SlideShare a Scribd company logo
บทที่ 3 : การใชอีเมล และไอซีคิวเพื่อการติดตอ




                                                                                                                     1 : เรื่องนารูสําหรับมือใหม
                                                                         บทที่                            3




                                                                                                                    ตอนที่
                                                           การใชอีเมล และไอซีคิว
                                                                    เพือการติดตอ
                                                                       ่


                          อีเมล (E-mail) คือบริการสงจดหมายอิเล็กทรอนิกส (Electornic mail) ตางกับระบบสง
                จดหมายเดิม เพราะบริการนีไมตองติดแสตมป ไมใชเวลาในการสงมาก สวนใหญผรบจะไดรบจดหมาย
                                               ้                                            ู ั   ั
                ในเกือบทันที เนือความจดหมายเปนไดทง ตัวอักษร รูปภาพ เสียง หรือแฟมขอมูลทางคอมพิวเตอร
                                     ้                  ั้
                          ไอซีคว (ICQ) คือโปรแกรมทีถกพัฒนาเพือสนองความตองการในการติดตอ ทําใหผทรจกกัน
                                 ิ                     ู่       ่                                      ู ี่ ู ั
                สามารถสรางสังคมทีใกลชดกันมากขึน โปรแกรมนีทาใหทราบวาใครเปดเครืองเพือ Online เขาระบบ
                                           ่ ิ       ้            ้ ํ                   ่ ่
                Internet ขณะนัน และสามารถขอพูดคุยผานแปนพิมพไดทันที ใน ICQ รุนใหมไดมีการพัฒนาความ
                                   ้
                สามารถมากขึน สามารถใชตรวจ e-mail สง SMS (Send Message Service) ใชแทนโทรศัพท และจัด
                               ้
                เก็บรายชือเพือนในเครืองบริการของ ICQ ทําใหผใชสามารถใชคอมพิวเตอรไดหลายเครือง (ICQ รุนเดิม
                          ่ ่               ่                ู                                   ่            
                จะใชไดเฉพาะเครือง)   ่
                          โทรศัพทมอถือ จากทีเ่ คยมีราคาหลายแสน มีขนาดเทากระเปาหิว ปจจุบนลดเหลือขนาดพกใส
                                         ื                                         ้       ั
                กระเปาเสือได สามารถรับขอมูลจาก ICQ เปดดู WAP (Wireless Application Protocol) สงขอมูลแบบ
                           ้


                ปรับปรุง : มิถุนายน 2546                                                                     21
                                                                                                                    >>>
PDF created with FinePrint pdfFactory Pro trial version http://www.pdffactory.com
ตอนที่   1 : เรื่องนารูสําหรับมือใหม
             SMS (Short Message Service) หรือแมแตการรับ-สงอีเมล และการทําธุรกรรมทางการเงินกับธนาคาร
             ตางเคยเปนความฝน แตปจจุบนทุกอยางเปนจริง ในราคาทีขาราชการธรรมดาซือใหลกไปโรงเรียนได ทังหมด
                                     ั                           ่              ้ ู                   ้
             เปนผลจากนวัตกรรมดานเทคโนโลยี

             3.1 รับ-สงอีเมลดวย Web-based mail
                        บริการนีมผนยมใชกนมากทีสด ดวยเหตุผลหลายประการ ดังนี้
                                ้ ี ู ิ   ั      ุ่
                       1. สมัครงาย ขอใชไดทนที
                                               ั
                       2. มีความปลอดภัยสูง เพราะผูใหบริการรายใหญมบริการเขารหัสขอมูลลับกอนสง
                                                                       ี
                       3. ไมยดติดกับเครืองคอมพิวเตอร เปดทีเ่ ครืองใดก็ได ไมเหลือขอมูลคางในเครืองคอมพิวเตอร
                              ึ          ่                         ่                                 ่
                       4. เปด e-mail ดวยโปรแกรมประเภท Browser เชน IE, Netscape หรือ Opera เปนตน
                       5. ติดไวรัสไดยาก เพราะไมใช Outlook ซึ่งเปนเปาหมายการจูโจมของไวรัสที่นิยมสูง
                        ในฐานะผูใชบริการ ผูเขียนประทับใจ hotmail.com, yahoo.com, thaimail.com และ
             chaiyo.com มาก เพราะมี ค วามเร็ ว และความสะดวก เป น ที่ ย อมรั บ ในระยะหลั ง มี
             บริ ก ารเสริ ม มากมายที่ ใ ช ป ระจํ า คื อ hotmail.com สามารถกรองจดหมายขยะ (Spam)
             และมี บ ริ ก ารตรวจสอบไวรั ส ในแฟ ม แนบ (Attach file) ทํ า ให ส ะดวกในการหาจดหมาย
             ที่สําคัญจากกองขยะไดรวดเร็ว สามารถดึง e-mail จากเครื่องบริการ mail เครื่องอื่นที่ใหบริการ
             pop3 ไปอานใน hotmail.com มีสมุดที่อยู (Address book) และมีบริการเสริม เชน กระดานขาว
             หรือสมุดภาพ แต hotmail.com ใหพื้นที่เก็บ e-mail เพียง 2 Mb ซึ่งไมพอสําหรับหลายทาน
             ถาตองการพื้นที่มากกวานี้ก็ขอแนะนํา yahoo.com เพราะใหมากถึง 6 Mb และถาทานเปนคนไทย
             ไมชอบ ภาษาอังกฤษ ก็ขอแนะนํา chaiyo.com เพราะเขาใจวาเด็กไทยชอบที่นี่กันมาก หรือจะใช
             thaimail.com ชื่อก็เปนเอกลักษณ มีความเปนไทยชัดเจน
                        ในฐานะผูใหบริการ e-mail แกสมาชิกในองคกร เคยพยายามเปดบริการ web-based mail
                                   
             อยูหลายครัง เคยใชโปรแกรมทีไมสมบูรณระยะหนึง จนกระทังพฤษภาคม พ.ศ. 2545 ไดพบโปรแกรม
                         ้                  ่                   ่         ่
             ที่ใชไดดีระดับหนึ่ง จึงสามารถใหบริการ e-mail แกสมาชิกผานระบบ Web-based mail (เดิมใช




     <<<     22                                                                 Introduction to Webmaster




PDF created with FinePrint pdfFactory Pro trial version http://www.pdffactory.com
บทที่ 3 : การใชอีเมล และไอซีคิวเพื่อการติดตอ

