SlideShare a Scribd company logo
คุยเฟื่อง เรื่องอินเทอร์เน็ต
             แนะนาโดย
             จ๋อมกับแจ๋ม




1
อินเทอร์เน็ตคืออะไร ?
วันนี้จ๋อมได้ยินเขาคุยกันเรื่อง
อินเทอร์เน็ตละ แจ๋มรู้ไหม
         ว่ามันคืออะไร




                              รู้สิคะ คืออย่างนี้
                              แจ๋มจะเล่าให้ฟัง

                                                    2
Internet ย่อมาจาก Inter Connection Network
เป็นระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์หลายๆ เครือข่าย
ที่มีการเชื่อมโยงเข้าด้วยกัน โดยที่คอมพิวเตอร์
ทุกเครื่องจะสามารถเชื่อมต่อถึงกันได้ทั่วโลก
         ระบบแตกต่างกันก็เชื่อมต่อกันได้นะ




          อย่างนี้เอง


                                                 3
ด้วยระบบอินเทอร์เน็ต
คอมพิวเตอร์ทุกเครื่อง ทุกระบบ สามารถติดต่อสื่อสารกันได้




                                                          4
แต่การที่คอมพิวเตอร์จะสื่อสารกันได้ข้อมูลที่เก็บต้องถูก
        แปลงเป็นรหัสที่คอมพิวเตอร์เข้าใจเสียก่อน คือจะมีเฉพาะ
               เลข 0 กับ 1 เท่านั้นเรียงกันหลายๆ ตัว
             เราเรียกว่า เลขไบนารี่ เช่น 10010 เป็นต้น


10010              11001


                               แล้วอินเทอร์เน็ต
                               มันสาคัญยังไงนะ
                                                                  5
ก็เพราะคนเราต้องสื่อสารกันตลอดเวลา
เรื่องที่เราพูดคุยมักเป็นเรื่องที่เราอยากรู้
 และเรื่องที่เราอยากรู้นี่เองคือ “ข้อมูล”
  ปัจจุบันนี้ข้อมูลมากมายถูกเก็บไว้ใน
                คอมพิวเตอร์



                                  ไม่เห็นเกี่ยวกับ
                                  อินเทอร์เน็ตเลย
                                                     6
เกี่ยวสิคะ เพราะเมื่อเราเชื่อมต่อ
                       คอมพิวเตอร์ที่เก็บข้อมูลเหล่านั้น
                     เข้าด้วยกันโดยผ่านสายสัญญาณหรือ
                       สายโทรศัพท์ก็จะทาให้แลกเปลี่ยน
                  ข้อมูลกันได้ การเชื่อมต่อกันเป็นเครือข่าย
                      ขนาดใหญ่นี้เรียกว่าอินเทอร์เน็ตค่ะ


เป็นอย่างนี้เอง


                                                              7
จ๋อมก็ยังมองไม่เห็นเลยว่ามันจะมี
    ประโยชน์กับเรายังไงบ้าง




    จ๋อมคิดดูนะคะ จะดีแค่ไหนถ้าเราสามารถค้นหา
  ข้อมูลที่ต้องการได้ผ่านเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ต่ออยู่
  กับอินเทอร์เน็ตโดยไม่ต้องเสียเวลาเดินทางและยัง
       จะได้รับบริการอื่นๆ จากอินเทอร์เน็ตอีก


                            เหมียวจะหาหนู
                            ทางอินเทอร์เน็ต             8
ใช้ได้ทุกคนค่ะ แต่ข้อมูล
                       ส่วนใหญ่เป็นภาษาอังกฤษนะคะ
                       ควรรู้ภาษาอังกฤษบ้างก็จะดีค่ะ
                        แจ๋มขอแนะนาบริการที่มีบน
                        อินเทอร์เน็ตให้จ๋อมรู้จักนะคะ
แล้วใครๆ สามารถใช้
อินเทอร์เน็ตได้ทุกคน
 หรือเปล่าครับแจ๋ม




