SlideShare a Scribd company logo
Activity Diagram
การวิเคราะห์และออกแบบระบบ
1
กิจกรรม(Activity)
 กิจกรรม(Activity) ในระบบสามารถแบ่งออกได้เป็ นหลาย
ระดับ ได้แก่
 ระบบในภาพรวม หรือ กระบวนการทางธุรกิจ
(Business Process) กิจกรรมในระดับนี้มักเป็นกิจกรรมที่
มองว่าผู้ใดเป็นผู้ทา(Human Task) ตัวอย่างเช่น กิจกรรม
การขายตั้งแต่การรับคาสั่งซื้อจากลูกค้า มีพนักงานขายเป็น
ผู้รับคาสั่งซื้อ แล้วจึงส่งคาสั่งซื้อนั้นไปยังคลังสินค้า โดยมี
พนักงานคลังสินค้าดาเนินการเบิกสินค้าจากคลัง และนาส่งให้
ลูกค้าโดยพนักงานส่งสินค้า เมื่อมีการส่งสินค้าพนักงานบัญชี
จะเป็นผู้ออกใบแจ้งหนี้ไปให้ลูกค้าพร ้อมกับการส่งสินค้านั้น
จึงจะถือได้ว่ากระบวนการของการขายเสร็จสิ้นลง การอธิบาย
กิจกรรมระดับนี้ จะยังไม่ให้ความสนใจกับระบบที่ต้องการ
2
กิจกรรม(Activity)
 ฟังก์ชันการทางานของระบบ หรือ Use Case กิจกรรม
ในระดับนี้จะเป็นการมองในรายละเอียดของการทางานของ
ระบบมากขึ้นกว่าการมองระบบในภาพรวม ซึ่งเป็นการอธิบาย
ว่า ภายในฟังก์ชั่นหนึ่งของการใช ้งานระบบนั้น ผู้ใช ้คนใด
จะต้องโต้ตอบอย่างไรกับระบบบ้าง และระบบจะต้องดาเนินการ
อะไรบ้างในการตอบสนองต่อการสั่งงานของผู้ใช ้ระบบ
ตัวอย่างเช่น การอธิบายเฉพาะการขายปลีกหน้าร ้านที่เริ่มต้น
จากการที่ลูกค้านาสินค้าที่ต้องการซื้อมาวางหน้าแคชเชียร ์
แคชเชียร ์จะเป็นผู้เปิดรายการการขายขึ้นในระบบ แล้วนา
รหัสสินค้าที่ลูกค้าต้องการซื้อเข้าสู่ระบบ ซึ่งระบบต้องค้นหา
ราคาและรายละเอียดของสินค้ามาแสดง จนกระทั่งครบทุก
รายการที่ลูกค้าต้องการซื้อ จากนั้นระบบจะต้องคานวณค่า
สินค้ารวม เพื่อรอรับเงินจากลูกค้า แล้วจบกิจกรรมนี้ด้วยการ
3
กิจกรรม(Activity)
 ตรรกะการทางานของฟังก์ชัน(logic of an
Operation) การอธิบายกิจกรรมในระดับนี้ เป็นการอธิบาย
Algorithm หรือ Logic การทางานของโปรแกรม ซึ่งอาจ
เทียบได้กับการใช้Flowchart นั่นเอง ซึ่งการทางานของ
ฟังก์ชันนั้นสามารถนับว่าเป็นกิจกรรมที่เกิดขึ้นในระบบได้
 แต่ในบทนี้จะเน้นการออกแบบกิจกรรมใน 2 ระดับ
แรกเท่านั้น เนื่องจากการออกแบบตรรกะการทางาน
ของฟังก์ชันนั้น จะเป็ นการออกแบบโปรแกรม
มากกว่าเป็ นการออกแบบระบบ
4
ลักษณะของ Activity Diagram
 ไดอะแกรมนี้มีลักษณะเดียวกับโฟลว์ชาร ์ต flow chat
 ใช ้สาหรับแสดงขั้นตอนการทางานของระบบ
 เรียกขั้นตอนแต่ละขั้นตอนว่า Activity ซึ่งมีลักษณะการ
ทางานดังนี้
 การคานวณผลลัพธ์บางประการ
 การเปลี่ยนแปลงสถานะ (state) ของระบบ
 การส่งค่าบางอย่างกลับคืนมา
 การเรียกใช ้โอเปอร ์เรชันอื่นๆ ทางาน
 การส่งสัญญาณ
 การสร ้าง หรือการทาลายออบเจ็กต์
5
สัญลักษณ์ของ Activity Diagram
 กิจกรรม (Activity)
 เส้นทางการไหลของกิจกรรม
 กรณี Synchronization และ Join
6
กิ
จกรรม
กิ
จกรรม1 กิ
จกรรม2
การเกิดพ
ร้
อมกั
น
หรือ
การเกิ
ดพ
ร้
อมกั
น
หรื
อ
การแตก
หรื
อ
สัญลักษณ์ของ Activity Diagram
 กรณีมีเงื่อนไข(Decision)
 จุดเริ่มต้น
 จุดสิ้นสุด
 สวิมเลนส์(SWIMLANES)
7
[
x>0]
[
x=0
]
[
x<0
]
ค
ล
า
ส
1 ค
ล
า
ส
2 ค
ล
า
ส
3 ค
ล
า
ส
สัญลักษณ์ของ Activity Diagram
 แสดงการไหลของอ็อบเจกต์(Object Flow) ( )
 ของอ็อบเจกต์หรือ คลาส
8
O
b
je
c
t:C
las
s
[
s
ta
te
]
อ็
อบเจกต์
:คล
าส
[
ส
ถานะ]
ห
รือ
Activity Diagram : Transitions
 control-flow
transition ใช ้เพื่อ
เรียงลาดับของการเกิด
Actionโดยจะเริ่มทา
Action ถัดไปก็ต่อเมื่อ
Action ก่อนหน้า
ทางานเสร็จเรียบร ้อย
แล้ว
 Object-flow
transition ใช ้เพื่อระบุ
