SlideShare a Scribd company logo
1 of 62
Download to read offline
The Master
การออกแบบเพื่อ
สร้างแรงบันดาลใจ 3
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ บัญญพนต์ พูลสวัสดิ์
7References:
§ ภาณุ บุพิพัฒนาพงศ์, Inside Art, Outside Art
§ Pat Hackett,POPism: The Warhol Sixties
§ Marina Abramovic’, Marina Abramovic: Writings 1960-2014
§ Banksy Does New York, the original HBO documentary online
เรามาเริ่มจากการคิดกันดีกว่า
คอนเซปต์ของงานศิลปะจากแผนภูมินี้คืออะไร?
และเกี'ยวอะไรกับการเรียนคลาสนี3
ศิลปะคือสิ่งที่งดงานและรู้สึกดี ศิลปะคือการระเบิดบางสิ่งออกมา
ผลงานศิลปะทั่วไปหอคอยแห่งพระอาทิตย์ โลกแห่งประสบการณ์
เรามาเริ่มจากการคิดกันดีกว่า
คอนเซปต์ของงานศิลปะจากแผนภูมินี้คืออะไร?
ศิลปะคือสิ่งที่งดงานและรู้สึกดี ศิลปะคือการระเบิดบางสิ่งออกมา
ผลงานศิลปะทั่วไปหอคอยแห่งพระอาทิตย์ โลกแห่งประสบการณ์
คอนเซ็ปต์ที่ว่า “ศิลปะคือการระเบิด
ออกมา” มันขายได้ทั้งที่จริง เรายัง
ไม่รู้เลยว่า หอคอยแห่งพระอาทิตย์
มันคืออะไร? มันจะออกมาเป็นแบบ
ไหน?
คอนเซ็ปต์เป็นสิ่งที่บอกเราได้ว่า
“ควรทําอะไร” และ “ไม่ควรทําอะไร”
สร้างความตื่นเต้น
โครงสร้างวิธีคิดแบบ 4 ช่องทาง
เปรียบเทียบแนวคิดแบบวันเวย์ยึดผู้บริโภคผู้ชมเป็นหลัก
สังคม และยุคสมัย
วิถีชีวิตของ
ผู้บริโภค
สินค้า บริการ
ผลงานของเรา
สินค้า บริการ
ผลงานของคู่แข่ง
อารมณ์
ความรู้สึก
โครงสร้างวิธีคิดแบบ 4 ช่องทาง
วิสันทัศน์
ถ้ากลุ่มเป้าหมาย
เป็นแบบนี้ต้อง...
สินค้า ผลงาน
บริการ
ลงมือทํา
ถ้าเงื่อนไขเป็นแบบนี้
ถ้าคอนเซ็ปต์เป็นแบบ
นี้ต้องทําอะไร
แนวคิดแบบวันเวย์ยึดผู้บริโภคผู้ชมเป็นหลัก
POP ART
Andy
Warhol
ภาพพิมพ์ของดาราสาวสุด
เซ็ก ซี4 ใน ตํ า น า น อ ย่าง
Marilyn Monroe มาเรียงต่อ
กันแล้วสาดด้วยสีสันที4ตัด
กันได้อย่างบาดตาบาดใจ
ผู้กําหนดนิยามความหมาย
ของศิลปะป็อปอาร์ตด้วย
การเสียดสีและล้อเล่นกับ
สังคมบริโภคนิยมนั4นเอง
และผลงานที4กล่าวมา
ข้างต้นก็คือผลงานเลื4องชื4อที4
ติดอยู่ในความทรงจําของคน
ม า ก ที4 สุ ด คื อ Marilyn
Diptyque ในปีค.ศ. (1962)
Pop Art คืออะไร?
หลายคนน่าจะคุ้นเคยกับแนวดนตรี ”ป๊ อป” ซึ4งมาจากคําว่า
Popular นิยามของมันก็น่าจะแปลว่า “สิ4งที4เข้าถึงคนหมู่มาก
ได้” เรียกสิ4งนัiนว่า ป๊อป หรือมีคุณสมบัติความเป็น ป๊อป
ศิลปะแบบ Pop Art
วัฒนธรรมป๊ อปถูกแตกประเด็นจาก
ช่วงของยุคที4ใช้เทคโนโลยีมาเป็นสื4อ
หลัก ทัiงวิทยุ โทรทัศน์ สิ4งพิมพ์ การ์ตูน
(Fleischer Studios, 1920s ก่อนจะ
ถูกชิงบัลลังค์ด้วย Walt Disney) ทุกสิ4ง
ถูกสังคมพิพากษ์ในช่วงหนึ4งว่าสื4อ
เหล่านีiเป็นสื4อที4ฉาบฉวยและอายุสัiน
ไม่น่าจะเข้ามาแทนสื4อหลักได้ แต่
สุดท้าย สื4อเหล่านีiกลายเป็นสื4อหลักใน
ยุคถัดๆ มาจนถึงปัจจุบันก็ยังมีอิทธิพล การ์ตูนของ Fleischer Studios ปี 1920-1930s มีอิทธิพลต่อเกม
Cuphead (เกมยิงผ่านด่านสุดยากที4ได้รับความนิยมสูงสุดช่วงปี 2019)
Fleischer Studios, 1920s Concept Art
และ การออกแบบปัจจุบันที'ได้รับอิทธิพล
แล้วคําว่า Pop Art เกิดขึ3นครั3งแรกใน
อังกฤษและสหรัฐฯ กลางปี 1950 และ
ปลายทศวรรษ ศิลปะ Pop Art เติบโต
ขึ3นมาพร้อมกับแนวคิดด้านสังคม
บริโภคนิยมหลังสงครามโลกครั3งที'สอง
ในเมืองใหญ่ อย่าง ลอนดอน,
นิวยอร์ก และลอสเองเจลิส
ความวูบวาบฉาบฉวยจากสื'อที'ว่ามา
ตอนแรก ผ่านสายตานับล้านร่วมสมัย
จนถึงทุกวันนี3ศิลปะแนว Pop Art ก็
หยิปเอาสิ'งเหล่านี3มานําเสนองาน
ศิลปะอีกที
คําว่า Pop ไม่ได้หมายถึง กลุ่มศิลปิน
หรือสไตล์ หรือลัทธิใดๆ ทางด้าน
ศิลปะ ขอแค่มีองค์ประกอบของการ
เล่าถึงภาพ หรือเรื'องราวของบุคคล
สิ'งของที'เป็นที'รู้จักในสังคม ดารา
นักการเมือง คนดัง ตัวการ์ตูนอย่าง
Mickey Mouse หรือโคคา โคล่า ด้วย
สีสันสดใสฉูดฉาด ไม่จํากัดรูปแบบ
เทคนิค
เป้าหมายเพื*อวิพากษ์วิจารณ์
วัฒนธรรมแบบป๊ อปๆ ที*อยู่ราย
ล้อมรอบตัวเรา
In the future,
everyone will be
world-famous for
15 minutes.
-1968s Andy Warhol
ในอนาคตทุกคนจะมีชื0อเสียง
ระดับโลกคนละ 15 นาที
Andy Warhol มีความสนใจเรื4 อง
วัฒนธรรมบริโภคนิยมในช่วงเวลาที4เขา
ยังมีชีวิตอยู่ นั4นก็คือช่วงยุค 50–60s ซึ4ง
เป็นช่วงเวลาที4อเมริกาเดินหน้าเข้าสู่
สังคมบริโภคนิยมอย่างเต็มกําลัง คน
อเมริกันไม่ได้บริโภคแค่อาหารหรือ
สินค้า แต่ยังบริโภคภาพลักษณ์หรือ
อิมเมจด้วย โดยการเสพจากรายการ
โทรทัศน์หรือโฆษณาเป็นหลัก ในช่วง
เวลาที4โทรทัศน์กลายเป็นสิ4งของจําเป็น
ที4ทุกบ้านต้องมี ในมุมมองของ Warhol
ภาพลักษณ์ของสินค้าหรือดาราที4เห็นใน
สื4อเปรียบเสมือนพระเจ้าแห่งการบริโภค
นิยมที4สิงสถิตอยู่ในสื4อไปตลอดกาล ภาพของมอนโรที4ค่อย ๆ เปลี4ยนจากสีสันฉูดฉาดใน
ฝั4งซ้าย มาสู่ภาพขาวดําในฝั4งขวา จึงสะท้อนให้เห็น
ถึงกระบวนการของสื4อในการทําให้ดาราที4แม้จะ
เสียชีวิตไปแล้ว แต่ยังคงมีชีวิตอยู่ในความทรงจําของ
คนไปตลอดกาล ราวกับว่าดารามีชีวิตอมตะ ไม่ต่าง
จากพระเจ้า - Christie's Andy Warhol (1928-
1987), Marilyn Monroe (Marilyn) | 1960s
Installation view of the exhibition,
"Andy Warhol: Campbell's Soup Cans
and Other Works, 1953-1967"
Andy Warhol (Andrew Varchola
Jr.) เกิดในปี ˆ‰Š‹ ในครอบครัว
ชาวสโลวาเกียอพยพที4อาศัยในเมือง
พิตส์เบิร์ก เมื4อเรียนจบปริญญาตรี
ด้านศิลปะและย้ายเข้ามหานคร
นิวยอร์กในปี ˆ‰•‰ เขาก็เปลี4ยนชื4อ
ตัวเองเป็ น Andy Warhol แล้ ว
เริ4มต้นเส้นทางอาชีพนักออกแบบ
โฆษณา แม้จะประสบความสําเร็จ
บนเส้นทางโฆษณาเป็นอย่างดี เขา
ไม่ใช้ผู้ให้กําเนิน Pop Art แต่เป็นคน
ที4ประสบความสําเร็จในศิลปะแนวนีi
มากที4สุด
ผลงาน Marilyn Diptyque ก็จัด
แสดงในงานครั3งนี3ด้วย ซึ'งนัก
วิจารณ์ก็ยกย่อง Warhol ในการ
ผสานศิลปะและงานดีไซน์เชิง
พาณิชย์เข้าด้วยกัน แล้วนําเสนอ
ประเด็นเรื' องการบริ โภคใน
ชีวิตประจําวันของคนได้อย่างเฉียบ
คมตามบริบทของบริโภคนิยมผลงานที4จุดประกายให้ Warhol เป็นที4รู้จักในฐานะศิลปินก็คือการจัดแสดงผลงานเดี4ยวครัiงแรกในปี ˆ‰•Š ที4
เขานําภาพวาดกระป๋ องซุปยี4ห้อ Campbell และธนบัตรดอลลาร์มาเรียงรายต่อกัน
เราได้อะไรจากเรื่องราวของชายคนนี้?
- Andy Warhol
Performance
Art (Body Art)
Marina Abramovic’
Performance Art
ตั3งแต่ทศวรรษที' 50s,ศิลปินหลายคนเริ'มหัน
ไปทํางานศิลปะแนว Performance Art (ที'
เริ'มต้นในยุคของกลุ่ม อาวอง-การ์ด ช่วง
ทศวรรษที' 10s)
ศิลปินด้าน Body Art หรือ Performance Art
ที'มีอิทธิพลมากที'สุด และถือว่าเป็นอาจารย์
ระดับตัวแม่ก็คงไม่พ้น Marina Abramovic’
ศิลปินชาวเซอร์เบียนคนนีiเกดปี 1946
เมือง เบลเกรด ยูโกสลาเวีย (เซอร์เบีย),
ท่ามกลางปัญหาสงครามและอิสระภพ
แต่ Abramovic’ ก็ยังคงเติบโตท่ามกลาง
ศิลปะ พบเจอเหล่าศิลปินหัวก้าวหน้า
มากมาย ได้เข้าศึกษาที4 Academy of
Fine Arts ปี 965-1972 และสถาบัน
Krsta Hegedusic, Academy of Fine
Arts ในเซอร์เบีย
วันหนึ4งศิลปินคนนีiก็ได้ตระหนักรู้ว่า ศิลปะนัiนสร้างจากอะไรก็ได้
แม้แต่ความว่างเปล่า ศิลปะนัiนไม่จําเป็นต้องมี สี พู่กัน หรือผ้าใบ
แต่เป็น “ความคิด”
Rhythm 10 (1973), Marina Abramovic’
การแสดงผลของเธอโดยการนั'งลงแล้วใช้มีด 20 เล่มทําการสับไปมาระหว่าง
นิ3วมือ หากมีการบาดนิ3วของเธอจะมีการเปลี'ยนใบมีดทําแบบนี3ไปเรื'อยๆจน
ครบ 20 ครั3ง
ความหมายของงาน
Rhythm 10
Abramovic’ ได้บันทึกการสับแทงมีดทั3ง 20
เล่มไว้ในการแสดงสดพอเธอแทงมีดครบ
20เล่มเธอจะนําเสียงของการแทงทั3ง 20
เล่มนั3นมาเล่นซํ3าแล้วเลียนแบบการแทง
แบบเดิมรอบแรกให้ตรงจังหวะเดิมให้มาก
ที'สุดเพื'อที'จะทดสอบขีดจํากัดของร่างกาย
ตัวเองว่าได้มากแค่ไหน
ซึ'งในที'สุดก็ได้คําตอบว่า ทุกอย่างไม่เกี'ยวกับ
ร่างกาย แต่มันเกี'ยวกับจิตใจที'ทําให้เธอก้าว
ผ่านขีดจํากัดต่างๆไปได้ สําหรับ Abramovic’
เป็นการตระหนักรู้ว่าขอบเขตของคําว่าเป็นไป
ไม่ได้นั3นอยู่ที'จิตใจ และถ้าแข็งแกร่งพอก็จะ
เป็นไปได้
หลังจากงาน Rhythm 10 แนวคิดนั3นได้
กลายเป็นแบบแผนปฏิบัติของเธอในงานต่อๆ
ไปอีกมากมาย
https://vimeo.com/124559917
แนวคิดหนึ4งที4เธอเชื4อคือเรื4อง
พิธีกรรมทางศาสนา (Ritual)เชิง
บูชายัญสอดแทรกเข้าไปในงาน
ศิลปะ โดยการเผชิญหน้ากับความ
เจ็บปวด ความเหน็ดเหนื4อย
กิจกรรมที4ใกล้ความตาย และ
บาดแผล ผ่านการทดสอบขีดจํากัด
ของตัวเอง ผ่านเนืiอหางานศิลปะที4
เธอจัดแสดง ซึ4งมักสะท้อนถึงความ
รุนแรง ประเด็นทางเพศ หรือความ
ไม่มั4นคงของชีวิต (ความตาย)
Marina Abramović, “Rhythm
0,” 1974
เป็นผลงานที4อืiอฉาวอีกครัiงของเธอที4จัดแสดง
งาน เพื4อวัดพฤติกรรมด้านลบของมนุษย์
ดอกกุหลาบ ขนนก กรรไกร มีดผ่าตัด ปากกา แส้ และ ปืนพกที4บรรจุ
กระสุนหนึ4งนัด จากนัiนก็ใช้ประโยค “ฉันคือสิ4งของ” เชืiอเชิญให้ผู้เยี4ยม
ชมทําอะไรก็ได้กับเธอใน 6 ชั4วโมงที4จัดการแสดง
เรื่องราว และความหมายของงาน
Rhythm 0
ในช่วงแรกผู้ที4เข้าชมงานศิลปะของเธอก็
นําดอกไม้มามอบให้ จูบเธอเบาๆ เอาขน
นกมาแหย่เอเล่น จนภายหลังก็กลายเป็น
การเอาปากกามมาเขียนบนตัวเธอ เอา
