SlideShare a Scribd company logo
อินเทอร์ เน็ต
           คือ เครือข่ ายคอมพิวเตอร์ ทเี่ ชื่อมต่ อกันเป็ นจานวนมาก
ครอบคลุมไปทัวโลก โดยอาศัยโครงสร้ างระบบสื่ อสารโทรคมนาคมเป็ น
                   ่
ตัวกลางในการแลกเปลียนข้ อมูล มีการประยุกต์ ใช้ งานหลากหลาย
                          ่
รู ปแบบ อินเทอร์ เน็ตเป็ นทั้งเครือข่ ายของคอมพิวเตอร์ และเครือข่ ายของ
เครือข่ าย เพราะอินเทอร์ เน็ตประกอบด้ วยเครือข่ ายย่ อยเป็ นจานวนมาก
ต่ อเชื่อมเข้ าด้ วยกัน ภายใต้ มาตรฐานเดียวกันจนเป็ นสั งคมเครือข่ ายขนาด
ใหญ่
อินเทอร์ เน็ตเป็ นเครือข่ ายสาธารณะทีไม่ มผู้ใดเป็ นเจ้ าของ ทาให้
                                                    ่ ี
การเข้ าสู่ เครือข่ ายเป็ นไปได้ อย่ างเสรีภายใต้ กฎเกณฑ์ บางประการทีกาหนด
                                                                         ่
ขึน เพือไม่ ให้ เกิดความสั บสนและวุ่นวายจากการเชื่อมต่ อจากเครือข่ ายทัว
   ้     ่                                                                      ่
โลก อินเทอร์ เน็ตมีรูปแบบคล้ายกับเครือข่ ายคอมพิวเตอร์ ระบบ WAN แต่ มี
โครงสร้ างการทางานทีแตกต่ างกันมากพอสมควร เนื่องจากระบบ WAN
                            ่
เป็ นเครือข่ ายทีถูกสร้ างโดยองค์ กรๆ เดียวหรือกลุ่มองค์ กร เพือวัตถุประสงค์
                  ่                                                ่
ด้ านใดด้ านหนึ่ง
มีผู้ดูแลระบบทีรับผิดชอบแน่ นอน แต่ อนเทอร์ เน็ตจะเป็ นการ
                           ่                      ิ
เชื่อมโยงกันระหว่ างคอมพิวเตอร์ นับล้านๆ เครื่องแบบไม่ ถาวรขึนอยู่กบ
                                                                  ้    ั
เวลานั้นๆ ว่าใครต้ องการเข้ าสู่ ระบบอินเทอร์ เน็ตบ้ าง ใครจะ
ติดต่ อสื่ อสารกับใครก็ได้ จึงทาให้ ระบบอินเทอร์ เน็ตไม่ มผู้ใดรับผิดชอบ
                                                           ี
หรือดูแลทั้งระบบ
ประวัตและความเป็ นมาของอินเทอร์ เน็ต
      ิ
       เครือข่ ายอินเทอร์ เน็ตถือกาเนิดในยุคของสงครามเย็นระหว่ าง
ประเทศมหาอานาจ (สหรัฐอเมริกา) กับรัสเซียเนื่องจากกระทรวงกลาโหม
ของประเทศสหรัฐอเมริกาในขณะนั้นได้ เกิดแนวคิดทีต้องการทาให้ ระบบ
                                                    ่
คอมพิวเตอร์ สามารถติดต่ อสื่ อสารกันได้ โดยคอมพิวเตอร์ สามารถสั่ งการ
และทางานได้ ด้วยตัวเอง โดยไม่ จาเป็ นต้ องมีผู้คอยควบคุมดูแล
หากมีการโจมตีด้วยระเบิดปรมาณูหรือขีปนาวุธนิวเคลียร์ เข้ า
มาถล่มจุดยุทธศาสตร์ ทเี่ มืองใดเมืองหนึ่ง อาจทาให้ ระบบคอมพิวเตอร์
บางส่ วนถูกทาลายไปแต่ ส่วนทีเ่ หลือจะต้ องสามารถปฏิบัติงานได้ ซึ่ง
เป้ าหมายนีเ้ องจึงได้ เกิดโครงการวิจัยและพัฒนาระบบ เครือข่ ายดังกล่าว
ขึน เรียกว่ า “ ARPA (Advanced Research Projects Agency) ” และได้
   ้
มีการพัฒนาอย่ างรวดเร็ว จนในทีสุดได้ กลายมาเป็ นเครือข่ ายทีมชื่อว่ า
                                   ่                         ่ ี
“อินเทอร์ เน็ต” (Internet) ในปัจจุบัน
เว็บเบราว์ เซอร์ (Web browser)
           เบราว์ เซอร์ หรือโปรแกรมดูเว็บ คือโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ทีผู้ใช้
                                                                  ่
สามารถดูข้อมูลและโต้ ตอบกับข้ อมูลสารสนเทศทีจัดเก็บในหน้ าเว็บที่ สร้ าง
                                                 ่
ด้ วยภาษาเฉพาะ เช่ น ภาษาเอชทีเอ็มแอล (Html) ทีจัดเก็บไว้ ทระบบบริการเว็บ
                                                   ่       ี่
หรือเว็บเซิร์ฟเวอร์ หรือระบบคลังข้ อมูลอืน ๆ โดยโปรแกรมค้ นดูเว็บ
                                          ่
เปรียบเสมือนเครื่องมือในการติดต่ อกับเครือข่ าย คอมพิวเตอร์ ขนาดใหญ่ ที่
เรียกว่ าเวิลด์ ไวด์ เว็บ
ประโยชน์ ของ Web Browser