input หรือ output ที่
้
9
Activity Diagram : Swimlanes
 กิจกรรมในการทางาน สามารถแบ่งหน่วยงานที่
รับผิดชอบได้ด้วย Swimlanes
10
Activity Diagram : Decision
 แทนด้วยสัญลักษณ์สี่เหลี่ยมข้ามหลามตัด พร ้อมระบุ
เงื่อนไขของแต่ละกรณีเอาไว้
11
ตัวอย่าง Activity
Diagram :
Decision
12
Activity Diagram : Concurrency
 Concurrency เป็ นการแสดงการทางานที่สามารถ
กิจกรรมใด พร ้อมๆ กันได้
13
ขั้นตอนในการเขียน Activity
Diagram
 พิจารณากิจกรรมต่าง ๆ ที่ได้จากผลการวิเคราะห์ที่ควร
อธิบาย
 พิจารณากิจกรรมย่อยที่เกิดขึ้น เงื่อนไขหรือกรณีต่าง ๆ ที่
เกิดขึ้น เมื่อเป็ นไปตามเงื่อนไข
 เรียงลาดับกิจกรรมที่เกิดก่อนหลัง
 เขียนกิจกรรมย่อย ด้วยสัญลักษณ์แสดงกิจกรรม
 เขียนจุดเริ่มต้น
 เขียนจุดสิ้นสุด
14
ลักษณะของ Activity Diagram
 Activity Diagram จะต้องมีจุดเริ่มต้นกับจุดสิ้นสุด และ
ในระหว่างจุดเริ่มต้นกับจุดสิ้นสุดก็จะมีขั้นตอนหรือ
Activity ต่างๆ ของระบบ
 ปกติแล้วจะเขียน Activity Diagram โดยอ่านจาก
ด้านบนลงล่าง
15
Activity 1
Activity 2
จุดเริ่ม
ต้น
จุดสิ้นสุ
กิจกรรมของ
ระบบงาน
รูปแบบการใช้Activity Diagram
 แบบทั่วไป
 แบบมีทางเลือกให้ตัดสินใจ
 แบบที่มีการทางานพร ้อมๆ กันหลายงาน
 Activity Diagram สาหรับการส่งสัญญาณ
16
การสร ้างทางเลือกใน Activity
Diagram
 สามารถทาได้ 2 วิธีคือ
 ใช ้ลูกศรของแต่ละทางเลือกไปยัง
activity ผลลัพธ์ของทางเลือก
โดยตรง
 ใช ้ลูกศรของแต่ละทางเลือกผ่าน
รูปสี่เหลี่ยมขนมเปียกปูนก่อน
17
ตัวอย่าง Activity Diagram ที่มี
ทางเลือก
18
ตัวอย่าง Activity Diagram ของ
ATM
19
การทางานหลายๆงานพร ้อมกันใน
Activity Diagram
 ในกรณีที่เรามีงานหลายงานที่มีการทางานไปพร ้อมกัน จะใช้
เส้นตรงแนวนอนเส้นหนา มาเป็ นสัญลักษณ์ที่ใช ้จัดกลุ่มงาน
ที่มีการทาพร ้อม ๆ กัน โดยมีลักษณะดังรูป
20
ตัวอย่าง Activity Diagram ประกัน
ชีวิต
21
คานวนเบี้ยประกัน
Activity Diagram แสดงการส่ง
สัญญาณ
 ในกระบวนการทางานอาจเป็ นไปได้ว่าจะมีการส่งสัญญาณ
บางอย่างในระหว่างการทางาน เมื่อเกิดการส่ง-รับสัญญาณ
เราก็จะเรียกว่าเกิด Activity ขึ้นเช่นเดียวกัน
 ในการเขียน Activity Diagram สาหรับการส่งสัญญาณ จะ
ใช้รูปหลายเหลี่ยมแทน Activity ที่มีการส่งสัญญาณโดย
ที่
แทนเหตุการณ์ที่เป็ น input
แทนเหตุการณ์ที่เป็ น output
22
ตัวอย่าง Activity Diagram แสดงการ
ส่งสัญญาณ
 ตัวอย่าง แสดงการส่งสัญญาณ โดยระบบที่สนใจคือการกด
ปุ่มรีโมทคอนโทรลเพื่อเปลี่ยนช่องโทรทัศน์
23
ไม่ค่อยได้ใช้งาน
แบ่งการทางานให้เป็ นสัดส่วนด้วย
Swimlanes
 คุณลักษณะอีกอย่างหนึ่งคือสามารถแสดงให้เห็นได้ว่าใคร
เป็ นผู้มีหน้าที่รับผิดชอบในแต่ละ activity ในกระบวนการ
ทางานหนึ่ง ๆ
 หลักการของการแสดงหน้าที่ จะทาโดยการแบ่งกลุ่มของการ
รับผิดชอบเป็ นกลุ่มๆ ซึ่งเปรียบเหมือนการแข่งว่ายน้า เรียก
กลไกนี้ว่า Swimlanes
 ในแต่ละ swimlane จะมีการกาหนดชื่อกากับเอาไว้ เช่น
กระบวนการของการสั่งซื้อสินค้า เราอาจแบ่งกลุ่มของคนที่มี
ส่วนเกี่ยวข้องเป็ น 3 ส่วน ได้แก่ ลูกค้า , ฝ่ายขาย และ
คลังสินค้า
24
แบ่งการทางานให้เป็ นสัดส่วนด้วย
Swimlanes
 Activity หนึ่ง ๆ จะอยู่ภายใน 1 swimlane เท่านั้น แต่การ
ติดต่อหรือส่งผ่านระหว่าง activity สามารถเกิดขึ้นข้ามจาก
swimlane หนึ่งไปยังอีก swimlane หนึ่งได้ ดังรูปต่อไป
25
ตัวอย่างแบ่งการทางานให้เป็ นสัดส่วน
ด้วย Swimlanes
26
ตัวอย่าง
27
ตัวอย่าง
28
ตัวอย่าง Activity Diagram
29
30