                Telnet) ผูดูแลเพียงแตหาโปรแกรมที่ใชอาน POP3 e-mail แบบ Web-based mail เขาไปติดตั้ง




                                                                                                                     1 : เรื่องนารูสําหรับมือใหม
                และเป ด ให บ ริ ก าร สมาชิ ก โปรแกรมเหล า นี้ ฟ รี หาได จ าก hotscripts.com เป น ต น
                โปรแกรมที่ผูเขียนไดมาและใชงานอยู คือ UebiMiau ที่เขียนดวย PHP เมื่อ download มาแลว
                ใหนําแฟม config.php ไปแกไขคาตามตองการ เพราะเปนภาษา Script จึงแกไขโปรแกรมไดงาย
                ทานสามารถเขาไปอานรายละเอียดพรอม download ไดที่ http://www.uebimiau.sili.com.br หรือ




                                                                                                                    ตอนที่
                http://uebimiau.sourceforge.net




                3.2 รับ-สงอีเมลดวย Pine
                         Pine ไดรบการพัฒนาจากมหาวิทยาลัย Washington ของสหรัฐฯ เพือใชอาน e-mail ในระบบ
                                  ั                                                      ่ 
                Unix หรือ Linux จนกระทัง hotmail.com เขามาใหบริการ web-based mail ใหคนทัวโลกไดใชบริการฟรี
                                          ่                                                     ่
                ผูพฒนาในองคกรจึงหันมาใหบริการ e-mail สมาชิกของตน ดวยระบบ web-based mail แทน ผูใชพอใจ
                   ั                                                                                      
                กับระบบอาน e-mail ที่แสดงดวยภาพ (graphic mode) มากขึ้น และลดการใช pine ที่มีการทํางาน
                แบบตัวอักษร (text mode) อีกเหตุผลหนึงคือ Pine เปนโปรแกรมทีตอง Login เขาไปในระบบ Unix หรือ
                                                       ่                       ่
                Linux จึงจะอาน mail ได การยอมให Login เขาระบบ เปนการเปดโอกาสให hacker หรือผูใช ทีชอบทดลอง
                                                                                                    ่
                สามารถหาชองทางเขาไปกระทําการอันไมพงประสงคในเครืองคอมพิวเตอรทเปดใหบริการ ปจจุบัน
                                                             ึ              ่                ี่
                เครืองบริการรุนใหมจงปดบริการ pine แตเปดใหใช web-based mail แทน
                      ่              ึ




                ปรับปรุง : มิถุนายน 2546                                                                     23
                                                                                                                    >>>
PDF created with FinePrint pdfFactory Pro trial version http://www.pdffactory.com
ตอนที่   1 : เรื่องนารูสําหรับมือใหม
                     ยังมีผใชบางสวนนิยมใช Pine สําหรับอาน e-mail ดวยเหตุผลดังนี้
                           ู
                  1. โปรแกรม Telnet ใชสาหรับติดตอเครืองบริการ มีทกระบบปฏิบตการ ไมตองติดตังเพิ่มเติม
                                         ํ               ่           ุ          ั ิ        ้
                  2. ทํางานไดเร็ว เพราะเปนตัวอักษร (Text mode) และมีความคลองตัวสูง
                  3. เหมาะสะดวกสําหรับนักพัฒนาที่ทํางานในเครื่อง Unix หรือ Linux เปนประจํา
              ขอมูลจาก : http://www.washington.edu/pine/faq/whatis.html
              Pine R is the University of Washington’s “Program for Internet News and Email.” It is intended to
              be an easy-to-use program for sending, receiving, and filing Internet electronic mail messages and
              Internet News (Usenet) messages. Pine supports the following Internet protocols and specifications:
               SMTP : Simple Mail Transport Protocol MIME : Multipurpose Internet Mail Extensions
               IMAP : Internet Message Access Protocol NNTP : Network News Transport Protocol


             3.3 รับ-สงอีเมลดวย Outlook express
                     หากองคกรบริการ e-mail แบบ POP3 และผูใชทกคนมีเครืองคอมพิวเตอรของตนเอง การใช
                                                                ุ        ่
             Outlook หรือ Outlook express จะสามารถทํางานไดสะดวกมาก เพราะโปรแกรมทํางานประสานกับ
             โปรแกรมอืนใน Windows อยางสอดคลอง การทําสมุดทีอยู (Address book) ของลูกคา ปฏิทนนัดหมาย
                        ่                                          ่                          ิ
             หรืออาน e-mail จากโปรแกรมอืน โปรแกรม Outlook express มักถูกติดตังในเครืองคอมพิวเตอรทใช
                                          ่                                    ้     ่              ี่
             ระบบปฏิบตการ Windows และสามารถเชือมตออินเทอรเน็ต ทําใหไมตองเสียคาใชจายหรือเวลาเพิม
                       ั ิ                          ่                                                ่
             โปรแกรมนีจงเปนโปรแกรมสําหรับรับ -สง e-mail ทีมผใชมากทีสดโปรแกรมหนึง
                       ้ึ                                   ่ ี ู    ุ่          ่




     <<<     24                                                               Introduction to Webmaster




PDF created with FinePrint pdfFactory Pro trial version http://www.pdffactory.com
บทที่ 3 : การใชอีเมล และไอซีคิวเพื่อการติดตอ

                3.4 รับ-สงอีเมลดวย ICQ




                                                                                                                    1 : เรื่องนารูสําหรับมือใหม
                        ปจจุบน ICQ สามารถแจงใหทราบวามี e-mail ใหมเขามา เปนความสามารถทีคลายกับ yahoo
                              ั                                                                  ่
                messenger หรือ MSN messenger โปรแกรม ICQ mail ที่ผูเขียนใชอยูเปนรุนที่ยังทํางานไมสมบูรณ
                เพราะอาน e-mail ไดเพียงไมกบรรทัดแรกและไมสามารถแสดง attach file แตในอนาคตเชือวา ตองไดรบ
                                             ี่                                                    ่         ั
                การพัฒนาใหสมบูรณอยางแนนอน เพราะ ICQ มีพฒนาการอยางตอเนือง และไดรบการดูแลโดย AOL
                                                              ั                  ่          ั




                                                                                                                   ตอนที่
                (American Online) ซึงเปน ISP รายใหญทสดรายหนึงของสหรัฐฯ
                                     ่                 ี่ ุ     ่
                        ตัวอยางนี้ แสดงการอาน e-mail แบบ pop3 ทีบริการโดย http://www.softhome.net ผูเขียน
                                                                  ่                                      
                ใชโปรแกรม ICQ version 2001b และจะสงเสียงเตือนทุกครังทีมี e-mail ฉบับใหมเขามา
                                                                       ้ ่