         สามารถดูเอกสารภายในเว็บเซิร์ฟเวอร์ ได้ อย่ างสวยงาม มีการ
แสดงข้ อมูลในรู ปของ ข้ อความ ภาพ และระบบมัลติมเี ดียต่ างๆ ทาให้ การดู
เอกสารบนเว็บมีความน่ าสนใจมากขึน ส่ งผลให้ อนเตอร์ เน็ตได้ รับความ
                                  ้          ิ
นิยมเป็ นอย่ างมากเช่ นในปัจจุบัน
บริการต่ าง ๆ บนอินเตอร์ เน็ต
         บริการบนอินเทอร์ เน็ตมีหลายประเภท เพืออานวยความ
                                                   ่
สะดวกให้ กบผู้ใช้ ได้ เลือกใช้ ให้ เหมาะสมกับลักษณะงาน ซึ่งในทีนีจะ
           ั                                                   ่ ้
ยกตัวอย่ างบริการบนอินเทอร์ เน็ตทีสาคัญดังนี้
                                       ่
1.) ไปรษณีย์อเิ ล็กทรอนิกส์ หรือเรียกกันโดยทัวไปว่าอีเมล์
                                                          ่
(E-mail) ถือได้ ว่าเป็ นกิจกรรมประจาวันของผู้ใช้ อนเตอร์ เน็ต ซึ่งการส่ งและ
                                                  ิ
รับจดหมาย หรือข้ อความถึงกันได้ ทวโลกนีจาเป็ นจะต้ องมีทอยู่อเี มล์ (e-mail
                                     ั่     ้               ี่
address หรือ e-mail account) เพือใช้ เป็ นกล่องรับจดหมาย ทีอยู่ของอีเมล์จะ
                                  ่                            ่
ประกอบ ด้ วยส่ วนประกอบสาคัญ 2 ส่ วน คือ ชื่อผู้ใช้ (User name) และชื่อ
โดเมน (Domain name) ซึ่งเป็ นชื่อเครื่องคอมพิวเตอร์ ทมรายชื่อของผู้ใช้ อเี มล์
                                                      ี่ ี
โดยชื่อผู้ใช้ และชื่อโดเมนจะคันด้ วยเครื่องหมาย @(อ่านว่ า แอ็ท)
                              ่
2.) รายชื่อกลุ่มสนทนา เป็ นกลุ่มสนทนาประเภทหนึ่งบน
อินเทอร์ เน็ตทีมการติดต่ อสื่ อสารและการส่ ง ข่ าวสารให้ กบสมาชิกตาม
                ่ ี                                       ั
รายชื่อและทีอยู่ของสมาชิกทีมอยู่ ในรายการซึ่งในปัจจุบันมีกลุ่มทีแตกต่ าง
              ่                ่ ี                               ่
กัน ตามความสนใจจานวนมาก การเข้ าไปมีส่วนร่ วมในกลุ่มสนทนา
ประเภทนี้ ผู้ใช้ จะต้ อง สมัครสมาชิกก่ อนด้ วยการแจ้ งความประสงค์ และส่ ง
ชื่อและทีอยู่เพือการลงทะเบียน
          ่ ่
3.) กระดานข่ าว (Usenet) เป็ นการรวบรวมของกลุ่มข่าวหรือ
newsgroup ซึ่งเป็ นกลุ่มผู้สนใจทีต้องการจะติดต่ อและแลกเปลียนความคิดเห็น
                                   ่                        ่
กับผู้ใช้ อนเทอร์ เน็ตคนอืน ๆ กลุ่มของ newsgroup ในปัจจุบันมีมากกว่ า 10,000
            ิ             ่
กลุ่มทีมความสนใจในหัวข้ อทีแตกต่ างกัน เช่ น กลุ่มผู้สนใจศิลปะ กลุ่ม
        ่ ี                    ่
คอมพิวเตอร์
4.) การสนทนาออนไลน์ (On-line chat) เป็ นบริการหนึ่งบน
อินเทอร์ เน็ตทีช่วยให้ ผู้ใช้ สามารถคุยโต้ ตอบกับผู้ใช้ คน อืน ๆ ได้ ในเวลา
               ่                                             ่
เดียวกัน การสนทนาหรือ chat ได้ มการพัฒนาไปอย่ างต่ อเนื่อง ปัจจุบันการ
                                      ี
สนทนาระหว่ างบุคคลหรือ กลุ่มบุคคลสามารถใช้ ภาพกราฟิ ก ภาพการ์ ตูน
หรือภาพเคลือนไหวต่ าง ๆ แทนตัวผู้สนทนาได้ นอกจากการสนทนาแล้ว ผู้ใช้
             ่
ยังสามารถแลกเปลียนข้ อมูลและไฟล์ได้ อกด้ วย
                    ่                       ี
5.) การขนถ่ ายไฟล์ (file transfer protocol) หรือทีเ่ รียกสั้น ๆว่า
เอฟทีพี (FTP) เป็ นบริการทีใช้ สาหรับการแลกเปลียนไฟล์ระหว่ างเครื่อง
                            ่                     ่
คอมพิวเตอร์ ทางอินเตอร์ เน็ต เครื่องคอมพิวเตอร์ ทให้ บริการไฟล์จะเรียกว่ า
                                                    ี่
เอฟทีพเี ซิร์ฟเวอร์ (FTP sever หรือ FTP site) ข้ อมูลทีให้ บริการขนถ่ ายไฟล์จะ
                                                       ่
มีลกษณะหลายรู ปแบบ ได้ แก่ข้อมูลสถิติ งานวิจย บทความ เพลง
   ั                                           ั
6.) การเรียกค้ นข้ อมูลข่ าวสาร ปัจจุบันมีฐานข้อมูลข่าวสารที่
เก็บไว้ ให้ ใช้ งานจานวนมาก ฐานข้ อมูลบางแห่ งเก็บข้ อมูลในรู ปสิ่ งพิมพ์
อิเล็กทรอนิกส์ ทีผู้ใช้ สามารถเรียกอ่านหรือนามาพิมพ์ ลักษณะการเรียกคืนนี้
                    ่
จึงมีลกษณะเหมือนเป็ นห้ องสมุดขนาดใหญ่ อยู่ภายในเครือข่ ายทีสามารถ
        ั                                                            ่
ค้ นหาข้ อมูลใดๆก็ได้ ฐานข้ อมูล ในลักษณะ นีเ้ รียกว่ า “เครือข่ าย ใยแมงมุม
ครอบคลุม ทัวโลก” (World Wide Web: WWW) ซึ่งเป็ นฐานข้ อมูลทีเ่ ชื่อมโยง
                 ่
กันทัวโลก
      ่
7.) การบริการสถานีวทยุและโทรทัศน์ บนเครือข่ าย เป็ นการประยุกต์
                   ิ
เพือให้ เห็นว่ าเป็ นสิ่ งทีเ่ กิดขึนได้ ปัจจุบันมีผู้ต้ังสถานีวทยุบนเครือข่ าย
    ่                               ้                           ิ
อินเทอร์ เน็ตหลายร้ อยสถานี ผู้ใช้ สามารถเลือกสถานีทต้องการและได้ ยน
                                                                  ี่              ิ
เสี ยงเหมือนการเปิ ดฟังวิทยุ ขณะเดียวกันก็มการส่ งกระจายภาพ วิดโอ บน
                                                       ี                      ี
เครือข่ ายด้ วยแต่ ปัญหายังอยู่ทความเร็ว ของเครือข่ ายทียงไม่ สามารถรองรับ
                                      ี่                             ่ั
การ ส่ งข้ อมูลจานวนมาก ทาให้ คุณภาพของภาพวีดิโอยังไม่ เห็นดีเท่ าทีควร         ่
8.) เทลเน็ต (telnet) เป็ นบริการทีใ่ ห้ ผู้ใช้ สามารถใช้ บริการเครื่อง
คอมพิวเตอร์ ทีต้ังอยู่ระยะไกล โดยจะใช้ การจาลองเครื่องคอมพิวเตอร์ ทกาลัง
                    ่                                                  ี่
ใช้ งานอยู่ ให้ เป็ นจอภาพ ของเครื่องคอมพิวเตอร์ ระยะไกลเครื่องนั้น การ
ทางานในลักษณะนี้ จะช่ วยประหยัดทั้งเวลาและค่าใช้ จ่าย
การค้ นหาข้ อมูลโดยใช้ เว็บเบราเซอร์
           อินเทอร์ เน็ตเป็ นเครือข่ ายใยแมงมุมทีมการเชื่อมโยงแหล่งข้ อมูล
                                                   ่ ี
ทีกระจัดกระจายอยู่ทวโลก การค้ นหาข้ อมูลจากแหล่งต่ างๆ ถ้ าผู้ใช้ ไม่
     ่                    ั่
ทราบทีอยู่ของเว็บไซต์ ก็สามารถค้ นหาแหล่งข้ อมูลโดยใช้ บริการค้ นหา
        ่
ข้ อมูลต่ าง ๆ ทีได้ กล่าวมาแล้ว ปัจจุบันการค้ นหาข้ อมูลทีต้องการเป็ นเรื่อง
                 ่                                            ่
ทีกระทาได้ สะดวกและรวดเร็ว การพัฒนาเว็บไซต์ ทช่วยสื บค้ น
   ่                                                     ี่
แหล่งข้ อมูลทีเ่ รียกว่ า เครื่องค้ นหา (search engine) ช่ วยให้ การค้ นหาทั้งใน
รู ปของข้ อความและกราฟิ ก กระทาได้ โดยง่ าย
ข้ อดีของอินเทอร์ เน็ต
           1. ค้ นคว้ าข้ อมูลในลักษณะต่ างๆ เช่ น งานวิจัย บทความใน
หนังสื อพิมพ์ ความก้าวหน้ าทางกาแพทย์ ฯลฯ ได้ จากแหล่งข้ อมูลทัวโลก  ่
เช่ น ห้ องสมุด สถาบันการศึกษา และสถาบันวิจัย โดยไม่ ต้องเสี ยค่าใช้ จ่าย
และเสี ยเวลาในการเดินทางและสามารถสื บค้ นได้ ตลอดเวลา 24 ชั่วโมง
2. ติดตามความเคลือนไหวต่ างๆ ทัวโลกได้ อย่ างรวดเร็วจากการ
                            ่               ่
รายงานข่ าวของสานักข่ าวต่ างๆ อยู่ รวมทั้งอ่านบทความเรื่องราวทีลงใน
                                                                ่
นิตยสารหรือวารสารต่ างๆ ได้ ฟรีโดยมีท้งข้ อความและภาพประกอบด้ วย
                                       ั
3. รับส่ งไปรษณีย์อเิ ล็กทรอนิกส์ ทวโลกได้ อย่ างรวดเร็วโดยไม่ ต้อง
                                               ั่
เสี ยเงินค่ าตราไปรษณีย์ยากร ถึงแม้ จะเป็ นการส่ งข้ อความไปต่ างประเทศก็ไม่
ต้ องเสี ยเงินเพิมขึนเหมือนการส่ งจดหมาย การส่ งไปรษณีย์อเิ ล็กทรอนิกส์ นี้
                  ่ ้
นอกจากจะส่ งข้ อความตัวอักษรแบบจดหมายธรรมดาแล้ว ยังสามารถส่ ง
แฟมภาพนิ่ง ภาพเคลือนไหว และเสี ยงพร้ อมกันไปได้ ด้วย
    ้                    ่
ข้ อเสี ยของอินเทอร์ เน็ต
           1. อินเทอร์ เน็ตเป็ นข่ ายงานขนาดใหญ่ ทไม่ มใครเป็ นเจ้ าของ ทุก
                                                   ี่ ี
คนจึงสามารถสร้ างเว็บไซด์ หรือติดประกาศข้ อความได้ ทุกเรื่อง บางครั้ง
ข้ อความนั้นอาจจะเป็ นข้อมูลทีไม่ ถูกต้ องหรือไม่ ได้ รับการรับรอง เช่ น
                                    ่
ข้ อมูลด้ านการแพทย์ หรือผลการทดลองต่ างๆ จึงเป็ นวิจารณญาณของผู้อ่าน
ทีจะต้ องไตร่ ตรองข้ อความทีอ่านนั้นด้ วยว่ าควรจะเชื่อถือได้ หรือไม่
   ่                            ่
เหตุผลสาคัญทีทาให้ อนเตอร์ เน็ตได้ รับความนิยมแพร่ หลายคือ
             ่      ิ
        1.การสื่ อสารบนอินเตอร์ เน็ตไม่ จากัดระบบปฏิบัติการของเครื่อง
คอมพิวเตอร์ คอมพิวเตอร์ ทต่างระบบปฏิบัติการกันก็สามารถติดต่ อสื่ อสารกัน
                              ี่
ได้
        2.อินเตอร์ เน็ตไม่ มข้อจากัดในเรื่องของระยะทาง ไม่ ว่าจะอยู่ภายใน
                            ี
อาคารเดียวกันห่ างกันคนละทวีป ข้ อมูลก็สามารถส่ งผ่ านถึงกันได้
แหล่ งอ้ างอิง
-http://school.obec.go.th/mrPaisan/e-learning/information/content/internet1.htm
-http://school.obec.go.th/kudhuachang/les01.htm
-http://tc.mengrai.ac.th/paisan/e-learning/internet/page21.htm
-http://pirun.ku.ac.th/~b5011172/Page_5.html
-http://www.rayongwit.ac.th/computer/m2fri49/g18m2fri/internet_goodbad.htm
จัดทาโดย
นายธนกาญจน์ สั งข์ สุวรณ เลขที่ 4
นางสาวทิพย์ อกษร โตแก้ ว เลขที่ 18
             ั
นางสาวประภัสสร บุญเงิน เลขที่ 21
นางสาวอินทุกร ปอมหิน เลขที่ 25
                ้
นางสาวสโรชา มากระนิตย์ เลขที่ 33
นางสาวจุฑารัตน์ ลิมทอง เลขที่ 34
                  ้
      ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 5/2
               เสนอ
    อาจารย์ ทรงศักดิ์ โพธิ์เอียม
                              ่