More Related Content

What's hot

รายงาน
รายงานรายงาน
รายงานaragamammy
 
หน่วยที่ 2 ระบบเศรษฐกิจในโลกปัจจุบัน
หน่วยที่ 2 ระบบเศรษฐกิจในโลกปัจจุบันหน่วยที่ 2 ระบบเศรษฐกิจในโลกปัจจุบัน
หน่วยที่ 2 ระบบเศรษฐกิจในโลกปัจจุบัน
Paew Tongpanya
 
Diff & Integral formula the newtun
Diff & Integral formula the newtunDiff & Integral formula the newtun
Diff & Integral formula the newtun
Tun Saru
 
บทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
บทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึกบทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
บทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
Ta Lattapol
 
บทที่ 7 การวางแผนกระบวนการผลิต
บทที่ 7 การวางแผนกระบวนการผลิตบทที่ 7 การวางแผนกระบวนการผลิต
บทที่ 7 การวางแผนกระบวนการผลิต
Dr.Krisada [Hua] RMUTT
 
ชุดการสอนที่ 9 การรักษาดุลยภาพด้วยฮอร์โมน
ชุดการสอนที่ 9 การรักษาดุลยภาพด้วยฮอร์โมนชุดการสอนที่ 9 การรักษาดุลยภาพด้วยฮอร์โมน
ชุดการสอนที่ 9 การรักษาดุลยภาพด้วยฮอร์โมน
วิเชียร กีรติศักดิ์กุล
 