                3.5 เปรียบเทียบขอดีขอเสียของโปรแกรมอานอีเมล
                 คุณสมบัติ                           Telnet, SSH (Pine)   POP3, Outlook, ICQ      Web-based
                 ความเร็วในการเชือมตอเครือขาย
                                     ่                           ตํา
                                                                   ่                สูง             ปานกลาง
                 ลักษณะ(Specification)เครืองฝงผูใช
                                               ่               ตํา ่              สูง               ปานกลาง
                 ใชเนือทีบนฮารดดิสกฝงผูใช
                       ้ ่                                ตํ่าสุด                สูง                   ตํ่า
                 ลักษณะการใชงาน                          Text mode          Graphic mode        Graphic mode
                 ความปลอดภัย                                     สูง                ตํา
                                                                                      ่               ปานกลาง
                 การกําหนดคาในเครืองฝงผูใช
                                       ่                ไมกําหนด           ตองกําหนด              ไมกาหนด
                                                                                                          ํ
                 การติดตังโปรแกรมฝงเครืองบริการ
                           ้             ่              มาพรอม OS             ปานกลาง          มีขั้นตอนมาก
                 การติดตังโปรแกรมฝงเครืองผูใช
                             ้            ่            มาพรอม OS               ยาก              ใช Browser
                 การใช เมือผูใชตองใชหลายเครือง
                               ่                ่     เครื่องไหนก็ได   เหมาะกับเครื่องเดียว   เครื่องไหนก็ได
                 การปองกันไวรัสทางอีเมล                ติดไวรัสยาก          ติดไวรัสงาย       ปองกันไดบาง

                ปรับปรุง : มิถุนายน 2546                                                                      25
                                                                                                                   >>>
PDF created with FinePrint pdfFactory Pro trial version http://www.pdffactory.com
ตอนที่   1 : เรื่องนารูสําหรับมือใหม
             3.6 สงขอความถึงกันดวย ICQ
                        ความสามารถที่แทจริงของ ICQ ตั้งแตรุนแรกคือ การสงขอความถึงสมาชิก ICQ ดวยกัน
             ตอมามีการพัฒนาใหสามารถสงขอความไปใหผใชทาง e-mail ปจจุบนสามารถสงขอความเขามือถือ
                                                            ู                  ั
             ดวยบริการ SMS message เปนบริการทีนาประทับใจมาก สําหรับผูสงไมจาเปนตองลงทะเบียน เพียงแตใช
                                                    ่                     ํ
             ICQ version ใหม ทังผูรบและผูสงไมตองเสียคาใชจายเพิม เมือไดรบก็สามารถตอบขอความนัน ใหสง
                                  ้ ั                       ่ ่ ั                                ้      
             กลับไปเขาโปรแกรม ICQ ของผูสงได ในการตอบ SMS นี้ ผูใชมอถือตองรับภาระคาใชจายในการตอบ
                                                                     ื                       
             แตทนาเปนหวง คือ ผูรบไมสามารถเลือกรับ SMS จากผูทตนรูจกได หากมีผไมประสงคแกลงสงขอความ
                   ี่              ั                            ี่  ั          ู
             ก็จะกอปญหา และความรําคาญใหผรบได
                                               ู ั
                        ปจจุบันสามารถใชโทรศัพทมือถือสงขอความถึงกันได ดวยบริการ SMS บอยครั้งที่ผูเขียน
             สงขอความ ถึงแฟนวา I Love you บางทานจะนําไปใชกได หรือชวนภรรยาทานขาวเย็นก็สงวา Dinner at
                                                                  ็                               
             the same place in the same time เปนตน ถาไมตองการเสียคาใชจายอะไรเลย ก็ใช ICQ สงขอความ
             ไปเขามือถือ




     <<<     26                                                              Introduction to Webmaster




PDF created with FinePrint pdfFactory Pro trial version http://www.pdffactory.com

More Related Content

What's hot

อินเทอร์เน็ต5.1
อินเทอร์เน็ต5.1อินเทอร์เน็ต5.1
อินเทอร์เน็ต5.1Pp'dan Phuengkun
 
บทที่3เรื่องอินเทอร์เน็ตและการใช้งาน
บทที่3เรื่องอินเทอร์เน็ตและการใช้งานบทที่3เรื่องอินเทอร์เน็ตและการใช้งาน
บทที่3เรื่องอินเทอร์เน็ตและการใช้งานPiyanoot Ch
 
สรุปอินเตอร์เน็ตและการสืบค้นข้อมูล
สรุปอินเตอร์เน็ตและการสืบค้นข้อมูลสรุปอินเตอร์เน็ตและการสืบค้นข้อมูล
สรุปอินเตอร์เน็ตและการสืบค้นข้อมูล
Happy Sara
 
อินเทอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ตอินเทอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ตPp'dan Phuengkun
 
เฉลยแบบทดสอบหลังเรียน วิชาอินเตอร์เนตกับการเรียนรู้ไร้พรมแดน ม.ต้น
เฉลยแบบทดสอบหลังเรียน วิชาอินเตอร์เนตกับการเรียนรู้ไร้พรมแดน  ม.ต้นเฉลยแบบทดสอบหลังเรียน วิชาอินเตอร์เนตกับการเรียนรู้ไร้พรมแดน  ม.ต้น
เฉลยแบบทดสอบหลังเรียน วิชาอินเตอร์เนตกับการเรียนรู้ไร้พรมแดน ม.ต้นpeter dontoom
 
บทที่ 5 อินเทอร์เน็ตและการสืบค้น
บทที่ 5 อินเทอร์เน็ตและการสืบค้นบทที่ 5 อินเทอร์เน็ตและการสืบค้น
บทที่ 5 อินเทอร์เน็ตและการสืบค้นxsitezaa
 
แบบทดสอบ
แบบทดสอบแบบทดสอบ
แบบทดสอบ
kruumawan
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็ม
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็มความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็ม
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็มSutin Yotyavilai
 
ความรู้เบื้องต้นอินเตอร์เน็ต2
ความรู้เบื้องต้นอินเตอร์เน็ต2ความรู้เบื้องต้นอินเตอร์เน็ต2
ความรู้เบื้องต้นอินเตอร์เน็ต2เขมิกา กุลาศรี
 
