(Scheduled Beginning and Terminal Points ) การเขียน
โครงการโดยทัวไปจะต้องมีการกาหนดระยะเวลาและจะเริ่ มต้นเพื่อโครงการสิ้ นสุ ดเมื่อไรถ้าหากมีการ
                ่
ดาเนินงานไปเรื่ อยๆ ไม่มีการกาหนดขอบเขตของเวลา(Time boundary ) ไว้จะไม่ถือว่าไม่เป็ นงานโครงการ
เพราะมีลกษณะเป็ นงานประจา(routine) หรื องานปกติ
        ั
4.มีสถานที่ต้ ง(Location )ของโครงการผูเ้ ขียนโครงการจะต้องระบุให้ชดเจนว่าโครงการนี้มีพ้ืนที่ดาเนิ นการ
              ั                                                   ั
             ่
หรื อทางานอยูที่ใด เพื่อสะดวกในการดาเนิ นงานถ้าเลือกสถานที่ต้ งโครงการไม่เหมาะสมเข้าจะทาให้เสี ย
                                                              ั
ค่าใช้จ่ายหรื อลงทุนแลกผลประโยชน์ตอบแทนที่ได้อาจไม่คุมค่าการติดตามและการประเมินผลโครงการที่
อาจทาได้ยาก

5.มีบุคคลากรหรื อองค์กรที่เฉพาะเจาะจง(organization)งานโครงการจะต้องมีหน่วยงานที่รับผิดชอบ ส่ วน
หน่วยงานอื่นถือว่าเป็ นหน่วยงานเสมือนชื่ อร่ วมมือดาเนิ นงานเท่านั้น และควรระบุบุคคลากรผูรับผิดชอบ
                                                                                         ้
โครงการนั้นให้ชดเจน เพื่อเป็ นหลักประกันว่าบุคคลากรนั้นจะปฏิบติอย่างจริ งจังและจริ งใจ
               ั                                             ั

6.มีการใช้ทรัพยากรให้เกิดประโยชน์(resource)การเขียนโครงการจะต้องระบุแหล่งทรัพยากรโดยตรวจ
งบประมาณให้ชดเจน เช่น งบประมาณแผ่นดิน หรื อเงินกู้ หรื อเงินทุนสารอง หรื อเงินบริ จาค เป็ นต้น และ
            ั
                     ่
จะต้องระบุเงินที่ใช้วาเป็ นหมวดวัสดุ หมวดค่าใช้สอด หมวดค่าตอบแทน หมวดค่าที่ดินและสิ่ งปลูกสร้าง
เป็ นต้นทังนี้จะทาให้การดาเนินการและควบคุมตรวจสอบการใช้งบประมาณให้เกิดประโยชน์สูงสุ ดได้
          ่
โครงการที่ดควรมีลกษณะอย่ างไร
           ี     ั
โครงการทีดีควรมีลกษณะดังนี้
         ่       ั

1.สามารถแก้ไขปั ญญาของหน่วยงานหรื อองค์กร ได้อย่างมีประสิ ทธิ ภาพ

2.สามารถสนองตามความต้องการของกลุ่ม ชุมชน นโยบายของหน่วยงานและนโยบายของประเทศชาติได้ดี

3.รายละเอียดของโครงการต้องเข้าใจง่ายมีการใช้ภาษาทีเข้าใจกันทัวไป
                                                             ่

4.มีวตถุประสงค์และเป้ าหมายที่ชดเจนและลักษณะเฉพาะเจาะจง
     ั                         ั

5.รายละเอียดของโครงการต้องเกี่ยวเนื่ องสัมพันธ์กน ตั้งแต่ประเด็นแรกถึงประเด็นสุ ดท้าย
                                                ั

6.กาหนดการใช้ทรัพยากรอย่างชัดเจนและเหมาะสม

7.มีวธีการติดตามและประเมินผลที่ชดเจน
     ิ                          ั



โครงสร้ างของโครงการ
การเขียนโครงการจะต้องรู้และเข้าใจโครงสร้างของโครงการเสี ยก่อนว่าประกอบไปด้วยส่ วน
ใดบ้าง ซึ่ งโดยทัวไปโครงสร้างของโครงการประกอบด้วย
                 ่
1. ชื่อโครงการ ส่ วนใหญ่มาจากงานที่ตองการปฏิบติ โดยจะต้องมีความชัดเจนเหมาะสม
                                    ้            ั
เฉพาะเจาะจง กะทัดรัด และสื่ อความหมายได้อย่างชัดเจน เช่น
- โครงการส่ งเสริ มการเกษตรแบบผสมผสานในเขตสหกรณ์นิคม
- โครงการส่ งเสริ มเกษตรกรผสมปุ๋ ยเคมีเพื่อลดต้านทุนการผลิต
- โครงการฝึ กอบรมธุ รกิจขนาดกลางและขนาดเล็ก
- โครงการฝึ กอบรมเชิงปฏิบติการเขียนแผนและโครงการ
                              ั
- โครงการส่ งเสริ มระบบการผลิตแบบยังยืนตามแนวพระราชดาริ
                                      ่
- โครงการเลี้ยงวัวพันธุ์เนื้อ
- โครงการส่ งเสริ มการปลูกพืชสมุนไพร

อย่างไรก็ดีบางหน่วยงานนอกจากจะมีชื่อของโครงการแล้ว ผูเ้ ขียนโครงการอาจระบุชื่อของ
แผนงานไว้ดวยก็ได้ ทั้งนี้เพื่อให้เกิดความชัดเจนมากยิงขึ้น และเป็ นการชี้ให้ทราบว่าโครงการที่กาหนด
            ้                                       ่
่
ขึ้นอยูในแผนงานอะไร
2. หลักการและเหตุผล เป็ นการกล่าวถึงปั ญหาและสาเหตุและความจาเป็ นที่ตองมีการจัดทา    ้
โครงการ โดยผูเ้ ขียนโครงการจะต้องพยายามพรรณนาความ โดยหาเหตุผล หลักการ ทฤษฎี แนวทาง
นโยบายของรัฐบาล นโยบายของกระทรวง / กรม ตลอดจนความต้องการในการพัฒนาทั้งนี้เพื่อแสดง
ข้อมูลที่มีน้ าหนักน่าเชื่อถือและให้เห็นความสาคัญของสถานการณ์ที่เกิดขึ้น โดยมีการอ้างอิงแหล่งที่มา
ของข้อมูลด้วยเพื่อที่ผอนุมติโครงการจะได้ตดสิ นใจสนับสนุนโครงการต่อไป
                          ู้ ั                       ั
3. วัตถุประสงค์ เป็ นการระบุถึงเจตจานงในการดาเนินงานของโครงการ โดยแสดงให้เห็นถึง
ผลที่ตองการจะบรรลุไว้อย่างก้วางๆมีลกษณะเป็ นนามธรรม แต่ชดเจนและไม่คลุมเครื อ โดยโครงการ
          ้                                      ั                    ั
หนึ่งๆอาจมีวตถุประสงค์มากกว่า 1 ข้อก็ได้ คือ มีวตถุประสงค์หลัก และวัตถุประสงค์รองหรื อวัตถุ
                    ั                                        ั
ประสงค์ทวไป และวัตถุประสงค์เฉพาะก็ได้
                 ่ั
หลักการเขียนวัตถุประสงค์ ที่ดซึ่งในทีนีจะเรียกว่ า . หลัก SMART . คือ
                                  ี          ่ ้
1. Sensible and Specific คือ ต้องมีความเป็ นไปได้และมีความเฉพาะเจาะจงในการดาเนินการ
โครงการ
2. Measurable คือ ต้องสามารถวัดและประเมินผลระดับของความสาเร็ จได้
3. Attainable คือ ต้องระบุถึงการกระทาที่สามรถปฏิบติได้ มิใช่สิ่งเพ้อฝัน
                                                               ั
4. Reasonable and Realistic คือ ต้องระบุให้มีความเป็ นเหตุเป็ นผล และสอดคล้องกับความ
เป็ นจริ ง
5. Time ต้องมีการกาหนดขอบเขตของเวลาที่จะกระทาให้สาเร็ จได้อย่างชัดเจน
นอกจากนั้นการเขียนวัตถุประสงค์ ยงต้ องคานึงถึงสิ่ งต่ อไปนี้ คือ
                                           ั
1. ใช้คากริ ยาที่แสดงถึงความตั้งใจจริ ง เช่น เพื่อเพิม... เพื่อลด...เพื่อส่ งเสริ ม. เพื่อปรับ
                                                           ่
ปรุ ง...เพื่อขยาย.. เพื่อรณรงค์...... เพื่อเผยแพร่ ....เป็ นต้น
2. ระบุผลผลิต ( Output ) หรื อระบุผลลัพธ์ ( Outcome ) ที่ตองการให้เกิดขึ้นเพียงประการ
                                                                 ้
เดียวในวัตถุประสงค์หนึ่งข้อ ถ้าเขียนวัตถุประสงค์ไว้หลายข้อ ข้อใดทาไม่สาเร็ จเรา
สามารถประเมินผลได้ ซึ่ งอาจกาหนดเป็ นวัตถุประสงค์หลัก 1 ข้อ และวัตถุประสงค์รอง
1 . 2 ข้อ โดยมีเงื่อนไขว่า
ถ้าบรรลุวตถุประสงค์หลัก แต่ไม่บรรลุวตถุประสงค์รอง ควรทาต่อไป
             ั                                     ั
ถ้าบรรลุวตถุประสงค์รองแต่ไม่บรรลุวตถุประสงค์หลัก อาจยุติโครงการ
               ั                               ั
3. กาหนดเกณฑ์มาตรฐานของความสาเร็ จที่วดได้ในเชิงปริ มาณ และเชิงคุณภาพ
                                                       ั
4. กาหนดช่วงเวลา พื้นที่ หรื อกลุ่มเป้ าหมาย

4. เปาหมาย หมายถึงระบุถึงผลลัพธ์สุดท้ายที่คาดว่าจะได้จากการดาเนินโครงการ โดยจะระบุ
     ้
ทั้งผลที่เป็ นเชิงปริ มาณและผลเชิงคุณภาพ เป้ าหมายจึงคล้ายกับวัตถุประสงค์แต่มีลกษณะเฉพาะเจาะจง
                                                                               ั
มากกว่า มีการระบุสิ่งที่ตองการทาได้ชดเจนและระบุเวลาที่ตองการจะบรรลุ
                         ้          ั                  ้

5. วิธีการดาเนินงาน เป็ นการให้รายละเอียดในการปฏิบติ โดยปกติจะแยกเป็ นกิจกรรม
                                                       ั
ย่อยๆหลายกิจกรรม แต่เป็ นกิจกรรมเด่นๆ ซึ่ งจะแสดงให้เห็นความเด่นชัดตั้งแต่กิจกรรมเริ่ มต้นจนถึง
กิจกรรมสุ ดท้ายว่ามีกิจกรรมใดที่ตองทาบ้าง ถ้าเป็ นโครงการที่ไม่ซบซ้อนมากนักก็มกจะนิยมใช้แผน
                                 ้                                ั            ั
ภูมิแกนท์( Gantt chart) หรื อแผนภูมิแท่ง ( Bar chart )
                                      ่
6. ผู้รับผิดชอบโครงการ เป็ นการระบุวาใครหรื อหน่วยงานใดเป็ นผูรับผิดชอบและมีขอบเขต
                                                                ้
ความรับผิดชอบอย่างไรบ้าง ทั้งนี้เพื่อว่ามีปัญหาจะได้ติดต่อประสานงานได้ง่าย
7. งบประมาณ เป็ นการระบุค่าใช้จ่ายที่ตองใช้ในการดาเนิ นกิจกรรมขั้นต่างๆ โดยทัวไปจะ
                                        ้                                    ่
แจกแจงเป็ นหมวดย่อยๆ เช่น หมวดค่าวัสดุ หมวดค่าใช้สอย หมวดค่าตอบแทน หมวดค่าครุ ภณฑ์ ซึ่ง ั
การแจกแจงงบประมาณจะมีประโยชน์ในการตรวจสอบความเป็ นไปได้และตรวจสอบความเหมาะสม
ในสถานการณ์ต่างๆ นอกจากนั้นควรระบุแหล่งที่มาของงบประมาณด้วยว่าเป็ นงบประมาณแผ่นดิน งบ
ช่วยเหลือจากประเทศต่างประเทศ เงินกู้ หรื องบบริ จาค เป็ นต้น

         ่                                ั                      ่
8. สถานทีดาเนินการ เป็ นการระบุสถานที่ต้ งของโครงการหรื อระบุวากิจกรรมนั้นจะทา ณ
สถานที่แห่งใด เพื่อสะดวกต่อการจัดเตรี ยมสถานที่ให้พร้อมก่อนที่จะทากิจกรรมนั้นๆ
9. ระยะเวลาในการดาเนินการ เป็ นการระบุระยะเวลาเริ่ มต้นโครงการและระยะเวลาสิ้ นสุ ด
โครงการโดยจะต้องระบุ วัน เดือน ปี เช่นเดียวกับการแสดงแผนภูมิแกนท์ ( Gantt Chart )
10. ผลประโยชน์ ทคาดว่าจะได้ รับ เป็ นการระบุถึงผลที่คาดว่าจะได้รับจากการดาเนินโครงการ
                  ี่
ประกอบด้วยผลทางตรงและผลทางอ้อม นอกจากนั้นต้องระบุดวยว่าใครจะได้รับประโยชน์จากโครง
                                                            ้
การบ้าง ได้รับประโยชน์อย่างใด ระบุท้ งเชิงปริ มาณ และเชิงคุณภาพ
                                      ั

11. การประเมินผลโครงการ เป็ นการแสดงรายละเอียดว่าจะมีวธีการควบคุมติดตามและ
                                                        ิ
ประเมินผลโครงการอย่างไร ใช้เครื่ องมืออะไรในการประเมินผล ระยะเวลาในการประเมินผล
และใครเป็ นผูประเมินผล ฯลฯ ดัชนีช้ ีวดความสาเร็ จของโครงการคืออะไร
             ้                       ั

- วิธีประเมินผลโครงการ..................
- ระยะเวลาประเมินผลโครงการ...............
- ผูประเมินผลโครงการ...................
    ้
สรุป
การเขียนโครงการเป็ นเรื่ องที่ไม่ง่าย และไม่ยากเกินความสามารถของนักวางแผน หรื อผูที่มี
                                                                                 ้
หน้าที่รับผิดชอบในการจัดทาแผนและโครงการของหน่วยงานต่างๆ ทั้งนี้จะต้องมีความรู ้ความเข้าใจ
เกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่าง นโยบาย แผนงาน และโครงการ เพื่อที่จะได้เขียนโครงการได้สอด
คล้องกับวัตถุประสงค์ของแผนงาน และนโยบายต่อไป นอกจากนั้นการจะเป็ นผูเ้ ขียนโครงการได้ดี
ท่านก็จะต้องหมันฝึ กฝน และเขียนโครงการบ่อยๆ มีขอมูลมาก ข้อมูลถูกต้อง เพียงพอ และทัน
                ่                                    ้
                                                                                   ่
สมัยวิเคราะห์สถานการณ์อย่างถ่องแท้ ก่อนเขียนโครงการ และหลังจากนั้นก็นาข้อมูลที่ผานการ
วิเคราะห์แล้วมาเขียนตามแบบฟอร์ มการเขียนโครงการของแต่ละหน่วยงาน