More Related Content

What's hot

3.2 การใช้บริการต่างๆ บนอินเทอร์เน็ต
3.2 การใช้บริการต่างๆ บนอินเทอร์เน็ต3.2 การใช้บริการต่างๆ บนอินเทอร์เน็ต
3.2 การใช้บริการต่างๆ บนอินเทอร์เน็ตMeaw Sukee
 
อินเทอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ตอินเทอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ตsaranya40
 
สรุปอินเตอร์เน็ตและการสืบค้นข้อมูล
สรุปอินเตอร์เน็ตและการสืบค้นข้อมูลสรุปอินเตอร์เน็ตและการสืบค้นข้อมูล
สรุปอินเตอร์เน็ตและการสืบค้นข้อมูล
Happy Sara
 
บทที่3เรื่องอินเทอร์เน็ตและการใช้งาน
บทที่3เรื่องอินเทอร์เน็ตและการใช้งานบทที่3เรื่องอินเทอร์เน็ตและการใช้งาน
บทที่3เรื่องอินเทอร์เน็ตและการใช้งานPiyanoot Ch
 
บทที่ 5 อินเทอร์เน็ตและการสืบค้น
บทที่ 5 อินเทอร์เน็ตและการสืบค้นบทที่ 5 อินเทอร์เน็ตและการสืบค้น
บทที่ 5 อินเทอร์เน็ตและการสืบค้นxsitezaa
 
งานนำเสนอดร.นิป
งานนำเสนอดร.นิปงานนำเสนอดร.นิป
งานนำเสนอดร.นิปguest0b1d15e4
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็ม
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็มความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็ม
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็มSutin Yotyavilai
 
ตัวอย่าง Report1
ตัวอย่าง Report1ตัวอย่าง Report1
ตัวอย่าง Report1Samorn Tara
 
หน่วยที่ 3 อินเทอร์เน็ตและการใช้งาน
หน่วยที่  3 อินเทอร์เน็ตและการใช้งานหน่วยที่  3 อินเทอร์เน็ตและการใช้งาน
หน่วยที่ 3 อินเทอร์เน็ตและการใช้งาน
อรยา ม่วงมนตรี
 
1.ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับinternet1
1.ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับinternet11.ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับinternet1
1.ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับinternet1
Mevenwen Singollo
 
สื่อการสอน Internet 2559
สื่อการสอน Internet  2559สื่อการสอน Internet  2559
สื่อการสอน Internet 2559
kkrunuch
 
01 บทที่ 1-บทนำ 1.1
01 บทที่ 1-บทนำ 1.101 บทที่ 1-บทนำ 1.1
01 บทที่ 1-บทนำ 1.1Thanggwa Taemin
 
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้นอินเทอร์เน็ตเบื้องต้น
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้นChantana Papattha
 
อินเทอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ตอินเทอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ตPp'dan Phuengkun
 