หน่วยที่ 3 อินเทอร์เน็ตและการใช้งาน
หน่วยที่  3 อินเทอร์เน็ตและการใช้งานหน่วยที่  3 อินเทอร์เน็ตและการใช้งาน
หน่วยที่ 3 อินเทอร์เน็ตและการใช้งาน
อรยา ม่วงมนตรี
 
บริการและประโยชน์ของอินเทอร์เน็ต
บริการและประโยชน์ของอินเทอร์เน็ตบริการและประโยชน์ของอินเทอร์เน็ต
บริการและประโยชน์ของอินเทอร์เน็ต
burin rujjanapan
 
อินเทอร์เน็ต Day2 เช้า
อินเทอร์เน็ต Day2 เช้าอินเทอร์เน็ต Day2 เช้า
อินเทอร์เน็ต Day2 เช้า
Jenchoke Tachagomain
 
สื่อการสอน Internet 2559
สื่อการสอน Internet  2559สื่อการสอน Internet  2559
สื่อการสอน Internet 2559
kkrunuch
 

What's hot (17)

อินเทอร์เน็ต5.1
อินเทอร์เน็ต5.1อินเทอร์เน็ต5.1
อินเทอร์เน็ต5.1
 
บทที่3เรื่องอินเทอร์เน็ตและการใช้งาน
บทที่3เรื่องอินเทอร์เน็ตและการใช้งานบทที่3เรื่องอินเทอร์เน็ตและการใช้งาน
บทที่3เรื่องอินเทอร์เน็ตและการใช้งาน
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ Internet
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ Internetความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ Internet
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ Internet
 
สรุปอินเตอร์เน็ตและการสืบค้นข้อมูล
สรุปอินเตอร์เน็ตและการสืบค้นข้อมูลสรุปอินเตอร์เน็ตและการสืบค้นข้อมูล
สรุปอินเตอร์เน็ตและการสืบค้นข้อมูล
 
อินเทอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ตอินเทอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ต
 
Internet
InternetInternet
Internet
 
เฉลยแบบทดสอบหลังเรียน วิชาอินเตอร์เนตกับการเรียนรู้ไร้พรมแดน ม.ต้น
เฉลยแบบทดสอบหลังเรียน วิชาอินเตอร์เนตกับการเรียนรู้ไร้พรมแดน  ม.ต้นเฉลยแบบทดสอบหลังเรียน วิชาอินเตอร์เนตกับการเรียนรู้ไร้พรมแดน  ม.ต้น
เฉลยแบบทดสอบหลังเรียน วิชาอินเตอร์เนตกับการเรียนรู้ไร้พรมแดน ม.ต้น
 
บทที่ 5 อินเทอร์เน็ตและการสืบค้น
บทที่ 5 อินเทอร์เน็ตและการสืบค้นบทที่ 5 อินเทอร์เน็ตและการสืบค้น
บทที่ 5 อินเทอร์เน็ตและการสืบค้น
 
Internet
InternetInternet
Internet
 
Lernning 12
Lernning 12Lernning 12
Lernning 12
 
แบบทดสอบ
แบบทดสอบแบบทดสอบ
แบบทดสอบ
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็ม
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็มความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็ม
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็ม
 
ความรู้เบื้องต้นอินเตอร์เน็ต2
ความรู้เบื้องต้นอินเตอร์เน็ต2ความรู้เบื้องต้นอินเตอร์เน็ต2
ความรู้เบื้องต้นอินเตอร์เน็ต2
 
หน่วยที่ 3 อินเทอร์เน็ตและการใช้งาน
หน่วยที่  3 อินเทอร์เน็ตและการใช้งานหน่วยที่  3 อินเทอร์เน็ตและการใช้งาน
หน่วยที่ 3 อินเทอร์เน็ตและการใช้งาน
 
บริการและประโยชน์ของอินเทอร์เน็ต
บริการและประโยชน์ของอินเทอร์เน็ตบริการและประโยชน์ของอินเทอร์เน็ต
บริการและประโยชน์ของอินเทอร์เน็ต
 
อินเทอร์เน็ต Day2 เช้า
อินเทอร์เน็ต Day2 เช้าอินเทอร์เน็ต Day2 เช้า
อินเทอร์เน็ต Day2 เช้า
 
สื่อการสอน Internet 2559
สื่อการสอน Internet  2559สื่อการสอน Internet  2559
สื่อการสอน Internet 2559
 

Viewers also liked (9)

Ch07
Ch07Ch07
Ch07
 
Ch02
Ch02Ch02
Ch02
 
Ch21
Ch21Ch21
Ch21
 
Ch19
Ch19Ch19
Ch19
 
Ch11
Ch11Ch11
Ch11
 
Ch23
Ch23Ch23
Ch23
 
วิจัย 29 ม.ค. 2
วิจัย 29 ม.ค. 2วิจัย 29 ม.ค. 2
วิจัย 29 ม.ค. 2
 
Ch09
Ch09Ch09
Ch09
 
วิจัย 29 ม.ค 1
วิจัย 29 ม.ค 1วิจัย 29 ม.ค 1
วิจัย 29 ม.ค 1
 

Similar to Ch03

หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 อินเทอร์เน็ต
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4  อินเทอร์เน็ตหน่วยการเรียนรู้ที่ 4  อินเทอร์เน็ต
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 อินเทอร์เน็ตPapichaya Chengtong
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 อินเทอร์เน็ต
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4  อินเทอร์เน็ตหน่วยการเรียนรู้ที่ 4  อินเทอร์เน็ต
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 อินเทอร์เน็ตPapichaya Chengtong
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็ต
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็ตความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็ต
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็ต
Sutin Yotyavilai
 
บทบาทของการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
บทบาทของการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์บทบาทของการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
บทบาทของการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ปิยะดนัย วิเคียน
 
01 บทที่ 1-บทนำ 1.1
01 บทที่ 1-บทนำ 1.101 บทที่ 1-บทนำ 1.1
01 บทที่ 1-บทนำ 1.1Thanggwa Taemin
 
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตดา
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตดาความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตดา
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตดาWirot Chantharoek
 
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต1
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต1ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต1
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต1Wirot Chantharoek
 
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตดา
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตดาความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตดา
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตดาWirot Chantharoek
 
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต1
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต1ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต1
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต1Wirot Chantharoek
 
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต..
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต..ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต..
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต..Wirot Chantharoek
 