                                                        9
บริการบน Internet ค่ะ
บริการพื้นฐานบน Internet ประกอบด้วย




                                      10
เริ่มต้นด้วย Electronic Mail
           • เรียกย่อว่า E-Mail (อีเมล์)
           • การรับ-ส่งข้อความ (รวมทั้งรูปภาพ เสียง วิดีโอ) ใน
             ลักษณะจดหมาย โดยใช้เครือข่ายอินเทอร์เน็ต เป็น
             เส้นทางในการรับ - ส่ง
           • ใช้เวลาในการรับ/ส่งไม่นาน (หน่วยเป็นนาที)
           • การใช้ E-Mail จะต้องมี E-Mail Address เพื่อระบุ
             ปลายทางในการรับ-ส่ง ลักษณะเดียวกับชื่อ-
             ที่อยู่ในการส่งจดหมายปกติ เช่น
             aroonpib@user.school.net.th เป็นต้น
                                                          11
ขั้นตอนการส่ง E - Mail


         ผู้ส่ง                                                  ผู้รับ
                                                           Courseware2u@hotmail.com
To courseware2u@hotmail.com
From aroonpib@user.school.net.th

                               ISP : Internet Service Provider
                                                                                 12
                                     ผู้ให้บริการ Internet
การโอนถ่ายข้อมูลFTP
                    • FTP ย่อมาจาก File Transfer Protocol
                    • บริการส่งถ่ายแฟ้มข้อมูลระหว่างคอมพิวเตอร์
                      ผ่านทางอินเทอร์เน็ต
Download            • ผู้ใช้สามารถ Copy หรือ Download
                      โปรแกรมจากผู้ให้บริการ ซึ่งเรียกว่า FTP
                      Site หรือ FTP Server หรือจะส่งไปยังเครื่อง
                      แม่ข่ายก็ได้ เรียกว่า Upload
           Upload

                                                               13
ต่อไปคือTelnet ค่ะ
          เป็นการให้บริการแบบทางไกล (Remote) ค่ะ
          นั่นคือเราสามารถจาลองคอมพิวเตอร์ของ
          เราเองให้กลายเป็นลูกข่ายของคอมพิวเตอร์หลัก
          (โดยทั่วไปจะมีประสิทธิภาพสูงมาก) ทาให้
          สามารถใช้งานข้อมูลและโปรแกรมต่าง ๆ
          ของคอมพิวเตอร์หลักนั้นได้


                                                       14
แลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสาร และความ
คิดเห็นด้วย UseNet
     UseNet ย่อมาจากคาว่า User Network เป็นการ
     แบ่งข่าวสารเป็นกลุ่มย่อย ๆ เก็บไว้ใน News Serverซึ่ง
     เป็นคอมพิวเตอร์ในอินเทอร์เน็ต ที่ทาหน้าที่เก็บข่าวสาร
     ต่าง ๆ ที่ผู้ใช้ส่งมา เรียกกลุ่มข่าวสาร
     นี้ว่า News Group และเรียกข่าวที่ส่งมา ว่า Article


                                                        15
ต่อไปก็ IRC ค่ะ

         ย่อมาจาก Internet Relay Chat เป็นการให้
บริการสนทนาระหว่างผู้ใช้คอมพิวเตอร์โดยอาศัย
การพิมพ์ข้อความทางแป้นพิมพ์ แทนการพูด
ด้วยคาพูด ทาให้คนทั่วโลกสามารถสื่อสารกันได้ง่ายขึ้น
แต่ทุกวันนี้มีโปรแกรมที่ช่วยให้เราคุยกันได้โดยตรง
เหมือนกับโทรศัพท์เลยนะจ๋อม
                                                                16
WWW มาแล้วค่ะ

WWW ย่อมาจาก World Wide Web เป็นแหล่งเก็บข้อมูลในลักษณะ
ข้อความ ภาพ และเสียง ซึ่งมีรูปแบบการนาเสนอที่เรียกว่า Web pages โดย
ข้อมูลในแต่ละส่วนสามารถเชื่อมโยง (Link) ไปยังแหล่งข้อมูลส่วนอื่นได้ และเป็นบริการที่
ได้รับความนิยมมากที่สุดอย่างหนึ่งด้วย