การสื่อสารข้อมูล1
การสื่อสารข้อมูล1การสื่อสารข้อมูล1
การสื่อสารข้อมูล1Tharathep Chumchuen
 

What's hot (20)

3.2 การใช้บริการต่างๆ บนอินเทอร์เน็ต
3.2 การใช้บริการต่างๆ บนอินเทอร์เน็ต3.2 การใช้บริการต่างๆ บนอินเทอร์เน็ต
3.2 การใช้บริการต่างๆ บนอินเทอร์เน็ต
 
อินเทอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ตอินเทอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ต
 
สรุปอินเตอร์เน็ตและการสืบค้นข้อมูล
สรุปอินเตอร์เน็ตและการสืบค้นข้อมูลสรุปอินเตอร์เน็ตและการสืบค้นข้อมูล
สรุปอินเตอร์เน็ตและการสืบค้นข้อมูล
 
บทที่3เรื่องอินเทอร์เน็ตและการใช้งาน
บทที่3เรื่องอินเทอร์เน็ตและการใช้งานบทที่3เรื่องอินเทอร์เน็ตและการใช้งาน
บทที่3เรื่องอินเทอร์เน็ตและการใช้งาน
 
บทที่ 5 อินเทอร์เน็ตและการสืบค้น
บทที่ 5 อินเทอร์เน็ตและการสืบค้นบทที่ 5 อินเทอร์เน็ตและการสืบค้น
บทที่ 5 อินเทอร์เน็ตและการสืบค้น
 
งานนำเสนอดร.นิป
งานนำเสนอดร.นิปงานนำเสนอดร.นิป
งานนำเสนอดร.นิป
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็ม
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็มความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็ม
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็ม
 
Internet
InternetInternet
Internet
 
ตัวอย่าง Report1
ตัวอย่าง Report1ตัวอย่าง Report1
ตัวอย่าง Report1
 
บริการบนอินเทอร์เน็ต
บริการบนอินเทอร์เน็ตบริการบนอินเทอร์เน็ต
บริการบนอินเทอร์เน็ต
 
หน่วยที่ 3 อินเทอร์เน็ตและการใช้งาน
หน่วยที่  3 อินเทอร์เน็ตและการใช้งานหน่วยที่  3 อินเทอร์เน็ตและการใช้งาน
หน่วยที่ 3 อินเทอร์เน็ตและการใช้งาน
 
Lernning 09
Lernning 09Lernning 09
Lernning 09
 
เวิลด์ไวด์เว็บ
เวิลด์ไวด์เว็บเวิลด์ไวด์เว็บ
เวิลด์ไวด์เว็บ
 
1.ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับinternet1
1.ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับinternet11.ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับinternet1
1.ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับinternet1
 
สื่อการสอน Internet 2559
สื่อการสอน Internet  2559สื่อการสอน Internet  2559
สื่อการสอน Internet 2559
 
01 บทที่ 1-บทนำ 1.1
01 บทที่ 1-บทนำ 1.101 บทที่ 1-บทนำ 1.1
01 บทที่ 1-บทนำ 1.1
 
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้นอินเทอร์เน็ตเบื้องต้น
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น
 
อินเทอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ตอินเทอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ต
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
การสื่อสารข้อมูล1
การสื่อสารข้อมูล1การสื่อสารข้อมูล1
การสื่อสารข้อมูล1
 

Viewers also liked

ศิลปินรุ่นใหม่ใช้ปากกาไฮเทคแทนดินสอ
ศิลปินรุ่นใหม่ใช้ปากกาไฮเทคแทนดินสอศิลปินรุ่นใหม่ใช้ปากกาไฮเทคแทนดินสอ
ศิลปินรุ่นใหม่ใช้ปากกาไฮเทคแทนดินสอSarocha Makranit
 
งาน ฉลองพระชันษา 100 ปี
งาน ฉลองพระชันษา 100 ปีงาน ฉลองพระชันษา 100 ปี
งาน ฉลองพระชันษา 100 ปีSarocha Makranit
 
โซนี่โมบายล์
โซนี่โมบายล์โซนี่โมบายล์
โซนี่โมบายล์Sarocha Makranit
 
อินเทลโชว์ชิปใหม่
อินเทลโชว์ชิปใหม่อินเทลโชว์ชิปใหม่
อินเทลโชว์ชิปใหม่Sarocha Makranit
 
Frndshp..............
Frndshp..............Frndshp..............
Frndshp..............
Sha Na
 
กลุ่ม 4 การเขียนคำสั่งควบคุมแบบวนซ้ำ
กลุ่ม 4 การเขียนคำสั่งควบคุมแบบวนซ้ำกลุ่ม 4 การเขียนคำสั่งควบคุมแบบวนซ้ำ
กลุ่ม 4 การเขียนคำสั่งควบคุมแบบวนซ้ำSarocha Makranit
 
Elementary school facing the digital natives - Thesis - English abstract
Elementary school facing the digital natives - Thesis - English abstractElementary school facing the digital natives - Thesis - English abstract
Elementary school facing the digital natives - Thesis - English abstract
Marine Belluet
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์Sarocha Makranit
 
อืนเทอร์เน็ต
อืนเทอร์เน็ตอืนเทอร์เน็ต
อืนเทอร์เน็ตSarocha Makranit
 
ภาษาคอมพิวเตอร์และการพัฒนาโปรแกรม
ภาษาคอมพิวเตอร์และการพัฒนาโปรแกรมภาษาคอมพิวเตอร์และการพัฒนาโปรแกรม
ภาษาคอมพิวเตอร์และการพัฒนาโปรแกรมSarocha Makranit
 
French elementary school facing the digital natives - Reasearches phase
French elementary school facing the digital natives - Reasearches phaseFrench elementary school facing the digital natives - Reasearches phase
French elementary school facing the digital natives - Reasearches phase
Marine Belluet
 
ไมโครซอฟท์ชู'คลาวด์'ปั้นไทยฮับการศึกษา
ไมโครซอฟท์ชู'คลาวด์'ปั้นไทยฮับการศึกษาไมโครซอฟท์ชู'คลาวด์'ปั้นไทยฮับการศึกษา
ไมโครซอฟท์ชู'คลาวด์'ปั้นไทยฮับการศึกษาSarocha Makranit
 
A day as a youth - empathy toolkit
A day as a youth - empathy toolkitA day as a youth - empathy toolkit
A day as a youth - empathy toolkit
Marine Belluet
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์Sarocha Makranit
 

Viewers also liked (15)

ศิลปินรุ่นใหม่ใช้ปากกาไฮเทคแทนดินสอ
ศิลปินรุ่นใหม่ใช้ปากกาไฮเทคแทนดินสอศิลปินรุ่นใหม่ใช้ปากกาไฮเทคแทนดินสอ
ศิลปินรุ่นใหม่ใช้ปากกาไฮเทคแทนดินสอ
 
งาน ฉลองพระชันษา 100 ปี
งาน ฉลองพระชันษา 100 ปีงาน ฉลองพระชันษา 100 ปี
งาน ฉลองพระชันษา 100 ปี
 
กลุ่ม 4
กลุ่ม 4กลุ่ม 4
กลุ่ม 4
 
โซนี่โมบายล์
โซนี่โมบายล์โซนี่โมบายล์
โซนี่โมบายล์
 
อินเทลโชว์ชิปใหม่
อินเทลโชว์ชิปใหม่อินเทลโชว์ชิปใหม่
อินเทลโชว์ชิปใหม่
 
Frndshp..............
Frndshp..............Frndshp..............
Frndshp..............
 