อ้างอิง

ประสิ ทธ์ิ ตงยิงศิริ. (ม.ป.ป.) การจัดทาแผนและโครงการ. ม.ป.ท.
               ่
เยาวดี รางชัยกุล วิบูลย์ศรี . (2542). การประเมินผลโครงการ แนวคิดและแนวปฏิบัต.ิ กรุ งเทพฯ : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
วัฒนา วงศ์เกียรติรัตน์ และสุริยา วีรวงศ์. (2543). คู่มอการประเมินผลโครงการ. กรุ งเทพฯ : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
                                                      ื
สมพิศ สุขแสน. (2542). นโยบายสาธารณะและการวางแผน. อุตรดิตถ์ : สถาบันราชภัฏอุตรดิตถ์
สุวมล ติรกานันท์. (2543). การประเมินโครงการ : แนวทางสู่ การปฏิบัต.ิ กรุ งเทพฯ : มหาวิทยาลัยรามคาแหง.
   ิ
การดาเนินงานก่อนได้รับการอนุมติ
                             ั
การตรวจแบบฝึ กหัดทดสอบก่ อนเรียนของนักเรียนกลุ่มตัวอย่ างโรงเรียนราชวินิต มัธยม

    ชั้น ม.3/9 คณะ สีไพลิน




การลงคะแนนแบบฝึ กหัดทดสอบก่อนเรี ยนของนักเรี ยนกลุ่มตัวอย่างโรงเรี ยนราชวินิต มัธยม
ชั้น 3/9 คณะสี ไพลิน
Roks and ponsibilities ก่อนได้รับการอนุมติ
                                                            ั
       Roks                            Participats             Roks and ponsibilities
  Project Sponser              โรงเรี ยนราชวินิต มัธยม
 project manager             35 วราภรณ์          พรมโสภา   1.คิดโครงการมอบหมายงานแก่
(ผูจดการโครงการ)
   ้ั                                                      สมาชิกไปดาเนินงานแบ่งหน้าที่
                                                                  ให้สมาชิกทางาน

ฝ่ ายรวบรวมข้อมูล                24สุ ดาวดี ศรี วบูลย์
                                                 ิ            1.ประสานงานกับผูจดการ้ั
                                                           โครงการคิดวิธีเขียนDraft ค้นหา
                                                                            ข้อมูล
                                                             2.วิธีเขียนDraftและตัวอย่าง
 ฝ่ ายประสานงาน                  28 มณิ ภา ชูตระกูล         1.ประสานงานกับครู ที่ปรึ กษา
                                                                 ห้องนักเรี ยนตัวอย่าง
                                                             2.ขอความร่ วมมือในการทา
                                                                        โครงการ
                                                               คุณครู ผประสานงานคือ
                                                                         ู้
                                                             คุณครู ชนิษฎา กาแพงทอง
    ฝ่ ายจัดทา              24 สุ ดาวดี ศรี วบูลย์
                                             ิ                1.เก็บข้อมูลและภาพที่ทา
                            28 มณิ ภา ชูตระกูล              แบบทดสอบก่อนและหลังของ
                            35 วราภรณ์ พรมโสภา                   นักเรี ยนกลุ่มตัวอย่าง
                                                                  2.จัดพิมพ์หลักฐาน
การดาเนินงานหลังได้รับการอนุมติ
                             ั
อาจารย์โอฬารเซ็นอนุมติโครงร่ าง
                    ั
การหาข้อมูลตัวอย่างจารี ตและประเพณี ในอาเซียน
ภาพขณะทีกาลังจัดทาแผ่ นพับใบความรู้ ของคณะผู้จัด
        ่

ขณะเสร็จจากการจัดข้ อมูลอย่ างเรียบร้ อย




  ตัวอย่างแผ่ นพับใบความรู้
นาข้ อมูลบันทึกลงในMicrosoft Word
ภาพถ่ ายของตัวแทนคณะขณะจัดทาข้ อมูลลงในโน้ ตบุ๊ค
ปรับเปลียนรูปแบบการนาเสนอนาข้ อมูลในแผ่นพับใหม่และบันทึกลงในMicrosoft Word
        ่




นาข้ อมูลมาจัดทาเป็ นแผ่ นพับใบความรู้
ภาพถ่ ายของตัวแทนขณะให้ อาจารย์ หมวดสังคมตรวจสอบความถูกต้องและความสนใจของสื่อข้ อมูลตัวอย่ างจารีตและ
ประเพณี




ภาพหลักฐานการแนะนาและนาเสนอข้อมูลให้แก่กลุ่มนักเรี ยนตัวอย่าง
ั
ภาพขณะการแจกใบทาแบบทดสอบหลังเรี ยนและการทาแบบทดสอบหลังเรี ยนให้กบนักเรี ยน
ตัวอย่าง ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่3ห้อง9
การตรวจแบบฝึ กหัดทอสอบหลังเรี ยนของนักเรี ยนกลุ่มตัวอย่างโรงเรี ยนราชวินิต มัธยม

    ชั้น ม.3/9 คณะสี ไพลิน




ใบแสดงการเซ็นชื่อผูถูกประเมิน วันที่10 สิ งหาคม2555
                   ้
Roks and ponsibilitiesหลังได้รับการอนุมติ
                                                           ั
Roks                       Participats                  Roks and ponsibilities
Project Sponser            โรงเรี ยนราชวินิต มัธยม
project manager            35 วราภรณ์         พรมโสภา   1.แจกจ่ายงานที่ตองทาให้สมาชิก
                                                                           ้
(ผูจดการโครงการ)
   ้ั                                                   และในการจัด แฟ้ มงาน
                                                        2.ประสานงานกับคุณครู ที่ปรึ กษา
                                                        โครงการว่าได้รับการอนุ ญาติและ
                                                        จะเริ่ มจัดทาทันที

ฝ่ ายรวบรวมข้อมูล          24สุ ดาวดี ศรี วบูลย์
                                           ิ            1.รวบรวมข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับ
                                                        ข้อมูลจากแหล่งข้อมูลจาก
                                                        อินเตอร์
                                                        2.เก็บรู ปภาพห้องที่ทา
                                                        แบบทดสอบก่อนและหลังขอและ
                                                        ภาพรู ปประจาห้อง
                                                        3.ประสานงานแหล่งข้อมูลกับฝ่ าย
                                                        เอกสาร
ฝ่ ายเอกสาร                28 มณิ ภา ชูตระกูล           1.จัดพิมพ์แบบประเมินผล
                                                        โครงการ
                                                        2.ประสานงานแหล่งข้อมูลจาก
                                                        แผ่นพักใบความรู ้
                                                        3.ทาบัญชีรายรับรายจ่ายของ
                                                        โครงการ

ฝ่ ายจัดทา                  24 สุ ดาวดี ศรี วบูลย์
                                             ิ          1.เก็บข้อมูลและภาพที่ทา
                            28 มณิ ภา ชูตระกูล          แบบทดสอบก่อนและหลังของ
                            35 วราภรณ์ พรมโสภา          นักเรี ยนกลุ่มตัวอย่าง
ตารางการทางาน
ตารางการทางาน
ลาดั                                                              ปี 2555
บที่            ขั้นตอนการดาเนินงาน                                                     ผลสาเร็จทีคาดว่ าจะได้ รับ
                                                                                                    ่                  ผู้รับผิดชอบ
                                                  มิ.ย. ก.ค.        ส.ค.       ก.ย.
                                                  (วันที่) (วันที่) (วันที่)   (วันที่)
       เริ่ มเตรี ยมทาสื่ อ จารี ตและประเพณี ใน   26                                    ข้อมูลที่เตรี ยมไว้สามารถให้
       อาเซียน เพื่อเตรี ยมข้อมูลที่จะแนะนา                                             ความรู ้เพียงพอต่อการ          คณะผู้จัดทา
1      และให้ความรู ้แก่กลุ่มนักเรี ยนตัวอย่าง                                          เตรี ยมพร้อม พร้อมที่จะทาการ
       เตรี ยมความพร้อมของ Facebook                                                     ประชาสัมพันธ์
       Fanpage เพื่อรองรับการใช้งานด้านการ
       ประชาสัมพันธ์
       ระดมความคิดวางแนวทางและข้อมูลที่           27                                   ได้ขอมูลลงใน Facebook
                                                                                           ้
2      ต้องการจะใส่ลงภายใน Facebook                                                    Fanpage และมีเงินงบประมาณ       คณะผู้จัดทา
       Fanpege และระดมเงินงบประมาณ                                                     ในการใช้จ่ายในขณะที่
                                                                                       ดาเนินการปฏิบติงาน
                                                                                                     ั
       แจกจ่ายงานไปยังผูที่มีหน้าที่รับผิดชอบ
                           ้                      28                                   คณะผูจดทาสามารถทาหน้าที่
                                                                                             ้ั
       ในหน้าที่ของตนตามข้อตกลงที่ตกลงกัน                                              ได้ตามแนวที่ทางกลุ่มต้องการ     คณะผู้จัดทา
       ไว้ เพื่อให้หาข้อมูลในการทางานได้ตาม
3      แนวที่ตองการ
                ้

       ติดต่ออาจารย์ท่ีปรึ กษาห้องนักเรี ยน       29                                   ได้งานตามเป้ าหมายที่คาดไว้     น.ส. มณิภา ชู
       ตัวอย่าง และปรึ กษาอาจารย์สาระหมวด                                                                              ตระกูล
       สังคม

       ติดต่อนัดเวลากลุ่มนักเรี ยนตัวอย่างเพื่อทา 30       1-15                        เพื่อให้ทราบว่านักเรี ยนกลุ่ม   น.ส. สุ ดาวดี ศรี
       การทดสอบแบบฝึ กหัดก่อนใช้สื่อแนะนา                                              ตัวอย่างรู ้ถึงประเพณี ใน       วิบูลย์
       เสริ มความรู ้                                                                  อาเซียน
4
       บันทึกข้อมูลการปฏิบติการทางานและ
                           ั                               16                          ได้มีขอมูลในการปฏิบติงานใน คณะผู้จัดทา
                                                                                             ้            ั
       ข้อมูลจารี ตและประเพณี อาเซียนใน                                                กลุ่ม
       บางส่วนลงใน Facebook Fanpage ของ
       กลุ่ม
ลาดั                                                        ปี 2555
บที่           ขั้นตอนการดาเนินงาน               มิ.ย. ก.ค.        ส.ค. ก.ย.          ผลสาเร็จทีคาดว่ าจะได้ รับ
                                                                                                ่                        ผู้รับผิดชอบ
                                                 (วันที่) (วันที่) (วันที่ (วันที่)
                                                                   )
       ติดใบประชาสัมพันธ์ Facebook Fanpage                17-18                       กลุ่มนักเรี ยนตัวอย่างรับรู ้และ
5      และจัดทาสื่ อโดยใช้ แผ่นพับใบความรู ้ ,                                        ทราบถึงข้อมูลสื่ อจารี ตและ        คณะผู้จัดทา
       แบบฝึ กหัดเสริ มประสบการณ์พร้อมเฉลย                                            ประเพณี ในอาเซียน
       ประกอบกับคาอธิบายของผูบรรยาย   ้
       รวบรวมผลงานและข้อมูล ส่งให้อญชิสา    ั             19-26                       มีผลงานเป็ นหลักฐาน ในการ          น.ส. อัญชิสา
6      ทาการจัดทาข้อมูลและอัพ-โหลดข้อมูล                                              ดาเนินงาน                          เสริมสวัสดิ์-ศรี
       ลงใน Facebook Fanpage
       ติดต่อนัดกลุ่มนักเรี ยนตัวอย่างครั้งที่ 2          27-31                       ได้ให้ขอมูลกับกลุ่มนักเรี ยน
                                                                                              ้                         น.ส. มณิภา ชู
       เพื่อทาเพื่อทาการนาเสนอและแนะนา                                                ตัวอย่างให้มีความรู ้เพิ่มเติมมาก ตระกูล
       ความรู ้ให้แก่กลุ่มนักเรี ยนตัวอย่างและทา                                      ยิงขึ้น
                                                                                        ่
       แบบฝึ กหัดหลังเรี ยน
       ติดต่อนัดเวลากลุ่มนักเรี ยนตัวอย่าง เพื่อ                   1-10               กลุ่มนักเรี ยนตัวอย่างมีความรู ้   น.ส. สุ ดาวดี ศรี
7      ทาการประเมินงานและข้อมูลของคณะ                                                 ในเรื่ องจารี ตและประเพณี ใน       วิบูลย์
       ผูจดทา
         ้ั                                                                           อาเซียนเพิมมากขึ้น
                                                                                                  ่

       รวบรวมหลักฐานการปฏิบติงานและ
                           ั                                       11-25              ผลงานที่ได้ดาเนินการไปจน           น.ส.วราภรณ์
       ตรวจสอบผลงานทั้งหมดอย่างละเอียดถี่                                             สิ้นเสร็ จสิ้นสุดสามารถเป็ น       พรมโสภา
8      ถ้วน                                                                           หลักฐานในการปฏิบติงานได้
                                                                                                           ั
       -นาเสนอผลงานแก่อาจารย์ที่ปรึ กษาใน                          29-30              ข้อมูลทั้งหมดที่ได้จดทาได้รับ
                                                                                                          ั              น.ส.วราภรณ์
       หมวดกลุ่มสาระ สังคมศึกษารับทราบ                                                การประเมินไปตามในผล                พรมโสภา
       -รวบรวมและประเมินผลการชี้วด  ั                                                 ตัวชี้วด
                                                                                             ั
9      ส่งผลงานที่เสร็จสมบูรณ์                                     31                 ได้รับการอนุมติจากอาจารย์
                                                                                                   ั                     คณะผู้จัดทา
                                                                                      โอฬารว่างานเสร็ จสมบูรณ์แล้ว
ตารางการทางานจริ ง
ตารางการทางานจริ ง