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต1
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต1ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต1
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต1Wirot Chantharoek
 
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต1
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต1ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต1
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต1Wirot Chantharoek
 
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต1
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต1ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต1
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต1Wirot Chantharoek
 
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตWirot Chantharoek
 
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตWirot Chantharoek
 
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตWirot Chantharoek
 
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต1
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต1ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต1
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต1Wirot Chantharoek
 
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้นอินเทอร์เน็ตเบื้องต้น
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้นNoomim
 

Similar to Ch03 (20)

หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 อินเทอร์เน็ต
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4  อินเทอร์เน็ตหน่วยการเรียนรู้ที่ 4  อินเทอร์เน็ต
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 อินเทอร์เน็ต
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 อินเทอร์เน็ต
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4  อินเทอร์เน็ตหน่วยการเรียนรู้ที่ 4  อินเทอร์เน็ต
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 อินเทอร์เน็ต
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็ต
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็ตความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็ต
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็ต
 
บทบาทของการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
บทบาทของการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์บทบาทของการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
บทบาทของการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
01 บทที่ 1-บทนำ 1.1
01 บทที่ 1-บทนำ 1.101 บทที่ 1-บทนำ 1.1
01 บทที่ 1-บทนำ 1.1
 
เฉลยแบบทดสอบปลายภาค ม.5
เฉลยแบบทดสอบปลายภาค ม.5เฉลยแบบทดสอบปลายภาค ม.5
เฉลยแบบทดสอบปลายภาค ม.5
 
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตดา
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตดาความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตดา
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตดา
 
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต1
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต1ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต1
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต1
 
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตดา
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตดาความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตดา
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตดา
 
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต1
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต1ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต1
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต1
 
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต..
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต..ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต..
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต..
 
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต1
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต1ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต1
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต1
 
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต1
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต1ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต1
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต1
 
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต1
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต1ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต1
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต1
 
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต
 
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต
 
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต
 
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต1
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต1ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต1
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต1
 
K7
K7K7
K7
 
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้นอินเทอร์เน็ตเบื้องต้น
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น
 

More from burin rujjanapan

Peer visit with SECI Model
Peer visit with SECI ModelPeer visit with SECI Model
Peer visit with SECI Model
burin rujjanapan
 
advertising & public relation on social media
advertising & public relation on social mediaadvertising & public relation on social media
advertising & public relation on social media
burin rujjanapan
 
Train edoc 25561203
Train edoc 25561203Train edoc 25561203
Train edoc 25561203
burin rujjanapan
 
Introduction of nation university 2013
Introduction of nation university 2013Introduction of nation university 2013
Introduction of nation university 2013
burin rujjanapan
 
22 Facebook tips
22 Facebook tips22 Facebook tips
22 Facebook tips
burin rujjanapan
 
how to compose blog
how to compose bloghow to compose blog
how to compose blog
burin rujjanapan
 
how to use youtube.com
how to use youtube.comhow to use youtube.com
how to use youtube.com
burin rujjanapan
 
how to use blogger
how to use bloggerhow to use blogger
how to use blogger
burin rujjanapan
 
signup facebook and use it for tourism
signup facebook and use it for tourismsignup facebook and use it for tourism
signup facebook and use it for tourism
burin rujjanapan
 
Facebook signup v.560628
Facebook signup v.560628Facebook signup v.560628
Facebook signup v.560628
burin rujjanapan
 
Moodle19 on class server for NTU students
Moodle19 on class server for NTU studentsMoodle19 on class server for NTU students
Moodle19 on class server for NTU students
burin rujjanapan
 
Fb cover
Fb coverFb cover
Fb cover sample
Fb cover sampleFb cover sample
Fb cover sample
burin rujjanapan
 
รายงานประชุมศิษย์เก่าอัสสัมชัญลำปาง 19#19
รายงานประชุมศิษย์เก่าอัสสัมชัญลำปาง 19#19รายงานประชุมศิษย์เก่าอัสสัมชัญลำปาง 19#19
รายงานประชุมศิษย์เก่าอัสสัมชัญลำปาง 19#19
burin rujjanapan
 
รายงานประชุมศิษย์เก่าอัสสัมชัญลำปาง 19#16
รายงานประชุมศิษย์เก่าอัสสัมชัญลำปาง 19#16รายงานประชุมศิษย์เก่าอัสสัมชัญลำปาง 19#16
รายงานประชุมศิษย์เก่าอัสสัมชัญลำปาง 19#16
burin rujjanapan
 
รายงานประชุมศิษย์เก่าอัสสัมชัญลำปาง 19#12
รายงานประชุมศิษย์เก่าอัสสัมชัญลำปาง 19#12รายงานประชุมศิษย์เก่าอัสสัมชัญลำปาง 19#12
รายงานประชุมศิษย์เก่าอัสสัมชัญลำปาง 19#12
burin rujjanapan
 
รายงานประชุมศิษย์เก่าอัสสัมชัญลำปาง 19#11
รายงานประชุมศิษย์เก่าอัสสัมชัญลำปาง 19#11รายงานประชุมศิษย์เก่าอัสสัมชัญลำปาง 19#11
รายงานประชุมศิษย์เก่าอัสสัมชัญลำปาง 19#11
burin rujjanapan
 
รายงานประชุมศิษย์เก่าอัสสัมชัญลำปาง 19#10
รายงานประชุมศิษย์เก่าอัสสัมชัญลำปาง 19#10รายงานประชุมศิษย์เก่าอัสสัมชัญลำปาง 19#10
รายงานประชุมศิษย์เก่าอัสสัมชัญลำปาง 19#10
burin rujjanapan
 
รายงานประชุมศิษย์เก่าอัสสัมชัญลำปาง 19#9
รายงานประชุมศิษย์เก่าอัสสัมชัญลำปาง 19#9รายงานประชุมศิษย์เก่าอัสสัมชัญลำปาง 19#9
รายงานประชุมศิษย์เก่าอัสสัมชัญลำปาง 19#9
burin rujjanapan
 
รายงานประชุมศิษย์เก่าอัสสัมชัญลำปาง 19#8
รายงานประชุมศิษย์เก่าอัสสัมชัญลำปาง 19#8รายงานประชุมศิษย์เก่าอัสสัมชัญลำปาง 19#8
รายงานประชุมศิษย์เก่าอัสสัมชัญลำปาง 19#8
burin rujjanapan
 