หลักการออกแบบผลิตภัณฑ์
หลักการออกแบบผลิตภัณฑ์หลักการออกแบบผลิตภัณฑ์
หลักการออกแบบผลิตภัณฑ์SRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
อาณาจักรโพรทิสตา
อาณาจักรโพรทิสตาอาณาจักรโพรทิสตา
อาณาจักรโพรทิสตาพัน พัน
 
M6 143 60_8
M6 143 60_8M6 143 60_8
M6 143 60_8
Wichai Likitponrak
 
2.1 อุปกรณ์คอมพิวเตอร์
2.1 อุปกรณ์คอมพิวเตอร์2.1 อุปกรณ์คอมพิวเตอร์
2.1 อุปกรณ์คอมพิวเตอร์Chatree MChatree
 
การรับรู้และการตอบสนอง
การรับรู้และการตอบสนองการรับรู้และการตอบสนอง
การรับรู้และการตอบสนอง
sukanya petin
 
การรับรู้และตอบสนอง
การรับรู้และตอบสนอง การรับรู้และตอบสนอง
การรับรู้และตอบสนอง
Thitaree Samphao
 
01 ma
01 ma01 ma
ฟีโรโมน
ฟีโรโมนฟีโรโมน
ฟีโรโมน
sukanya petin
 
เซลล์ประสาทและการทำงาน
เซลล์ประสาทและการทำงาน เซลล์ประสาทและการทำงาน
เซลล์ประสาทและการทำงาน
Thitaree Samphao
 
พีชคณิตของฟังก์ชัน
พีชคณิตของฟังก์ชันพีชคณิตของฟังก์ชัน
พีชคณิตของฟังก์ชัน
Y'Yuyee Raksaya
 
งานนำเสนอบทที่ 5
งานนำเสนอบทที่ 5งานนำเสนอบทที่ 5
งานนำเสนอบทที่ 5
chinnapon chom
 
ระบบสารสนเทศด้านทรัพยากรบุคคล
ระบบสารสนเทศด้านทรัพยากรบุคคลระบบสารสนเทศด้านทรัพยากรบุคคล
ระบบสารสนเทศด้านทรัพยากรบุคคล
Napitchaya Jina
 

What's hot (20)

Ch 2
Ch 2Ch 2
Ch 2
 
รายงาน
รายงานรายงาน
รายงาน
 
หน่วยที่ 2 ระบบเศรษฐกิจในโลกปัจจุบัน
หน่วยที่ 2 ระบบเศรษฐกิจในโลกปัจจุบันหน่วยที่ 2 ระบบเศรษฐกิจในโลกปัจจุบัน
หน่วยที่ 2 ระบบเศรษฐกิจในโลกปัจจุบัน
 
Diff & Integral formula the newtun
Diff & Integral formula the newtunDiff & Integral formula the newtun
Diff & Integral formula the newtun
 
บทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
บทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึกบทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
บทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
 
บทที่ 7 การวางแผนกระบวนการผลิต
บทที่ 7 การวางแผนกระบวนการผลิตบทที่ 7 การวางแผนกระบวนการผลิต
บทที่ 7 การวางแผนกระบวนการผลิต
 
ชุดการสอนที่ 9 การรักษาดุลยภาพด้วยฮอร์โมน
ชุดการสอนที่ 9 การรักษาดุลยภาพด้วยฮอร์โมนชุดการสอนที่ 9 การรักษาดุลยภาพด้วยฮอร์โมน
ชุดการสอนที่ 9 การรักษาดุลยภาพด้วยฮอร์โมน
 
หลักการออกแบบผลิตภัณฑ์
หลักการออกแบบผลิตภัณฑ์หลักการออกแบบผลิตภัณฑ์
หลักการออกแบบผลิตภัณฑ์
 
อาณาจักรโพรทิสตา
อาณาจักรโพรทิสตาอาณาจักรโพรทิสตา
อาณาจักรโพรทิสตา
 
M6 143 60_8
M6 143 60_8M6 143 60_8
M6 143 60_8
 
2.1 อุปกรณ์คอมพิวเตอร์
2.1 อุปกรณ์คอมพิวเตอร์2.1 อุปกรณ์คอมพิวเตอร์
2.1 อุปกรณ์คอมพิวเตอร์
 