กลุ่ม 4 การเขียนคำสั่งควบคุมแบบวนซ้ำ
กลุ่ม 4 การเขียนคำสั่งควบคุมแบบวนซ้ำกลุ่ม 4 การเขียนคำสั่งควบคุมแบบวนซ้ำ
กลุ่ม 4 การเขียนคำสั่งควบคุมแบบวนซ้ำ
 
Elementary school facing the digital natives - Thesis - English abstract
Elementary school facing the digital natives - Thesis - English abstractElementary school facing the digital natives - Thesis - English abstract
Elementary school facing the digital natives - Thesis - English abstract
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
อืนเทอร์เน็ต
อืนเทอร์เน็ตอืนเทอร์เน็ต
อืนเทอร์เน็ต
 
ภาษาคอมพิวเตอร์และการพัฒนาโปรแกรม
ภาษาคอมพิวเตอร์และการพัฒนาโปรแกรมภาษาคอมพิวเตอร์และการพัฒนาโปรแกรม
ภาษาคอมพิวเตอร์และการพัฒนาโปรแกรม
 
French elementary school facing the digital natives - Reasearches phase
French elementary school facing the digital natives - Reasearches phaseFrench elementary school facing the digital natives - Reasearches phase
French elementary school facing the digital natives - Reasearches phase
 
ไมโครซอฟท์ชู'คลาวด์'ปั้นไทยฮับการศึกษา
ไมโครซอฟท์ชู'คลาวด์'ปั้นไทยฮับการศึกษาไมโครซอฟท์ชู'คลาวด์'ปั้นไทยฮับการศึกษา
ไมโครซอฟท์ชู'คลาวด์'ปั้นไทยฮับการศึกษา
 
A day as a youth - empathy toolkit
A day as a youth - empathy toolkitA day as a youth - empathy toolkit
A day as a youth - empathy toolkit
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 

Similar to อินเทอร์เน็ต

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็ต
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็ตความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็ต
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็ต
Sutin Yotyavilai
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1gotchagon
 
อินเตอร์เน็ตเบื้องต้น
อินเตอร์เน็ตเบื้องต้นอินเตอร์เน็ตเบื้องต้น
อินเตอร์เน็ตเบื้องต้นAmmarirat
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1Suphattra
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1Ammarirat
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1Suphattra
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1Suphattra
 
อิรเตอร์เน็ต
อิรเตอร์เน็ตอิรเตอร์เน็ต
อิรเตอร์เน็ตNaluemonPcy
 
งานนำเสนอ1(ติ่ง)
งานนำเสนอ1(ติ่ง)งานนำเสนอ1(ติ่ง)
งานนำเสนอ1(ติ่ง)Paveenut
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1puangtong
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1puangtong
 
อินเทอร์เน็ต5.1
อินเทอร์เน็ต5.1อินเทอร์เน็ต5.1
อินเทอร์เน็ต5.1Pp'dan Phuengkun
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 อินเทอร์เน็ต
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 อินเทอร์เน็ตหน่วยการเรียนรู้ที่ 4 อินเทอร์เน็ต
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 อินเทอร์เน็ตPrapatsorn Keawnoun
 
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้นอินเทอร์เน็ตเบื้องต้น
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้นNoomim
 
ความรู้เบื้องต้นอินเตอร์เน็ต
ความรู้เบื้องต้นอินเตอร์เน็ตความรู้เบื้องต้นอินเตอร์เน็ต
ความรู้เบื้องต้นอินเตอร์เน็ตเขมิกา กุลาศรี
 
ระบบเครือข่าย (network computer)
ระบบเครือข่าย  (network computer)ระบบเครือข่าย  (network computer)
ระบบเครือข่าย (network computer)
Theruangsit
 

Similar to อินเทอร์เน็ต (20)

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็ต
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็ตความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็ต
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็ต
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
อินเตอร์เน็ตเบื้องต้น
อินเตอร์เน็ตเบื้องต้นอินเตอร์เน็ตเบื้องต้น
อินเตอร์เน็ตเบื้องต้น
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
Internet
InternetInternet
Internet
 
Internet
InternetInternet
Internet
 
อิรเตอร์เน็ต
อิรเตอร์เน็ตอิรเตอร์เน็ต
อิรเตอร์เน็ต
 
งานนำเสนอ1(ติ่ง)
งานนำเสนอ1(ติ่ง)งานนำเสนอ1(ติ่ง)
งานนำเสนอ1(ติ่ง)
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
อินเทอร์เน็ต5.1
อินเทอร์เน็ต5.1อินเทอร์เน็ต5.1
อินเทอร์เน็ต5.1
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 อินเทอร์เน็ต
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 อินเทอร์เน็ตหน่วยการเรียนรู้ที่ 4 อินเทอร์เน็ต
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 อินเทอร์เน็ต
 
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้นอินเทอร์เน็ตเบื้องต้น
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น
 
ความรู้เบื้องต้นอินเตอร์เน็ต
ความรู้เบื้องต้นอินเตอร์เน็ตความรู้เบื้องต้นอินเตอร์เน็ต
ความรู้เบื้องต้นอินเตอร์เน็ต
 
ประวัติความเป็นมาของ Internet
ประวัติความเป็นมาของ Internetประวัติความเป็นมาของ Internet
ประวัติความเป็นมาของ Internet
 
ระบบเครือข่าย (network computer)
ระบบเครือข่าย  (network computer)ระบบเครือข่าย  (network computer)
ระบบเครือข่าย (network computer)
 
ใบความรู้ที่ 1
ใบความรู้ที่ 1ใบความรู้ที่ 1
ใบความรู้ที่ 1
 

More from Sarocha Makranit

พื้นฐานภาษาจาวา
พื้นฐานภาษาจาวาพื้นฐานภาษาจาวา
พื้นฐานภาษาจาวาSarocha Makranit
 
ภาษาคอมพิวเตอร์และการพัฒนาโปรแกรม
ภาษาคอมพิวเตอร์และการพัฒนาโปรแกรมภาษาคอมพิวเตอร์และการพัฒนาโปรแกรม
ภาษาคอมพิวเตอร์และการพัฒนาโปรแกรมSarocha Makranit
 
Apple ลุยเทคโนโลยี 3 d
Apple ลุยเทคโนโลยี 3 dApple ลุยเทคโนโลยี 3 d
Apple ลุยเทคโนโลยี 3 dSarocha Makranit
 
ไมโครซอฟท์ชู'คลาวด์'ปั้นไทยฮับการศึกษา
ไมโครซอฟท์ชู'คลาวด์'ปั้นไทยฮับการศึกษาไมโครซอฟท์ชู'คลาวด์'ปั้นไทยฮับการศึกษา
ไมโครซอฟท์ชู'คลาวด์'ปั้นไทยฮับการศึกษาSarocha Makranit
 
ซัมซุงครองแชมป์ตลาดสมาร์ทโฟนจีน Q1 2013
ซัมซุงครองแชมป์ตลาดสมาร์ทโฟนจีน Q1 2013ซัมซุงครองแชมป์ตลาดสมาร์ทโฟนจีน Q1 2013
ซัมซุงครองแชมป์ตลาดสมาร์ทโฟนจีน Q1 2013Sarocha Makranit
 
เปลี่ยนสมาร์ทโฟนเป็นเครื่องวัดระดับแอลกฮอล์
เปลี่ยนสมาร์ทโฟนเป็นเครื่องวัดระดับแอลกฮอล์เปลี่ยนสมาร์ทโฟนเป็นเครื่องวัดระดับแอลกฮอล์
เปลี่ยนสมาร์ทโฟนเป็นเครื่องวัดระดับแอลกฮอล์Sarocha Makranit
 