 วัน/เดือน/ปี           ขั้นตอนการดาเนิ นงาน      ปัญหาที่พบ
 10ก.ค.2555     ติดต่อการทาแบบทดสอบครั้งที่1          -
                กับกลุ่มเป้ าหมาย
 13ก.ค.2555     จัดทาข้อมูลสื่ อ คือแผ่นพับใบ         -
                ความรู้
  15ก.ค.55      ทาการตรวจแบบทดสอบครั้งที่1            -
 16ก.ค.2555     เรี ยบเรี ยงแผ่นพับใบความรู ้         -
                จานวน 49ฉบับ
 24ก.ค.2555     คุณครู โอฬาร คาจีน อนุมติโครง
                                          ั           -
                ร่ างโครงการสื่ อข้อมูลตัวอย่าง
                จารี ตและประเพณี ในอาเซียน
25-30ก.ค.2555   ติดต่อนัดวันและเวลาการทา              -
                แบบทดสอบและนาเสนอข้อมูล
                ครั้งที่2
 8ส.ค.2555      ทาการทดสอบครั้งที่2หลังจากแจง
                แผ่นพับใบความรู ้ให้แก่               -
                กลุ่มเป้ าหมาย
 10ส.ค.2555     ตรวจคะแนนการทาแบบทดสอบ                -
                ครั้งที่2 ผลคะแนนได้ตามเกณฑ์ที่
                คาดไว้
 29 ส.ค.2555    ตรวจสอบผลงานและรวบรวม                 -
                เอกสารจัดเข้าแฟ้ มให้เรี บยร้อย
  5ก.ย.2555     ผลงานสมบูรณ์และส่ งให้กบ    ั         -
                คุณครู โอฬาร คาจีน
แบบประเมิน
การประเมินโดยการหาค่าเฉลี่ยของการทาแบบทดสอบก่อน-หลังการนาเสนอสื่ อ (ในขั้นตอนนี้ทาลงในโปรแกรม Excel2010
ทั้งหมด)

              คะแนนการทา           คะแนนการทา           ค่ า Z Score      ค่ า T Score
เลขที่ /คนที่ แบบทดสอบก่อน         แบบทดสอบหลัง         แบบทดสอบก่อน      แบบทดสอบก่อน
              นาเสนอสื่อและเรียน   นาเสนอสื่อและเรียน   นาเสนอสื่อ        นาเสนอสื่อ
1            4                     7                    -0.44916176       45.5083824
2            2                     6                    -1.23031265       37.69687353
3            3                     8                    -0.8397372        41.60262797
4            2                     7                    -1.23031265       37.69687353
5            5                     7                    -1.23031265       49.41413683
6            6                     7                    -1.23031265       53.31989127
7            3                     6                    -0.8397372        41.60262797
8            4                     8                    -0.8397372        45.5083824
                                                                                                          ก่อน
9            5                     8                    0.05858632        49.41413683
10
11
             3
             4
                                   8
                                   6
                                                        -0.8397372
                                                        -0.44916176
                                                                          41.60262797
                                                                          45.5083824
                                                                                                    นาเสนอ
12           3                     7                    -0.8397372        41.60262797
13           4                     6                    -0.44916176       45.5083824                      สื่ อ
14           6                     7                    -1.62088809       53.31989127
15           5                     6                    0.05858632        49.41413683
16           5                     6                    0.05858632        49.41413683                =42.69
17           2                     7                    -1.23031265       37.69687353
18           2                     6                    -1.23031265       37.69687353
19           4                     5                    -0.44916176       45.5083824
20           3                     7                    -0.8397372        41.60262797
21           5                     7                    -0.8397372        49.41413683
22           3                     5                    -1.62088809       41.60262797
23           1                     3                    -1.62088809       33.7911191
24           3                     6                    -0.8397372        41.60262797
คะแนนการทา           คะแนนการทา     ค่ า Z Score   ค่ า T Score
เลขที่ /คนที่ แบบทดสอบก่อน         แบบทดสอบหลัง   แบบทดสอบก่อน   แบบทดสอบก่อน
              นาเสนอสื่อและเรียน   นาเสนอสื่อ     นาเสนอสื่อ     นาเสนอสื่อ
25           3                     8              -0.8397372     41.60262797
26           4                     6              -0.44916176    45.5083824
27           1                     7              -1.62088809    33.7911191
28           3                     6              -0.8397372     41.60262797
29           4                     7              -0.44916176    45.5083824
30           6                     8              0.331989127    53.31989127
31           3                     6              -0.8397372     41.60262797
32           3                     5              -0.8397372     41.60262797
33           5                     7              0.05858632     49.41413683
34           5                     5              -1.23031265    49.41413683
35
36
             5
             4
                                   7
                                   5
                                                  0.05858632
                                                  -0.44916176
                                                                 49.41413683
                                                                 45.5083824
                                                                                 ก่อน
                                                                                นาเสนอ
37           5                     5              0.05858632     49.41413683
38           3                     6              -0.8397372     41.60262797
39           3                     8              0.05858632     41.60262797
40
41
             4
             5
                                   9
                                   8
                                                  -0.44916176
                                                  0.05858632
                                                                 45.5083824
                                                                 49.41413683
                                                                                 สื่ อ
42           2                     6              -1.23031265    37.69687353
43           3                     6              -0.8397372     41.60262797    =42.69
44           5                     8              0.05858632     49.41413683
45           4                     7              -0.8397372     45.5083824
46           3                     6              -0.8397372     41.60262797
47           6                     8              0.05858632     53.31989127
48           2                     3              -1.23031265    37.69687353
49           5                     9              0.05858632     49.41413683
             ผลรวม = 529
             ค่าเฉลี่ย = 5.40
แบบทดสอบหลังเรี ยน

                คะแนนการทา           ค่ า Z Score   ค่ า T Score
เลขที่ /คนที่   แบบทดสอบหลัง
                นาเสนอสื่อและเรียน
1               7                    0.72256457     57.2256457
2               6                    0.331989127    53.31989127
3               8                    1.113140014    61.13140014
4               7                    0.72256457     57.2256457
5               7                    0.72256457     57.2256457
6               7                    0.72256457     57.2256457
7               9                    1.503715457    65.03715457
8               8                    1.113140014    61.13140014

9               8                    1.113140014    61.13140014
10              8                    1.113140014    61.13140014
11
12
                6
                7
                                     0.331989127
                                     0.72256457
                                                    53.31989127
                                                    57.2256457
                                                                   หลังการนาเสนอ
13              6                    0.331989127    53.31989127
14
15
                7
                6
                                     0.72256457
                                     0.331989127
                                                    57.2256457
                                                    53.31989127
                                                                       ใช้สื่อ
16              6                    0.331989127    53.31989127
17
18
                7
                6
                                     0.72256457
                                     0.331989127
                                                    57.2256457
                                                    53.31989127
                                                                      =60.26
19              5                    -0.05858632    49.41413683
20              7                    0.72256457     57.2256457
21              7                    0.72256457     57.2256457
22              5                    0.05858632     49.41413683
23              3                    -0.8397372     41.60262797
24              6                    0.331989127    53.31989127
คะแนนการทา           ค่ า Z Score   ค่ า T Score
เลขที่ /คนที่   แบบทดสอบหลัง
                นาเสนอสื่อและเรียน
25              8                    1.113140014    61.13140014
26              6                    0.331989127    53.31989127
27              7                    0.72256457     57.2256457
28              6                    0.331989127    53.31989127
29              7                    0.72256457     57.2256457
30              8                    1.113140014    61.13140014
31              6                    0.331989127    53.31989127
32              5                    -0.05858632    49.41413683
33              8                    1.113140014    61.13140014
34              5                    -0.05858632    49.41413683
35              7                    0.72256457     57.2256457
36              6                    -0.05858632    53.31989127
37
38
                5
                6
                                     -0.05858632
                                     0.331989127
                                                    49.41413683
                                                    53.31989127
                                                                   หลังการใช้สื่อ
39              8                    1.113140014    61.13140014
40
41
                9
                8
                                     1.503715457
                                     1.113140014
                                                    65.03715457
                                                    61.13140014
                                                                      เรี ยน
42              6                    0.331989127    53.31989127
43              6                    0.331989127    53.31989127     = 60.26
44              8                    1.113140014    61.13140014
45              7                    0.72256457     57.2256457
46              6                    0.331989127    53.31989127
47              8                    1.113140014    61.13140014
48              3                    -0.8397372     41.60262797
49              9                    1.503715457    65.03715457
ผลการประเมินโดยใช้เรื่ องสถิติมาประยุกต์

คะแนนทีเฉลี่ยก่อนเรี ยน เท่ากับ 42.69

คะแนนทีเฉลี่ยหลังเรี ยนเท่ากับ 60.26

ค่าคะแนนทีเฉลี่ยที่เพิมขึ้นเท่ากับ 60.26 – 42.69 = 17.57
                      ่

คะแนนทีก่อนเรี ยนเท่ากับ 42.69

คะแนนทีเพิ่มขึ้นเท่ากับ 17.57

คะแนนทีเพิ่มขึ้นร้อยละ = (17.57*100)/ 42.69

   = 41.16


   40
   35
   30
   25
                                                           คะแนน1-4
   20
                                                           คะแนน5-7
   15                                                      คะแนน8-10
   10
    5
    0
         ก่ อนเรี ยน                    หลังเรี ยน
สรุ ปผลโครงการและ
 การนาไปต่อยอด
สรุปผลโครงการและการนาไปต่ อยอด

             โครงการนี้ จดทาขึ้นเพื่อส่ งเสริ มและแนะนาถึงความสาคัญของจารี ตและประเพณี ของแต่ละ
                         ั
10 ประเทศในอาเซี ยน โดยนาข้อมูลตัวอย่างจารี ตและประเพณี อย่างละ1จารี ต1ประเพณี ในประชาคม
อาเซียนมาใช้ในการแนะนาและส่ งเสริ มกับกลุ่มนักเรี ยนตัวอย่าง ม.3/9 โรงเรี ยน ราชวินิต มัธยม จานวน 49
คนตัวอย่าง มีการทาแบบสอบถามเพื่อทดสอบความรู ้ความเข้าใจของกลุ่มตัวอย่างและยังมีแบบทดสอบ
ก่อนใช้สื่อ และหลังการใช้สื่อเพื่อทดสอบความรู ้ความเข้าใจที่เพิ่มขึ้น โดยใช้แผ่นพับใบความรู ้แบบที่
น่าสนใจสามารถพกพาได้มาเป็ นสื่ อกลางที่ช่วยเสริ มความรู ้แก่กลุ่มนักเรี ยนตัวอย่าง ผลจากคะแนนการทา
แบบทดสอบ ปรากฏว่า กลุ่มนักเรี ยนตัวอย่างมีความรู ้และความเข้าใจเพิ่มมากขึ้น และสามารถทาคะแนนใน
                                                                                        ่
การทาแบบทดสอบครั้งหลังได้ดีกว่าครั้งแรก ซึ่ งตรงตามตัวชี้วดด้านการประเมินผล จึงสรุ ปได้วาการทา
                                                          ั
โครงการสาเร็ จลุล่วงไปด้วยดีและได้รับความร่ วมมือจากกลุ่มนักเรี ยนตัวอย่างเป็ นอย่างดี

หากมีผมาศึกษาโครงการนี้สามารถนาไปต่อยอดได้ โดยการนาโครงการไปเป็ นแหล่งการจัดทาสื่ อจารี ตและ
      ู้
                                                                                       ั
ประเพณี ในอาเซี ยน และการค้นคว้าข้อมูลเพิ่มเติมในการทาโครงการ การจัดการเรี ยนการสอนให้กบ
นักเรี ยนกลุ่มอื่นๆที่มีความสนใจได้
เทคโนโลยีที่ใช้ในการดาเนินงาน
หาข้อมูลในการทาแผ่นพับใบความรู ้                      ใช้ในการประชาสัมพันธ์และจัด

                                                  นาเสนอข้อมูลเพิมเติมในบางส่ วน
                                                                 ่




ใช้ในการสนทนาภายในกลุ่ม                 ใช้เรี ยบเรี ยงและบันทึกข้อมูลของโครงการทั้งหมด




                                                     flpalbm.opf
ใช้ส่งเอกสารข้อมูลของกลุ่ม             ใช้จดเรี ยงข้อมูลและหลักฐานเพื่อนาเสนอเป็ น
                                           ั

                                                      เทคโนโลยีสารสนเทศ


                             ใช้คานวณหาคะแนนเป็ นค่าเฉลี่ย
ผลการดาเนินงาน
สรุปผลการดาเนินงาน
จากการดาเนินงานของคณะผูจดทาโครงการสื่ อข้อมูลตัวอย่างจารี ตและประเพณี ในอาเซียนสรุ ป
                       ้ั
การดาเนินงานได้ดงนี้
                ั

ตัวชี้วดด้ านประสิ ทธิภาพ
       ั

 สามารถดาเนินงานตามแบบได้ในเวลาที่กาหนด                                        สาเร็จ

        ( 26 มิถุนายน ถึง 31 สิ งหาคม พ.ศ. 2555 )

 ได้รับความร่ วมมือจากกลุ่มนักเรี ยนตัวอย่าง ห้อง 3/9 ได้ดี                     สาเร็จ

ตัวชี้วดด้ านประสิ ทธิผล
       ั

   นักเรี ยนมีความรู ้เพิ่มเติมในเรื่ องจารี ตและประเพณี ในอาเซียนมากยิงขึ้น
                                                                       ่        สาเร็จ

60%โดยได้จากใช้ผลของการแบบทดสอบหลังเรี ยนเป็ นเกณฑ์ในการประเมินผล

   กลุ่มนักเรี ยนตัวอย่างทาแบบทดสอบก่อนเรี ยนได้คะแนนน้อยกว่า 60%              ไม่สาเร็จ

สรุ ป

        ความพึงพอใจของคณะผูจดทา ค่อนข้างพอใจ เพราะ กลุ่มนักเรี ยนตัวอย่างมีความรู ้และ
                           ้ั
ความเข้าใจมากยิงขึ้นเมื่อได้ศึกษาความรู ้จากแผ่นพับใบความรู ้และการทาแบบทดสอบทั้ง2ครั้ง
               ่
ที่ทางคณะผูจดทาได้ทาขึ้น
           ้ั
งบประมาณ
งบประมาณ
วันพุธที่ 4 กรกฎาคม พ.ศ. 2555
     -ค่าอินเทอร์เน็ต คนละ                               30 บาท
     -ค่าปริ้ นขาวดา จานวน 16 แผ่นๆละ 3บาท               48 บาท
     -ค่าถ่ายเอกสารขาวดา จานวน 49 แผ่นๆละ38 ส.ต. 16บาท
วันศุกร์ที่ 24 สิ งหาคม พ.ศ. 2555
     ค่ากระดาษที่ใช้ปฏิบติงานและค่าใช้จ่ายเพิ่มเติม
                        ั
     -ค่ากระดาษA4 จานวน1 รี ม                         95 บาท
     -ค่าแฟ้ มเอกสารสาหรับเก็บร่ วมรวมหลักฐาน         45 บาท
     -ค่าปริ้ นขาวดา จานวน 10 แผ่น                    30บาท
     -ค่าปริ้ นสี     จานวน 2 แผ่น                    10 บาท
วันจันทร์ที่ 27 สิ งหาคม พ.ศ.2555
     -ค่าปริ้ นขาวดา จานวน 2แผ่น                       6 บาท
วันพุธที่ 29 สิ งหาคม พ.ศ. 2555
      -ค่าCDจานวน 3 แผ่น และกล่องใส่ CD               16 บาท
รวมค่าใช้จ่ายทั้งสิ้ น 460 บาท *ค่าCDแผ่นละ 10 บาท*
คุณครู ที่ปรึ กษาโครงการ
คุณครู นางสาวชนิษฎา กาแพงทอง
ประวัติผจดทา
        ู้ ั
โครงการ สื่อข้ อมูลตัวอย่างจารี ตและประเพณีในอาเซียน