กรรไกรมาตัดเสืiอผ้าของเธอออก บางคน
เอามีดมากรีดเธอ ดูดเลือดเธอ หนักข้อ
คือเอาปืนจ่อขมับเธอ (ซึ4งมีผู้ชมบางกลุ่ม
ออกมาปกป้องอยู่เพาะกลัวเกิดเหตุร้าย)
เมื4อจบการแสดงเธอเดินเข้าหาเหล่าผู้ชม
ที4กระทํายํ4ายีเธอ ผลคือวิ4งหนักระเจิง
เพราะกลัวเธอเอาคืนกับที4ทําไว้
ผลงาน Rhythm 0 เป็นการบอกกับเรากรายๆว่าถ้ามนุษย์ไม่ต้องรับผิดชอบ
อะไรกับการกระทําของตนเอง การทําเรื4องเลวทรามตํ4าช้าก็สามารถกรพทํา
ได้โดยไม่ต้องคิดพินิจอะไร
แรงบันดาลจากจาก Abramovic’ ?
Thomas Lips (1975)
ใช้มีดโกนกรีดบนหน้าท้องรอบสะดือเป็น
รูปดาว (คอมมิวนิส) นอนบนไม้กางเขน
สะท้อนถึง แม่ และระบอบการปกครอง
เผด็จการ
1975 แต่งงานกับศิลปิน Frank Uwe Laysiepen (แฟรงค์ อูเว
ไลซีเปียน) หรือ Ulay (อูไล) เดินทางทั4วยุโรปแสดงงานคู่เช่น
Imponderablia (1977)
https://www.youtube.com/watch?v=AQH_psNMvnU
เปลือยกายให้ผู้เข้าชมเดินผ่านทางเข้าแคบๆ วัดผลว่าจะเลือกหันไปทาง
ไหน สัมผัสกับใครให้ผู้ชมเลือกเอง
Breathing In, Breathing Out (1977)
ทัiงคู่ประกบปากกันแล้วผลัดกันสูดและปล่อยลม
หายใจจนเกือบหายใจไม่ทัน
Relation in Time (1977)
มัดผมหันหลัง 16 ชั4วโมง
Light/Dark (1977)
ตบหน้ากันฉาดใหญ่ไปเรืFอยๆ
Rest Energy (1980)
ความเปราะบางของความรัก ความสัมพันธ์ชีวิตความ
ตายให้ Ulay ง้างสายของธนูสุดแรงลูกธนูห่างหัวใจ
ของเธอไม่กี4นิiว เป็นการพิสูจน์ความรักถ้า Ulay ปล่อย
มือหรือหมดแรงเมื4อไรเธอตายทันที (เป็นการพิสูจน์
ความเชื4อใจ)
The Lovers: the Great wall walk (1988)
ทัiงคู่ยุติความสัมพันธ์ของสามีภรรยากันหลังจากอยู่กินกัน 12 ปี
เพราะความขัดแย้งทางด้านทัศนคติของการทํางาน และความคิด ปิด
ฉากด้วยงานที4ใช้เวล่ของเขาและเธอสามเดือนเดินทางจากปลายของ
กําแพงเมืองจีนคนละฝั4ง 2,500 กิโลเมตรเพื4อกล่าวคําอําลากันตรง
กลางของกําแพงเมืองจีนก่อนแยกย้ายกันไป
The House with the Ocean View (2002)
หลังจากจัดงานแบบเดี4ยวหลังจากเลิกรากับ Ulay ไปงานแสดงที4เปลี4ยมมุมมองอีกงานคือการขัง
ตัวเองในห้องสี4เหลี4ยมเปิดโล่งสูงจากพืiนหกฟุตในหอศิลป์ Sean Kelly, New York เธอดื4มแค่
นํiาเปล่า เปลี4ยนสีชุด ไม่พูดจา นอนหลับ ขับถ่าย อาบนํiาต่อผู้ชมเพราะบันไดทางลงนัiนทําจาก
มีดแล่เนืiอที4คมพอจะตัดเนืiออวัยวะของเธอได้
The Artist is Present (2010)
แสดง Performance สดจัดที' MoMA ให้คนมานั'งจ้องตาเธอเงียบๆห้านาที
ละในนั3นมี Ulay ทําให้เธอร้องไห้เป็นที'ฮือฮา, ซึ'งภายหลังก็ฟ้องร้องกันเรื'อง
ละเมิดแนวคิดผลงานร่วมกันที'เธอมาจัดแสดงคนเดียว
Ulay มาปรากฏตัวในงาน
หมายเหตุ: เคยมีการจัดที' Bangkok Art Biennale 2018
เราได้อะไรจากเรื่องราวของเธอคนนี้?
- Marina Abramovic’
Confession
Art
ตัวแม่งาน Confessional Art
- Tracey Emin
Tracey Emin โด่งดังจากการตีแผ่
ชีวิต และความสัมพันธ์ส่วนตัวต่อ
สาธารณชนผ่านสื4อสมัยนิยม เช่น
บาดแผลจากการถูกข่มขืน, ขาย
หน้าต่อหน้าสาธารณะ การทําแท้ง
เถื4อน การติดสุรา ไปจนถึงสิ4งที4
หลายคนเรียกว่าสําส่อนทางเพศ
ซึ4งนั4นคือหัวข้อ Confession Art
ของเธอ
Confession Art เป็นศิลปะเฉพาะของ
ศิลปินหญิงใช้ผลงานเหมือนเครื'องมือ
ถ่ายทอดชีวิตแนวอัตชีวประวัติของ
ตัวเอง
Exorcism of the Last Painting I Ever Made (1996)
Tracey Emin ถือเป็นผู้มีอิทธิพลใน
กลุ่มที4เรี ยกว่า Young British
Artists (YBAs) มีบทบาทต่อศิลปะ
ร่วมสมัยในอังกฤษช่วงปลาย 80s
ถึงต้น 90s ในแง่ของการเปิดกว้าง
งานด้วยวัสดุที4หลากหลายขึiน และ
ส่วนใหญ่เป็นศิลปะแนวทดลอง
experiment art และ modern art
ปี 80s-90s, YBAs ทําลายกําแพง
วัฒนธรรมชัiนตํ4า และชัiนสูง แบบ
ทะลุกรอบกฏเกณฑ์ และขีดจํากัด
การออกแบบ
Bad Girl of British Art
Emin เธอมักจะแสดงพฤติกรรมกร้านโกต่อ
หน้าสาธารณะชน งานศิลปะของเธอ
แสดงออกถึงสิ4งที4อยู่คู่ตรงข้ามของความรู้สึก
นึกคิดของเพศหญิงอย่างตรงไปตรงมาจน
พวกอนุรักษ์นิยมทนไม่ได้
Emin, Everyone i have ever
slept with (1963-1995)
เต็นท์ขนาดใหญ่ปักด้วยเศษผ้าที4ปักชื4อของคนที4
เธอนอนด้วยทัiงผู้ชาย และผู้หญิง จัดแสดงใน
Royal Academy of Arts นิทรรศการ Sensation
เสียดสีค่านิยมของผู้ชายที4ชื4นชมคุยโม้โอ้อวดกันว่า
มีคู่นอนกี4คนแบบสนุกปาก (Feminist) ทัiงที4ผู้หญิง
ต้องเก็บความลับห้ามบอกใคร,งานจัดแสดงใน
นิทรรศกาลของกลุ่มอนรักษ์นิยม
My Bed (1998)
งานศิลปะจัดวางแบบเอาข้าวของ
ชีวิตประจําวันของเรามาแปลงให้
เป็นศิลปะ (Readymades) เตียง
นอนที4แสนยับย่น สกปกที4เธอใช้
เวลาอยู่บนนัiนหลายสัปดาห์ทาน
อาหาร ดื4มสุรา กินอาหาร หลับ
นานกับใครสักคน และมีคราบ
ประจําเดือน ถุงยางอนามัยใช้
แล้ว เป็นต้น
เสียดสีผู้หญิงที4ถูกมองว่าเป็นกุล
สตรีที4ต้องงานพร้อมเพรียงเปี4ยม
มารยาทสะอาดสะอ้านว่าจริงๆ
เป็ นแค่ภาพลวงเพื4อให้ ชาย
หลงไหล
Emin สวมบท Bad Girl ต่อ
หน้าสาธารณชนเพื4ออยากรู้
การตอบสนองของคนทั4วไป
และกระตุ้ นให้ เกิดการ
วิพากษ์วิจารณ์แบบเปิด
To Meet My Past
(2002)
ศิ ล ป ะ ก า ร จั ด ว า ง
Confession & Installation
เตียงนอนที4สะอาดสะอ้าน
จัดแบบประณีตมีตัวอักษร
ปักมือเรียบร้ อย ถ้อยคํา
เปิดเผยประสบกาณ์ในวัย
แรกรุ่น กับการกลัวเรื4องเพศ
และการถูกล่วงละเมิด
เธอถ่ายทอดประสบการณ์ทําแท้งเถื4อนผ่านการวาดภาพสีนํiามัน
หรือผลงานเสียดสีสังคมสวมเสืiอผ้าแบรนด์เนมชื4อดัง แล้งกางขขา
กวาดธนบัตรเข้าหาตัวล้นหว่างขาของเธอ
I’ve Got It All (2000)
ประชดประชันวงการศิลปะ ว่าด้วยความเป็นธุรกิจในวงการศิลปะ เงิน
และศิลปะเป็นสิ'งที'ต้องพึ'งพาอาศัยกัน ไม่มีเงินก็สร้างสรรค์หรือจัดไม่ได้
แล้วที'ศิลปินเกลียดระบบ “ทุนนิยม” นี'คือการปากว่าตาขยิบหรือเปล่า?
Exorcism of the Last Painting I Ever
Made (1996)
ขังตัวเองในหอศิลป์ ประเทศสวีเดน 3 สัปดาห์เปลือยกายวาดรูป
แนว Expressionism (Edvard Munch
https://www.youtube.com/watch?v=MhCa_71LWhg
Why I Never Bacame a
dancer (1995)
งานศิลปะผ่านภาพยนตร์ 8 มม. เล่าเรื'องราว
ชีวิตในวัยสาว ความรัก ความเกลียด ความฝัน
และเซ็กส์วัยรุ่น
ปัจจุบัน Tracey Emin ลดความแรงทํางาน
ประจําที' Royal Acdemy of Art
เราได้อะไรจากเรื่องราวของเธอคนนี้?
- Tracey Emin
Landscape
Art
Christo & Jeanne-Claude
คริสโต วลาดิมิรอฟ จาวาเชฟ (Christo Vladimirov Javacheff)
และ ฌานน์-โคล้ด เดอนา เด กีบง (Jeanne-Claude Denat de
Guillebon) สามีภรรยาที4น่าจะถูกจัดหมวดหมู่ Landscape Art
(environmental art) แบบแหวกแนวคือ ไม่ออกแบบศิลปะ
ภายในพืiนที4ตามขนบธรรมเนียมปกติ แต่เน้นออกแบบพืiนที4
กลางแจ้ง กับภูมิทัศน์ขนาดใหญ่ด้วยวิธีการแปลกๆ คือ “ห่อ”
Christo & Jeanne-Claude
(1994)
ช่วงแรกเครดิตงานเป็นของ Christo คนเดียว
จนปี 1994 เริ4มใช้ชื4อคู่ รื4องราวแปลกๆ ของทัiง
คู่คือเมื4อต้องเดินทางทัiงคู่จะไปเที4ยวบินคนละ
ลํา เพราะถ้าเกิดอุบัติเหตุใครคนหนึ4งเสียชีวิต
อีกคนจะสานต่องานได้, เรื4องที4น่าแปลกใจที4
สองคือ ทัiงคู่เป็น Creator ชัiนดีจัดหาเงินทุน
ด้วยตัวเองหมดเลยจากการขายเอกสารวิจัย
ขาย Proposal นําเสนอ ฯลฯ
5,600 Cubic meter Package (1968)
งาน Landscape Art ที4จัด ณ 4th Documenta เมือง
New Castle และทําให้ทัiงคู่เป็นที4รู้จักในวงการศิลปะ
โดยการ ห่ออากาศ ด้วยถุงบรรจุอากาศ 5,600 ลูกบาศก์
เมตร ที4พองตัวตัiงตรงสูงขึiนฟ้า 85 เมตรเป็นเวลา 10 ชม.
https://www.youtube.com/watch?v=Tcj1QQkdRSM
พวกเขาห่ออะไรบ้าง
Wrapped Supermarket Cart (ค.ศ.š›œ•) ภาพจาก
Facebook Christo and Jeanne-Claude Official
Wrapped Perambulator (ค.ศ.š›œ ) ภาพจาก
Facebook Christo and Jeanne-Claude Official
Wrapped Coast
(1968-1969)
พวกเขาห่อพืiนที4ชายฝั4งทะเล Littlebay Sidney
Australia ระยะทางครึ4งกิโลเมตร และหน้าผา
สูง Š• เมตร ด้วยผ้าใยสังเคราะห์ขนาด
‰³,•´´ ตารางเมตร และเชือกยาว ³•
กิโลเมตร จนกลายเป็นผลงานศิลปะกลางแจ้ง
ที4ใหญ่ที4สุดเท่าที4เคยมีการสร้างมาในเวลานัiน
มันมีขนาดใหญ่กว่าภูเขารัชมอร์ (Mount
Rushmore)
Valley Curtain (1972)
ในปี ค.ศ.ˆ‰µŠ อย่าง Valley Curtain เป็น
การขึงผ้าไนลอนสีส้มความยาวกว่า
ˆ‹,•´´ ตารางเมตร ระหว่างช่องเขา Rifle
Gap ของเทือกเขา Rocky
Surrounded Islands (1983)
การห่อยังไม่สิiนสุด ปี ค.ศ.ˆ‰‹¶ อย่าง
Surrounded Islands ใช้ผ้าใยสังเคราะห์สี
ชมพูสดใสจํานวน •´¶,‹³´ ตารางเมตร ปูเป็น
พรมลอยล้อมรอบ ˆˆ เกาะ ในอ่าว Biscayne
Bay, ใน Miami เป็นเวลาสองอาทิตย์
The Pont Neuf Wrapped, Paris,
(1975-1985)
ผลงานในปี ค.ศ.ˆ‰‹³ ห่อสะพานข้ามแม่นํiาแซน ที4
เก่าแก่ที4สุดในปารีส ด้วยผ้าใยสังเคราะห์จนมิดไปทัiง
โครงสร้างขอบ ตอม่อสะพาน และเสาไฟ เหลือถนน
ตรงกลางเอาไว้ให้รถวิ4งได้อยู่
Wrapped Reichstag, Berlin
(1971-1995)
ศิลปะที4สร้างชื4อให้ทัiงสองมากที4สุดก็คือ
Wrapped Reichstag (ไรชส์ทาค) หรือ
การห่ออาคาร Reichstag หรืออาคาร
รัฐสภาเยอรมัน,เริ4มพัฒนาขึiนในช่วงปี
ค.ศ.ˆ‰µˆ แต่กว่าจะได้รับการอนุมัติให้
สร้างจริงก็ปาเข้าไปอีกยี4สิบกว่าปีให้หลัง