More from burin rujjanapan (20)

Peer visit with SECI Model
Peer visit with SECI ModelPeer visit with SECI Model
Peer visit with SECI Model
 
advertising & public relation on social media
advertising & public relation on social mediaadvertising & public relation on social media
advertising & public relation on social media
 
Train edoc 25561203
Train edoc 25561203Train edoc 25561203
Train edoc 25561203
 
Introduction of nation university 2013
Introduction of nation university 2013Introduction of nation university 2013
Introduction of nation university 2013
 
22 Facebook tips
22 Facebook tips22 Facebook tips
22 Facebook tips
 
how to compose blog
how to compose bloghow to compose blog
how to compose blog
 
how to use youtube.com
how to use youtube.comhow to use youtube.com
how to use youtube.com
 
how to use blogger
how to use bloggerhow to use blogger
how to use blogger
 
signup facebook and use it for tourism
signup facebook and use it for tourismsignup facebook and use it for tourism
signup facebook and use it for tourism
 
Facebook signup v.560628
Facebook signup v.560628Facebook signup v.560628
Facebook signup v.560628
 
Moodle19 on class server for NTU students
Moodle19 on class server for NTU studentsMoodle19 on class server for NTU students
Moodle19 on class server for NTU students
 
Fb cover
Fb coverFb cover
Fb cover
 
Fb cover sample
Fb cover sampleFb cover sample
Fb cover sample
 
รายงานประชุมศิษย์เก่าอัสสัมชัญลำปาง 19#19
รายงานประชุมศิษย์เก่าอัสสัมชัญลำปาง 19#19รายงานประชุมศิษย์เก่าอัสสัมชัญลำปาง 19#19
รายงานประชุมศิษย์เก่าอัสสัมชัญลำปาง 19#19
 
รายงานประชุมศิษย์เก่าอัสสัมชัญลำปาง 19#16
รายงานประชุมศิษย์เก่าอัสสัมชัญลำปาง 19#16รายงานประชุมศิษย์เก่าอัสสัมชัญลำปาง 19#16
รายงานประชุมศิษย์เก่าอัสสัมชัญลำปาง 19#16
 
รายงานประชุมศิษย์เก่าอัสสัมชัญลำปาง 19#12
รายงานประชุมศิษย์เก่าอัสสัมชัญลำปาง 19#12รายงานประชุมศิษย์เก่าอัสสัมชัญลำปาง 19#12
รายงานประชุมศิษย์เก่าอัสสัมชัญลำปาง 19#12
 
รายงานประชุมศิษย์เก่าอัสสัมชัญลำปาง 19#11
รายงานประชุมศิษย์เก่าอัสสัมชัญลำปาง 19#11รายงานประชุมศิษย์เก่าอัสสัมชัญลำปาง 19#11
รายงานประชุมศิษย์เก่าอัสสัมชัญลำปาง 19#11
 
รายงานประชุมศิษย์เก่าอัสสัมชัญลำปาง 19#10
รายงานประชุมศิษย์เก่าอัสสัมชัญลำปาง 19#10รายงานประชุมศิษย์เก่าอัสสัมชัญลำปาง 19#10
รายงานประชุมศิษย์เก่าอัสสัมชัญลำปาง 19#10
 
รายงานประชุมศิษย์เก่าอัสสัมชัญลำปาง 19#9
รายงานประชุมศิษย์เก่าอัสสัมชัญลำปาง 19#9รายงานประชุมศิษย์เก่าอัสสัมชัญลำปาง 19#9
รายงานประชุมศิษย์เก่าอัสสัมชัญลำปาง 19#9
 
รายงานประชุมศิษย์เก่าอัสสัมชัญลำปาง 19#8
รายงานประชุมศิษย์เก่าอัสสัมชัญลำปาง 19#8รายงานประชุมศิษย์เก่าอัสสัมชัญลำปาง 19#8
รายงานประชุมศิษย์เก่าอัสสัมชัญลำปาง 19#8
 