                                                                                 17
ไม่ยากหรอกค่ะ เพียงแต่จ๋อมต้องมีอุปกรณ์
                                ต่อไปนี้นะคะ
                            1. คอมพิวเตอร์                2. โมเด็ม (Modem)
                            3. คู่สายโทรศัพท์             4. โปรแกรมสื่อสาร
อินเทอร์เน็ตนี่มีประโยชน์   5. สมัครเป็นสมาชิกอินเทอร์เน็ตกับบริษัทที่ให้
มากจริงๆ ถ้าจ๋อมอยากใช้        บริการ เรียกสั้นๆ ว่า ISP ค่ะ
 อินเทอร์เน็ตบ้างจะต้อง
    ทายังไงครับแจ๋ม
                                                         การเชื่อมต่อกับ
                                                      อินเทอร์เน็ตนั้นดูจาก
                                                          แผนผังได้ค่ะ

                                                                              18
การเชื่อมโยงของระบบอินเทอร์เน็ต
                          เป็นแบบนี้ค่ะ

                        อาจใช้ดาวเทียมช่วย
ติดตั้งโปรแกรมสื่อสาร   รับ-ส่งข้อมูลก็ได้

                                  คู่สายโทรศัพท์




       คอมพิวเตอร์        MODEM                MODEM         ISP   19
ถ้าจ๋อมกาลังใช้อินเทอร์เน็ต       ไม่ได้ค่ะ เพราะว่า
   อยู่จะสามารถใช้โทรศัพท์       อินเทอร์เน็ตจะรับส่ง
ติดต่อกับเพื่อนๆ ไปพร้อมกัน    ข้อมูลผ่านสายโทรศัพท์
        ได้หรือเปล่าครับ        เพราะฉะนั้น ก็เหมือน
                               กับเรากาลังใช้โทรศัพท์
                                 สัญญาณจะไม่ว่างค่ะ


                                           ต้องซื้อ
                                         โทรศัพท์เพิ่ม
                                                         20
ประโยชน์ของ
 ทีนี้จ๋อมก็ไม่ต้องกลัวการบ้าน
                                 อินเทอร์เน็ตยังมีอีก
และรายงานแล้ว เพราะมีข้อมูล
                                     มากมายนะ
ให้ค้นหาตั้งเยอะ และยังคุยกับ
                                    แจ๋มจะบอกให้
        เพื่อนๆ ได้อีกด้วย
                                 เอาเรื่องง่ายๆ ทั่วไป
                                        เสียก่อน




                                                         21
ประโยชน์ของอินเทอร์เน็ต เท่าที่แจ๋มรู้นะคะ
                  1. ติดต่อสื่อสารกันได้ทั่วโลกในราคาถูกด้วยนะ
                  2. หาเพื่อนใหม่ทางอินเทอร์เน็ตก็ได้ แจ๋มมีเยอะแล้ว
                  3. มีข้อมูลเยอะเหมือนมีห้องสมุดขนาดยักษ์ให้ค้นหา
จ๋อมจะสั่งส้มตา   4. ดูตัวอย่างหนัง - ฟังเพลงทางอินเทอร์เน็ตก็ได้ด้วย
ทางอินเทอร์เน็ต   5. มีเกมสนุกๆ ที่จ๋อมชอบอีกแน่ะ
                  6. ข้อมูล - ข่าวสารในอินเทอร์เน็ตจะทันสมัยอยู่เสมอ
                  7. เผยแพร่ข้อมูลของเราในระบบอินเทอร์เน็ตก็ได้นะ
                  8. สั่งซื้อสินค้า - อาหารทางอินเทอร์เน็ตก็ได้อีก

                       ส้มตากระป๋อง
                                                                        22
ทุกอย่างมีทั้งข้อดีและข้อเสียค่ะ
                         ข้อเสียของอินเทอร์เน็ต ที่แจ๋มนึกออกนะคะ
 จ๋อมฟังแล้วมันมี        1. ข้อมูลบางอย่างอาจไม่จริง ต้องดูให้ดีเสียก่อน
แต่สิ่งดีๆ ทั้งนั้นเลย   2. อาจถูกหลอกลวง-กลั่นแกล้งจากเพื่อนใหม่
 มันมีข้อเสียบ้าง        3. ถ้าเล่นอินเทอร์เน็ตมากเกินไปอาจเสียการเรียนได้
       ไหมครับ           4. ข้อมูลบางอย่างก็ไม่เหมาะกับเด็กๆ อย่างพวกเรา
                         5. อาจทาให้นอนดึกและเสียสุขภาพค่ะ
                         6. บางคนเล่นอินเทอร์เน็ตมากไม่ยอมออกกาลังกาย
                         7. อยู่หน้าจอนานๆ อาจทาให้เสียสายตาก็ได้นะ
                         8. ขณะที่ใช้อินเทอร์เน็ต โทรศัพท์จะใช้งานไม่ได้ค่ะ