คีย์บอร์ดแสง
คีย์บอร์ดแสงคีย์บอร์ดแสง
คีย์บอร์ดแสงSarocha Makranit
 
ทีวีสามมิติ ต่อเน็ตบนจอโทรทัศน์
ทีวีสามมิติ ต่อเน็ตบนจอโทรทัศน์ทีวีสามมิติ ต่อเน็ตบนจอโทรทัศน์
ทีวีสามมิติ ต่อเน็ตบนจอโทรทัศน์Sarocha Makranit
 
ไอเซอร์เวย์
ไอเซอร์เวย์ไอเซอร์เวย์
ไอเซอร์เวย์Sarocha Makranit
 
โปรแกรมคอมพิวเตอร์
โปรแกรมคอมพิวเตอร์โปรแกรมคอมพิวเตอร์
โปรแกรมคอมพิวเตอร์Sarocha Makranit
 

More from Sarocha Makranit (12)

พื้นฐานภาษาจาวา
พื้นฐานภาษาจาวาพื้นฐานภาษาจาวา
พื้นฐานภาษาจาวา
 
ภาษาคอมพิวเตอร์และการพัฒนาโปรแกรม
ภาษาคอมพิวเตอร์และการพัฒนาโปรแกรมภาษาคอมพิวเตอร์และการพัฒนาโปรแกรม
ภาษาคอมพิวเตอร์และการพัฒนาโปรแกรม
 
It news
It newsIt news
It news
 
Apple ลุยเทคโนโลยี 3 d
Apple ลุยเทคโนโลยี 3 dApple ลุยเทคโนโลยี 3 d
Apple ลุยเทคโนโลยี 3 d
 
ไมโครซอฟท์ชู'คลาวด์'ปั้นไทยฮับการศึกษา
ไมโครซอฟท์ชู'คลาวด์'ปั้นไทยฮับการศึกษาไมโครซอฟท์ชู'คลาวด์'ปั้นไทยฮับการศึกษา
ไมโครซอฟท์ชู'คลาวด์'ปั้นไทยฮับการศึกษา
 
ซัมซุงครองแชมป์ตลาดสมาร์ทโฟนจีน Q1 2013
ซัมซุงครองแชมป์ตลาดสมาร์ทโฟนจีน Q1 2013ซัมซุงครองแชมป์ตลาดสมาร์ทโฟนจีน Q1 2013
ซัมซุงครองแชมป์ตลาดสมาร์ทโฟนจีน Q1 2013
 
เปลี่ยนสมาร์ทโฟนเป็นเครื่องวัดระดับแอลกฮอล์
เปลี่ยนสมาร์ทโฟนเป็นเครื่องวัดระดับแอลกฮอล์เปลี่ยนสมาร์ทโฟนเป็นเครื่องวัดระดับแอลกฮอล์
เปลี่ยนสมาร์ทโฟนเป็นเครื่องวัดระดับแอลกฮอล์
 
คีย์บอร์ดแสง
คีย์บอร์ดแสงคีย์บอร์ดแสง
คีย์บอร์ดแสง
 
ทีวีสามมิติ ต่อเน็ตบนจอโทรทัศน์
ทีวีสามมิติ ต่อเน็ตบนจอโทรทัศน์ทีวีสามมิติ ต่อเน็ตบนจอโทรทัศน์
ทีวีสามมิติ ต่อเน็ตบนจอโทรทัศน์
 