Ch03

  • 1. บทที่ 3 : การใชอีเมล และไอซีคิวเพื่อการติดตอ 1 : เรื่องนารูสําหรับมือใหม บทที่ 3 ตอนที่ การใชอีเมล และไอซีคิว เพือการติดตอ ่ อีเมล (E-mail) คือบริการสงจดหมายอิเล็กทรอนิกส (Electornic mail) ตางกับระบบสง จดหมายเดิม เพราะบริการนีไมตองติดแสตมป ไมใชเวลาในการสงมาก สวนใหญผรบจะไดรบจดหมาย ้  ู ั ั ในเกือบทันที เนือความจดหมายเปนไดทง ตัวอักษร รูปภาพ เสียง หรือแฟมขอมูลทางคอมพิวเตอร ้ ั้ ไอซีคว (ICQ) คือโปรแกรมทีถกพัฒนาเพือสนองความตองการในการติดตอ ทําใหผทรจกกัน ิ ู่ ่ ู ี่ ู ั สามารถสรางสังคมทีใกลชดกันมากขึน โปรแกรมนีทาใหทราบวาใครเปดเครืองเพือ Online เขาระบบ ่ ิ ้ ้ ํ ่ ่ Internet ขณะนัน และสามารถขอพูดคุยผานแปนพิมพไดทันที ใน ICQ รุนใหมไดมีการพัฒนาความ ้ สามารถมากขึน สามารถใชตรวจ e-mail สง SMS (Send Message Service) ใชแทนโทรศัพท และจัด ้ เก็บรายชือเพือนในเครืองบริการของ ICQ ทําใหผใชสามารถใชคอมพิวเตอรไดหลายเครือง (ICQ รุนเดิม ่ ่ ่ ู ่  จะใชไดเฉพาะเครือง) ่ โทรศัพทมอถือ จากทีเ่ คยมีราคาหลายแสน มีขนาดเทากระเปาหิว ปจจุบนลดเหลือขนาดพกใส ื ้ ั กระเปาเสือได สามารถรับขอมูลจาก ICQ เปดดู WAP (Wireless Application Protocol) สงขอมูลแบบ ้ ปรับปรุง : มิถุนายน 2546 21 >>> PDF created with FinePrint pdfFactory Pro trial version http://www.pdffactory.com
  • 2. ตอนที่ 1 : เรื่องนารูสําหรับมือใหม SMS (Short Message Service) หรือแมแตการรับ-สงอีเมล และการทําธุรกรรมทางการเงินกับธนาคาร ตางเคยเปนความฝน แตปจจุบนทุกอยางเปนจริง ในราคาทีขาราชการธรรมดาซือใหลกไปโรงเรียนได ทังหมด  ั ่ ้ ู ้ เปนผลจากนวัตกรรมดานเทคโนโลยี 3.1 รับ-สงอีเมลดวย Web-based mail บริการนีมผนยมใชกนมากทีสด ดวยเหตุผลหลายประการ ดังนี้ ้ ี ู ิ ั ุ่ 1. สมัครงาย ขอใชไดทนที ั 2. มีความปลอดภัยสูง เพราะผูใหบริการรายใหญมบริการเขารหัสขอมูลลับกอนสง  ี 3. ไมยดติดกับเครืองคอมพิวเตอร เปดทีเ่ ครืองใดก็ได ไมเหลือขอมูลคางในเครืองคอมพิวเตอร ึ ่ ่ ่ 4. เปด e-mail ดวยโปรแกรมประเภท Browser เชน IE, Netscape หรือ Opera เปนตน 5. ติดไวรัสไดยาก เพราะไมใช Outlook ซึ่งเปนเปาหมายการจูโจมของไวรัสที่นิยมสูง ในฐานะผูใชบริการ ผูเขียนประทับใจ hotmail.com, yahoo.com, thaimail.com และ chaiyo.com มาก เพราะมี ค วามเร็ ว และความสะดวก เป น ที่ ย อมรั บ ในระยะหลั ง มี บริ ก ารเสริ ม มากมายที่ ใ ช ป ระจํ า คื อ hotmail.com สามารถกรองจดหมายขยะ (Spam) และมี บ ริ ก ารตรวจสอบไวรั ส ในแฟ ม แนบ (Attach file) ทํ า ให ส ะดวกในการหาจดหมาย ที่สําคัญจากกองขยะไดรวดเร็ว สามารถดึง e-mail จากเครื่องบริการ mail เครื่องอื่นที่ใหบริการ pop3 ไปอานใน hotmail.com มีสมุดที่อยู (Address book) และมีบริการเสริม เชน กระดานขาว หรือสมุดภาพ แต hotmail.com ใหพื้นที่เก็บ e-mail เพียง 2 Mb ซึ่งไมพอสําหรับหลายทาน ถาตองการพื้นที่มากกวานี้ก็ขอแนะนํา yahoo.com เพราะใหมากถึง 6 Mb และถาทานเปนคนไทย ไมชอบ ภาษาอังกฤษ ก็ขอแนะนํา chaiyo.com เพราะเขาใจวาเด็กไทยชอบที่นี่กันมาก หรือจะใช thaimail.com ชื่อก็เปนเอกลักษณ มีความเปนไทยชัดเจน ในฐานะผูใหบริการ e-mail แกสมาชิกในองคกร เคยพยายามเปดบริการ web-based mail  อยูหลายครัง เคยใชโปรแกรมทีไมสมบูรณระยะหนึง จนกระทังพฤษภาคม พ.ศ. 2545 ไดพบโปรแกรม  ้ ่ ่ ่ ที่ใชไดดีระดับหนึ่ง จึงสามารถใหบริการ e-mail แกสมาชิกผานระบบ Web-based mail (เดิมใช <<< 22 Introduction to Webmaster PDF created with FinePrint pdfFactory Pro trial version http://www.pdffactory.com
  • 3. บทที่ 3 : การใชอีเมล และไอซีคิวเพื่อการติดตอ Telnet) ผูดูแลเพียงแตหาโปรแกรมที่ใชอาน POP3 e-mail แบบ Web-based mail เขาไปติดตั้ง 1 : เรื่องนารูสําหรับมือใหม และเป ด ให บ ริ ก าร สมาชิ ก โปรแกรมเหล า นี้ ฟ รี หาได จ าก hotscripts.com เป น ต น โปรแกรมที่ผูเขียนไดมาและใชงานอยู คือ UebiMiau ที่เขียนดวย PHP เมื่อ download มาแลว ใหนําแฟม config.php ไปแกไขคาตามตองการ เพราะเปนภาษา Script จึงแกไขโปรแกรมไดงาย ทานสามารถเขาไปอานรายละเอียดพรอม download ไดที่ http://www.uebimiau.sili.com.br หรือ ตอนที่ http://uebimiau.sourceforge.net 3.2 รับ-สงอีเมลดวย Pine Pine ไดรบการพัฒนาจากมหาวิทยาลัย Washington ของสหรัฐฯ เพือใชอาน e-mail ในระบบ ั ่  Unix หรือ Linux จนกระทัง hotmail.com เขามาใหบริการ web-based mail ใหคนทัวโลกไดใชบริการฟรี ่ ่ ผูพฒนาในองคกรจึงหันมาใหบริการ e-mail สมาชิกของตน ดวยระบบ web-based mail แทน ผูใชพอใจ  ั  กับระบบอาน e-mail ที่แสดงดวยภาพ (graphic mode) มากขึ้น และลดการใช pine ที่มีการทํางาน แบบตัวอักษร (text mode) อีกเหตุผลหนึงคือ Pine เปนโปรแกรมทีตอง Login เขาไปในระบบ Unix หรือ ่ ่ Linux จึงจะอาน mail ได การยอมให Login เขาระบบ เปนการเปดโอกาสให hacker หรือผูใช ทีชอบทดลอง  ่ สามารถหาชองทางเขาไปกระทําการอันไมพงประสงคในเครืองคอมพิวเตอรทเปดใหบริการ ปจจุบัน ึ ่ ี่ เครืองบริการรุนใหมจงปดบริการ pine แตเปดใหใช web-based mail แทน ่  ึ ปรับปรุง : มิถุนายน 2546 23 >>> PDF created with FinePrint pdfFactory Pro trial version http://www.pdffactory.com