การรับรู้และการตอบสนอง
การรับรู้และการตอบสนองการรับรู้และการตอบสนอง
การรับรู้และการตอบสนอง
 
การรับรู้และตอบสนอง
การรับรู้และตอบสนอง การรับรู้และตอบสนอง
การรับรู้และตอบสนอง
 
35 ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน ตอนที่6_อินเวอร์สของฟังก์ชันและฟังก์ชันอินเวอร์ส
35 ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน ตอนที่6_อินเวอร์สของฟังก์ชันและฟังก์ชันอินเวอร์ส35 ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน ตอนที่6_อินเวอร์สของฟังก์ชันและฟังก์ชันอินเวอร์ส
35 ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน ตอนที่6_อินเวอร์สของฟังก์ชันและฟังก์ชันอินเวอร์ส
 
01 ma
01 ma01 ma
01 ma
 
ฟีโรโมน
ฟีโรโมนฟีโรโมน
ฟีโรโมน
 
เซลล์ประสาทและการทำงาน
เซลล์ประสาทและการทำงาน เซลล์ประสาทและการทำงาน
เซลล์ประสาทและการทำงาน
 
พีชคณิตของฟังก์ชัน
พีชคณิตของฟังก์ชันพีชคณิตของฟังก์ชัน
พีชคณิตของฟังก์ชัน
 
งานนำเสนอบทที่ 5
งานนำเสนอบทที่ 5งานนำเสนอบทที่ 5
งานนำเสนอบทที่ 5
 
ระบบสารสนเทศด้านทรัพยากรบุคคล
ระบบสารสนเทศด้านทรัพยากรบุคคลระบบสารสนเทศด้านทรัพยากรบุคคล
ระบบสารสนเทศด้านทรัพยากรบุคคล
 

Similar to Ch05.5ActivityDiagaramNew.pptx

ผังงาน
ผังงานผังงาน
ผังงานjutamat
 
ผังงาน
ผังงานผังงาน
ผังงานjutamat
 
ผังงาน
ผังงานผังงาน
ผังงานjutamat
 
ผังงาน
ผังงานผังงาน
ผังงานpumpuiza
 
C:\Documents And Settings\Administrator\Desktop\Ch00 คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
C:\Documents And Settings\Administrator\Desktop\Ch00 คอมพิวเตอร์เบื้องต้นC:\Documents And Settings\Administrator\Desktop\Ch00 คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
C:\Documents And Settings\Administrator\Desktop\Ch00 คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
-
 
ผังงาน
ผังงานผังงาน
ผังงาน
ปณพล ดาดวง
 
งานนำเสนอ1 คอม
งานนำเสนอ1 คอมงานนำเสนอ1 คอม
งานนำเสนอ1 คอมPassawan' Koohar
 
โปรแกรมคอมพิวเตอร์
โปรแกรมคอมพิวเตอร์โปรแกรมคอมพิวเตอร์
โปรแกรมคอมพิวเตอร์
Worapod Khomkham
 
งานนำเสนอ1 คอม
งานนำเสนอ1 คอมงานนำเสนอ1 คอม
งานนำเสนอ1 คอมnuknook
 
งานนำเสนอ1 คอม
งานนำเสนอ1 คอมงานนำเสนอ1 คอม
งานนำเสนอ1 คอมnuknook
 
ผังงาน (Flowchart)
ผังงาน (Flowchart)ผังงาน (Flowchart)
ผังงาน (Flowchart)Theruangsit
 
ผังงาน (Flowchart)3
ผังงาน (Flowchart)3ผังงาน (Flowchart)3
ผังงาน (Flowchart)3Game33
 
โปรแกรมคอมพิวเตอร์
โปรแกรมคอมพิวเตอร์โปรแกรมคอมพิวเตอร์
โปรแกรมคอมพิวเตอร์Worapod Khomkham
 
ผังงาน (Flowchart)1
ผังงาน (Flowchart)1ผังงาน (Flowchart)1
ผังงาน (Flowchart)1Game33
 

Similar to Ch05.5ActivityDiagaramNew.pptx (20)

ผังงาน
ผังงานผังงาน
ผังงาน
 
ผังงาน
ผังงานผังงาน
ผังงาน
 
ผังงาน
ผังงานผังงาน
ผังงาน
 
ผังงาน
ผังงานผังงาน
ผังงาน
 
C:\Documents And Settings\Administrator\Desktop\Ch00 คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
C:\Documents And Settings\Administrator\Desktop\Ch00 คอมพิวเตอร์เบื้องต้นC:\Documents And Settings\Administrator\Desktop\Ch00 คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
C:\Documents And Settings\Administrator\Desktop\Ch00 คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
ผังงาน
ผังงานผังงาน
ผังงาน
 