ชื่อ น.ส.สุ ดาวดี ศรี วบูลย์ ชื่อเล่น ดีดี
                       ิ

 วันเกิด 8 กันยายน 2538 อายุ 16 ปี

เชื้อชาติ ไทย              สั ญชาติ ไทย       ศาสนา พุทธ

ทีอยู่ 349/71-72 ถ.พุธมณฑลสาย2 แขวง บางไผ่ เขต บางแค กรุ งเทพมหานคร 10160
  ่

โทร 081-1438332

การศึกษา ประถมศึกษา พระตาหนักสวนกุหลาบ

            มัธยมศึกษาตอนต้น ราชวินิต มัธยม

            มัธยมศึดษาตอนปลาย ราชวินิต มัธยม

งานอดิเรก ออกกาลังกาย และอ่านหนังสื อ
หลักฐานการดาเนินงาน

                           ชื่อ นางสาว สุ ดาวดี ศรี วบูลย์
                                                     ิ         ชั้น ม.5/5 เลขที่ 24

                    โครงการ สื่ อข้อมูลตัวอย่างจารี ตและประเพณี ในอาเซี ยน ปี การศึกษา2555

วัน/เดือน/ปี                    งานที่ได้รับมอบหมาย                      ผูมอบหมาย
                                                                           ้           ผูรับผิดชอบ
                                                                                         ้               หมายเหตุ
                                                                             งาน

26มิ.ย.2555 เตรี ยมนาข้อมูลที่จะแนะนาและให้ความรู ้แก่กลุ่มนักเรี ยน          -              สุ ดาวดี       -
               ตัวอย่าง เตรี ยมความพร้อมของ Facebook Fanpage เพื่อ
               รองรับการใช้งานด้านการประชาสัมพันธ์

30มิ.ย.2555 -ติดต่อนัดเวลากลุ่มนักเรี ยนตัวอย่างเพื่อทาการทดสอบ               -              สุ ดาวดี   สมาชิกพอใจ
                                                                                                         โครงการ
               -ทาแบบฝึ กหัดก่อนใช้สื่อแนะนาเสริ มความรู ้

16ก.ค2555      บันทึกข้อมูลการปฏิบติการทางานและข้อมูลจารี ตและ
                                  ั                                           -              สุ ดาวดี       -
               ประเพณี อาเซี ยนในบางส่ วนลงใน Facebook Fanpage
               ของกลุ่ม

24ส.ค.2555 -รวบรวมผลงานและข้อมูล                                              -              สุ ดาวดี       -



27ส.ค.2555 -ทาการจัดทาข้อมูลและอัพ-โหลดข้อมูลลงใน Facebook                    -              สุ ดาวดี   สมาชิกพอใจ
               Fanpage                                                                                   โครงการ


8ส.ค.2555      ติดต่อนัดเวลากลุ่มนักเรี ยนตัวอย่าง เพื่อทาการประเมิน          -              สุ ดาวดี       -
               งานและข้อมูลของคณะผูจดทา
                                   ้ั
ชื่อ นางสาวมณิ ภา       ชูตระกูล     ชื่อเล่น แพร
วันเกิด 19 ตุลาคม2538                อายุ 16 ปี
เชื้อชาติ ไทย                      สั ญชาติ ไทย        ศาสนา พุทธ
ทีอยู่ 45/7 หมู่7 ตาบล บางกรวย อาเอ บางกรวย จังหวัด นนทบุรี 11130
  ่
โทร 083-2257832
การศึกษา ประถมศึกษา                ศึกษาบัณฑิต
          มัธยมศึกษาตอนต้น ราชวินิต มัธยม
          มัธยมศึกษาตอนปลาย ราชวินิต มัธยม
งานอดิเรก อ่านหนังสื อ
โครงงานสื่อข้อมูลตัวอย่างจารีตและประเพณีในอาเซียน.Docx 1
โครงงานสื่อข้อมูลตัวอย่างจารีตและประเพณีในอาเซียน.Docx 1
โครงงานสื่อข้อมูลตัวอย่างจารีตและประเพณีในอาเซียน.Docx 1
โครงงานสื่อข้อมูลตัวอย่างจารีตและประเพณีในอาเซียน.Docx 1
โครงงานสื่อข้อมูลตัวอย่างจารีตและประเพณีในอาเซียน.Docx 1
โครงงานสื่อข้อมูลตัวอย่างจารีตและประเพณีในอาเซียน.Docx 1
โครงงานสื่อข้อมูลตัวอย่างจารีตและประเพณีในอาเซียน.Docx 1

More Related Content

What's hot

รายงานอบรม Ict innovation at korea
รายงานอบรม Ict innovation at  koreaรายงานอบรม Ict innovation at  korea
รายงานอบรม Ict innovation at koreaKobwit Piriyawat
 
บทที่ 9
บทที่ 9บทที่ 9
บทที่ 9
kanwan0429
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
kanwan0429
 
โครงการอบรมการผลิตสื่อออนไลน์
โครงการอบรมการผลิตสื่อออนไลน์โครงการอบรมการผลิตสื่อออนไลน์
โครงการอบรมการผลิตสื่อออนไลน์tassanee chaicharoen
 
โครงการจัดทำบัญชีครัวเรือน
โครงการจัดทำบัญชีครัวเรือนโครงการจัดทำบัญชีครัวเรือน
โครงการจัดทำบัญชีครัวเรือนChonlada078
 
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา
Chowwalit Chookhampaeng
 
บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8
kanwan0429
 
บทที่ 11
บทที่ 11บทที่ 11
บทที่ 11
kanwan0429
 
งานคอม
งานคอมงานคอม
งานคอม
bernfaibaifern
 
กลวิธีการสอน
กลวิธีการสอนกลวิธีการสอน
บทที่ 10
บทที่ 10บทที่ 10
บทที่ 10
kanwan0429
 
นวัตกรรม Chapter 3
นวัตกรรม Chapter 3นวัตกรรม Chapter 3
นวัตกรรม Chapter 3
Pattarapong Worasakmahasan
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
Piyapong Chaichana
 
คู่มือการเขียนแผนการเรียนรู้ ศูนย์ส่งเสริม
คู่มือการเขียนแผนการเรียนรู้ ศูนย์ส่งเสริมคู่มือการเขียนแผนการเรียนรู้ ศูนย์ส่งเสริม
คู่มือการเขียนแผนการเรียนรู้ ศูนย์ส่งเสริม
ชมรมอิเล็กทรอนิกส์ วิทยาลัยการอาชีพเบตง
 
ข้อมูลพื้นฐานในการพัฒนาหลักสูตร
ข้อมูลพื้นฐานในการพัฒนาหลักสูตรข้อมูลพื้นฐานในการพัฒนาหลักสูตร
ข้อมูลพื้นฐานในการพัฒนาหลักสูตรFh Fatihah
 
บทที่4
บทที่4บทที่4
บทที่4
wanichaya kingchaikerd
 
บทที่5
บทที่5บทที่5
บทที่5
nattawad147
 
Tutor ferry guide book
Tutor ferry guide bookTutor ferry guide book
Tutor ferry guide book
Chokchai Taveecharoenpun
 
งานนำเสนอโครงการ
งานนำเสนอโครงการงานนำเสนอโครงการ
งานนำเสนอโครงการ
keeree samerpark
 

What's hot (20)

รายงานอบรม Ict innovation at korea
รายงานอบรม Ict innovation at  koreaรายงานอบรม Ict innovation at  korea
รายงานอบรม Ict innovation at korea
 
บทที่ 9
บทที่ 9บทที่ 9
บทที่ 9
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
โครงการอบรมการผลิตสื่อออนไลน์
โครงการอบรมการผลิตสื่อออนไลน์โครงการอบรมการผลิตสื่อออนไลน์
โครงการอบรมการผลิตสื่อออนไลน์
 
โครงการจัดทำบัญชีครัวเรือน
โครงการจัดทำบัญชีครัวเรือนโครงการจัดทำบัญชีครัวเรือน
โครงการจัดทำบัญชีครัวเรือน
 
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา
 
บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8
 
บทที่ 11
บทที่ 11บทที่ 11
บทที่ 11
 
งานคอม
งานคอมงานคอม
งานคอม
 
กลวิธีการสอน
กลวิธีการสอนกลวิธีการสอน
กลวิธีการสอน
 
บทที่ 10
บทที่ 10บทที่ 10
บทที่ 10
 
01 ตอนที่ 1 word
01 ตอนที่ 1 word01 ตอนที่ 1 word
01 ตอนที่ 1 word
 
นวัตกรรม Chapter 3
นวัตกรรม Chapter 3นวัตกรรม Chapter 3
นวัตกรรม Chapter 3
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
คู่มือการเขียนแผนการเรียนรู้ ศูนย์ส่งเสริม
คู่มือการเขียนแผนการเรียนรู้ ศูนย์ส่งเสริมคู่มือการเขียนแผนการเรียนรู้ ศูนย์ส่งเสริม
คู่มือการเขียนแผนการเรียนรู้ ศูนย์ส่งเสริม
 
ข้อมูลพื้นฐานในการพัฒนาหลักสูตร
ข้อมูลพื้นฐานในการพัฒนาหลักสูตรข้อมูลพื้นฐานในการพัฒนาหลักสูตร
ข้อมูลพื้นฐานในการพัฒนาหลักสูตร
 
บทที่4
บทที่4บทที่4
บทที่4
 
บทที่5
บทที่5บทที่5
บทที่5
 
Tutor ferry guide book
Tutor ferry guide bookTutor ferry guide book
Tutor ferry guide book
 
งานนำเสนอโครงการ
งานนำเสนอโครงการงานนำเสนอโครงการ
งานนำเสนอโครงการ
 

Similar to โครงงานสื่อข้อมูลตัวอย่างจารีตและประเพณีในอาเซียน.Docx 1

โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอมSuchabun Preawnapa
 
R บทที่ 1
R บทที่  1R บทที่  1
R บทที่ 1khuwawa
 
บทที่ 11
บทที่ 11บทที่ 11
บทที่ 11
wanneemayss
 
11 170819173826
11 17081917382611 170819173826
11 170819173826
wanitchaya001
 
บทที่ 11
บทที่ 11บทที่ 11
บทที่ 11
Theerayut Ponman
 
บทที่ 11
บทที่ 11บทที่ 11
บทที่ 11
nattawad147
 
11 170819173826
11 17081917382611 170819173826
11 170819173826
teerayut123
 
11 170819173826
11 17081917382611 170819173826
11 170819173826
fernfielook
 
11 170819173826
11 17081917382611 170819173826
11 170819173826
poppai041507094142
 
11 170819173826
11 17081917382611 170819173826
11 170819173826
nattapong147
 
บทที่ 11
บทที่ 11บทที่ 11
บทที่ 11
Piyapong Chaichana
 
บทที่ 11
บทที่ 11บทที่ 11
บทที่ 11
wanichaya kingchaikerd
 
11 170819173826
11 17081917382611 170819173826
11 170819173826
gam030
 
บทที่ 11
บทที่ 11บทที่ 11
บทที่ 11
benty2443
 
Learning by project
Learning by projectLearning by project
Slideshare
SlideshareSlideshare
Slidesharepaewwaew
 
Slideshare
SlideshareSlideshare
Slidesharepaewwaew
 
project
projectproject
project
paewwaew
 

Similar to โครงงานสื่อข้อมูลตัวอย่างจารีตและประเพณีในอาเซียน.Docx 1 (20)

โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
R บทที่ 1
R บทที่  1R บทที่  1
R บทที่ 1
 