เพราะการขออนุญาตห่ออาคารแห่งนีiไม่ใช่
เรื4องง่ายๆ อันที4จริงมันแทบจะเป็นไปไม่ได้
เลยด้วยซํiา พวกเขาต้องทําเรื4องขอ
อนุญาตใช้อาคารจากรัฐบาลเยอรมัน
อย่างแสนยากเข็ญ ต้องหว่านล้อม
สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรหลายร้อยคน
ต้องเขียนจดหมายอธิบายโครงการหลาย
ร้อยฉบับ ต้องโทรศัพท์ต่อรองอีกนับครัiงไม่
ถ้วน และต้องเจรจากับสภาผู้แทนรัฐ
เยอรมนีอย่างยืดเยืiอยาวนานถึง 6สมัย
รัฐบาล และถูกปฏิเสธไปหลายต่อหลาย
ครัiง
The Umbrellas (1991)
ผลงานในช่วงปีหลังๆพวกเขาทํางาน
ศิลปะจัดวางในรูปร่มขนาดมหึมา
ความสูง A เมตร เส้นผ่าศูนย์กลาง F
เมตร ขึGนพร้อมๆ กันในสองประเทศ
โดยร่มสีเหลืองจํานวน K,MAN คัน ถูก
ติดตัGงบนพืGนทีQกลางแจ้ งในรัฐ
แคลิฟอร์เนีย สหรัฐอเมริกา และร่มสี
ฟ้าจํานวน K,UVN คัน ถูกติดตัGงบน
พืGนทีQกลางแจ้งในจังหวัดอิบารากิ
ประเทศญีQปุ่น
ผลงานนีHสะท้อนให้เห็นถึงวิถีชีวิตของผู้อาศัยอยู่ในหุบเขาของสองประเทศทีFอยู่คนละซีกโลก และเป็นเหมือน
เพิงชัFวคราวสําหรับพักผ่อน ซีFงเชืHอเชิญให้คนผ่านไปผ่านมาได้เข้าไปอาศัยพักพิงในร่มเงา
เราได้อะไรจากเรื่องราวของพวกเขา?
- Christo & Jeanne-Claude
Street Art
Banksy
แบงก์ซี4 คือนามแฝงของ
ศิลปิน Grafiti ใต้ดิน (Street
Artist) ที4มีผลงานโดดเด่น
จํานวนมากจากผลงาน
Grafiti, Installation Art
อันมีเอกลักษณ์และทรงพลัง
โดยเขาได้ชื4อว่าเป็นศิลปินที4มี
ความลึกลับมากที4สุดในโลก
คนหนึ4ง เพราะตลอด Š‹ ปี
ยังไม่มีใครในโลก ที4รู้ตัวตนที4
แท้จริง
Banksy ได้เริ4มสร้างผลงานเมื4อ Š³ ปีที4แล้วจนถึงปัจจุบัน
ชีวิตและผลงานของเขาจึงเต็มไปด้วยความน่าค้นหา
สารคดี: Banksy Does New
York 2014
ศิลปะเป็นสิ'งที'สามารถสื'อสารกับมนุษย์ได้
ทุกรูปแบบด้วยเหตุผลที'หลากหลายของ
ศิลปินที'ได้ถ่ายทอดออกมาจากชื3นงานนั3น
Banksy Does New York สารคดีเรื'องนี3เป็น
สิ'งที'ตอกยํ3าเหตุผลข้างต้นได้ดี ความคิดทาง
ศิลปะ และงานศิลปีการพัฒนาต่อเนื'องมา
เทียบเท่ากับอารยธรรมของมนุษย์ เป็นสิ'ง
สะท้ อนถึงอารมณ์ ความคิด และ
จินตนาการ บอกเล่าเสียงที'อยู่ก้นบึ3งของ
จิตใจของผู้สร้างสรรค์ให้ออกมาในชิ3นงาน
ศิลป ผ่านศัพท์เชิงนามธรรมที'เรียกว่า
“สุนทรีย์”
Tribeca
การไว้อาลัยแก่เหตุการณ์ ›/šš ที'สามารถหยิบ
ดอกไม้ และภาพกราฟิกธรรมดามาแทรกลงไปเล่า
เรื'องได้อย่างชัดเจนแบบ Minimalism
เอกลักษณ์โดดเด่นในผลงานของเขาคือการ
สอ ด แ ท รก ประ เ ด็น ท า ง สัง ค มก า รเ มื อ ง
วิพากษ์วิจารณ์สงคราม ความปลิ3นปล้อนกลับกลอก
และโลภโมโทสันของสังคมทุนนิยม ด้วยการใช้ตัว
ละครอย่าง หนู, ลิง, ตํารวจ ทหาร ไปจนถึงเด็ก สตรี
และคนชรา
The Mild Mild West
(1997)
ผลงานศิลปะบนฝาผนังชิ3นแรก ที'เป็น
ที'รู้จักในวงกว้างของเขาคือ The Mild
Mild West (1997) งานสเปร์ยพ่นทับ
ป้ า ย โ ฆ ษ ณ า ข อ ง สํ า นัก ง า น
ทนายความ บนถนน Stokes Croft,
Bristol โดยเป็นภาพหมีเท็ดดี3กําลังจะ
ปาระเบิดขวดใส่ตํารวจปราบจลาจล
ที'กําลังย่างสามขุมเข้าหามัน
งานที'โดดเด่นมีปรากฏมากมายยกระดับ การฉีดสเปรย์
Graffiti ที'เข้าข่ายการทําลายสินทรัพย์ของเมืองออกไป
กลายเป็นงานศิลปะที'มีคุณค่า โดยการทําภาพกราฟิก
ซ้อนทับป้ายห้าม Graffitiis a Crime (2008) ที'เชื'อมโยง
ผลงานแรกๆ ของเขา
All City – Mac Donalds &
Napalm by Banksy (2004)
การเหยียดล้อ ระบบทุนนิยมที4ระบาด
ครอบงํา โดยการจ้างคนมานั4งเช็ดรองเท้า
ของ Mc Donald ที4ใบหน้าของโรนัลนัiน
กลับเหมือนเทพเจ้าองค์หนึ4ง
อีกทัiงให้ Fact ว่า หุ่นจําลอง Mc Donald
นัiนถูกสร้างมากเป็นอันดับสองรองจาก
หุ่นจําลองของพระเยซู บ่งบอกถึงระบบ
ทุนนิยมที4เข้ามาครอบงําสังคมเป็นที4
เรียบร้อย
Napalm Girl (2004-05)
ภาพซิลก์สกรีนบนกระดาษ ดูเหมือน Ronald
McDonald และ Mickey Mouse กําลังลักพา
ตัวเด็กเปลือยกายบางคน ภายในความน่ากลัว
นั3นคือใบหน้าของเธอและสิ'งที'ทําให้แย่ลงคือ
เมื'อคุณเรียนรู้บริบทของหญิงสาวจากภาพ
ต้นฉบับคือสงคราม ทุนนิยม บริโภคนิยมน่ากลัว
กว่าสงคราม?, ข้อมูล:
https://jamaispasdutoutrien.wordpress.com
/2012/10/15/napalm-2004-5-banksy/
The Sirens of the Lambs
banksy 2013
การหยิบล้อภาพของการรณรงค์ให้ละเว้น
เนื3อสัตว์ผ่านการจ้างขบวนรถขนหุ่นมือสัตว์
เศรษฐกิจ ผ่านแคมเปญภาพที'ชื'อ “The
Sirens of the Lambs” ล้อภาพยนต์ The
Silent of the Lambs ได้อย่างน่าฉงน
นอกจากจะเป็นศิลปินที4เสียดเย้ยการเมือง
อย่างเจ็บแสบแหลมคมแล้ว แบงก์ซีเป็น
ศิลปินที4สะท้อนปัญหาสังคมอย่างจริงจัง
โดยเฉพาะอย่างยิ4ง ปัญหาเกี4ยวกับผู้ลีiภัย
Dismaland (2015)
โครงการศิลปะในรูปสวนสนุกสุดสยอง ที4จิกกัดสวน
สนุกมหาชนสุดหรรษาอย่าง Disney Land อย่างเจ็บ
แสบ ที4ทําขึiนที4สถานที4พักผ่อนชายทะเลทิiงร้างชื4อ
Tropicana ในเวสตันซุปเปอร์แมร์ เมืองชายทะเล ใน
มณฑลซอเมอร์เซ็ท ประเทศอังกฤษ โดยแบงก์ซีสร้าง
สวนสนุกสุดหดหู่ที4มีสโลแกนว่าเป็น “สวนสนุกที4ตรง
ข้ามกับสวนสนุกครอบครัวและไม่เหมาะกับเด็กๆ
(อย่างแรง)” ขึiนมา ในสวนสนุกมีตัiงแต่ รปภ. กิริยา
วาจาก้าวร้าวหยาบกระด้าง สิ4งละอันพันละน้อยที4ไม่
เจริญหูเจริญตาอย่าง ม้าหมุนที4มีหุ่นนักเชือดสัตว์ ถือ
มีดด้ามยาวเปืiอนเลือดนั4งหน้าตาถมึงทึง หรือรถบัสที4
มีอุปกรณ์อันตรายและรุนแรงอย่าง โล่ปราบจราจล
และกระสุนยาง ปุ่มหนามที4ใช้กันคนจรจัดไม่ให้นอน
ในที4สาธารณะ1
1 https://themomentum.co/art-and-politic-graffiti-street-art-2-banksy/
สารคดี Banksy Does New
York, 2014
ในช่วงท้ายๆ งาน Master Pieces
ของ Banksy จริงๆ กลับไม่ใช่สิ4งที4
Banksy จะสื4อจากเหตุการณ์ทัiงหมด
เท่าที4ผมเข้าใจจากการรับชม งานชิiน
สําคัญของ Banksy กลับเป็นจิตใจ
สภาวะความท้าทาย และธาตุแท้ของ
มนุษย์ที4แสดงออกมาใส่กันโดยมีงาน
ศิลปะข้างถนนของเขาเป็นตัวเชื4อม
โดย บุคคลที4ถูกทดสอบทางจิตใจผ่าน
งานศิลปะของ Banksy นัiนมีตัiงแต่ คน
ทั4ว ไ ป นั ก วิ ช า ก า ร ไ ป จ น ถึ ง
นักการเมืองท้องถิ4น
การหยิบล้อ ผ่านตลาดคนเดินจํากัดเวลา
ซื3อขายให้ลุงหน้าตาคล้าย Stand Lee มา
นั'งขายงานศิลป Spray Art ทั3งวันในราคา
œ§$ มีคนสนใจที'ซื3องานศิลปะของเค้า
ประปราย ต่อราคาก็มีจนกระทั'งปิดร้าน
เก็บของแล้ว Banksy ก็ได้โพสท์
Instagram ภาพของงานชิ3นนั3น
ทําให้มูลค่าภาพที'ถูกซื3อขายต่อราคาไป
กลายเป็นของ มหาศาลไปทันทีพร้อมกับ
เสียงบ่นของคนมากมายที'ติดตาม Banksy
ไม่ใช่เพราะต้องการภาพเหล่านั3นในราคาที'
สูง แต่เพื'อต้องการที'จะเป็นคนแรกๆ ที'ได้
พบมันก่อน บ่งบอกถึงสภาวะของการ
แข่งขันของคนในสังคม
Banksy’s Sphinx, 2013
งานศิลปะเศรษฐอิฐ (Sphinx) ที4ถูก
คนเห็นแก่ตัวเก็บเข้ากรุไว้ประมูล
แต่สังคมออนไลน์ก็ไม่ยินดีซืiอขาย
พร้ อมประจานด่ามากมายใน
อินเทอร์เน็ตสะท้อนสภาวะของ
ความละโมบ
เมื4อเจ้าของที4มีการเก็บกัก และเก็บ
ค่าเข้าชมเป็นการตีแผ่เบืiองลึกของ
จิตใจมนุษย์ไปในทันที (บาป
Gluttony ในพระคําภีร์คือบาปของ
ความละโมบ)
แบงก์ซีเป็นศิลปินกราฟฟิตีiที4ไม่ขายรูปถ่ายผลงาน หรือผลิต
ซํiาผลงานกราฟฟิตีiและสตรีทอาร์ตของเขามาขาย นักสะสม
ส่วนใหญ่มักจะซืiอผลงานของเขาที4ทําเป็นศิลปะจัดวางบน
พืiนที4สาธารณะ หรือผลงานศิลปะในรูปแบบต่างๆ ของเขา
ผ่านตัวแทนบริการการจัดการที4ทําหน้าที4ในนามของเขาอย่าง
Pest Control บางคนถึงกับตัดผลงานกราฟฟิตีiบนผนังเขาไป
ขายในตลาด
ปี 2018
งานศิลปะ Banksy ได้มีการทําลาย
ด้วยตัวของพวกเขาตัวเอง หลังถูก
ประมูลสูงถึง •• ล้ านบาท .
เหตุการณ์ที4สร้างเสียงฮือฮาไปทั4ว
โลก ได้เกิดขึiนในงานประมูลผลงาน
ทางศิลปะ เมื4อภาพสเปรย์ที4มี
ชื4อเสียงของ Banksy ทําลายตัวเอง
ท่ามกลางสายตาผู้ คนที4มา
ร่วมงาน ทัiงที4เพิ4งถูกประมูลไป
หมาดๆ ในราคาราว •• ล้านบาท
https://www.youtube.com/watch?v=gtdI
YzOTvdg
เราได้อะไรจากเรื่องราวเหล่านี้?
- Banksy
Assignment
เงื4อนไข: (30 คะแนน, เกณฑ์ตัดเกรดเป็น Progress Based ไม่ใช่เกรดปกติ)
o งานเดี-ยว หรืองานคู่ เท่านั8น ถ้าต้องสามคนให้ตัดคนออกไป 1 ไม่ต้องใส่ใจ
o ระยะเวลาทําทัiงหมด 15 วัน แบ่งเวลาไม่ได้ก็เป็นปัญหาของพวกคุณ
o คุณภาพของงาน ถ้าเร่งทํา 1-2 วันก็จะได้คุณภาพแบบนิตยสารที4ผ่านมา ดังนัiนจัดการ
เรื4องเวลาของตัวเองเสียว่าควรแบ่งเวลายังไงให้ไม่เสี4ยงต่อการโดนหัก
ชิ้นงาน Masterpiece (แบบ Mock Installation)
ใช้แนวทางออกแบบแนว Pop Art, Confession Art, Street Art, Landscape Art,
Performance Art
o ส่ง Proposal งานและรายงานของการทํางานในรูปแบบของ Blog หรือ Videos บันทึก
ขัiนตอนการทํา
(โดยเฉพาะ Performance Art ต้องเป็น Videos แน่นอน)
o ไม่จํากัด Technic การนําเสนอ
o โจทย์คือการตีประเด็นที4สนใจ ส่ง Form storming มาก่อนให้อนุมัติ โดยมีการ Research
ที4ชัดเจน เน้นการแตกประเด็น, ตระหนักรู้ และเสียดสี ภายใต้คอนเซ็ปต์ที4ยกมา
Mock Grafiti ให้ใช้ภาพจริง
แต่ Filter Photoshop
เท่านั3น ปรับมุมให้สมจริง
อย่าลืมจุลนิพนธ์ และแนวคิด References พื้นฐานว่าจะทําอะไรเป็น
Project จบ
– แบ่งเวลาให้ดี (ไม่มีการประณีประนอม)