Flowchart
FlowchartFlowchart
Flowchart
 
งานนำเสนอ1 คอม
งานนำเสนอ1 คอมงานนำเสนอ1 คอม
งานนำเสนอ1 คอม
 
โปรแกรมคอมพิวเตอร์
โปรแกรมคอมพิวเตอร์โปรแกรมคอมพิวเตอร์
โปรแกรมคอมพิวเตอร์
 
งานนำเสนอ1 คอม
งานนำเสนอ1 คอมงานนำเสนอ1 คอม
งานนำเสนอ1 คอม
 
งานนำเสนอ1 คอม
งานนำเสนอ1 คอมงานนำเสนอ1 คอม
งานนำเสนอ1 คอม
 
ผังงาน (Flowchart)
ผังงาน (Flowchart)ผังงาน (Flowchart)
ผังงาน (Flowchart)
 
ผังงาน (Flowchart)3
ผังงาน (Flowchart)3ผังงาน (Flowchart)3
ผังงาน (Flowchart)3
 
Flowchar
FlowcharFlowchar
Flowchar
 
M
MM
M
 
M
MM
M
 
UML
UMLUML
UML
 
Chapter05
Chapter05Chapter05
Chapter05
 
โปรแกรมคอมพิวเตอร์
โปรแกรมคอมพิวเตอร์โปรแกรมคอมพิวเตอร์
โปรแกรมคอมพิวเตอร์
 
ผังงาน (Flowchart)1
ผังงาน (Flowchart)1ผังงาน (Flowchart)1
ผังงาน (Flowchart)1
 

Ch05.5ActivityDiagaramNew.pptx

  • 2. กิจกรรม(Activity)  กิจกรรม(Activity) ในระบบสามารถแบ่งออกได้เป็ นหลาย ระดับ ได้แก่  ระบบในภาพรวม หรือ กระบวนการทางธุรกิจ (Business Process) กิจกรรมในระดับนี้มักเป็นกิจกรรมที่ มองว่าผู้ใดเป็นผู้ทา(Human Task) ตัวอย่างเช่น กิจกรรม การขายตั้งแต่การรับคาสั่งซื้อจากลูกค้า มีพนักงานขายเป็น ผู้รับคาสั่งซื้อ แล้วจึงส่งคาสั่งซื้อนั้นไปยังคลังสินค้า โดยมี พนักงานคลังสินค้าดาเนินการเบิกสินค้าจากคลัง และนาส่งให้ ลูกค้าโดยพนักงานส่งสินค้า เมื่อมีการส่งสินค้าพนักงานบัญชี จะเป็นผู้ออกใบแจ้งหนี้ไปให้ลูกค้าพร ้อมกับการส่งสินค้านั้น จึงจะถือได้ว่ากระบวนการของการขายเสร็จสิ้นลง การอธิบาย กิจกรรมระดับนี้ จะยังไม่ให้ความสนใจกับระบบที่ต้องการ 2
  • 3. กิจกรรม(Activity)  ฟังก์ชันการทางานของระบบ หรือ Use Case กิจกรรม ในระดับนี้จะเป็นการมองในรายละเอียดของการทางานของ ระบบมากขึ้นกว่าการมองระบบในภาพรวม ซึ่งเป็นการอธิบาย ว่า ภายในฟังก์ชั่นหนึ่งของการใช ้งานระบบนั้น ผู้ใช ้คนใด จะต้องโต้ตอบอย่างไรกับระบบบ้าง และระบบจะต้องดาเนินการ อะไรบ้างในการตอบสนองต่อการสั่งงานของผู้ใช ้ระบบ ตัวอย่างเช่น การอธิบายเฉพาะการขายปลีกหน้าร ้านที่เริ่มต้น จากการที่ลูกค้านาสินค้าที่ต้องการซื้อมาวางหน้าแคชเชียร ์ แคชเชียร ์จะเป็นผู้เปิดรายการการขายขึ้นในระบบ แล้วนา รหัสสินค้าที่ลูกค้าต้องการซื้อเข้าสู่ระบบ ซึ่งระบบต้องค้นหา ราคาและรายละเอียดของสินค้ามาแสดง จนกระทั่งครบทุก รายการที่ลูกค้าต้องการซื้อ จากนั้นระบบจะต้องคานวณค่า สินค้ารวม เพื่อรอรับเงินจากลูกค้า แล้วจบกิจกรรมนี้ด้วยการ 3