ไอเซอร์เวย์
ไอเซอร์เวย์ไอเซอร์เวย์
ไอเซอร์เวย์
 
แท็บเล็ต
แท็บเล็ตแท็บเล็ต
แท็บเล็ต
 
โปรแกรมคอมพิวเตอร์
โปรแกรมคอมพิวเตอร์โปรแกรมคอมพิวเตอร์
โปรแกรมคอมพิวเตอร์
 

อินเทอร์เน็ต

  • 1.
  • 2. อินเทอร์ เน็ต คือ เครือข่ ายคอมพิวเตอร์ ทเี่ ชื่อมต่ อกันเป็ นจานวนมาก ครอบคลุมไปทัวโลก โดยอาศัยโครงสร้ างระบบสื่ อสารโทรคมนาคมเป็ น ่ ตัวกลางในการแลกเปลียนข้ อมูล มีการประยุกต์ ใช้ งานหลากหลาย ่ รู ปแบบ อินเทอร์ เน็ตเป็ นทั้งเครือข่ ายของคอมพิวเตอร์ และเครือข่ ายของ เครือข่ าย เพราะอินเทอร์ เน็ตประกอบด้ วยเครือข่ ายย่ อยเป็ นจานวนมาก ต่ อเชื่อมเข้ าด้ วยกัน ภายใต้ มาตรฐานเดียวกันจนเป็ นสั งคมเครือข่ ายขนาด ใหญ่
  • 3. อินเทอร์ เน็ตเป็ นเครือข่ ายสาธารณะทีไม่ มผู้ใดเป็ นเจ้ าของ ทาให้ ่ ี การเข้ าสู่ เครือข่ ายเป็ นไปได้ อย่ างเสรีภายใต้ กฎเกณฑ์ บางประการทีกาหนด ่ ขึน เพือไม่ ให้ เกิดความสั บสนและวุ่นวายจากการเชื่อมต่ อจากเครือข่ ายทัว ้ ่ ่ โลก อินเทอร์ เน็ตมีรูปแบบคล้ายกับเครือข่ ายคอมพิวเตอร์ ระบบ WAN แต่ มี โครงสร้ างการทางานทีแตกต่ างกันมากพอสมควร เนื่องจากระบบ WAN ่ เป็ นเครือข่ ายทีถูกสร้ างโดยองค์ กรๆ เดียวหรือกลุ่มองค์ กร เพือวัตถุประสงค์ ่ ่ ด้ านใดด้ านหนึ่ง
  • 4. มีผู้ดูแลระบบทีรับผิดชอบแน่ นอน แต่ อนเทอร์ เน็ตจะเป็ นการ ่ ิ เชื่อมโยงกันระหว่ างคอมพิวเตอร์ นับล้านๆ เครื่องแบบไม่ ถาวรขึนอยู่กบ ้ ั เวลานั้นๆ ว่าใครต้ องการเข้ าสู่ ระบบอินเทอร์ เน็ตบ้ าง ใครจะ ติดต่ อสื่ อสารกับใครก็ได้ จึงทาให้ ระบบอินเทอร์ เน็ตไม่ มผู้ใดรับผิดชอบ ี หรือดูแลทั้งระบบ
  • 5. ประวัตและความเป็ นมาของอินเทอร์ เน็ต ิ เครือข่ ายอินเทอร์ เน็ตถือกาเนิดในยุคของสงครามเย็นระหว่ าง ประเทศมหาอานาจ (สหรัฐอเมริกา) กับรัสเซียเนื่องจากกระทรวงกลาโหม ของประเทศสหรัฐอเมริกาในขณะนั้นได้ เกิดแนวคิดทีต้องการทาให้ ระบบ ่ คอมพิวเตอร์ สามารถติดต่ อสื่ อสารกันได้ โดยคอมพิวเตอร์ สามารถสั่ งการ และทางานได้ ด้วยตัวเอง โดยไม่ จาเป็ นต้ องมีผู้คอยควบคุมดูแล
  • 6. หากมีการโจมตีด้วยระเบิดปรมาณูหรือขีปนาวุธนิวเคลียร์ เข้ า มาถล่มจุดยุทธศาสตร์ ทเี่ มืองใดเมืองหนึ่ง อาจทาให้ ระบบคอมพิวเตอร์ บางส่ วนถูกทาลายไปแต่ ส่วนทีเ่ หลือจะต้ องสามารถปฏิบัติงานได้ ซึ่ง เป้ าหมายนีเ้ องจึงได้ เกิดโครงการวิจัยและพัฒนาระบบ เครือข่ ายดังกล่าว ขึน เรียกว่ า “ ARPA (Advanced Research Projects Agency) ” และได้ ้ มีการพัฒนาอย่ างรวดเร็ว จนในทีสุดได้ กลายมาเป็ นเครือข่ ายทีมชื่อว่ า ่ ่ ี “อินเทอร์ เน็ต” (Internet) ในปัจจุบัน
  • 7. เว็บเบราว์ เซอร์ (Web browser) เบราว์ เซอร์ หรือโปรแกรมดูเว็บ คือโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ทีผู้ใช้ ่ สามารถดูข้อมูลและโต้ ตอบกับข้ อมูลสารสนเทศทีจัดเก็บในหน้ าเว็บที่ สร้ าง ่ ด้ วยภาษาเฉพาะ เช่ น ภาษาเอชทีเอ็มแอล (Html) ทีจัดเก็บไว้ ทระบบบริการเว็บ ่ ี่ หรือเว็บเซิร์ฟเวอร์ หรือระบบคลังข้ อมูลอืน ๆ โดยโปรแกรมค้ นดูเว็บ ่ เปรียบเสมือนเครื่องมือในการติดต่ อกับเครือข่ าย คอมพิวเตอร์ ขนาดใหญ่ ที่ เรียกว่ าเวิลด์ ไวด์ เว็บ
  • 8. ประโยชน์ ของ Web Browser สามารถดูเอกสารภายในเว็บเซิร์ฟเวอร์ ได้ อย่ างสวยงาม มีการ แสดงข้ อมูลในรู ปของ ข้ อความ ภาพ และระบบมัลติมเี ดียต่ างๆ ทาให้ การดู เอกสารบนเว็บมีความน่ าสนใจมากขึน ส่ งผลให้ อนเตอร์ เน็ตได้ รับความ ้ ิ นิยมเป็ นอย่ างมากเช่ นในปัจจุบัน
  • 9. บริการต่ าง ๆ บนอินเตอร์ เน็ต บริการบนอินเทอร์ เน็ตมีหลายประเภท เพืออานวยความ ่ สะดวกให้ กบผู้ใช้ ได้ เลือกใช้ ให้ เหมาะสมกับลักษณะงาน ซึ่งในทีนีจะ ั ่ ้ ยกตัวอย่ างบริการบนอินเทอร์ เน็ตทีสาคัญดังนี้ ่
  • 10. 1.) ไปรษณีย์อเิ ล็กทรอนิกส์ หรือเรียกกันโดยทัวไปว่าอีเมล์ ่ (E-mail) ถือได้ ว่าเป็ นกิจกรรมประจาวันของผู้ใช้ อนเตอร์ เน็ต ซึ่งการส่ งและ ิ รับจดหมาย หรือข้ อความถึงกันได้ ทวโลกนีจาเป็ นจะต้ องมีทอยู่อเี มล์ (e-mail ั่ ้ ี่ address หรือ e-mail account) เพือใช้ เป็ นกล่องรับจดหมาย ทีอยู่ของอีเมล์จะ ่ ่ ประกอบ ด้ วยส่ วนประกอบสาคัญ 2 ส่ วน คือ ชื่อผู้ใช้ (User name) และชื่อ โดเมน (Domain name) ซึ่งเป็ นชื่อเครื่องคอมพิวเตอร์ ทมรายชื่อของผู้ใช้ อเี มล์ ี่ ี โดยชื่อผู้ใช้ และชื่อโดเมนจะคันด้ วยเครื่องหมาย @(อ่านว่ า แอ็ท) ่
  • 11. 2.) รายชื่อกลุ่มสนทนา เป็ นกลุ่มสนทนาประเภทหนึ่งบน อินเทอร์ เน็ตทีมการติดต่ อสื่ อสารและการส่ ง ข่ าวสารให้ กบสมาชิกตาม ่ ี ั รายชื่อและทีอยู่ของสมาชิกทีมอยู่ ในรายการซึ่งในปัจจุบันมีกลุ่มทีแตกต่ าง ่ ่ ี ่ กัน ตามความสนใจจานวนมาก การเข้ าไปมีส่วนร่ วมในกลุ่มสนทนา ประเภทนี้ ผู้ใช้ จะต้ อง สมัครสมาชิกก่ อนด้ วยการแจ้ งความประสงค์ และส่ ง ชื่อและทีอยู่เพือการลงทะเบียน ่ ่
  • 12. 3.) กระดานข่ าว (Usenet) เป็ นการรวบรวมของกลุ่มข่าวหรือ newsgroup ซึ่งเป็ นกลุ่มผู้สนใจทีต้องการจะติดต่ อและแลกเปลียนความคิดเห็น ่ ่ กับผู้ใช้ อนเทอร์ เน็ตคนอืน ๆ กลุ่มของ newsgroup ในปัจจุบันมีมากกว่ า 10,000 ิ ่ กลุ่มทีมความสนใจในหัวข้ อทีแตกต่ างกัน เช่ น กลุ่มผู้สนใจศิลปะ กลุ่ม ่ ี ่ คอมพิวเตอร์