More Related Content

More from Banyapon Poolsawas

Design for Inspiration บทที่ 3: Italian Renaissance, Raffaello Santi
Design for Inspiration บทที่ 3: Italian Renaissance, Raffaello SantiDesign for Inspiration บทที่ 3: Italian Renaissance, Raffaello Santi
Design for Inspiration บทที่ 3: Italian Renaissance, Raffaello SantiBanyapon Poolsawas
 
Design for Inspiration บทที่ 2: Italian Renaissance, Michelangelo Buonarroti
Design for Inspiration บทที่ 2: Italian Renaissance, Michelangelo BuonarrotiDesign for Inspiration บทที่ 2: Italian Renaissance, Michelangelo Buonarroti
Design for Inspiration บทที่ 2: Italian Renaissance, Michelangelo BuonarrotiBanyapon Poolsawas
 
Design for Inspiration บทที่ 1: Italian Renaissance, Sandro Botticelli
Design for Inspiration บทที่ 1: Italian Renaissance, Sandro BotticelliDesign for Inspiration บทที่ 1: Italian Renaissance, Sandro Botticelli
Design for Inspiration บทที่ 1: Italian Renaissance, Sandro BotticelliBanyapon Poolsawas
 
Designing the Future of Game 2020
Designing the Future of Game 2020Designing the Future of Game 2020
Designing the Future of Game 2020Banyapon Poolsawas
 
Class6 ศาสตร์ของการเล่าเรื่อง และ แนวคิดด้านนวัตกรรม Art of Story Telling & I...
Class6 ศาสตร์ของการเล่าเรื่อง และ แนวคิดด้านนวัตกรรม Art of Story Telling & I...Class6 ศาสตร์ของการเล่าเรื่อง และ แนวคิดด้านนวัตกรรม Art of Story Telling & I...
Class6 ศาสตร์ของการเล่าเรื่อง และ แนวคิดด้านนวัตกรรม Art of Story Telling & I...Banyapon Poolsawas
 
Class 5 การออกแบบเพื่อสร้างแรงบันดาลใจ หลัก Gestalt Principles
Class 5 การออกแบบเพื่อสร้างแรงบันดาลใจ หลัก Gestalt PrinciplesClass 5 การออกแบบเพื่อสร้างแรงบันดาลใจ หลัก Gestalt Principles
Class 5 การออกแบบเพื่อสร้างแรงบันดาลใจ หลัก Gestalt PrinciplesBanyapon Poolsawas
 
Class 3 การออกแบบเพื่อสร้างแรงบันดาลใจ Visual Hierarchy และ Grid system
Class 3 การออกแบบเพื่อสร้างแรงบันดาลใจ Visual Hierarchy และ Grid systemClass 3 การออกแบบเพื่อสร้างแรงบันดาลใจ Visual Hierarchy และ Grid system
Class 3 การออกแบบเพื่อสร้างแรงบันดาลใจ Visual Hierarchy และ Grid systemBanyapon Poolsawas
 
Class2 การออกแบบเพื่อสร้างแรงบันดาลใจ Dots Lines and Planes
Class2 การออกแบบเพื่อสร้างแรงบันดาลใจ Dots Lines and PlanesClass2 การออกแบบเพื่อสร้างแรงบันดาลใจ Dots Lines and Planes
Class2 การออกแบบเพื่อสร้างแรงบันดาลใจ Dots Lines and PlanesBanyapon Poolsawas
 
Class1 การออกแบบเพื่อสร้างแรงบันดาลใจ Formstorming
Class1 การออกแบบเพื่อสร้างแรงบันดาลใจ FormstormingClass1 การออกแบบเพื่อสร้างแรงบันดาลใจ Formstorming
Class1 การออกแบบเพื่อสร้างแรงบันดาลใจ FormstormingBanyapon Poolsawas
 
การออกแบบกราฟิก 3D ด้วย Blender 2.8+ โดย อาจารย์ บัญญพนต์ พูลสวัสดิ์ Chapter 2
การออกแบบกราฟิก 3D ด้วย Blender 2.8+ โดย อาจารย์ บัญญพนต์ พูลสวัสดิ์ Chapter 2การออกแบบกราฟิก 3D ด้วย Blender 2.8+ โดย อาจารย์ บัญญพนต์ พูลสวัสดิ์ Chapter 2
การออกแบบกราฟิก 3D ด้วย Blender 2.8+ โดย อาจารย์ บัญญพนต์ พูลสวัสดิ์ Chapter 2Banyapon Poolsawas
 
การออกแบบกราฟิก 3D ด้วย Blender 2.8+ โดย อาจารย์ บัญญพนต์ พูลสวัสดิ์ Chapter 1
การออกแบบกราฟิก 3D ด้วย Blender 2.8+ โดย อาจารย์ บัญญพนต์ พูลสวัสดิ์ Chapter 1 การออกแบบกราฟิก 3D ด้วย Blender 2.8+ โดย อาจารย์ บัญญพนต์ พูลสวัสดิ์ Chapter 1
การออกแบบกราฟิก 3D ด้วย Blender 2.8+ โดย อาจารย์ บัญญพนต์ พูลสวัสดิ์ Chapter 1 Banyapon Poolsawas
 
DA393 Course Activity วิชาการออกแบบเพื่อสร้างแรงบันดาลใจ 3 อาจารย์ บัญญพนต์ พ...
DA393 Course Activity วิชาการออกแบบเพื่อสร้างแรงบันดาลใจ 3 อาจารย์ บัญญพนต์ พ...DA393 Course Activity วิชาการออกแบบเพื่อสร้างแรงบันดาลใจ 3 อาจารย์ บัญญพนต์ พ...
DA393 Course Activity วิชาการออกแบบเพื่อสร้างแรงบันดาลใจ 3 อาจารย์ บัญญพนต์ พ...Banyapon Poolsawas
 
ANT College of Creative Design and Entertainment Technology
ANT College of Creative Design and Entertainment TechnologyANT College of Creative Design and Entertainment Technology
ANT College of Creative Design and Entertainment TechnologyBanyapon Poolsawas
 
Utilizing Swarm Intelligence for Pathfinding in Virtual Reality Game
by Ant s...
Utilizing Swarm Intelligence for Pathfinding in Virtual Reality Game
by Ant s...Utilizing Swarm Intelligence for Pathfinding in Virtual Reality Game
by Ant s...
Utilizing Swarm Intelligence for Pathfinding in Virtual Reality Game
by Ant s...Banyapon Poolsawas
 