  • 4. ตอนที่ 1 : เรื่องนารูสําหรับมือใหม ยังมีผใชบางสวนนิยมใช Pine สําหรับอาน e-mail ดวยเหตุผลดังนี้ ู 1. โปรแกรม Telnet ใชสาหรับติดตอเครืองบริการ มีทกระบบปฏิบตการ ไมตองติดตังเพิ่มเติม ํ ่ ุ ั ิ  ้ 2. ทํางานไดเร็ว เพราะเปนตัวอักษร (Text mode) และมีความคลองตัวสูง 3. เหมาะสะดวกสําหรับนักพัฒนาที่ทํางานในเครื่อง Unix หรือ Linux เปนประจํา ขอมูลจาก : http://www.washington.edu/pine/faq/whatis.html Pine R is the University of Washington’s “Program for Internet News and Email.” It is intended to be an easy-to-use program for sending, receiving, and filing Internet electronic mail messages and Internet News (Usenet) messages. Pine supports the following Internet protocols and specifications: SMTP : Simple Mail Transport Protocol MIME : Multipurpose Internet Mail Extensions IMAP : Internet Message Access Protocol NNTP : Network News Transport Protocol 3.3 รับ-สงอีเมลดวย Outlook express หากองคกรบริการ e-mail แบบ POP3 และผูใชทกคนมีเครืองคอมพิวเตอรของตนเอง การใช  ุ ่ Outlook หรือ Outlook express จะสามารถทํางานไดสะดวกมาก เพราะโปรแกรมทํางานประสานกับ โปรแกรมอืนใน Windows อยางสอดคลอง การทําสมุดทีอยู (Address book) ของลูกคา ปฏิทนนัดหมาย ่ ่ ิ หรืออาน e-mail จากโปรแกรมอืน โปรแกรม Outlook express มักถูกติดตังในเครืองคอมพิวเตอรทใช ่ ้ ่ ี่ ระบบปฏิบตการ Windows และสามารถเชือมตออินเทอรเน็ต ทําใหไมตองเสียคาใชจายหรือเวลาเพิม ั ิ ่   ่ โปรแกรมนีจงเปนโปรแกรมสําหรับรับ -สง e-mail ทีมผใชมากทีสดโปรแกรมหนึง ้ึ ่ ี ู ุ่ ่ <<< 24 Introduction to Webmaster PDF created with FinePrint pdfFactory Pro trial version http://www.pdffactory.com
  • 5. บทที่ 3 : การใชอีเมล และไอซีคิวเพื่อการติดตอ 3.4 รับ-สงอีเมลดวย ICQ 1 : เรื่องนารูสําหรับมือใหม ปจจุบน ICQ สามารถแจงใหทราบวามี e-mail ใหมเขามา เปนความสามารถทีคลายกับ yahoo ั ่ messenger หรือ MSN messenger โปรแกรม ICQ mail ที่ผูเขียนใชอยูเปนรุนที่ยังทํางานไมสมบูรณ เพราะอาน e-mail ไดเพียงไมกบรรทัดแรกและไมสามารถแสดง attach file แตในอนาคตเชือวา ตองไดรบ ี่ ่ ั การพัฒนาใหสมบูรณอยางแนนอน เพราะ ICQ มีพฒนาการอยางตอเนือง และไดรบการดูแลโดย AOL ั ่ ั ตอนที่ (American Online) ซึงเปน ISP รายใหญทสดรายหนึงของสหรัฐฯ ่ ี่ ุ ่ ตัวอยางนี้ แสดงการอาน e-mail แบบ pop3 ทีบริการโดย http://www.softhome.net ผูเขียน ่  ใชโปรแกรม ICQ version 2001b และจะสงเสียงเตือนทุกครังทีมี e-mail ฉบับใหมเขามา ้ ่ 3.5 เปรียบเทียบขอดีขอเสียของโปรแกรมอานอีเมล คุณสมบัติ Telnet, SSH (Pine) POP3, Outlook, ICQ Web-based ความเร็วในการเชือมตอเครือขาย ่ ตํา ่ สูง ปานกลาง ลักษณะ(Specification)เครืองฝงผูใช ่   ตํา ่ สูง ปานกลาง ใชเนือทีบนฮารดดิสกฝงผูใช ้ ่   ตํ่าสุด สูง ตํ่า ลักษณะการใชงาน Text mode Graphic mode Graphic mode ความปลอดภัย สูง ตํา ่ ปานกลาง การกําหนดคาในเครืองฝงผูใช ่   ไมกําหนด ตองกําหนด ไมกาหนด ํ การติดตังโปรแกรมฝงเครืองบริการ ้  ่ มาพรอม OS ปานกลาง มีขั้นตอนมาก การติดตังโปรแกรมฝงเครืองผูใช ้  ่  มาพรอม OS ยาก ใช Browser การใช เมือผูใชตองใชหลายเครือง ่   ่ เครื่องไหนก็ได เหมาะกับเครื่องเดียว เครื่องไหนก็ได การปองกันไวรัสทางอีเมล ติดไวรัสยาก ติดไวรัสงาย ปองกันไดบาง ปรับปรุง : มิถุนายน 2546 25 >>> PDF created with FinePrint pdfFactory Pro trial version http://www.pdffactory.com
  • 6. ตอนที่ 1 : เรื่องนารูสําหรับมือใหม 3.6 สงขอความถึงกันดวย ICQ ความสามารถที่แทจริงของ ICQ ตั้งแตรุนแรกคือ การสงขอความถึงสมาชิก ICQ ดวยกัน ตอมามีการพัฒนาใหสามารถสงขอความไปใหผใชทาง e-mail ปจจุบนสามารถสงขอความเขามือถือ ู ั ดวยบริการ SMS message เปนบริการทีนาประทับใจมาก สําหรับผูสงไมจาเปนตองลงทะเบียน เพียงแตใช ่  ํ ICQ version ใหม ทังผูรบและผูสงไมตองเสียคาใชจายเพิม เมือไดรบก็สามารถตอบขอความนัน ใหสง ้ ั    ่ ่ ั ้  กลับไปเขาโปรแกรม ICQ ของผูสงได ในการตอบ SMS นี้ ผูใชมอถือตองรับภาระคาใชจายในการตอบ   ื  แตทนาเปนหวง คือ ผูรบไมสามารถเลือกรับ SMS จากผูทตนรูจกได หากมีผไมประสงคแกลงสงขอความ ี่  ั  ี่  ั ู ก็จะกอปญหา และความรําคาญใหผรบได ู ั ปจจุบันสามารถใชโทรศัพทมือถือสงขอความถึงกันได ดวยบริการ SMS บอยครั้งที่ผูเขียน สงขอความ ถึงแฟนวา I Love you บางทานจะนําไปใชกได หรือชวนภรรยาทานขาวเย็นก็สงวา Dinner at ็  the same place in the same time เปนตน ถาไมตองการเสียคาใชจายอะไรเลย ก็ใช ICQ สงขอความ ไปเขามือถือ <<< 26 Introduction to Webmaster PDF created with FinePrint pdfFactory Pro trial version http://www.pdffactory.com