  • 13. 4.) การสนทนาออนไลน์ (On-line chat) เป็ นบริการหนึ่งบน อินเทอร์ เน็ตทีช่วยให้ ผู้ใช้ สามารถคุยโต้ ตอบกับผู้ใช้ คน อืน ๆ ได้ ในเวลา ่ ่ เดียวกัน การสนทนาหรือ chat ได้ มการพัฒนาไปอย่ างต่ อเนื่อง ปัจจุบันการ ี สนทนาระหว่ างบุคคลหรือ กลุ่มบุคคลสามารถใช้ ภาพกราฟิ ก ภาพการ์ ตูน หรือภาพเคลือนไหวต่ าง ๆ แทนตัวผู้สนทนาได้ นอกจากการสนทนาแล้ว ผู้ใช้ ่ ยังสามารถแลกเปลียนข้ อมูลและไฟล์ได้ อกด้ วย ่ ี
  • 14. 5.) การขนถ่ ายไฟล์ (file transfer protocol) หรือทีเ่ รียกสั้น ๆว่า เอฟทีพี (FTP) เป็ นบริการทีใช้ สาหรับการแลกเปลียนไฟล์ระหว่ างเครื่อง ่ ่ คอมพิวเตอร์ ทางอินเตอร์ เน็ต เครื่องคอมพิวเตอร์ ทให้ บริการไฟล์จะเรียกว่ า ี่ เอฟทีพเี ซิร์ฟเวอร์ (FTP sever หรือ FTP site) ข้ อมูลทีให้ บริการขนถ่ ายไฟล์จะ ่ มีลกษณะหลายรู ปแบบ ได้ แก่ข้อมูลสถิติ งานวิจย บทความ เพลง ั ั
  • 15. 6.) การเรียกค้ นข้ อมูลข่ าวสาร ปัจจุบันมีฐานข้อมูลข่าวสารที่ เก็บไว้ ให้ ใช้ งานจานวนมาก ฐานข้ อมูลบางแห่ งเก็บข้ อมูลในรู ปสิ่ งพิมพ์ อิเล็กทรอนิกส์ ทีผู้ใช้ สามารถเรียกอ่านหรือนามาพิมพ์ ลักษณะการเรียกคืนนี้ ่ จึงมีลกษณะเหมือนเป็ นห้ องสมุดขนาดใหญ่ อยู่ภายในเครือข่ ายทีสามารถ ั ่ ค้ นหาข้ อมูลใดๆก็ได้ ฐานข้ อมูล ในลักษณะ นีเ้ รียกว่ า “เครือข่ าย ใยแมงมุม ครอบคลุม ทัวโลก” (World Wide Web: WWW) ซึ่งเป็ นฐานข้ อมูลทีเ่ ชื่อมโยง ่ กันทัวโลก ่
  • 16. 7.) การบริการสถานีวทยุและโทรทัศน์ บนเครือข่ าย เป็ นการประยุกต์ ิ เพือให้ เห็นว่ าเป็ นสิ่ งทีเ่ กิดขึนได้ ปัจจุบันมีผู้ต้ังสถานีวทยุบนเครือข่ าย ่ ้ ิ อินเทอร์ เน็ตหลายร้ อยสถานี ผู้ใช้ สามารถเลือกสถานีทต้องการและได้ ยน ี่ ิ เสี ยงเหมือนการเปิ ดฟังวิทยุ ขณะเดียวกันก็มการส่ งกระจายภาพ วิดโอ บน ี ี เครือข่ ายด้ วยแต่ ปัญหายังอยู่ทความเร็ว ของเครือข่ ายทียงไม่ สามารถรองรับ ี่ ่ั การ ส่ งข้ อมูลจานวนมาก ทาให้ คุณภาพของภาพวีดิโอยังไม่ เห็นดีเท่ าทีควร ่
  • 17. 8.) เทลเน็ต (telnet) เป็ นบริการทีใ่ ห้ ผู้ใช้ สามารถใช้ บริการเครื่อง คอมพิวเตอร์ ทีต้ังอยู่ระยะไกล โดยจะใช้ การจาลองเครื่องคอมพิวเตอร์ ทกาลัง ่ ี่ ใช้ งานอยู่ ให้ เป็ นจอภาพ ของเครื่องคอมพิวเตอร์ ระยะไกลเครื่องนั้น การ ทางานในลักษณะนี้ จะช่ วยประหยัดทั้งเวลาและค่าใช้ จ่าย
  • 18. การค้ นหาข้ อมูลโดยใช้ เว็บเบราเซอร์ อินเทอร์ เน็ตเป็ นเครือข่ ายใยแมงมุมทีมการเชื่อมโยงแหล่งข้ อมูล ่ ี ทีกระจัดกระจายอยู่ทวโลก การค้ นหาข้ อมูลจากแหล่งต่ างๆ ถ้ าผู้ใช้ ไม่ ่ ั่ ทราบทีอยู่ของเว็บไซต์ ก็สามารถค้ นหาแหล่งข้ อมูลโดยใช้ บริการค้ นหา ่ ข้ อมูลต่ าง ๆ ทีได้ กล่าวมาแล้ว ปัจจุบันการค้ นหาข้ อมูลทีต้องการเป็ นเรื่อง ่ ่ ทีกระทาได้ สะดวกและรวดเร็ว การพัฒนาเว็บไซต์ ทช่วยสื บค้ น ่ ี่ แหล่งข้ อมูลทีเ่ รียกว่ า เครื่องค้ นหา (search engine) ช่ วยให้ การค้ นหาทั้งใน รู ปของข้ อความและกราฟิ ก กระทาได้ โดยง่ าย
  • 19. ข้ อดีของอินเทอร์ เน็ต 1. ค้ นคว้ าข้ อมูลในลักษณะต่ างๆ เช่ น งานวิจัย บทความใน หนังสื อพิมพ์ ความก้าวหน้ าทางกาแพทย์ ฯลฯ ได้ จากแหล่งข้ อมูลทัวโลก ่ เช่ น ห้ องสมุด สถาบันการศึกษา และสถาบันวิจัย โดยไม่ ต้องเสี ยค่าใช้ จ่าย และเสี ยเวลาในการเดินทางและสามารถสื บค้ นได้ ตลอดเวลา 24 ชั่วโมง
  • 20. 2. ติดตามความเคลือนไหวต่ างๆ ทัวโลกได้ อย่ างรวดเร็วจากการ ่ ่ รายงานข่ าวของสานักข่ าวต่ างๆ อยู่ รวมทั้งอ่านบทความเรื่องราวทีลงใน ่ นิตยสารหรือวารสารต่ างๆ ได้ ฟรีโดยมีท้งข้ อความและภาพประกอบด้ วย ั
  • 21. 3. รับส่ งไปรษณีย์อเิ ล็กทรอนิกส์ ทวโลกได้ อย่ างรวดเร็วโดยไม่ ต้อง ั่ เสี ยเงินค่ าตราไปรษณีย์ยากร ถึงแม้ จะเป็ นการส่ งข้ อความไปต่ างประเทศก็ไม่ ต้ องเสี ยเงินเพิมขึนเหมือนการส่ งจดหมาย การส่ งไปรษณีย์อเิ ล็กทรอนิกส์ นี้ ่ ้ นอกจากจะส่ งข้ อความตัวอักษรแบบจดหมายธรรมดาแล้ว ยังสามารถส่ ง แฟมภาพนิ่ง ภาพเคลือนไหว และเสี ยงพร้ อมกันไปได้ ด้วย ้ ่
  • 22. ข้ อเสี ยของอินเทอร์ เน็ต 1. อินเทอร์ เน็ตเป็ นข่ ายงานขนาดใหญ่ ทไม่ มใครเป็ นเจ้ าของ ทุก ี่ ี คนจึงสามารถสร้ างเว็บไซด์ หรือติดประกาศข้ อความได้ ทุกเรื่อง บางครั้ง ข้ อความนั้นอาจจะเป็ นข้อมูลทีไม่ ถูกต้ องหรือไม่ ได้ รับการรับรอง เช่ น ่ ข้ อมูลด้ านการแพทย์ หรือผลการทดลองต่ างๆ จึงเป็ นวิจารณญาณของผู้อ่าน ทีจะต้ องไตร่ ตรองข้ อความทีอ่านนั้นด้ วยว่ าควรจะเชื่อถือได้ หรือไม่ ่ ่
  • 23. เหตุผลสาคัญทีทาให้ อนเตอร์ เน็ตได้ รับความนิยมแพร่ หลายคือ ่ ิ 1.การสื่ อสารบนอินเตอร์ เน็ตไม่ จากัดระบบปฏิบัติการของเครื่อง คอมพิวเตอร์ คอมพิวเตอร์ ทต่างระบบปฏิบัติการกันก็สามารถติดต่ อสื่ อสารกัน ี่ ได้ 2.อินเตอร์ เน็ตไม่ มข้อจากัดในเรื่องของระยะทาง ไม่ ว่าจะอยู่ภายใน ี อาคารเดียวกันห่ างกันคนละทวีป ข้ อมูลก็สามารถส่ งผ่ านถึงกันได้
  • 25. จัดทาโดย นายธนกาญจน์ สั งข์ สุวรณ เลขที่ 4 นางสาวทิพย์ อกษร โตแก้ ว เลขที่ 18 ั นางสาวประภัสสร บุญเงิน เลขที่ 21 นางสาวอินทุกร ปอมหิน เลขที่ 25 ้ นางสาวสโรชา มากระนิตย์ เลขที่ 33 นางสาวจุฑารัตน์ ลิมทอง เลขที่ 34 ้ ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 5/2 เสนอ อาจารย์ ทรงศักดิ์ โพธิ์เอียม ่