GT306 Environment And Level Design Blender Tutorial
GT306 Environment And Level Design Blender TutorialGT306 Environment And Level Design Blender Tutorial
GT306 Environment And Level Design Blender TutorialBanyapon Poolsawas
 
25 principles of mobile site design, Google Partners Program
25 principles of mobile site design, Google Partners Program25 principles of mobile site design, Google Partners Program
25 principles of mobile site design, Google Partners ProgramBanyapon Poolsawas
 
การสื่อภาษา - ศูนย์เตรียมความพร้อมเพื่อการทำงาน
การสื่อภาษา - ศูนย์เตรียมความพร้อมเพื่อการทำงานการสื่อภาษา - ศูนย์เตรียมความพร้อมเพื่อการทำงาน
การสื่อภาษา - ศูนย์เตรียมความพร้อมเพื่อการทำงานBanyapon Poolsawas
 
Infographics Course at DPU 2015
Infographics Course at DPU 2015Infographics Course at DPU 2015
Infographics Course at DPU 2015Banyapon Poolsawas
 
NCIT 2015 - The Development of Game Engine in Learning Media
NCIT 2015 - The Development of Game Engine in Learning MediaNCIT 2015 - The Development of Game Engine in Learning Media
NCIT 2015 - The Development of Game Engine in Learning MediaBanyapon Poolsawas
 

More from Banyapon Poolsawas (20)

Design for Inspiration บทที่ 3: Italian Renaissance, Raffaello Santi
Design for Inspiration บทที่ 3: Italian Renaissance, Raffaello SantiDesign for Inspiration บทที่ 3: Italian Renaissance, Raffaello Santi
Design for Inspiration บทที่ 3: Italian Renaissance, Raffaello Santi
 
Design for Inspiration บทที่ 2: Italian Renaissance, Michelangelo Buonarroti
Design for Inspiration บทที่ 2: Italian Renaissance, Michelangelo BuonarrotiDesign for Inspiration บทที่ 2: Italian Renaissance, Michelangelo Buonarroti
Design for Inspiration บทที่ 2: Italian Renaissance, Michelangelo Buonarroti
 
Design for Inspiration บทที่ 1: Italian Renaissance, Sandro Botticelli
Design for Inspiration บทที่ 1: Italian Renaissance, Sandro BotticelliDesign for Inspiration บทที่ 1: Italian Renaissance, Sandro Botticelli
Design for Inspiration บทที่ 1: Italian Renaissance, Sandro Botticelli
 
Designing the Future of Game 2020
Designing the Future of Game 2020Designing the Future of Game 2020
Designing the Future of Game 2020
 
Class6 ศาสตร์ของการเล่าเรื่อง และ แนวคิดด้านนวัตกรรม Art of Story Telling & I...
Class6 ศาสตร์ของการเล่าเรื่อง และ แนวคิดด้านนวัตกรรม Art of Story Telling & I...Class6 ศาสตร์ของการเล่าเรื่อง และ แนวคิดด้านนวัตกรรม Art of Story Telling & I...
Class6 ศาสตร์ของการเล่าเรื่อง และ แนวคิดด้านนวัตกรรม Art of Story Telling & I...
 
Class 5 การออกแบบเพื่อสร้างแรงบันดาลใจ หลัก Gestalt Principles
Class 5 การออกแบบเพื่อสร้างแรงบันดาลใจ หลัก Gestalt PrinciplesClass 5 การออกแบบเพื่อสร้างแรงบันดาลใจ หลัก Gestalt Principles
Class 5 การออกแบบเพื่อสร้างแรงบันดาลใจ หลัก Gestalt Principles
 
Class 3 การออกแบบเพื่อสร้างแรงบันดาลใจ Visual Hierarchy และ Grid system
Class 3 การออกแบบเพื่อสร้างแรงบันดาลใจ Visual Hierarchy และ Grid systemClass 3 การออกแบบเพื่อสร้างแรงบันดาลใจ Visual Hierarchy และ Grid system
Class 3 การออกแบบเพื่อสร้างแรงบันดาลใจ Visual Hierarchy และ Grid system
 
Class2 การออกแบบเพื่อสร้างแรงบันดาลใจ Dots Lines and Planes
Class2 การออกแบบเพื่อสร้างแรงบันดาลใจ Dots Lines and PlanesClass2 การออกแบบเพื่อสร้างแรงบันดาลใจ Dots Lines and Planes
Class2 การออกแบบเพื่อสร้างแรงบันดาลใจ Dots Lines and Planes
 
Class1 การออกแบบเพื่อสร้างแรงบันดาลใจ Formstorming
Class1 การออกแบบเพื่อสร้างแรงบันดาลใจ FormstormingClass1 การออกแบบเพื่อสร้างแรงบันดาลใจ Formstorming
Class1 การออกแบบเพื่อสร้างแรงบันดาลใจ Formstorming
 
การออกแบบกราฟิก 3D ด้วย Blender 2.8+ โดย อาจารย์ บัญญพนต์ พูลสวัสดิ์ Chapter 2
การออกแบบกราฟิก 3D ด้วย Blender 2.8+ โดย อาจารย์ บัญญพนต์ พูลสวัสดิ์ Chapter 2การออกแบบกราฟิก 3D ด้วย Blender 2.8+ โดย อาจารย์ บัญญพนต์ พูลสวัสดิ์ Chapter 2
การออกแบบกราฟิก 3D ด้วย Blender 2.8+ โดย อาจารย์ บัญญพนต์ พูลสวัสดิ์ Chapter 2
 
การออกแบบกราฟิก 3D ด้วย Blender 2.8+ โดย อาจารย์ บัญญพนต์ พูลสวัสดิ์ Chapter 1
การออกแบบกราฟิก 3D ด้วย Blender 2.8+ โดย อาจารย์ บัญญพนต์ พูลสวัสดิ์ Chapter 1 การออกแบบกราฟิก 3D ด้วย Blender 2.8+ โดย อาจารย์ บัญญพนต์ พูลสวัสดิ์ Chapter 1
การออกแบบกราฟิก 3D ด้วย Blender 2.8+ โดย อาจารย์ บัญญพนต์ พูลสวัสดิ์ Chapter 1
 
DA393 Course Activity วิชาการออกแบบเพื่อสร้างแรงบันดาลใจ 3 อาจารย์ บัญญพนต์ พ...
DA393 Course Activity วิชาการออกแบบเพื่อสร้างแรงบันดาลใจ 3 อาจารย์ บัญญพนต์ พ...DA393 Course Activity วิชาการออกแบบเพื่อสร้างแรงบันดาลใจ 3 อาจารย์ บัญญพนต์ พ...
DA393 Course Activity วิชาการออกแบบเพื่อสร้างแรงบันดาลใจ 3 อาจารย์ บัญญพนต์ พ...
 
ANT College of Creative Design and Entertainment Technology
ANT College of Creative Design and Entertainment TechnologyANT College of Creative Design and Entertainment Technology
ANT College of Creative Design and Entertainment Technology
 
Utilizing Swarm Intelligence for Pathfinding in Virtual Reality Game
by Ant s...
Utilizing Swarm Intelligence for Pathfinding in Virtual Reality Game
by Ant s...Utilizing Swarm Intelligence for Pathfinding in Virtual Reality Game
by Ant s...
Utilizing Swarm Intelligence for Pathfinding in Virtual Reality Game
by Ant s...
 
GT306 Environment And Level Design Blender Tutorial
GT306 Environment And Level Design Blender TutorialGT306 Environment And Level Design Blender Tutorial
GT306 Environment And Level Design Blender Tutorial
 
25 principles of mobile site design, Google Partners Program
25 principles of mobile site design, Google Partners Program25 principles of mobile site design, Google Partners Program
25 principles of mobile site design, Google Partners Program
 
Innovation Design Methods
Innovation Design MethodsInnovation Design Methods
Innovation Design Methods
 
การสื่อภาษา - ศูนย์เตรียมความพร้อมเพื่อการทำงาน
การสื่อภาษา - ศูนย์เตรียมความพร้อมเพื่อการทำงานการสื่อภาษา - ศูนย์เตรียมความพร้อมเพื่อการทำงาน
การสื่อภาษา - ศูนย์เตรียมความพร้อมเพื่อการทำงาน
 
Infographics Course at DPU 2015
Infographics Course at DPU 2015Infographics Course at DPU 2015
Infographics Course at DPU 2015
 
NCIT 2015 - The Development of Game Engine in Learning Media
NCIT 2015 - The Development of Game Engine in Learning MediaNCIT 2015 - The Development of Game Engine in Learning Media
NCIT 2015 - The Development of Game Engine in Learning Media
 

Class 7 รีวิว The Master กระบวนการถ่ายทอดผลงานทางศิลปะ การทำงานศิลปะอย่างมีจินตนาการ ความคิดสร้างสรรค์ มีระบบระเบียบเป็นขั้นเป็นตอน