อาเซียนศึกษาสำเร็จ
อาเซียนศึกษาสำเร็จอาเซียนศึกษาสำเร็จ
อาเซียนศึกษาสำเร็จ
 
อาเซียนศึกษาสำเร็จ
อาเซียนศึกษาสำเร็จอาเซียนศึกษาสำเร็จ
อาเซียนศึกษาสำเร็จ
 
บทที่ 11
บทที่ 11บทที่ 11
บทที่ 11
 
11 170819173826
11 17081917382611 170819173826
11 170819173826
 
บทที่ 11
บทที่ 11บทที่ 11
บทที่ 11
 
บทที่ 11
บทที่ 11บทที่ 11
บทที่ 11
 
11 170819173826
11 17081917382611 170819173826
11 170819173826
 
11 170819173826
11 17081917382611 170819173826
11 170819173826
 
11 170819173826
11 17081917382611 170819173826
11 170819173826
 
11 170819173826
11 17081917382611 170819173826
11 170819173826
 
บทที่ 11
บทที่ 11บทที่ 11
บทที่ 11
 
บทที่ 11
บทที่ 11บทที่ 11
บทที่ 11
 
11 170819173826
11 17081917382611 170819173826
11 170819173826
 
บทที่ 11
บทที่ 11บทที่ 11
บทที่ 11
 
Learning by project
Learning by projectLearning by project
Learning by project
 
Slideshare
SlideshareSlideshare
Slideshare
 
Slideshare
SlideshareSlideshare
Slideshare
 
project
projectproject
project
 

โครงงานสื่อข้อมูลตัวอย่างจารีตและประเพณีในอาเซียน.Docx 1

  • 1. รายงานโครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง สื่อข้ อมูลตัวอย่ างจารีตและประเพณีในอาเซียน ชื่อผู้รับผิดชอบโครงงาน นางสาวสุดาวดี ศรี วิบูลย์ เลขที่ 24 นางสาวมณิ ภา ชูตระกูล เลขที่ 28 นางสาววราภรณ์ พรมโสภา เลขที่ 35 เสนอ คุณครู โอฬาร คาจีน กลุ่มสาระการเรี ยนรู้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี 3 ภาคเรี ยนที่ 1 ปี การศึกษา 2555 คุณครูที่ปรึกษาโครงงาน นางสาวชนิษฎา กาแพงทอง อาจารย์วิชาภาษาอังกฤษฝ่ ายวิชาการเรี ยนรู้ภาษาต่างประเทศ
  • 2. คานา โครงการนีอยู่ในกลุ่มสาระการเรี ยนรู้ การงานอาชี พและเทคโนโลยี 3 จัดทาขึนโดยมีวตถุประสงค์ ้ ้ ั เพือส่ งเสริมและแนะนาถึงความสาคัญของจารีตและประเพณี ของแต่ ละ 10 ประเทศในอาเซียน โดยนา ่ ข้ อมูลตัวอย่ างจารีตและประเพณีอย่ างละ1จารีต1ประเพณีในประชาคมอาเซียนมาใช้ ในการแนะนาและ ส่ งเสริม กับกลุ่มนักเรี ยนตัวอย่ าง ม.3/9 โรงเรียน ราชวินิต มัธยม จานวน 49 คนตัวอย่าง โดยศึกษาและ ค้ นคว้ าข้ อมูลจากอินเทอร์ เน็ตและหอสมุดแห่ งชาติ ทีต้ ังอยู่เขตดุสิต ถนนสามเสน และได้ มีการทา ่ แบบสอบถามเพือทดสอบความรู้ ความเข้ าใจของกลุ่มตัวอย่ างและยังมีแบบทดสอบก่ อนใช้ สื่อ และหลังการ ่ ใช้ สื่อเพือทดสอบความรู้ ความเข้ าใจทีเ่ พิมขึนในกลุ่มตัวอย่ าง ใช้ แผ่ นพับใบความรู้ แบบทีน่าสนใจสามารถ ่ ่ ้ ่ พกพาได้ ของทางกลุ่มสื่ อตัวอย่ างจารีตและประเพณีในอาเซียน มาเป็ นสื่ อกลางทีช่วยเสริมความรู้ แก่ กลุ่ม ่ นักเรียนตัวอย่าง โดยมีตัวชี้วดจากแบบทดสอบทีได้ จากผู้ถูกประเมิน หากโครงการสามารถสาเร็จลุล่วงไป ั ่ ได้ ด้วยดีกจะสามารถ ็ จัดทาโดย ผู้รับผิดชอบโครงการ เรื่อง สื่ อข้ อมูลตัวอย่ างจารีตและประเพณีในอาเซียน
  • 4. สื่อข้ อมูลตัวอย่ างจารีตและประเพณีในอาเซียน Another : คณะนักเรี ยนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่5 ห้อง 5กลุ่ม5 Project Name : สื่ อข้อมูลตัวอย่างจารี ตและประเพณี ในอาเซี ยน Business sponsor : โรงเรี ยนราชวินิต มัธยม Coordinator : คุณครู ชนิษฎา กาแพงทอง Project Time : 26 มิถุนายน ถึง 31 สิ งหาคม พ.ศ. 2555 Project Overview : ปั จจุบน ประชาคมอาเซี ยนได้เข้ามามีบทบาทกับประเทศไทยและประเทศอื่นๆที่ร่วมเป็ น ั ประชาคมอาเซี ยนเป็ นอย่างมากจึงเป็ นกังวลมากว่าจารี ตและประเพณี ของแต่ละประเทศในอาเซี ยนนั้นจะมี ผูคนรู้จกความสาคัญของจารี ตและประเพณี ลดน้อยลง โดยเฉพาะการเปลี่ยนแปลงในปี 58 นี้อาจจะส่ งผลต่อ ้ ั จารี ตและประเพณี ที่ดีงามของประเทศในประชาคมอาเซียนอาจเลือนรางจางหายไปทางผูรับผิดชอบ ้ โครงการนี้จึงอยากที่จะส่ งเสริ มและแนะนาข้อมูลจารี ตและประเพณี ในประชาคม-อาเซี ยนให้มีความสาคัญ ต่อความรู ้รอบตัวทางวิชาการและวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรมให้มากขึ้น รวมถึงเพื่อใช้เป็ นข้อมูล ในการเรี ยนการสอนในอนาคต จากการสารวจพบว่านักเรี ยนโรงเรี ยนราชวินิตชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 3 ห้อง 9 ส่ วนใหญ่มกจะไม่ค่อย ั ให้ความสาคัญและความสนใจกับจารี ตและประเพณี ของไทยและประเทศในประชาคมอาเซี ยนกันสักเท่าไร ในการเรี ยนการสอนนักเรี ยนในบางส่ วนก็ไม่ค่อยจะสนใจกับเนื้อหาของวิชาสังคมศึกษาที่เรี ยนกัน ทาให้ นักเรี ยนบางจานวนมีความรู้รอบตัวลดน้อยลง เพื่อสร้างความน่าสนใจในการเรี ยนและเพื่อเป็ นความรู ้รอบตัวในวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและ วัฒนธรรมให้มีความสนใจในการเรี ยนมากยิงขึ้น จึงจาเป็ นต้องมีสื่อกลางเป็ นตัวช่วยในการเรี ยนรู้ขอมูล ่ ้ จารี ตและประเพณี เพิ่มเติม
  • 5. โครงการนี้จึงจัดทาตัวช่วยเสริ มความรู ้เพิ่มเติมแก่กลุ่มนักเรี ยนตัวอย่างหรื อผูที่สนใจในเนื้ อหาของ ้ จารี ตและประเพณี ในอาเซี ยน ทั้งนี้เพื่อให้กลุ่มนักเรี ยนตัวอย่างโรงเรี ยนราชวินิต มัธยมได้มีคุณภาพในเรื่ อง ของความรู ้รอบตัวเพิ่มมากขึ้น จึงจัดทาแผ่นพับใบความรู ้ลงใน เรื่ องตัวอย่างจารี ตและประเพณี ในอาเซี ยน ขึ้นมาเป็ นตัวช่วยเสริ มความรู ้ที่ดีแก่กลุ่มนักเรี ยนตัวอย่าง ม.3/9 Project Objectives (จุดประสงค์): 1. เพื่อให้กลุ่มนักเรี ยนตัวอย่าง ม.3/9ได้มีความรู ้รอบตัวในเรื่ องของจารี ตและประเพณี ในอาเซี ยนมากยิงขึ้น ่ 2. เพื่อให้ความรู ้เกี่ยวกับเรื่ องจารี ตและประเพณี ของแต่ละประเทศในประชาคมอาเซี ยนประเทศละ1จารี ต1 ประเพณี ให้แก่กลุ่มนักเรี ยนตัวอย่าง ม.3/9 3.เพื่อนาเสนอข้อมูลโดยใช้แผ่นพับใบความรู้และFacebook Fan pageเป็ นสื่ อกลางในการให้ความรู ้เพิ่มเติม แก่กลุ่มนักเรี ยนตัวอย่าง ม.3/9 The process of implementation : 1.จัดการประชุมภายในกลุ่มเพื่อกาหนดขอบเขตของงาน รวมถึงมีหน้าที่ความรับผิดชอบ ของสมาชิก ผูรับผิดชอบโครงการร่ วมพิจารณา ้ 2.เข้าพบอาจารย์ที่ปรึ กษาโครงการและขออนุ ญาตพัฒนากลุ่มเป้ าหมาย 3.ปรับปรุ งแก้ไขสิ่ งที่จะจัดทา คือการนาข้อมูลมาเรี ยบเรี ยงให้เหมาะสม 4.ร่ างข้อมูลทั้งหมด(Draft)ส่ ง คุณครู โอฬาร โอฬาร คาจีน เพื่อพิจารณา 5.ปรับปรุ งแก้ไข ข้อมูลให้ชดเจน ถูกต้องยิงขึ้น แล้วนาส่ งคุณครู โอฬาร โอฬาร คาจีน อีกครั้ง ั ่ 6.ลงมือปฏิบติหลังจากที่ได้รับการอนุมติโครงการจากคุณครู โอฬาร โอฬาร คาจีน ั ั 7.เริ่ มจัดทาแผ่นพับใบความรู ้ลงในโปรแกรม Microsoft Word และจัดทาFacebook Fan page ขึ้นเพื่อเป็ น สื่ อในการประชาสัมพันธ์โครงการฯและแนะนาข้อมูล 8.รวบรวมข้อมูล พร้อมหลักฐาน ทาแฟ้ มสรุ ปโครงการฯ ส่ งคุณครู โอฬาร โอฬาร คาจีน
  • 6. Expected Results ผลที่คาดว่าจะได้รับ : 1. กลุมเปาหมายได้ รับความรู้เกี่ยวกับข้ อมูลตัวอย่างจารี ตและประเพณีของแต่ละประเทศใน ่ ้ ประชาคมอาเซียนประเทศละ1จารี ต1ประเพณี 2. กลุมเปาหมายได้ รับความรู้เพิ่มเติมจากการใช้ แผ่นพับใบความรู้เป็ นสื่อกลางในการนาเสนอ ่ ้ ข้ อมูลและนาความรู้เพิ่มเติมที่ได้ จากสื่อกลางที่ทางคณะผู้จดทาได้ จดทาขึ ้นมาใช้ ในใบการทา ั ั แบบทดสอบ การประเมินผล ตัวชี้วด ั สาเร็จ - นักเรี ยนกลุ่มตัวอย่างชั้นมัธยมศึกษาปี ที่3ห้อง9จานวน49คนได้คะแนนประเมินหลังการศึกษามากกว่า ก่อนศึกษา - นักเรี ยนกลุ่มตัวอย่างชั้นมัธยมศึกษาปี ที่3ห้อง9จานวน49คนได้คะแนนหลังการศึกษาซึ่งได้คะแนน มากกว่าหรื อเท่ากับ 50% - นักเรี ยนกลุ่มตัวอย่างชั้นมัธยมศึกษาปี ที่3ห้อง9จานวน49คน นักเรี ยนมากกว่าหรื อเท่ากับ 60%จานวน 30คนจากนักเรี ยนทั้งหมด49คนผ่านเกณฑ์การประเมินผลจึงถือว่าผ่าน ล้มเหลว - นักเรี ยนกลุ่มตัวอย่างชั้นมัธยมศึกษาปี ที่3 ห้อง9 จานวน 49 คนได้คะแนนประเมินหลังการศึกษาน้อย กว่าก่อนศึกษา - นักเรี ยนกลุ่มตัวอย่างชั้นมัธยมศึกษาปี ที่3ห้อง9จานวน49คนได้คะแนนหลังการศึกษาซึ่งได้คะแนนน้อย กว่า 50% - นักเรี ยนกลุ่มตัวอย่างชั้นมัธยมศึกษาปี ที่3ห้อง9จานวน49คน นักเรี ยนน้อยกว่า 60%หรื อน้อยกว่า 30คน ่ ่ จากนักเรี ยนทั้งหมด49คน ไม่ผานเกณฑ์การประเมินผลจึงถือว่าไม่ผาน
  • 8. หลักการและเทคนิคการเขียนโครงการ หทัยรัตน์ ลิ่มอรุ ณวงศ์ เจ้าหน้าที่บริ หารงาน กองแผนงาน มหาวิทยาลัยทักษิณ บทนา เรามักจะได้ยนหน่วยงานหรื อผูที่เกี่ยวข้องกับการเขียนโครงการพูดอยูเ่ สมอว่า เขียนโครงการไม่เป็ น ิ ้ เขียนโครงการไม่ชดเจน เขียนโครงการไม่สอดคล้องกับแผนงานและกรอบนโยบาย มีขอมูลสาหรับการ ั ้ ตัดสิ นใจในการเขียนโครงการน้อย และที่สาคัญช่วงเวลาที่ให้เขียนโครงการนั้นสั้น จึงทาให้เขียนโครงการ ่ แบบขอไปทีหรื อนาเอาโครงการเดิม ๆ ที่เคยทาอยูมาปรับเสี ยใหม่ ปรับเปลี่ยนบางประเด็นเท่านั้น ่ โครงการจึงไม่ผานการวิเคราะห์ความเป็ นไปได้ในด้านต่าง ๆ ขาดการวิเคราะห์ตามหลัก “SWOT” และ ขาดการกลันกรองโครงการก่อนที่จะเสนอให้หน่วยงานระดับสู งได้หลอมรวมโครงการและงานต่อไป ่ ดังนั้นในปั จจุบนหลายหน่วยงานจึงให้ความสาคัญกับการจัดทาแผนและการเขียนโครงการมาก โดยมีการ ั ่ ฝึ กอบรมเชิงปฏิบติการเขียนแผนหรื อเขียนโครงการขึ้นมา ภายใต้ความเชื่อที่วา ถ้าเราเข้าใจองค์ความรู้ ั เกี่ยวกับการจัดทาแผนและการจัดทาโครงการ ตลอดจนเทคนิคและวิธีการเขียนโครงการแล้ว จะทาให้ เขียนโครงการได้ถูกต้อง ครอบคลุมชัดเจน และสามารถนาไปปฏิบติได้ง่าย ั ความหมายของโครงการ คาว่า“โครงการ”ภาษาอังกฤษใช้คาว่า “Project”ซึ่งหมายความว่า แผนงานย่อยที่ประกอบด้วยกิจกรรม หรื องานหลายงานที่ระบุรายละเอียดชัดเจน อาทิ วัตถุประสงค์ เป้ าหมาย ระยะเวลาดาเนินการวิธีการหรื อ ขั้นตอนในการดาเนิ นงาน พื้นที่ในการดาเนินงาน งบประมาณที่ใช้ในการดาเนินงานตลอดจนผลลัพธ์ที่คาด ว่าจะได้รับ แผนงานที่ปราศจากโครงย่อมเป็ นแผนงานที่ไม่สมบูรณ์ ไม่สามารถนาไปปฏิบติให้เป็ นรู ปธรรมได้ ั ดังนั้นการเขียนโครงการขึ้นมารองรับแผนงาน ย่อมเป็ นสิ่ งสาคัญและจาเป็ นยิงเพราะจะทาให้ง่ายในการ ่ ปฏิบติ และง่ายต่อการติดตามและประเมินผลเพราะถ้าโครงการบรรลุผลสาเร็ จ นั้นหมายความว่าแผนงาน ั และนโยบายนั้นบรรลุผลสาเร็ จด้วย