  • 4. กิจกรรม(Activity)  ตรรกะการทางานของฟังก์ชัน(logic of an Operation) การอธิบายกิจกรรมในระดับนี้ เป็นการอธิบาย Algorithm หรือ Logic การทางานของโปรแกรม ซึ่งอาจ เทียบได้กับการใช้Flowchart นั่นเอง ซึ่งการทางานของ ฟังก์ชันนั้นสามารถนับว่าเป็นกิจกรรมที่เกิดขึ้นในระบบได้  แต่ในบทนี้จะเน้นการออกแบบกิจกรรมใน 2 ระดับ แรกเท่านั้น เนื่องจากการออกแบบตรรกะการทางาน ของฟังก์ชันนั้น จะเป็ นการออกแบบโปรแกรม มากกว่าเป็ นการออกแบบระบบ 4
  • 5. ลักษณะของ Activity Diagram  ไดอะแกรมนี้มีลักษณะเดียวกับโฟลว์ชาร ์ต flow chat  ใช ้สาหรับแสดงขั้นตอนการทางานของระบบ  เรียกขั้นตอนแต่ละขั้นตอนว่า Activity ซึ่งมีลักษณะการ ทางานดังนี้  การคานวณผลลัพธ์บางประการ  การเปลี่ยนแปลงสถานะ (state) ของระบบ  การส่งค่าบางอย่างกลับคืนมา  การเรียกใช ้โอเปอร ์เรชันอื่นๆ ทางาน  การส่งสัญญาณ  การสร ้าง หรือการทาลายออบเจ็กต์ 5
  • 6. สัญลักษณ์ของ Activity Diagram  กิจกรรม (Activity)  เส้นทางการไหลของกิจกรรม  กรณี Synchronization และ Join 6 กิ จกรรม กิ จกรรม1 กิ จกรรม2 การเกิดพ ร้ อมกั น หรือ การเกิ ดพ ร้ อมกั น หรื อ การแตก หรื อ
  • 7. สัญลักษณ์ของ Activity Diagram  กรณีมีเงื่อนไข(Decision)  จุดเริ่มต้น  จุดสิ้นสุด  สวิมเลนส์(SWIMLANES) 7 [ x>0] [ x=0 ] [ x<0 ] ค ล า ส 1 ค ล า ส 2 ค ล า ส 3 ค ล า ส
  • 8. สัญลักษณ์ของ Activity Diagram  แสดงการไหลของอ็อบเจกต์(Object Flow) ( )  ของอ็อบเจกต์หรือ คลาส 8 O b je c t:C las s [ s ta te ] อ็ อบเจกต์ :คล าส [ ส ถานะ] ห รือ
  • 9. Activity Diagram : Transitions  control-flow transition ใช ้เพื่อ เรียงลาดับของการเกิด Actionโดยจะเริ่มทา Action ถัดไปก็ต่อเมื่อ Action ก่อนหน้า ทางานเสร็จเรียบร ้อย แล้ว  Object-flow transition ใช ้เพื่อระบุ input หรือ output ที่ ้ 9
  • 10. Activity Diagram : Swimlanes  กิจกรรมในการทางาน สามารถแบ่งหน่วยงานที่ รับผิดชอบได้ด้วย Swimlanes 10
  • 11. Activity Diagram : Decision  แทนด้วยสัญลักษณ์สี่เหลี่ยมข้ามหลามตัด พร ้อมระบุ เงื่อนไขของแต่ละกรณีเอาไว้ 11
  • 13. Activity Diagram : Concurrency  Concurrency เป็ นการแสดงการทางานที่สามารถ กิจกรรมใด พร ้อมๆ กันได้ 13
  • 14. ขั้นตอนในการเขียน Activity Diagram  พิจารณากิจกรรมต่าง ๆ ที่ได้จากผลการวิเคราะห์ที่ควร อธิบาย  พิจารณากิจกรรมย่อยที่เกิดขึ้น เงื่อนไขหรือกรณีต่าง ๆ ที่ เกิดขึ้น เมื่อเป็ นไปตามเงื่อนไข  เรียงลาดับกิจกรรมที่เกิดก่อนหลัง  เขียนกิจกรรมย่อย ด้วยสัญลักษณ์แสดงกิจกรรม  เขียนจุดเริ่มต้น  เขียนจุดสิ้นสุด 14