  • 1. The Master การออกแบบเพื่อ สร้างแรงบันดาลใจ 3 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ บัญญพนต์ พูลสวัสดิ์ 7References: § ภาณุ บุพิพัฒนาพงศ์, Inside Art, Outside Art § Pat Hackett,POPism: The Warhol Sixties § Marina Abramovic’, Marina Abramovic: Writings 1960-2014 § Banksy Does New York, the original HBO documentary online
  • 3. เรามาเริ่มจากการคิดกันดีกว่า คอนเซปต์ของงานศิลปะจากแผนภูมินี้คืออะไร? ศิลปะคือสิ่งที่งดงานและรู้สึกดี ศิลปะคือการระเบิดบางสิ่งออกมา ผลงานศิลปะทั่วไปหอคอยแห่งพระอาทิตย์ โลกแห่งประสบการณ์ คอนเซ็ปต์ที่ว่า “ศิลปะคือการระเบิด ออกมา” มันขายได้ทั้งที่จริง เรายัง ไม่รู้เลยว่า หอคอยแห่งพระอาทิตย์ มันคืออะไร? มันจะออกมาเป็นแบบ ไหน? คอนเซ็ปต์เป็นสิ่งที่บอกเราได้ว่า “ควรทําอะไร” และ “ไม่ควรทําอะไร” สร้างความตื่นเต้น
  • 4. โครงสร้างวิธีคิดแบบ 4 ช่องทาง เปรียบเทียบแนวคิดแบบวันเวย์ยึดผู้บริโภคผู้ชมเป็นหลัก สังคม และยุคสมัย วิถีชีวิตของ ผู้บริโภค สินค้า บริการ ผลงานของเรา สินค้า บริการ ผลงานของคู่แข่ง อารมณ์ ความรู้สึก โครงสร้างวิธีคิดแบบ 4 ช่องทาง วิสันทัศน์ ถ้ากลุ่มเป้าหมาย เป็นแบบนี้ต้อง... สินค้า ผลงาน บริการ ลงมือทํา ถ้าเงื่อนไขเป็นแบบนี้ ถ้าคอนเซ็ปต์เป็นแบบ นี้ต้องทําอะไร แนวคิดแบบวันเวย์ยึดผู้บริโภคผู้ชมเป็นหลัก
  • 7. ภาพพิมพ์ของดาราสาวสุด เซ็ก ซี4 ใน ตํ า น า น อ ย่าง Marilyn Monroe มาเรียงต่อ กันแล้วสาดด้วยสีสันที4ตัด กันได้อย่างบาดตาบาดใจ ผู้กําหนดนิยามความหมาย ของศิลปะป็อปอาร์ตด้วย การเสียดสีและล้อเล่นกับ สังคมบริโภคนิยมนั4นเอง และผลงานที4กล่าวมา ข้างต้นก็คือผลงานเลื4องชื4อที4 ติดอยู่ในความทรงจําของคน ม า ก ที4 สุ ด คื อ Marilyn Diptyque ในปีค.ศ. (1962) Pop Art คืออะไร? หลายคนน่าจะคุ้นเคยกับแนวดนตรี ”ป๊ อป” ซึ4งมาจากคําว่า Popular นิยามของมันก็น่าจะแปลว่า “สิ4งที4เข้าถึงคนหมู่มาก ได้” เรียกสิ4งนัiนว่า ป๊อป หรือมีคุณสมบัติความเป็น ป๊อป
  • 8. ศิลปะแบบ Pop Art วัฒนธรรมป๊ อปถูกแตกประเด็นจาก ช่วงของยุคที4ใช้เทคโนโลยีมาเป็นสื4อ หลัก ทัiงวิทยุ โทรทัศน์ สิ4งพิมพ์ การ์ตูน (Fleischer Studios, 1920s ก่อนจะ ถูกชิงบัลลังค์ด้วย Walt Disney) ทุกสิ4ง ถูกสังคมพิพากษ์ในช่วงหนึ4งว่าสื4อ เหล่านีiเป็นสื4อที4ฉาบฉวยและอายุสัiน ไม่น่าจะเข้ามาแทนสื4อหลักได้ แต่ สุดท้าย สื4อเหล่านีiกลายเป็นสื4อหลักใน ยุคถัดๆ มาจนถึงปัจจุบันก็ยังมีอิทธิพล การ์ตูนของ Fleischer Studios ปี 1920-1930s มีอิทธิพลต่อเกม Cuphead (เกมยิงผ่านด่านสุดยากที4ได้รับความนิยมสูงสุดช่วงปี 2019)
  • 9. Fleischer Studios, 1920s Concept Art และ การออกแบบปัจจุบันที'ได้รับอิทธิพล
  • 10. แล้วคําว่า Pop Art เกิดขึ3นครั3งแรกใน อังกฤษและสหรัฐฯ กลางปี 1950 และ ปลายทศวรรษ ศิลปะ Pop Art เติบโต ขึ3นมาพร้อมกับแนวคิดด้านสังคม บริโภคนิยมหลังสงครามโลกครั3งที'สอง ในเมืองใหญ่ อย่าง ลอนดอน, นิวยอร์ก และลอสเองเจลิส ความวูบวาบฉาบฉวยจากสื'อที'ว่ามา ตอนแรก ผ่านสายตานับล้านร่วมสมัย จนถึงทุกวันนี3ศิลปะแนว Pop Art ก็ หยิปเอาสิ'งเหล่านี3มานําเสนองาน ศิลปะอีกที คําว่า Pop ไม่ได้หมายถึง กลุ่มศิลปิน หรือสไตล์ หรือลัทธิใดๆ ทางด้าน ศิลปะ ขอแค่มีองค์ประกอบของการ เล่าถึงภาพ หรือเรื'องราวของบุคคล สิ'งของที'เป็นที'รู้จักในสังคม ดารา นักการเมือง คนดัง ตัวการ์ตูนอย่าง Mickey Mouse หรือโคคา โคล่า ด้วย สีสันสดใสฉูดฉาด ไม่จํากัดรูปแบบ เทคนิค เป้าหมายเพื*อวิพากษ์วิจารณ์ วัฒนธรรมแบบป๊ อปๆ ที*อยู่ราย ล้อมรอบตัวเรา
  • 11. In the future, everyone will be world-famous for 15 minutes. -1968s Andy Warhol ในอนาคตทุกคนจะมีชื0อเสียง ระดับโลกคนละ 15 นาที
  • 12. Andy Warhol มีความสนใจเรื4 อง วัฒนธรรมบริโภคนิยมในช่วงเวลาที4เขา ยังมีชีวิตอยู่ นั4นก็คือช่วงยุค 50–60s ซึ4ง เป็นช่วงเวลาที4อเมริกาเดินหน้าเข้าสู่ สังคมบริโภคนิยมอย่างเต็มกําลัง คน อเมริกันไม่ได้บริโภคแค่อาหารหรือ สินค้า แต่ยังบริโภคภาพลักษณ์หรือ อิมเมจด้วย โดยการเสพจากรายการ โทรทัศน์หรือโฆษณาเป็นหลัก ในช่วง เวลาที4โทรทัศน์กลายเป็นสิ4งของจําเป็น ที4ทุกบ้านต้องมี ในมุมมองของ Warhol ภาพลักษณ์ของสินค้าหรือดาราที4เห็นใน สื4อเปรียบเสมือนพระเจ้าแห่งการบริโภค นิยมที4สิงสถิตอยู่ในสื4อไปตลอดกาล ภาพของมอนโรที4ค่อย ๆ เปลี4ยนจากสีสันฉูดฉาดใน ฝั4งซ้าย มาสู่ภาพขาวดําในฝั4งขวา จึงสะท้อนให้เห็น ถึงกระบวนการของสื4อในการทําให้ดาราที4แม้จะ เสียชีวิตไปแล้ว แต่ยังคงมีชีวิตอยู่ในความทรงจําของ คนไปตลอดกาล ราวกับว่าดารามีชีวิตอมตะ ไม่ต่าง จากพระเจ้า - Christie's Andy Warhol (1928- 1987), Marilyn Monroe (Marilyn) | 1960s
  • 13. Installation view of the exhibition, "Andy Warhol: Campbell's Soup Cans and Other Works, 1953-1967"
  • 14. Andy Warhol (Andrew Varchola Jr.) เกิดในปี ˆ‰Š‹ ในครอบครัว ชาวสโลวาเกียอพยพที4อาศัยในเมือง พิตส์เบิร์ก เมื4อเรียนจบปริญญาตรี ด้านศิลปะและย้ายเข้ามหานคร นิวยอร์กในปี ˆ‰•‰ เขาก็เปลี4ยนชื4อ ตัวเองเป็ น Andy Warhol แล้ ว เริ4มต้นเส้นทางอาชีพนักออกแบบ โฆษณา แม้จะประสบความสําเร็จ บนเส้นทางโฆษณาเป็นอย่างดี เขา ไม่ใช้ผู้ให้กําเนิน Pop Art แต่เป็นคน ที4ประสบความสําเร็จในศิลปะแนวนีi มากที4สุด
  • 15. ผลงาน Marilyn Diptyque ก็จัด แสดงในงานครั3งนี3ด้วย ซึ'งนัก วิจารณ์ก็ยกย่อง Warhol ในการ ผสานศิลปะและงานดีไซน์เชิง พาณิชย์เข้าด้วยกัน แล้วนําเสนอ ประเด็นเรื' องการบริ โภคใน ชีวิตประจําวันของคนได้อย่างเฉียบ คมตามบริบทของบริโภคนิยมผลงานที4จุดประกายให้ Warhol เป็นที4รู้จักในฐานะศิลปินก็คือการจัดแสดงผลงานเดี4ยวครัiงแรกในปี ˆ‰•Š ที4 เขานําภาพวาดกระป๋ องซุปยี4ห้อ Campbell และธนบัตรดอลลาร์มาเรียงรายต่อกัน
  • 16.
  • 20. Performance Art ตั3งแต่ทศวรรษที' 50s,ศิลปินหลายคนเริ'มหัน ไปทํางานศิลปะแนว Performance Art (ที' เริ'มต้นในยุคของกลุ่ม อาวอง-การ์ด ช่วง ทศวรรษที' 10s) ศิลปินด้าน Body Art หรือ Performance Art ที'มีอิทธิพลมากที'สุด และถือว่าเป็นอาจารย์ ระดับตัวแม่ก็คงไม่พ้น Marina Abramovic’ ศิลปินชาวเซอร์เบียนคนนีiเกดปี 1946 เมือง เบลเกรด ยูโกสลาเวีย (เซอร์เบีย), ท่ามกลางปัญหาสงครามและอิสระภพ แต่ Abramovic’ ก็ยังคงเติบโตท่ามกลาง ศิลปะ พบเจอเหล่าศิลปินหัวก้าวหน้า มากมาย ได้เข้าศึกษาที4 Academy of Fine Arts ปี 965-1972 และสถาบัน Krsta Hegedusic, Academy of Fine Arts ในเซอร์เบีย วันหนึ4งศิลปินคนนีiก็ได้ตระหนักรู้ว่า ศิลปะนัiนสร้างจากอะไรก็ได้ แม้แต่ความว่างเปล่า ศิลปะนัiนไม่จําเป็นต้องมี สี พู่กัน หรือผ้าใบ แต่เป็น “ความคิด” Rhythm 10 (1973), Marina Abramovic’ การแสดงผลของเธอโดยการนั'งลงแล้วใช้มีด 20 เล่มทําการสับไปมาระหว่าง นิ3วมือ หากมีการบาดนิ3วของเธอจะมีการเปลี'ยนใบมีดทําแบบนี3ไปเรื'อยๆจน ครบ 20 ครั3ง
  • 21. ความหมายของงาน Rhythm 10 Abramovic’ ได้บันทึกการสับแทงมีดทั3ง 20 เล่มไว้ในการแสดงสดพอเธอแทงมีดครบ 20เล่มเธอจะนําเสียงของการแทงทั3ง 20 เล่มนั3นมาเล่นซํ3าแล้วเลียนแบบการแทง แบบเดิมรอบแรกให้ตรงจังหวะเดิมให้มาก ที'สุดเพื'อที'จะทดสอบขีดจํากัดของร่างกาย ตัวเองว่าได้มากแค่ไหน ซึ'งในที'สุดก็ได้คําตอบว่า ทุกอย่างไม่เกี'ยวกับ ร่างกาย แต่มันเกี'ยวกับจิตใจที'ทําให้เธอก้าว ผ่านขีดจํากัดต่างๆไปได้ สําหรับ Abramovic’ เป็นการตระหนักรู้ว่าขอบเขตของคําว่าเป็นไป ไม่ได้นั3นอยู่ที'จิตใจ และถ้าแข็งแกร่งพอก็จะ เป็นไปได้ หลังจากงาน Rhythm 10 แนวคิดนั3นได้ กลายเป็นแบบแผนปฏิบัติของเธอในงานต่อๆ ไปอีกมากมาย https://vimeo.com/124559917
  • 22. แนวคิดหนึ4งที4เธอเชื4อคือเรื4อง พิธีกรรมทางศาสนา (Ritual)เชิง บูชายัญสอดแทรกเข้าไปในงาน ศิลปะ โดยการเผชิญหน้ากับความ เจ็บปวด ความเหน็ดเหนื4อย กิจกรรมที4ใกล้ความตาย และ บาดแผล ผ่านการทดสอบขีดจํากัด ของตัวเอง ผ่านเนืiอหางานศิลปะที4 เธอจัดแสดง ซึ4งมักสะท้อนถึงความ รุนแรง ประเด็นทางเพศ หรือความ ไม่มั4นคงของชีวิต (ความตาย) Marina Abramović, “Rhythm 0,” 1974 เป็นผลงานที4อืiอฉาวอีกครัiงของเธอที4จัดแสดง งาน เพื4อวัดพฤติกรรมด้านลบของมนุษย์ ดอกกุหลาบ ขนนก กรรไกร มีดผ่าตัด ปากกา แส้ และ ปืนพกที4บรรจุ กระสุนหนึ4งนัด จากนัiนก็ใช้ประโยค “ฉันคือสิ4งของ” เชืiอเชิญให้ผู้เยี4ยม ชมทําอะไรก็ได้กับเธอใน 6 ชั4วโมงที4จัดการแสดง