  • 9. โครงการจึงเปรี ยบเสมือนพาหนะที่นาแผนปฏิบติการไปสู่ การดาเนินงานให้เกิดผลเพื่อไปสู่ จุดหมาย ั ปลายทางตามที่ตองการ อีกทั้งยังเป็ นจุดเชื่อมโยงจากแผนงานไปสู่ แผนเงิน และแผนคนอีกด้วยดังนั้น ้ โครงการจึงมีความสัมพันธ์กบแผนงาน(Progam)และนโยบาย(Policy) ั ลักษณะสาคัญกับโครงการ โครงการหนึ่งๆ จะต้องประกอบด้วยคุณลักษณะสาคัญ คือ 1.ประกอบด้วยกิจกรรมย่อยๆ ที่เกี่ยวข้องระยะสอดคล้องกันภายใต้วตถุประสงค์เดียวกัน ั 2.มีการกาหนดวัตถุประสงค์ (objective) ที่ชดเจน วัดได้และปฏิบติได้ ทังนี้เพื่อเป็ นแนวทางในการ ั ั ่ ดาเนินงานและติดตามประเมินผลได้โครงการหนึ่งๆอาจเป็ นส่ วนหนึ่งของวัตถุประสงค์ก็ได้มีวตถุประสงค์ ั หลักและวัตถุประสงค์รองและต้องกาหนดวัตถุประสงค์ที่สามารถปฏิบติได้มีใช้วตถุประสงค์ที่เลื่อนลอย ั ั เพ้อฝันหรื อเกินความเป็ นจริ ง 3.มีการกาหนดจุดเริ่ มต้นและจุดสิ้ นสุ ดของกิจกรรม(Scheduled Beginning and Terminal Points ) การเขียน โครงการโดยทัวไปจะต้องมีการกาหนดระยะเวลาและจะเริ่ มต้นเพื่อโครงการสิ้ นสุ ดเมื่อไรถ้าหากมีการ ่ ดาเนินงานไปเรื่ อยๆ ไม่มีการกาหนดขอบเขตของเวลา(Time boundary ) ไว้จะไม่ถือว่าไม่เป็ นงานโครงการ เพราะมีลกษณะเป็ นงานประจา(routine) หรื องานปกติ ั 4.มีสถานที่ต้ ง(Location )ของโครงการผูเ้ ขียนโครงการจะต้องระบุให้ชดเจนว่าโครงการนี้มีพ้ืนที่ดาเนิ นการ ั ั ่ หรื อทางานอยูที่ใด เพื่อสะดวกในการดาเนิ นงานถ้าเลือกสถานที่ต้ งโครงการไม่เหมาะสมเข้าจะทาให้เสี ย ั ค่าใช้จ่ายหรื อลงทุนแลกผลประโยชน์ตอบแทนที่ได้อาจไม่คุมค่าการติดตามและการประเมินผลโครงการที่ อาจทาได้ยาก 5.มีบุคคลากรหรื อองค์กรที่เฉพาะเจาะจง(organization)งานโครงการจะต้องมีหน่วยงานที่รับผิดชอบ ส่ วน หน่วยงานอื่นถือว่าเป็ นหน่วยงานเสมือนชื่ อร่ วมมือดาเนิ นงานเท่านั้น และควรระบุบุคคลากรผูรับผิดชอบ ้ โครงการนั้นให้ชดเจน เพื่อเป็ นหลักประกันว่าบุคคลากรนั้นจะปฏิบติอย่างจริ งจังและจริ งใจ ั ั 6.มีการใช้ทรัพยากรให้เกิดประโยชน์(resource)การเขียนโครงการจะต้องระบุแหล่งทรัพยากรโดยตรวจ งบประมาณให้ชดเจน เช่น งบประมาณแผ่นดิน หรื อเงินกู้ หรื อเงินทุนสารอง หรื อเงินบริ จาค เป็ นต้น และ ั ่ จะต้องระบุเงินที่ใช้วาเป็ นหมวดวัสดุ หมวดค่าใช้สอด หมวดค่าตอบแทน หมวดค่าที่ดินและสิ่ งปลูกสร้าง เป็ นต้นทังนี้จะทาให้การดาเนินการและควบคุมตรวจสอบการใช้งบประมาณให้เกิดประโยชน์สูงสุ ดได้ ่
  • 10. โครงการที่ดควรมีลกษณะอย่ างไร ี ั โครงการทีดีควรมีลกษณะดังนี้ ่ ั 1.สามารถแก้ไขปั ญญาของหน่วยงานหรื อองค์กร ได้อย่างมีประสิ ทธิ ภาพ 2.สามารถสนองตามความต้องการของกลุ่ม ชุมชน นโยบายของหน่วยงานและนโยบายของประเทศชาติได้ดี 3.รายละเอียดของโครงการต้องเข้าใจง่ายมีการใช้ภาษาทีเข้าใจกันทัวไป ่ 4.มีวตถุประสงค์และเป้ าหมายที่ชดเจนและลักษณะเฉพาะเจาะจง ั ั 5.รายละเอียดของโครงการต้องเกี่ยวเนื่ องสัมพันธ์กน ตั้งแต่ประเด็นแรกถึงประเด็นสุ ดท้าย ั 6.กาหนดการใช้ทรัพยากรอย่างชัดเจนและเหมาะสม 7.มีวธีการติดตามและประเมินผลที่ชดเจน ิ ั โครงสร้ างของโครงการ การเขียนโครงการจะต้องรู้และเข้าใจโครงสร้างของโครงการเสี ยก่อนว่าประกอบไปด้วยส่ วน ใดบ้าง ซึ่ งโดยทัวไปโครงสร้างของโครงการประกอบด้วย ่ 1. ชื่อโครงการ ส่ วนใหญ่มาจากงานที่ตองการปฏิบติ โดยจะต้องมีความชัดเจนเหมาะสม ้ ั เฉพาะเจาะจง กะทัดรัด และสื่ อความหมายได้อย่างชัดเจน เช่น - โครงการส่ งเสริ มการเกษตรแบบผสมผสานในเขตสหกรณ์นิคม - โครงการส่ งเสริ มเกษตรกรผสมปุ๋ ยเคมีเพื่อลดต้านทุนการผลิต - โครงการฝึ กอบรมธุ รกิจขนาดกลางและขนาดเล็ก - โครงการฝึ กอบรมเชิงปฏิบติการเขียนแผนและโครงการ ั - โครงการส่ งเสริ มระบบการผลิตแบบยังยืนตามแนวพระราชดาริ ่ - โครงการเลี้ยงวัวพันธุ์เนื้อ - โครงการส่ งเสริ มการปลูกพืชสมุนไพร อย่างไรก็ดีบางหน่วยงานนอกจากจะมีชื่อของโครงการแล้ว ผูเ้ ขียนโครงการอาจระบุชื่อของ แผนงานไว้ดวยก็ได้ ทั้งนี้เพื่อให้เกิดความชัดเจนมากยิงขึ้น และเป็ นการชี้ให้ทราบว่าโครงการที่กาหนด ้ ่
  • 11. ่ ขึ้นอยูในแผนงานอะไร 2. หลักการและเหตุผล เป็ นการกล่าวถึงปั ญหาและสาเหตุและความจาเป็ นที่ตองมีการจัดทา ้ โครงการ โดยผูเ้ ขียนโครงการจะต้องพยายามพรรณนาความ โดยหาเหตุผล หลักการ ทฤษฎี แนวทาง นโยบายของรัฐบาล นโยบายของกระทรวง / กรม ตลอดจนความต้องการในการพัฒนาทั้งนี้เพื่อแสดง ข้อมูลที่มีน้ าหนักน่าเชื่อถือและให้เห็นความสาคัญของสถานการณ์ที่เกิดขึ้น โดยมีการอ้างอิงแหล่งที่มา ของข้อมูลด้วยเพื่อที่ผอนุมติโครงการจะได้ตดสิ นใจสนับสนุนโครงการต่อไป ู้ ั ั 3. วัตถุประสงค์ เป็ นการระบุถึงเจตจานงในการดาเนินงานของโครงการ โดยแสดงให้เห็นถึง ผลที่ตองการจะบรรลุไว้อย่างก้วางๆมีลกษณะเป็ นนามธรรม แต่ชดเจนและไม่คลุมเครื อ โดยโครงการ ้ ั ั หนึ่งๆอาจมีวตถุประสงค์มากกว่า 1 ข้อก็ได้ คือ มีวตถุประสงค์หลัก และวัตถุประสงค์รองหรื อวัตถุ ั ั ประสงค์ทวไป และวัตถุประสงค์เฉพาะก็ได้ ่ั หลักการเขียนวัตถุประสงค์ ที่ดซึ่งในทีนีจะเรียกว่ า . หลัก SMART . คือ ี ่ ้ 1. Sensible and Specific คือ ต้องมีความเป็ นไปได้และมีความเฉพาะเจาะจงในการดาเนินการ โครงการ 2. Measurable คือ ต้องสามารถวัดและประเมินผลระดับของความสาเร็ จได้ 3. Attainable คือ ต้องระบุถึงการกระทาที่สามรถปฏิบติได้ มิใช่สิ่งเพ้อฝัน ั 4. Reasonable and Realistic คือ ต้องระบุให้มีความเป็ นเหตุเป็ นผล และสอดคล้องกับความ เป็ นจริ ง 5. Time ต้องมีการกาหนดขอบเขตของเวลาที่จะกระทาให้สาเร็ จได้อย่างชัดเจน นอกจากนั้นการเขียนวัตถุประสงค์ ยงต้ องคานึงถึงสิ่ งต่ อไปนี้ คือ ั 1. ใช้คากริ ยาที่แสดงถึงความตั้งใจจริ ง เช่น เพื่อเพิม... เพื่อลด...เพื่อส่ งเสริ ม. เพื่อปรับ ่ ปรุ ง...เพื่อขยาย.. เพื่อรณรงค์...... เพื่อเผยแพร่ ....เป็ นต้น 2. ระบุผลผลิต ( Output ) หรื อระบุผลลัพธ์ ( Outcome ) ที่ตองการให้เกิดขึ้นเพียงประการ ้ เดียวในวัตถุประสงค์หนึ่งข้อ ถ้าเขียนวัตถุประสงค์ไว้หลายข้อ ข้อใดทาไม่สาเร็ จเรา สามารถประเมินผลได้ ซึ่ งอาจกาหนดเป็ นวัตถุประสงค์หลัก 1 ข้อ และวัตถุประสงค์รอง 1 . 2 ข้อ โดยมีเงื่อนไขว่า ถ้าบรรลุวตถุประสงค์หลัก แต่ไม่บรรลุวตถุประสงค์รอง ควรทาต่อไป ั ั ถ้าบรรลุวตถุประสงค์รองแต่ไม่บรรลุวตถุประสงค์หลัก อาจยุติโครงการ ั ั 3. กาหนดเกณฑ์มาตรฐานของความสาเร็ จที่วดได้ในเชิงปริ มาณ และเชิงคุณภาพ ั 4. กาหนดช่วงเวลา พื้นที่ หรื อกลุ่มเป้ าหมาย 4. เปาหมาย หมายถึงระบุถึงผลลัพธ์สุดท้ายที่คาดว่าจะได้จากการดาเนินโครงการ โดยจะระบุ ้ ทั้งผลที่เป็ นเชิงปริ มาณและผลเชิงคุณภาพ เป้ าหมายจึงคล้ายกับวัตถุประสงค์แต่มีลกษณะเฉพาะเจาะจง ั
  • 12. มากกว่า มีการระบุสิ่งที่ตองการทาได้ชดเจนและระบุเวลาที่ตองการจะบรรลุ ้ ั ้ 5. วิธีการดาเนินงาน เป็ นการให้รายละเอียดในการปฏิบติ โดยปกติจะแยกเป็ นกิจกรรม ั ย่อยๆหลายกิจกรรม แต่เป็ นกิจกรรมเด่นๆ ซึ่ งจะแสดงให้เห็นความเด่นชัดตั้งแต่กิจกรรมเริ่ มต้นจนถึง กิจกรรมสุ ดท้ายว่ามีกิจกรรมใดที่ตองทาบ้าง ถ้าเป็ นโครงการที่ไม่ซบซ้อนมากนักก็มกจะนิยมใช้แผน ้ ั ั ภูมิแกนท์( Gantt chart) หรื อแผนภูมิแท่ง ( Bar chart ) ่ 6. ผู้รับผิดชอบโครงการ เป็ นการระบุวาใครหรื อหน่วยงานใดเป็ นผูรับผิดชอบและมีขอบเขต ้ ความรับผิดชอบอย่างไรบ้าง ทั้งนี้เพื่อว่ามีปัญหาจะได้ติดต่อประสานงานได้ง่าย 7. งบประมาณ เป็ นการระบุค่าใช้จ่ายที่ตองใช้ในการดาเนิ นกิจกรรมขั้นต่างๆ โดยทัวไปจะ ้ ่ แจกแจงเป็ นหมวดย่อยๆ เช่น หมวดค่าวัสดุ หมวดค่าใช้สอย หมวดค่าตอบแทน หมวดค่าครุ ภณฑ์ ซึ่ง ั การแจกแจงงบประมาณจะมีประโยชน์ในการตรวจสอบความเป็ นไปได้และตรวจสอบความเหมาะสม ในสถานการณ์ต่างๆ นอกจากนั้นควรระบุแหล่งที่มาของงบประมาณด้วยว่าเป็ นงบประมาณแผ่นดิน งบ ช่วยเหลือจากประเทศต่างประเทศ เงินกู้ หรื องบบริ จาค เป็ นต้น ่ ั ่ 8. สถานทีดาเนินการ เป็ นการระบุสถานที่ต้ งของโครงการหรื อระบุวากิจกรรมนั้นจะทา ณ สถานที่แห่งใด เพื่อสะดวกต่อการจัดเตรี ยมสถานที่ให้พร้อมก่อนที่จะทากิจกรรมนั้นๆ 9. ระยะเวลาในการดาเนินการ เป็ นการระบุระยะเวลาเริ่ มต้นโครงการและระยะเวลาสิ้ นสุ ด โครงการโดยจะต้องระบุ วัน เดือน ปี เช่นเดียวกับการแสดงแผนภูมิแกนท์ ( Gantt Chart ) 10. ผลประโยชน์ ทคาดว่าจะได้ รับ เป็ นการระบุถึงผลที่คาดว่าจะได้รับจากการดาเนินโครงการ ี่ ประกอบด้วยผลทางตรงและผลทางอ้อม นอกจากนั้นต้องระบุดวยว่าใครจะได้รับประโยชน์จากโครง ้ การบ้าง ได้รับประโยชน์อย่างใด ระบุท้ งเชิงปริ มาณ และเชิงคุณภาพ ั 11. การประเมินผลโครงการ เป็ นการแสดงรายละเอียดว่าจะมีวธีการควบคุมติดตามและ ิ ประเมินผลโครงการอย่างไร ใช้เครื่ องมืออะไรในการประเมินผล ระยะเวลาในการประเมินผล และใครเป็ นผูประเมินผล ฯลฯ ดัชนีช้ ีวดความสาเร็ จของโครงการคืออะไร ้ ั - วิธีประเมินผลโครงการ.................. - ระยะเวลาประเมินผลโครงการ............... - ผูประเมินผลโครงการ................... ้