  • 15. ลักษณะของ Activity Diagram  Activity Diagram จะต้องมีจุดเริ่มต้นกับจุดสิ้นสุด และ ในระหว่างจุดเริ่มต้นกับจุดสิ้นสุดก็จะมีขั้นตอนหรือ Activity ต่างๆ ของระบบ  ปกติแล้วจะเขียน Activity Diagram โดยอ่านจาก ด้านบนลงล่าง 15 Activity 1 Activity 2 จุดเริ่ม ต้น จุดสิ้นสุ กิจกรรมของ ระบบงาน
  • 16. รูปแบบการใช้Activity Diagram  แบบทั่วไป  แบบมีทางเลือกให้ตัดสินใจ  แบบที่มีการทางานพร ้อมๆ กันหลายงาน  Activity Diagram สาหรับการส่งสัญญาณ 16
  • 17. การสร ้างทางเลือกใน Activity Diagram  สามารถทาได้ 2 วิธีคือ  ใช ้ลูกศรของแต่ละทางเลือกไปยัง activity ผลลัพธ์ของทางเลือก โดยตรง  ใช ้ลูกศรของแต่ละทางเลือกผ่าน รูปสี่เหลี่ยมขนมเปียกปูนก่อน 17
  • 18. ตัวอย่าง Activity Diagram ที่มี ทางเลือก 18
  • 20. การทางานหลายๆงานพร ้อมกันใน Activity Diagram  ในกรณีที่เรามีงานหลายงานที่มีการทางานไปพร ้อมกัน จะใช้ เส้นตรงแนวนอนเส้นหนา มาเป็ นสัญลักษณ์ที่ใช ้จัดกลุ่มงาน ที่มีการทาพร ้อม ๆ กัน โดยมีลักษณะดังรูป 20
  • 21. ตัวอย่าง Activity Diagram ประกัน ชีวิต 21 คานวนเบี้ยประกัน
  • 22. Activity Diagram แสดงการส่ง สัญญาณ  ในกระบวนการทางานอาจเป็ นไปได้ว่าจะมีการส่งสัญญาณ บางอย่างในระหว่างการทางาน เมื่อเกิดการส่ง-รับสัญญาณ เราก็จะเรียกว่าเกิด Activity ขึ้นเช่นเดียวกัน  ในการเขียน Activity Diagram สาหรับการส่งสัญญาณ จะ ใช้รูปหลายเหลี่ยมแทน Activity ที่มีการส่งสัญญาณโดย ที่ แทนเหตุการณ์ที่เป็ น input แทนเหตุการณ์ที่เป็ น output 22
  • 23. ตัวอย่าง Activity Diagram แสดงการ ส่งสัญญาณ  ตัวอย่าง แสดงการส่งสัญญาณ โดยระบบที่สนใจคือการกด ปุ่มรีโมทคอนโทรลเพื่อเปลี่ยนช่องโทรทัศน์ 23 ไม่ค่อยได้ใช้งาน
  • 24. แบ่งการทางานให้เป็ นสัดส่วนด้วย Swimlanes  คุณลักษณะอีกอย่างหนึ่งคือสามารถแสดงให้เห็นได้ว่าใคร เป็ นผู้มีหน้าที่รับผิดชอบในแต่ละ activity ในกระบวนการ ทางานหนึ่ง ๆ  หลักการของการแสดงหน้าที่ จะทาโดยการแบ่งกลุ่มของการ รับผิดชอบเป็ นกลุ่มๆ ซึ่งเปรียบเหมือนการแข่งว่ายน้า เรียก กลไกนี้ว่า Swimlanes  ในแต่ละ swimlane จะมีการกาหนดชื่อกากับเอาไว้ เช่น กระบวนการของการสั่งซื้อสินค้า เราอาจแบ่งกลุ่มของคนที่มี ส่วนเกี่ยวข้องเป็ น 3 ส่วน ได้แก่ ลูกค้า , ฝ่ายขาย และ คลังสินค้า 24
  • 25. แบ่งการทางานให้เป็ นสัดส่วนด้วย Swimlanes  Activity หนึ่ง ๆ จะอยู่ภายใน 1 swimlane เท่านั้น แต่การ ติดต่อหรือส่งผ่านระหว่าง activity สามารถเกิดขึ้นข้ามจาก swimlane หนึ่งไปยังอีก swimlane หนึ่งได้ ดังรูปต่อไป 25
  • 30. 30