  • 23. เรื่องราว และความหมายของงาน Rhythm 0 ในช่วงแรกผู้ที4เข้าชมงานศิลปะของเธอก็ นําดอกไม้มามอบให้ จูบเธอเบาๆ เอาขน นกมาแหย่เอเล่น จนภายหลังก็กลายเป็น การเอาปากกามมาเขียนบนตัวเธอ เอา กรรไกรมาตัดเสืiอผ้าของเธอออก บางคน เอามีดมากรีดเธอ ดูดเลือดเธอ หนักข้อ คือเอาปืนจ่อขมับเธอ (ซึ4งมีผู้ชมบางกลุ่ม ออกมาปกป้องอยู่เพาะกลัวเกิดเหตุร้าย) เมื4อจบการแสดงเธอเดินเข้าหาเหล่าผู้ชม ที4กระทํายํ4ายีเธอ ผลคือวิ4งหนักระเจิง เพราะกลัวเธอเอาคืนกับที4ทําไว้ ผลงาน Rhythm 0 เป็นการบอกกับเรากรายๆว่าถ้ามนุษย์ไม่ต้องรับผิดชอบ อะไรกับการกระทําของตนเอง การทําเรื4องเลวทรามตํ4าช้าก็สามารถกรพทํา ได้โดยไม่ต้องคิดพินิจอะไร แรงบันดาลจากจาก Abramovic’ ?
  • 24. Thomas Lips (1975) ใช้มีดโกนกรีดบนหน้าท้องรอบสะดือเป็น รูปดาว (คอมมิวนิส) นอนบนไม้กางเขน สะท้อนถึง แม่ และระบอบการปกครอง เผด็จการ 1975 แต่งงานกับศิลปิน Frank Uwe Laysiepen (แฟรงค์ อูเว ไลซีเปียน) หรือ Ulay (อูไล) เดินทางทั4วยุโรปแสดงงานคู่เช่น Imponderablia (1977) https://www.youtube.com/watch?v=AQH_psNMvnU เปลือยกายให้ผู้เข้าชมเดินผ่านทางเข้าแคบๆ วัดผลว่าจะเลือกหันไปทาง ไหน สัมผัสกับใครให้ผู้ชมเลือกเอง Breathing In, Breathing Out (1977) ทัiงคู่ประกบปากกันแล้วผลัดกันสูดและปล่อยลม หายใจจนเกือบหายใจไม่ทัน Relation in Time (1977) มัดผมหันหลัง 16 ชั4วโมง
  • 25. Light/Dark (1977) ตบหน้ากันฉาดใหญ่ไปเรืFอยๆ Rest Energy (1980) ความเปราะบางของความรัก ความสัมพันธ์ชีวิตความ ตายให้ Ulay ง้างสายของธนูสุดแรงลูกธนูห่างหัวใจ ของเธอไม่กี4นิiว เป็นการพิสูจน์ความรักถ้า Ulay ปล่อย มือหรือหมดแรงเมื4อไรเธอตายทันที (เป็นการพิสูจน์ ความเชื4อใจ)
  • 26. The Lovers: the Great wall walk (1988) ทัiงคู่ยุติความสัมพันธ์ของสามีภรรยากันหลังจากอยู่กินกัน 12 ปี เพราะความขัดแย้งทางด้านทัศนคติของการทํางาน และความคิด ปิด ฉากด้วยงานที4ใช้เวล่ของเขาและเธอสามเดือนเดินทางจากปลายของ กําแพงเมืองจีนคนละฝั4ง 2,500 กิโลเมตรเพื4อกล่าวคําอําลากันตรง กลางของกําแพงเมืองจีนก่อนแยกย้ายกันไป The House with the Ocean View (2002) หลังจากจัดงานแบบเดี4ยวหลังจากเลิกรากับ Ulay ไปงานแสดงที4เปลี4ยมมุมมองอีกงานคือการขัง ตัวเองในห้องสี4เหลี4ยมเปิดโล่งสูงจากพืiนหกฟุตในหอศิลป์ Sean Kelly, New York เธอดื4มแค่ นํiาเปล่า เปลี4ยนสีชุด ไม่พูดจา นอนหลับ ขับถ่าย อาบนํiาต่อผู้ชมเพราะบันไดทางลงนัiนทําจาก มีดแล่เนืiอที4คมพอจะตัดเนืiออวัยวะของเธอได้
  • 27. The Artist is Present (2010) แสดง Performance สดจัดที' MoMA ให้คนมานั'งจ้องตาเธอเงียบๆห้านาที ละในนั3นมี Ulay ทําให้เธอร้องไห้เป็นที'ฮือฮา, ซึ'งภายหลังก็ฟ้องร้องกันเรื'อง ละเมิดแนวคิดผลงานร่วมกันที'เธอมาจัดแสดงคนเดียว Ulay มาปรากฏตัวในงาน หมายเหตุ: เคยมีการจัดที' Bangkok Art Biennale 2018
  • 31. Tracey Emin โด่งดังจากการตีแผ่ ชีวิต และความสัมพันธ์ส่วนตัวต่อ สาธารณชนผ่านสื4อสมัยนิยม เช่น บาดแผลจากการถูกข่มขืน, ขาย หน้าต่อหน้าสาธารณะ การทําแท้ง เถื4อน การติดสุรา ไปจนถึงสิ4งที4 หลายคนเรียกว่าสําส่อนทางเพศ ซึ4งนั4นคือหัวข้อ Confession Art ของเธอ Confession Art เป็นศิลปะเฉพาะของ ศิลปินหญิงใช้ผลงานเหมือนเครื'องมือ ถ่ายทอดชีวิตแนวอัตชีวประวัติของ ตัวเอง Exorcism of the Last Painting I Ever Made (1996)
  • 32. Tracey Emin ถือเป็นผู้มีอิทธิพลใน กลุ่มที4เรี ยกว่า Young British Artists (YBAs) มีบทบาทต่อศิลปะ ร่วมสมัยในอังกฤษช่วงปลาย 80s ถึงต้น 90s ในแง่ของการเปิดกว้าง งานด้วยวัสดุที4หลากหลายขึiน และ ส่วนใหญ่เป็นศิลปะแนวทดลอง experiment art และ modern art ปี 80s-90s, YBAs ทําลายกําแพง วัฒนธรรมชัiนตํ4า และชัiนสูง แบบ ทะลุกรอบกฏเกณฑ์ และขีดจํากัด การออกแบบ Bad Girl of British Art Emin เธอมักจะแสดงพฤติกรรมกร้านโกต่อ หน้าสาธารณะชน งานศิลปะของเธอ แสดงออกถึงสิ4งที4อยู่คู่ตรงข้ามของความรู้สึก นึกคิดของเพศหญิงอย่างตรงไปตรงมาจน พวกอนุรักษ์นิยมทนไม่ได้
  • 33. Emin, Everyone i have ever slept with (1963-1995) เต็นท์ขนาดใหญ่ปักด้วยเศษผ้าที4ปักชื4อของคนที4 เธอนอนด้วยทัiงผู้ชาย และผู้หญิง จัดแสดงใน Royal Academy of Arts นิทรรศการ Sensation เสียดสีค่านิยมของผู้ชายที4ชื4นชมคุยโม้โอ้อวดกันว่า มีคู่นอนกี4คนแบบสนุกปาก (Feminist) ทัiงที4ผู้หญิง ต้องเก็บความลับห้ามบอกใคร,งานจัดแสดงใน นิทรรศกาลของกลุ่มอนรักษ์นิยม
  • 34. My Bed (1998) งานศิลปะจัดวางแบบเอาข้าวของ ชีวิตประจําวันของเรามาแปลงให้ เป็นศิลปะ (Readymades) เตียง นอนที4แสนยับย่น สกปกที4เธอใช้ เวลาอยู่บนนัiนหลายสัปดาห์ทาน อาหาร ดื4มสุรา กินอาหาร หลับ นานกับใครสักคน และมีคราบ ประจําเดือน ถุงยางอนามัยใช้ แล้ว เป็นต้น เสียดสีผู้หญิงที4ถูกมองว่าเป็นกุล สตรีที4ต้องงานพร้อมเพรียงเปี4ยม มารยาทสะอาดสะอ้านว่าจริงๆ เป็ นแค่ภาพลวงเพื4อให้ ชาย หลงไหล
  • 35. Emin สวมบท Bad Girl ต่อ หน้าสาธารณชนเพื4ออยากรู้ การตอบสนองของคนทั4วไป และกระตุ้ นให้ เกิดการ วิพากษ์วิจารณ์แบบเปิด To Meet My Past (2002) ศิ ล ป ะ ก า ร จั ด ว า ง Confession & Installation เตียงนอนที4สะอาดสะอ้าน จัดแบบประณีตมีตัวอักษร ปักมือเรียบร้ อย ถ้อยคํา เปิดเผยประสบกาณ์ในวัย แรกรุ่น กับการกลัวเรื4องเพศ และการถูกล่วงละเมิด เธอถ่ายทอดประสบการณ์ทําแท้งเถื4อนผ่านการวาดภาพสีนํiามัน หรือผลงานเสียดสีสังคมสวมเสืiอผ้าแบรนด์เนมชื4อดัง แล้งกางขขา กวาดธนบัตรเข้าหาตัวล้นหว่างขาของเธอ I’ve Got It All (2000) ประชดประชันวงการศิลปะ ว่าด้วยความเป็นธุรกิจในวงการศิลปะ เงิน และศิลปะเป็นสิ'งที'ต้องพึ'งพาอาศัยกัน ไม่มีเงินก็สร้างสรรค์หรือจัดไม่ได้ แล้วที'ศิลปินเกลียดระบบ “ทุนนิยม” นี'คือการปากว่าตาขยิบหรือเปล่า?
  • 36. Exorcism of the Last Painting I Ever Made (1996) ขังตัวเองในหอศิลป์ ประเทศสวีเดน 3 สัปดาห์เปลือยกายวาดรูป แนว Expressionism (Edvard Munch https://www.youtube.com/watch?v=MhCa_71LWhg Why I Never Bacame a dancer (1995) งานศิลปะผ่านภาพยนตร์ 8 มม. เล่าเรื'องราว ชีวิตในวัยสาว ความรัก ความเกลียด ความฝัน และเซ็กส์วัยรุ่น ปัจจุบัน Tracey Emin ลดความแรงทํางาน ประจําที' Royal Acdemy of Art
  • 39. Christo & Jeanne-Claude คริสโต วลาดิมิรอฟ จาวาเชฟ (Christo Vladimirov Javacheff) และ ฌานน์-โคล้ด เดอนา เด กีบง (Jeanne-Claude Denat de Guillebon) สามีภรรยาที4น่าจะถูกจัดหมวดหมู่ Landscape Art (environmental art) แบบแหวกแนวคือ ไม่ออกแบบศิลปะ ภายในพืiนที4ตามขนบธรรมเนียมปกติ แต่เน้นออกแบบพืiนที4 กลางแจ้ง กับภูมิทัศน์ขนาดใหญ่ด้วยวิธีการแปลกๆ คือ “ห่อ” Christo & Jeanne-Claude (1994) ช่วงแรกเครดิตงานเป็นของ Christo คนเดียว จนปี 1994 เริ4มใช้ชื4อคู่ รื4องราวแปลกๆ ของทัiง คู่คือเมื4อต้องเดินทางทัiงคู่จะไปเที4ยวบินคนละ ลํา เพราะถ้าเกิดอุบัติเหตุใครคนหนึ4งเสียชีวิต อีกคนจะสานต่องานได้, เรื4องที4น่าแปลกใจที4 สองคือ ทัiงคู่เป็น Creator ชัiนดีจัดหาเงินทุน ด้วยตัวเองหมดเลยจากการขายเอกสารวิจัย ขาย Proposal นําเสนอ ฯลฯ
  • 40. 5,600 Cubic meter Package (1968) งาน Landscape Art ที4จัด ณ 4th Documenta เมือง New Castle และทําให้ทัiงคู่เป็นที4รู้จักในวงการศิลปะ โดยการ ห่ออากาศ ด้วยถุงบรรจุอากาศ 5,600 ลูกบาศก์ เมตร ที4พองตัวตัiงตรงสูงขึiนฟ้า 85 เมตรเป็นเวลา 10 ชม. https://www.youtube.com/watch?v=Tcj1QQkdRSM พวกเขาห่ออะไรบ้าง Wrapped Supermarket Cart (ค.ศ.š›œ•) ภาพจาก Facebook Christo and Jeanne-Claude Official Wrapped Perambulator (ค.ศ.š›œ ) ภาพจาก Facebook Christo and Jeanne-Claude Official
  • 41. Wrapped Coast (1968-1969) พวกเขาห่อพืiนที4ชายฝั4งทะเล Littlebay Sidney Australia ระยะทางครึ4งกิโลเมตร และหน้าผา สูง Š• เมตร ด้วยผ้าใยสังเคราะห์ขนาด ‰³,•´´ ตารางเมตร และเชือกยาว ³• กิโลเมตร จนกลายเป็นผลงานศิลปะกลางแจ้ง ที4ใหญ่ที4สุดเท่าที4เคยมีการสร้างมาในเวลานัiน มันมีขนาดใหญ่กว่าภูเขารัชมอร์ (Mount Rushmore)
  • 42. Valley Curtain (1972) ในปี ค.ศ.ˆ‰µŠ อย่าง Valley Curtain เป็น การขึงผ้าไนลอนสีส้มความยาวกว่า ˆ‹,•´´ ตารางเมตร ระหว่างช่องเขา Rifle Gap ของเทือกเขา Rocky
  • 43. Surrounded Islands (1983) การห่อยังไม่สิiนสุด ปี ค.ศ.ˆ‰‹¶ อย่าง Surrounded Islands ใช้ผ้าใยสังเคราะห์สี ชมพูสดใสจํานวน •´¶,‹³´ ตารางเมตร ปูเป็น พรมลอยล้อมรอบ ˆˆ เกาะ ในอ่าว Biscayne Bay, ใน Miami เป็นเวลาสองอาทิตย์
  • 44. The Pont Neuf Wrapped, Paris, (1975-1985) ผลงานในปี ค.ศ.ˆ‰‹³ ห่อสะพานข้ามแม่นํiาแซน ที4 เก่าแก่ที4สุดในปารีส ด้วยผ้าใยสังเคราะห์จนมิดไปทัiง โครงสร้างขอบ ตอม่อสะพาน และเสาไฟ เหลือถนน ตรงกลางเอาไว้ให้รถวิ4งได้อยู่