  • 13. สรุป การเขียนโครงการเป็ นเรื่ องที่ไม่ง่าย และไม่ยากเกินความสามารถของนักวางแผน หรื อผูที่มี ้ หน้าที่รับผิดชอบในการจัดทาแผนและโครงการของหน่วยงานต่างๆ ทั้งนี้จะต้องมีความรู ้ความเข้าใจ เกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่าง นโยบาย แผนงาน และโครงการ เพื่อที่จะได้เขียนโครงการได้สอด คล้องกับวัตถุประสงค์ของแผนงาน และนโยบายต่อไป นอกจากนั้นการจะเป็ นผูเ้ ขียนโครงการได้ดี ท่านก็จะต้องหมันฝึ กฝน และเขียนโครงการบ่อยๆ มีขอมูลมาก ข้อมูลถูกต้อง เพียงพอ และทัน ่ ้ ่ สมัยวิเคราะห์สถานการณ์อย่างถ่องแท้ ก่อนเขียนโครงการ และหลังจากนั้นก็นาข้อมูลที่ผานการ วิเคราะห์แล้วมาเขียนตามแบบฟอร์ มการเขียนโครงการของแต่ละหน่วยงาน อ้างอิง ประสิ ทธ์ิ ตงยิงศิริ. (ม.ป.ป.) การจัดทาแผนและโครงการ. ม.ป.ท. ่ เยาวดี รางชัยกุล วิบูลย์ศรี . (2542). การประเมินผลโครงการ แนวคิดและแนวปฏิบัต.ิ กรุ งเทพฯ : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. วัฒนา วงศ์เกียรติรัตน์ และสุริยา วีรวงศ์. (2543). คู่มอการประเมินผลโครงการ. กรุ งเทพฯ : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. ื สมพิศ สุขแสน. (2542). นโยบายสาธารณะและการวางแผน. อุตรดิตถ์ : สถาบันราชภัฏอุตรดิตถ์ สุวมล ติรกานันท์. (2543). การประเมินโครงการ : แนวทางสู่ การปฏิบัต.ิ กรุ งเทพฯ : มหาวิทยาลัยรามคาแหง. ิ
  • 15. การตรวจแบบฝึ กหัดทดสอบก่ อนเรียนของนักเรียนกลุ่มตัวอย่ างโรงเรียนราชวินิต มัธยม ชั้น ม.3/9 คณะ สีไพลิน การลงคะแนนแบบฝึ กหัดทดสอบก่อนเรี ยนของนักเรี ยนกลุ่มตัวอย่างโรงเรี ยนราชวินิต มัธยม ชั้น 3/9 คณะสี ไพลิน
  • 16. Roks and ponsibilities ก่อนได้รับการอนุมติ ั Roks Participats Roks and ponsibilities Project Sponser โรงเรี ยนราชวินิต มัธยม project manager 35 วราภรณ์ พรมโสภา 1.คิดโครงการมอบหมายงานแก่ (ผูจดการโครงการ) ้ั สมาชิกไปดาเนินงานแบ่งหน้าที่ ให้สมาชิกทางาน ฝ่ ายรวบรวมข้อมูล 24สุ ดาวดี ศรี วบูลย์ ิ 1.ประสานงานกับผูจดการ้ั โครงการคิดวิธีเขียนDraft ค้นหา ข้อมูล 2.วิธีเขียนDraftและตัวอย่าง ฝ่ ายประสานงาน 28 มณิ ภา ชูตระกูล 1.ประสานงานกับครู ที่ปรึ กษา ห้องนักเรี ยนตัวอย่าง 2.ขอความร่ วมมือในการทา โครงการ คุณครู ผประสานงานคือ ู้ คุณครู ชนิษฎา กาแพงทอง ฝ่ ายจัดทา 24 สุ ดาวดี ศรี วบูลย์ ิ 1.เก็บข้อมูลและภาพที่ทา 28 มณิ ภา ชูตระกูล แบบทดสอบก่อนและหลังของ 35 วราภรณ์ พรมโสภา นักเรี ยนกลุ่มตัวอย่าง 2.จัดพิมพ์หลักฐาน
  • 19.
  • 21.
  • 22. ภาพขณะทีกาลังจัดทาแผ่ นพับใบความรู้ ของคณะผู้จัด ่ ขณะเสร็จจากการจัดข้ อมูลอย่ างเรียบร้ อย ตัวอย่างแผ่ นพับใบความรู้
  • 26. ภาพถ่ ายของตัวแทนขณะให้ อาจารย์ หมวดสังคมตรวจสอบความถูกต้องและความสนใจของสื่อข้ อมูลตัวอย่ างจารีตและ ประเพณี ภาพหลักฐานการแนะนาและนาเสนอข้อมูลให้แก่กลุ่มนักเรี ยนตัวอย่าง
  • 28. การตรวจแบบฝึ กหัดทอสอบหลังเรี ยนของนักเรี ยนกลุ่มตัวอย่างโรงเรี ยนราชวินิต มัธยม ชั้น ม.3/9 คณะสี ไพลิน ใบแสดงการเซ็นชื่อผูถูกประเมิน วันที่10 สิ งหาคม2555 ้
  • 29. Roks and ponsibilitiesหลังได้รับการอนุมติ ั Roks Participats Roks and ponsibilities Project Sponser โรงเรี ยนราชวินิต มัธยม project manager 35 วราภรณ์ พรมโสภา 1.แจกจ่ายงานที่ตองทาให้สมาชิก ้ (ผูจดการโครงการ) ้ั และในการจัด แฟ้ มงาน 2.ประสานงานกับคุณครู ที่ปรึ กษา โครงการว่าได้รับการอนุ ญาติและ จะเริ่ มจัดทาทันที ฝ่ ายรวบรวมข้อมูล 24สุ ดาวดี ศรี วบูลย์ ิ 1.รวบรวมข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับ ข้อมูลจากแหล่งข้อมูลจาก อินเตอร์ 2.เก็บรู ปภาพห้องที่ทา แบบทดสอบก่อนและหลังขอและ ภาพรู ปประจาห้อง 3.ประสานงานแหล่งข้อมูลกับฝ่ าย เอกสาร ฝ่ ายเอกสาร 28 มณิ ภา ชูตระกูล 1.จัดพิมพ์แบบประเมินผล โครงการ 2.ประสานงานแหล่งข้อมูลจาก แผ่นพักใบความรู ้ 3.ทาบัญชีรายรับรายจ่ายของ โครงการ ฝ่ ายจัดทา 24 สุ ดาวดี ศรี วบูลย์ ิ 1.เก็บข้อมูลและภาพที่ทา 28 มณิ ภา ชูตระกูล แบบทดสอบก่อนและหลังของ 35 วราภรณ์ พรมโสภา นักเรี ยนกลุ่มตัวอย่าง
  • 31. ตารางการทางาน ลาดั ปี 2555 บที่ ขั้นตอนการดาเนินงาน ผลสาเร็จทีคาดว่ าจะได้ รับ ่ ผู้รับผิดชอบ มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. (วันที่) (วันที่) (วันที่) (วันที่) เริ่ มเตรี ยมทาสื่ อ จารี ตและประเพณี ใน 26 ข้อมูลที่เตรี ยมไว้สามารถให้ อาเซียน เพื่อเตรี ยมข้อมูลที่จะแนะนา ความรู ้เพียงพอต่อการ คณะผู้จัดทา 1 และให้ความรู ้แก่กลุ่มนักเรี ยนตัวอย่าง เตรี ยมพร้อม พร้อมที่จะทาการ เตรี ยมความพร้อมของ Facebook ประชาสัมพันธ์ Fanpage เพื่อรองรับการใช้งานด้านการ ประชาสัมพันธ์ ระดมความคิดวางแนวทางและข้อมูลที่ 27 ได้ขอมูลลงใน Facebook ้ 2 ต้องการจะใส่ลงภายใน Facebook Fanpage และมีเงินงบประมาณ คณะผู้จัดทา Fanpege และระดมเงินงบประมาณ ในการใช้จ่ายในขณะที่ ดาเนินการปฏิบติงาน ั แจกจ่ายงานไปยังผูที่มีหน้าที่รับผิดชอบ ้ 28 คณะผูจดทาสามารถทาหน้าที่ ้ั ในหน้าที่ของตนตามข้อตกลงที่ตกลงกัน ได้ตามแนวที่ทางกลุ่มต้องการ คณะผู้จัดทา ไว้ เพื่อให้หาข้อมูลในการทางานได้ตาม 3 แนวที่ตองการ ้ ติดต่ออาจารย์ท่ีปรึ กษาห้องนักเรี ยน 29 ได้งานตามเป้ าหมายที่คาดไว้ น.ส. มณิภา ชู ตัวอย่าง และปรึ กษาอาจารย์สาระหมวด ตระกูล สังคม ติดต่อนัดเวลากลุ่มนักเรี ยนตัวอย่างเพื่อทา 30 1-15 เพื่อให้ทราบว่านักเรี ยนกลุ่ม น.ส. สุ ดาวดี ศรี การทดสอบแบบฝึ กหัดก่อนใช้สื่อแนะนา ตัวอย่างรู ้ถึงประเพณี ใน วิบูลย์ เสริ มความรู ้ อาเซียน 4 บันทึกข้อมูลการปฏิบติการทางานและ ั 16 ได้มีขอมูลในการปฏิบติงานใน คณะผู้จัดทา ้ ั ข้อมูลจารี ตและประเพณี อาเซียนใน กลุ่ม บางส่วนลงใน Facebook Fanpage ของ กลุ่ม
  • 32. ลาดั ปี 2555 บที่ ขั้นตอนการดาเนินงาน มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ผลสาเร็จทีคาดว่ าจะได้ รับ ่ ผู้รับผิดชอบ (วันที่) (วันที่) (วันที่ (วันที่) ) ติดใบประชาสัมพันธ์ Facebook Fanpage 17-18 กลุ่มนักเรี ยนตัวอย่างรับรู ้และ 5 และจัดทาสื่ อโดยใช้ แผ่นพับใบความรู ้ , ทราบถึงข้อมูลสื่ อจารี ตและ คณะผู้จัดทา แบบฝึ กหัดเสริ มประสบการณ์พร้อมเฉลย ประเพณี ในอาเซียน ประกอบกับคาอธิบายของผูบรรยาย ้ รวบรวมผลงานและข้อมูล ส่งให้อญชิสา ั 19-26 มีผลงานเป็ นหลักฐาน ในการ น.ส. อัญชิสา 6 ทาการจัดทาข้อมูลและอัพ-โหลดข้อมูล ดาเนินงาน เสริมสวัสดิ์-ศรี ลงใน Facebook Fanpage ติดต่อนัดกลุ่มนักเรี ยนตัวอย่างครั้งที่ 2 27-31 ได้ให้ขอมูลกับกลุ่มนักเรี ยน ้ น.ส. มณิภา ชู เพื่อทาเพื่อทาการนาเสนอและแนะนา ตัวอย่างให้มีความรู ้เพิ่มเติมมาก ตระกูล ความรู ้ให้แก่กลุ่มนักเรี ยนตัวอย่างและทา ยิงขึ้น ่ แบบฝึ กหัดหลังเรี ยน ติดต่อนัดเวลากลุ่มนักเรี ยนตัวอย่าง เพื่อ 1-10 กลุ่มนักเรี ยนตัวอย่างมีความรู ้ น.ส. สุ ดาวดี ศรี 7 ทาการประเมินงานและข้อมูลของคณะ ในเรื่ องจารี ตและประเพณี ใน วิบูลย์ ผูจดทา ้ั อาเซียนเพิมมากขึ้น ่ รวบรวมหลักฐานการปฏิบติงานและ ั 11-25 ผลงานที่ได้ดาเนินการไปจน น.ส.วราภรณ์ ตรวจสอบผลงานทั้งหมดอย่างละเอียดถี่ สิ้นเสร็ จสิ้นสุดสามารถเป็ น พรมโสภา 8 ถ้วน หลักฐานในการปฏิบติงานได้ ั -นาเสนอผลงานแก่อาจารย์ที่ปรึ กษาใน 29-30 ข้อมูลทั้งหมดที่ได้จดทาได้รับ ั น.ส.วราภรณ์ หมวดกลุ่มสาระ สังคมศึกษารับทราบ การประเมินไปตามในผล พรมโสภา -รวบรวมและประเมินผลการชี้วด ั ตัวชี้วด ั 9 ส่งผลงานที่เสร็จสมบูรณ์ 31 ได้รับการอนุมติจากอาจารย์ ั คณะผู้จัดทา โอฬารว่างานเสร็ จสมบูรณ์แล้ว
  • 34. ตารางการทางานจริ ง วัน/เดือน/ปี ขั้นตอนการดาเนิ นงาน ปัญหาที่พบ 10ก.ค.2555 ติดต่อการทาแบบทดสอบครั้งที่1 - กับกลุ่มเป้ าหมาย 13ก.ค.2555 จัดทาข้อมูลสื่ อ คือแผ่นพับใบ - ความรู้ 15ก.ค.55 ทาการตรวจแบบทดสอบครั้งที่1 - 16ก.ค.2555 เรี ยบเรี ยงแผ่นพับใบความรู ้ - จานวน 49ฉบับ 24ก.ค.2555 คุณครู โอฬาร คาจีน อนุมติโครง ั - ร่ างโครงการสื่ อข้อมูลตัวอย่าง จารี ตและประเพณี ในอาเซียน 25-30ก.ค.2555 ติดต่อนัดวันและเวลาการทา - แบบทดสอบและนาเสนอข้อมูล ครั้งที่2 8ส.ค.2555 ทาการทดสอบครั้งที่2หลังจากแจง แผ่นพับใบความรู ้ให้แก่ - กลุ่มเป้ าหมาย 10ส.ค.2555 ตรวจคะแนนการทาแบบทดสอบ - ครั้งที่2 ผลคะแนนได้ตามเกณฑ์ที่ คาดไว้ 29 ส.ค.2555 ตรวจสอบผลงานและรวบรวม - เอกสารจัดเข้าแฟ้ มให้เรี บยร้อย 5ก.ย.2555 ผลงานสมบูรณ์และส่ งให้กบ ั - คุณครู โอฬาร คาจีน
  • 36. การประเมินโดยการหาค่าเฉลี่ยของการทาแบบทดสอบก่อน-หลังการนาเสนอสื่ อ (ในขั้นตอนนี้ทาลงในโปรแกรม Excel2010 ทั้งหมด) คะแนนการทา คะแนนการทา ค่ า Z Score ค่ า T Score เลขที่ /คนที่ แบบทดสอบก่อน แบบทดสอบหลัง แบบทดสอบก่อน แบบทดสอบก่อน นาเสนอสื่อและเรียน นาเสนอสื่อและเรียน นาเสนอสื่อ นาเสนอสื่อ 1 4 7 -0.44916176 45.5083824 2 2 6 -1.23031265 37.69687353 3 3 8 -0.8397372 41.60262797 4 2 7 -1.23031265 37.69687353 5 5 7 -1.23031265 49.41413683 6 6 7 -1.23031265 53.31989127 7 3 6 -0.8397372 41.60262797 8 4 8 -0.8397372 45.5083824 ก่อน 9 5 8 0.05858632 49.41413683 10 11 3 4 8 6 -0.8397372 -0.44916176 41.60262797 45.5083824 นาเสนอ 12 3 7 -0.8397372 41.60262797 13 4 6 -0.44916176 45.5083824 สื่ อ 14 6 7 -1.62088809 53.31989127 15 5 6 0.05858632 49.41413683 16 5 6 0.05858632 49.41413683 =42.69 17 2 7 -1.23031265 37.69687353 18 2 6 -1.23031265 37.69687353 19 4 5 -0.44916176 45.5083824 20 3 7 -0.8397372 41.60262797 21 5 7 -0.8397372 49.41413683 22 3 5 -1.62088809 41.60262797 23 1 3 -1.62088809 33.7911191 24 3 6 -0.8397372 41.60262797