  • 45. Wrapped Reichstag, Berlin (1971-1995) ศิลปะที4สร้างชื4อให้ทัiงสองมากที4สุดก็คือ Wrapped Reichstag (ไรชส์ทาค) หรือ การห่ออาคาร Reichstag หรืออาคาร รัฐสภาเยอรมัน,เริ4มพัฒนาขึiนในช่วงปี ค.ศ.ˆ‰µˆ แต่กว่าจะได้รับการอนุมัติให้ สร้างจริงก็ปาเข้าไปอีกยี4สิบกว่าปีให้หลัง เพราะการขออนุญาตห่ออาคารแห่งนีiไม่ใช่ เรื4องง่ายๆ อันที4จริงมันแทบจะเป็นไปไม่ได้ เลยด้วยซํiา พวกเขาต้องทําเรื4องขอ อนุญาตใช้อาคารจากรัฐบาลเยอรมัน อย่างแสนยากเข็ญ ต้องหว่านล้อม สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรหลายร้อยคน ต้องเขียนจดหมายอธิบายโครงการหลาย ร้อยฉบับ ต้องโทรศัพท์ต่อรองอีกนับครัiงไม่ ถ้วน และต้องเจรจากับสภาผู้แทนรัฐ เยอรมนีอย่างยืดเยืiอยาวนานถึง 6สมัย รัฐบาล และถูกปฏิเสธไปหลายต่อหลาย ครัiง
  • 46. The Umbrellas (1991) ผลงานในช่วงปีหลังๆพวกเขาทํางาน ศิลปะจัดวางในรูปร่มขนาดมหึมา ความสูง A เมตร เส้นผ่าศูนย์กลาง F เมตร ขึGนพร้อมๆ กันในสองประเทศ โดยร่มสีเหลืองจํานวน K,MAN คัน ถูก ติดตัGงบนพืGนทีQกลางแจ้ งในรัฐ แคลิฟอร์เนีย สหรัฐอเมริกา และร่มสี ฟ้าจํานวน K,UVN คัน ถูกติดตัGงบน พืGนทีQกลางแจ้งในจังหวัดอิบารากิ ประเทศญีQปุ่น ผลงานนีHสะท้อนให้เห็นถึงวิถีชีวิตของผู้อาศัยอยู่ในหุบเขาของสองประเทศทีFอยู่คนละซีกโลก และเป็นเหมือน เพิงชัFวคราวสําหรับพักผ่อน ซีFงเชืHอเชิญให้คนผ่านไปผ่านมาได้เข้าไปอาศัยพักพิงในร่มเงา
  • 49. Banksy แบงก์ซี4 คือนามแฝงของ ศิลปิน Grafiti ใต้ดิน (Street Artist) ที4มีผลงานโดดเด่น จํานวนมากจากผลงาน Grafiti, Installation Art อันมีเอกลักษณ์และทรงพลัง โดยเขาได้ชื4อว่าเป็นศิลปินที4มี ความลึกลับมากที4สุดในโลก คนหนึ4ง เพราะตลอด Š‹ ปี ยังไม่มีใครในโลก ที4รู้ตัวตนที4 แท้จริง Banksy ได้เริ4มสร้างผลงานเมื4อ Š³ ปีที4แล้วจนถึงปัจจุบัน ชีวิตและผลงานของเขาจึงเต็มไปด้วยความน่าค้นหา
  • 50. สารคดี: Banksy Does New York 2014 ศิลปะเป็นสิ'งที'สามารถสื'อสารกับมนุษย์ได้ ทุกรูปแบบด้วยเหตุผลที'หลากหลายของ ศิลปินที'ได้ถ่ายทอดออกมาจากชื3นงานนั3น Banksy Does New York สารคดีเรื'องนี3เป็น สิ'งที'ตอกยํ3าเหตุผลข้างต้นได้ดี ความคิดทาง ศิลปะ และงานศิลปีการพัฒนาต่อเนื'องมา เทียบเท่ากับอารยธรรมของมนุษย์ เป็นสิ'ง สะท้ อนถึงอารมณ์ ความคิด และ จินตนาการ บอกเล่าเสียงที'อยู่ก้นบึ3งของ จิตใจของผู้สร้างสรรค์ให้ออกมาในชิ3นงาน ศิลป ผ่านศัพท์เชิงนามธรรมที'เรียกว่า “สุนทรีย์” Tribeca การไว้อาลัยแก่เหตุการณ์ ›/šš ที'สามารถหยิบ ดอกไม้ และภาพกราฟิกธรรมดามาแทรกลงไปเล่า เรื'องได้อย่างชัดเจนแบบ Minimalism เอกลักษณ์โดดเด่นในผลงานของเขาคือการ สอ ด แ ท รก ประ เ ด็น ท า ง สัง ค มก า รเ มื อ ง วิพากษ์วิจารณ์สงคราม ความปลิ3นปล้อนกลับกลอก และโลภโมโทสันของสังคมทุนนิยม ด้วยการใช้ตัว ละครอย่าง หนู, ลิง, ตํารวจ ทหาร ไปจนถึงเด็ก สตรี และคนชรา
  • 51. The Mild Mild West (1997) ผลงานศิลปะบนฝาผนังชิ3นแรก ที'เป็น ที'รู้จักในวงกว้างของเขาคือ The Mild Mild West (1997) งานสเปร์ยพ่นทับ ป้ า ย โ ฆ ษ ณ า ข อ ง สํ า นัก ง า น ทนายความ บนถนน Stokes Croft, Bristol โดยเป็นภาพหมีเท็ดดี3กําลังจะ ปาระเบิดขวดใส่ตํารวจปราบจลาจล ที'กําลังย่างสามขุมเข้าหามัน งานที'โดดเด่นมีปรากฏมากมายยกระดับ การฉีดสเปรย์ Graffiti ที'เข้าข่ายการทําลายสินทรัพย์ของเมืองออกไป กลายเป็นงานศิลปะที'มีคุณค่า โดยการทําภาพกราฟิก ซ้อนทับป้ายห้าม Graffitiis a Crime (2008) ที'เชื'อมโยง ผลงานแรกๆ ของเขา
  • 52. All City – Mac Donalds & Napalm by Banksy (2004) การเหยียดล้อ ระบบทุนนิยมที4ระบาด ครอบงํา โดยการจ้างคนมานั4งเช็ดรองเท้า ของ Mc Donald ที4ใบหน้าของโรนัลนัiน กลับเหมือนเทพเจ้าองค์หนึ4ง อีกทัiงให้ Fact ว่า หุ่นจําลอง Mc Donald นัiนถูกสร้างมากเป็นอันดับสองรองจาก หุ่นจําลองของพระเยซู บ่งบอกถึงระบบ ทุนนิยมที4เข้ามาครอบงําสังคมเป็นที4 เรียบร้อย Napalm Girl (2004-05) ภาพซิลก์สกรีนบนกระดาษ ดูเหมือน Ronald McDonald และ Mickey Mouse กําลังลักพา ตัวเด็กเปลือยกายบางคน ภายในความน่ากลัว นั3นคือใบหน้าของเธอและสิ'งที'ทําให้แย่ลงคือ เมื'อคุณเรียนรู้บริบทของหญิงสาวจากภาพ ต้นฉบับคือสงคราม ทุนนิยม บริโภคนิยมน่ากลัว กว่าสงคราม?, ข้อมูล: https://jamaispasdutoutrien.wordpress.com /2012/10/15/napalm-2004-5-banksy/
  • 53. The Sirens of the Lambs banksy 2013 การหยิบล้อภาพของการรณรงค์ให้ละเว้น เนื3อสัตว์ผ่านการจ้างขบวนรถขนหุ่นมือสัตว์ เศรษฐกิจ ผ่านแคมเปญภาพที'ชื'อ “The Sirens of the Lambs” ล้อภาพยนต์ The Silent of the Lambs ได้อย่างน่าฉงน
  • 55. Dismaland (2015) โครงการศิลปะในรูปสวนสนุกสุดสยอง ที4จิกกัดสวน สนุกมหาชนสุดหรรษาอย่าง Disney Land อย่างเจ็บ แสบ ที4ทําขึiนที4สถานที4พักผ่อนชายทะเลทิiงร้างชื4อ Tropicana ในเวสตันซุปเปอร์แมร์ เมืองชายทะเล ใน มณฑลซอเมอร์เซ็ท ประเทศอังกฤษ โดยแบงก์ซีสร้าง สวนสนุกสุดหดหู่ที4มีสโลแกนว่าเป็น “สวนสนุกที4ตรง ข้ามกับสวนสนุกครอบครัวและไม่เหมาะกับเด็กๆ (อย่างแรง)” ขึiนมา ในสวนสนุกมีตัiงแต่ รปภ. กิริยา วาจาก้าวร้าวหยาบกระด้าง สิ4งละอันพันละน้อยที4ไม่ เจริญหูเจริญตาอย่าง ม้าหมุนที4มีหุ่นนักเชือดสัตว์ ถือ มีดด้ามยาวเปืiอนเลือดนั4งหน้าตาถมึงทึง หรือรถบัสที4 มีอุปกรณ์อันตรายและรุนแรงอย่าง โล่ปราบจราจล และกระสุนยาง ปุ่มหนามที4ใช้กันคนจรจัดไม่ให้นอน ในที4สาธารณะ1 1 https://themomentum.co/art-and-politic-graffiti-street-art-2-banksy/
  • 56. สารคดี Banksy Does New York, 2014 ในช่วงท้ายๆ งาน Master Pieces ของ Banksy จริงๆ กลับไม่ใช่สิ4งที4 Banksy จะสื4อจากเหตุการณ์ทัiงหมด เท่าที4ผมเข้าใจจากการรับชม งานชิiน สําคัญของ Banksy กลับเป็นจิตใจ สภาวะความท้าทาย และธาตุแท้ของ มนุษย์ที4แสดงออกมาใส่กันโดยมีงาน ศิลปะข้างถนนของเขาเป็นตัวเชื4อม โดย บุคคลที4ถูกทดสอบทางจิตใจผ่าน งานศิลปะของ Banksy นัiนมีตัiงแต่ คน ทั4ว ไ ป นั ก วิ ช า ก า ร ไ ป จ น ถึ ง นักการเมืองท้องถิ4น การหยิบล้อ ผ่านตลาดคนเดินจํากัดเวลา ซื3อขายให้ลุงหน้าตาคล้าย Stand Lee มา นั'งขายงานศิลป Spray Art ทั3งวันในราคา œ§$ มีคนสนใจที'ซื3องานศิลปะของเค้า ประปราย ต่อราคาก็มีจนกระทั'งปิดร้าน เก็บของแล้ว Banksy ก็ได้โพสท์ Instagram ภาพของงานชิ3นนั3น ทําให้มูลค่าภาพที'ถูกซื3อขายต่อราคาไป กลายเป็นของ มหาศาลไปทันทีพร้อมกับ เสียงบ่นของคนมากมายที'ติดตาม Banksy ไม่ใช่เพราะต้องการภาพเหล่านั3นในราคาที' สูง แต่เพื'อต้องการที'จะเป็นคนแรกๆ ที'ได้ พบมันก่อน บ่งบอกถึงสภาวะของการ แข่งขันของคนในสังคม
  • 57. Banksy’s Sphinx, 2013 งานศิลปะเศรษฐอิฐ (Sphinx) ที4ถูก คนเห็นแก่ตัวเก็บเข้ากรุไว้ประมูล แต่สังคมออนไลน์ก็ไม่ยินดีซืiอขาย พร้ อมประจานด่ามากมายใน อินเทอร์เน็ตสะท้อนสภาวะของ ความละโมบ เมื4อเจ้าของที4มีการเก็บกัก และเก็บ ค่าเข้าชมเป็นการตีแผ่เบืiองลึกของ จิตใจมนุษย์ไปในทันที (บาป Gluttony ในพระคําภีร์คือบาปของ ความละโมบ) แบงก์ซีเป็นศิลปินกราฟฟิตีiที4ไม่ขายรูปถ่ายผลงาน หรือผลิต ซํiาผลงานกราฟฟิตีiและสตรีทอาร์ตของเขามาขาย นักสะสม ส่วนใหญ่มักจะซืiอผลงานของเขาที4ทําเป็นศิลปะจัดวางบน พืiนที4สาธารณะ หรือผลงานศิลปะในรูปแบบต่างๆ ของเขา ผ่านตัวแทนบริการการจัดการที4ทําหน้าที4ในนามของเขาอย่าง Pest Control บางคนถึงกับตัดผลงานกราฟฟิตีiบนผนังเขาไป ขายในตลาด
  • 58.
  • 59. ปี 2018 งานศิลปะ Banksy ได้มีการทําลาย ด้วยตัวของพวกเขาตัวเอง หลังถูก ประมูลสูงถึง •• ล้ านบาท . เหตุการณ์ที4สร้างเสียงฮือฮาไปทั4ว โลก ได้เกิดขึiนในงานประมูลผลงาน ทางศิลปะ เมื4อภาพสเปรย์ที4มี ชื4อเสียงของ Banksy ทําลายตัวเอง ท่ามกลางสายตาผู้ คนที4มา ร่วมงาน ทัiงที4เพิ4งถูกประมูลไป หมาดๆ ในราคาราว •• ล้านบาท https://www.youtube.com/watch?v=gtdI YzOTvdg
  • 61. Assignment เงื4อนไข: (30 คะแนน, เกณฑ์ตัดเกรดเป็น Progress Based ไม่ใช่เกรดปกติ) o งานเดี-ยว หรืองานคู่ เท่านั8น ถ้าต้องสามคนให้ตัดคนออกไป 1 ไม่ต้องใส่ใจ o ระยะเวลาทําทัiงหมด 15 วัน แบ่งเวลาไม่ได้ก็เป็นปัญหาของพวกคุณ o คุณภาพของงาน ถ้าเร่งทํา 1-2 วันก็จะได้คุณภาพแบบนิตยสารที4ผ่านมา ดังนัiนจัดการ เรื4องเวลาของตัวเองเสียว่าควรแบ่งเวลายังไงให้ไม่เสี4ยงต่อการโดนหัก ชิ้นงาน Masterpiece (แบบ Mock Installation) ใช้แนวทางออกแบบแนว Pop Art, Confession Art, Street Art, Landscape Art, Performance Art o ส่ง Proposal งานและรายงานของการทํางานในรูปแบบของ Blog หรือ Videos บันทึก ขัiนตอนการทํา (โดยเฉพาะ Performance Art ต้องเป็น Videos แน่นอน) o ไม่จํากัด Technic การนําเสนอ o โจทย์คือการตีประเด็นที4สนใจ ส่ง Form storming มาก่อนให้อนุมัติ โดยมีการ Research ที4ชัดเจน เน้นการแตกประเด็น, ตระหนักรู้ และเสียดสี ภายใต้คอนเซ็ปต์ที4ยกมา Mock Grafiti ให้ใช้ภาพจริง แต่ Filter Photoshop เท่านั3น ปรับมุมให้สมจริง
  • 62. อย่าลืมจุลนิพนธ์ และแนวคิด References พื้นฐานว่าจะทําอะไรเป็น Project จบ – แบ่งเวลาให้ดี (ไม่มีการประณีประนอม)