  • 37. คะแนนการทา คะแนนการทา ค่ า Z Score ค่ า T Score เลขที่ /คนที่ แบบทดสอบก่อน แบบทดสอบหลัง แบบทดสอบก่อน แบบทดสอบก่อน นาเสนอสื่อและเรียน นาเสนอสื่อ นาเสนอสื่อ นาเสนอสื่อ 25 3 8 -0.8397372 41.60262797 26 4 6 -0.44916176 45.5083824 27 1 7 -1.62088809 33.7911191 28 3 6 -0.8397372 41.60262797 29 4 7 -0.44916176 45.5083824 30 6 8 0.331989127 53.31989127 31 3 6 -0.8397372 41.60262797 32 3 5 -0.8397372 41.60262797 33 5 7 0.05858632 49.41413683 34 5 5 -1.23031265 49.41413683 35 36 5 4 7 5 0.05858632 -0.44916176 49.41413683 45.5083824 ก่อน นาเสนอ 37 5 5 0.05858632 49.41413683 38 3 6 -0.8397372 41.60262797 39 3 8 0.05858632 41.60262797 40 41 4 5 9 8 -0.44916176 0.05858632 45.5083824 49.41413683 สื่ อ 42 2 6 -1.23031265 37.69687353 43 3 6 -0.8397372 41.60262797 =42.69 44 5 8 0.05858632 49.41413683 45 4 7 -0.8397372 45.5083824 46 3 6 -0.8397372 41.60262797 47 6 8 0.05858632 53.31989127 48 2 3 -1.23031265 37.69687353 49 5 9 0.05858632 49.41413683 ผลรวม = 529 ค่าเฉลี่ย = 5.40
  • 38. แบบทดสอบหลังเรี ยน คะแนนการทา ค่ า Z Score ค่ า T Score เลขที่ /คนที่ แบบทดสอบหลัง นาเสนอสื่อและเรียน 1 7 0.72256457 57.2256457 2 6 0.331989127 53.31989127 3 8 1.113140014 61.13140014 4 7 0.72256457 57.2256457 5 7 0.72256457 57.2256457 6 7 0.72256457 57.2256457 7 9 1.503715457 65.03715457 8 8 1.113140014 61.13140014 9 8 1.113140014 61.13140014 10 8 1.113140014 61.13140014 11 12 6 7 0.331989127 0.72256457 53.31989127 57.2256457 หลังการนาเสนอ 13 6 0.331989127 53.31989127 14 15 7 6 0.72256457 0.331989127 57.2256457 53.31989127 ใช้สื่อ 16 6 0.331989127 53.31989127 17 18 7 6 0.72256457 0.331989127 57.2256457 53.31989127 =60.26 19 5 -0.05858632 49.41413683 20 7 0.72256457 57.2256457 21 7 0.72256457 57.2256457 22 5 0.05858632 49.41413683 23 3 -0.8397372 41.60262797 24 6 0.331989127 53.31989127
  • 39. คะแนนการทา ค่ า Z Score ค่ า T Score เลขที่ /คนที่ แบบทดสอบหลัง นาเสนอสื่อและเรียน 25 8 1.113140014 61.13140014 26 6 0.331989127 53.31989127 27 7 0.72256457 57.2256457 28 6 0.331989127 53.31989127 29 7 0.72256457 57.2256457 30 8 1.113140014 61.13140014 31 6 0.331989127 53.31989127 32 5 -0.05858632 49.41413683 33 8 1.113140014 61.13140014 34 5 -0.05858632 49.41413683 35 7 0.72256457 57.2256457 36 6 -0.05858632 53.31989127 37 38 5 6 -0.05858632 0.331989127 49.41413683 53.31989127 หลังการใช้สื่อ 39 8 1.113140014 61.13140014 40 41 9 8 1.503715457 1.113140014 65.03715457 61.13140014 เรี ยน 42 6 0.331989127 53.31989127 43 6 0.331989127 53.31989127 = 60.26 44 8 1.113140014 61.13140014 45 7 0.72256457 57.2256457 46 6 0.331989127 53.31989127 47 8 1.113140014 61.13140014 48 3 -0.8397372 41.60262797 49 9 1.503715457 65.03715457
  • 40. ผลการประเมินโดยใช้เรื่ องสถิติมาประยุกต์ คะแนนทีเฉลี่ยก่อนเรี ยน เท่ากับ 42.69 คะแนนทีเฉลี่ยหลังเรี ยนเท่ากับ 60.26 ค่าคะแนนทีเฉลี่ยที่เพิมขึ้นเท่ากับ 60.26 – 42.69 = 17.57 ่ คะแนนทีก่อนเรี ยนเท่ากับ 42.69 คะแนนทีเพิ่มขึ้นเท่ากับ 17.57 คะแนนทีเพิ่มขึ้นร้อยละ = (17.57*100)/ 42.69 = 41.16 40 35 30 25 คะแนน1-4 20 คะแนน5-7 15 คะแนน8-10 10 5 0 ก่ อนเรี ยน หลังเรี ยน
  • 42. สรุปผลโครงการและการนาไปต่ อยอด โครงการนี้ จดทาขึ้นเพื่อส่ งเสริ มและแนะนาถึงความสาคัญของจารี ตและประเพณี ของแต่ละ ั 10 ประเทศในอาเซี ยน โดยนาข้อมูลตัวอย่างจารี ตและประเพณี อย่างละ1จารี ต1ประเพณี ในประชาคม อาเซียนมาใช้ในการแนะนาและส่ งเสริ มกับกลุ่มนักเรี ยนตัวอย่าง ม.3/9 โรงเรี ยน ราชวินิต มัธยม จานวน 49 คนตัวอย่าง มีการทาแบบสอบถามเพื่อทดสอบความรู ้ความเข้าใจของกลุ่มตัวอย่างและยังมีแบบทดสอบ ก่อนใช้สื่อ และหลังการใช้สื่อเพื่อทดสอบความรู ้ความเข้าใจที่เพิ่มขึ้น โดยใช้แผ่นพับใบความรู ้แบบที่ น่าสนใจสามารถพกพาได้มาเป็ นสื่ อกลางที่ช่วยเสริ มความรู ้แก่กลุ่มนักเรี ยนตัวอย่าง ผลจากคะแนนการทา แบบทดสอบ ปรากฏว่า กลุ่มนักเรี ยนตัวอย่างมีความรู ้และความเข้าใจเพิ่มมากขึ้น และสามารถทาคะแนนใน ่ การทาแบบทดสอบครั้งหลังได้ดีกว่าครั้งแรก ซึ่ งตรงตามตัวชี้วดด้านการประเมินผล จึงสรุ ปได้วาการทา ั โครงการสาเร็ จลุล่วงไปด้วยดีและได้รับความร่ วมมือจากกลุ่มนักเรี ยนตัวอย่างเป็ นอย่างดี หากมีผมาศึกษาโครงการนี้สามารถนาไปต่อยอดได้ โดยการนาโครงการไปเป็ นแหล่งการจัดทาสื่ อจารี ตและ ู้ ั ประเพณี ในอาเซี ยน และการค้นคว้าข้อมูลเพิ่มเติมในการทาโครงการ การจัดการเรี ยนการสอนให้กบ นักเรี ยนกลุ่มอื่นๆที่มีความสนใจได้
  • 44. หาข้อมูลในการทาแผ่นพับใบความรู ้ ใช้ในการประชาสัมพันธ์และจัด นาเสนอข้อมูลเพิมเติมในบางส่ วน ่ ใช้ในการสนทนาภายในกลุ่ม ใช้เรี ยบเรี ยงและบันทึกข้อมูลของโครงการทั้งหมด flpalbm.opf ใช้ส่งเอกสารข้อมูลของกลุ่ม ใช้จดเรี ยงข้อมูลและหลักฐานเพื่อนาเสนอเป็ น ั เทคโนโลยีสารสนเทศ ใช้คานวณหาคะแนนเป็ นค่าเฉลี่ย
  • 46. สรุปผลการดาเนินงาน จากการดาเนินงานของคณะผูจดทาโครงการสื่ อข้อมูลตัวอย่างจารี ตและประเพณี ในอาเซียนสรุ ป ้ั การดาเนินงานได้ดงนี้ ั ตัวชี้วดด้ านประสิ ทธิภาพ ั สามารถดาเนินงานตามแบบได้ในเวลาที่กาหนด สาเร็จ ( 26 มิถุนายน ถึง 31 สิ งหาคม พ.ศ. 2555 ) ได้รับความร่ วมมือจากกลุ่มนักเรี ยนตัวอย่าง ห้อง 3/9 ได้ดี สาเร็จ ตัวชี้วดด้ านประสิ ทธิผล ั นักเรี ยนมีความรู ้เพิ่มเติมในเรื่ องจารี ตและประเพณี ในอาเซียนมากยิงขึ้น ่ สาเร็จ 60%โดยได้จากใช้ผลของการแบบทดสอบหลังเรี ยนเป็ นเกณฑ์ในการประเมินผล กลุ่มนักเรี ยนตัวอย่างทาแบบทดสอบก่อนเรี ยนได้คะแนนน้อยกว่า 60% ไม่สาเร็จ สรุ ป ความพึงพอใจของคณะผูจดทา ค่อนข้างพอใจ เพราะ กลุ่มนักเรี ยนตัวอย่างมีความรู ้และ ้ั ความเข้าใจมากยิงขึ้นเมื่อได้ศึกษาความรู ้จากแผ่นพับใบความรู ้และการทาแบบทดสอบทั้ง2ครั้ง ่ ที่ทางคณะผูจดทาได้ทาขึ้น ้ั
  • 48. งบประมาณ วันพุธที่ 4 กรกฎาคม พ.ศ. 2555 -ค่าอินเทอร์เน็ต คนละ 30 บาท -ค่าปริ้ นขาวดา จานวน 16 แผ่นๆละ 3บาท 48 บาท -ค่าถ่ายเอกสารขาวดา จานวน 49 แผ่นๆละ38 ส.ต. 16บาท วันศุกร์ที่ 24 สิ งหาคม พ.ศ. 2555 ค่ากระดาษที่ใช้ปฏิบติงานและค่าใช้จ่ายเพิ่มเติม ั -ค่ากระดาษA4 จานวน1 รี ม 95 บาท -ค่าแฟ้ มเอกสารสาหรับเก็บร่ วมรวมหลักฐาน 45 บาท -ค่าปริ้ นขาวดา จานวน 10 แผ่น 30บาท -ค่าปริ้ นสี จานวน 2 แผ่น 10 บาท วันจันทร์ที่ 27 สิ งหาคม พ.ศ.2555 -ค่าปริ้ นขาวดา จานวน 2แผ่น 6 บาท วันพุธที่ 29 สิ งหาคม พ.ศ. 2555 -ค่าCDจานวน 3 แผ่น และกล่องใส่ CD 16 บาท รวมค่าใช้จ่ายทั้งสิ้ น 460 บาท *ค่าCDแผ่นละ 10 บาท*
  • 52. โครงการ สื่อข้ อมูลตัวอย่างจารี ตและประเพณีในอาเซียน ชื่อ น.ส.สุ ดาวดี ศรี วบูลย์ ชื่อเล่น ดีดี ิ วันเกิด 8 กันยายน 2538 อายุ 16 ปี เชื้อชาติ ไทย สั ญชาติ ไทย ศาสนา พุทธ ทีอยู่ 349/71-72 ถ.พุธมณฑลสาย2 แขวง บางไผ่ เขต บางแค กรุ งเทพมหานคร 10160 ่ โทร 081-1438332 การศึกษา ประถมศึกษา พระตาหนักสวนกุหลาบ มัธยมศึกษาตอนต้น ราชวินิต มัธยม มัธยมศึดษาตอนปลาย ราชวินิต มัธยม งานอดิเรก ออกกาลังกาย และอ่านหนังสื อ
  • 53. หลักฐานการดาเนินงาน ชื่อ นางสาว สุ ดาวดี ศรี วบูลย์ ิ ชั้น ม.5/5 เลขที่ 24 โครงการ สื่ อข้อมูลตัวอย่างจารี ตและประเพณี ในอาเซี ยน ปี การศึกษา2555 วัน/เดือน/ปี งานที่ได้รับมอบหมาย ผูมอบหมาย ้ ผูรับผิดชอบ ้ หมายเหตุ งาน 26มิ.ย.2555 เตรี ยมนาข้อมูลที่จะแนะนาและให้ความรู ้แก่กลุ่มนักเรี ยน - สุ ดาวดี - ตัวอย่าง เตรี ยมความพร้อมของ Facebook Fanpage เพื่อ รองรับการใช้งานด้านการประชาสัมพันธ์ 30มิ.ย.2555 -ติดต่อนัดเวลากลุ่มนักเรี ยนตัวอย่างเพื่อทาการทดสอบ - สุ ดาวดี สมาชิกพอใจ โครงการ -ทาแบบฝึ กหัดก่อนใช้สื่อแนะนาเสริ มความรู ้ 16ก.ค2555 บันทึกข้อมูลการปฏิบติการทางานและข้อมูลจารี ตและ ั - สุ ดาวดี - ประเพณี อาเซี ยนในบางส่ วนลงใน Facebook Fanpage ของกลุ่ม 24ส.ค.2555 -รวบรวมผลงานและข้อมูล - สุ ดาวดี - 27ส.ค.2555 -ทาการจัดทาข้อมูลและอัพ-โหลดข้อมูลลงใน Facebook - สุ ดาวดี สมาชิกพอใจ Fanpage โครงการ 8ส.ค.2555 ติดต่อนัดเวลากลุ่มนักเรี ยนตัวอย่าง เพื่อทาการประเมิน - สุ ดาวดี - งานและข้อมูลของคณะผูจดทา ้ั
  • 54. ชื่อ นางสาวมณิ ภา ชูตระกูล ชื่อเล่น แพร วันเกิด 19 ตุลาคม2538 อายุ 16 ปี เชื้อชาติ ไทย สั ญชาติ ไทย ศาสนา พุทธ ทีอยู่ 45/7 หมู่7 ตาบล บางกรวย อาเอ บางกรวย จังหวัด นนทบุรี 11130 ่ โทร 083-2257832 การศึกษา ประถมศึกษา ศึกษาบัณฑิต มัธยมศึกษาตอนต้น ราชวินิต มัธยม มัธยมศึกษาตอนปลาย ราชวินิต มัธยม งานอดิเรก อ่านหนังสื อ