                             อยากรู้
                                                                              23
                           เหมือนกัน
ง่ายๆ เลยนะคะ ก็คือถ้าจ๋อม
                             ติดต่อกับเพื่อนใหม่ทาง
ถ้าอย่างนั้นเราควรระวัง    อินเทอร์เน็ต อย่าเพิ่งบอก
   อะไรบ้างครับ จึงจะ      ชื่อ-นามสกุล และที่อยู่จริง
  ปลอดภัยจากการใช้          จนกว่าจะมั่นใจเสียก่อนค่ะ
      อินเทอร์เน็ต              ระวังไวรัสด้วยนะคะ



                                               เห็นด้วย เพราะมี
                                                ทั้งคนดีและไม่ดี

                                                                   24
มีอีกอย่างที่แจ๋มอยากแนะนาให้จ๋อม
                      ได้รู้ไว้ก็คือมารยาทในการใช้อินเทอร์เน็ตค่ะ
                      เรียกว่าบัญญัติ 10 ประการของการใช้
                      อินเทอร์เน็ตก็ได้ แจ๋มจามาจากอาจารย์
                      ยืน ภู่วรวรรณ ที่มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ค่ะ


จ๋อมจะได้เป็นผู้ใช้
งานอินเทอร์เน็ต                                                 ต้องจาไปบอก
  ที่ดีใช่ไหมครับ                                               เพื่อนๆ ด้วย

                                                                               25
บัญญัติ 10 ประการ ของการใช้อินเทอร์เน็ต
1. ต้องไม่ใช้คอมพิวเตอร์ทาร้าย หรือละเมิดผู้อื่น
2. ต้องไม่รบกวนการทางานของผู้อื่น
3. ต้องไม่สอดแนม แก้ไข หรือเปิดดูแฟ้มข้อมูลของผู้อื่น
4. ต้องไม่ใช้คอมพิวเตอร์เพื่อการโจรกรรมข้อมูลข่าวสาร
5. ต้องไม่ใช้คอมพิวเตอร์สร้างหลักฐานที่เป็นเท็จ
6. ต้องไม่คัดลอกโปรแกรมของผู้อื่นที่มีลิขสิทธิ์
7. ต้องไม่ละเมิดการใช้ทรัพยากรคอมพิวเตอร์โดยที่ตนเองไม่มีสิทธิ์
8. ต้องไม่นาเอาผลงานของผู้อื่นมาเป็นของตน
9. ต้องคานึงถึงสิ่งที่จะเกิดขึ้นกับสังคมที่เกิดจากการกระทาของท่าน
10. ต้องใช้คอมพิวเตอร์โดยเคารพกฎระเบียบ กติกา และมีมารยาท
                                                                    26
เว็บไซต์ (Web Site) ก็คือเครื่องคอมพิวเตอร์
                             ของหน่วยงานหรือองค์กรใดๆ ที่เชื่อมต่ออยู่กับ
      จ๋อมจะจาไว้ครับ          เครือข่ายอินเทอร์เน็ตและสามารถให้บริการ
แล้วถ้าจ๋อมอยากได้ข้อมูลใน      ที่เรียกว่า WWW (World wide web) แก่
 อินเทอร์เน็ตจะเริ่มต้นหา         คอมพิวเตอร์ทั่วไปได้ค่ะ ซึ่งจะมีการระบุ
  จากที่ไหนครับได้ยินเขา            ที่อยู่ของเว็บไซต์นั้น เรียกว่า URL ค่ะ
   บอกว่าหาจากเว็บไซต์              URL = Uniform Resource Locator
แล้วเว็บไซต์มันคืออะไรครับ      เช่น http://www.school.net.th เป็นต้น




                                                                              27
แต่ข้อมูลที่อยู่ในเว็บไซต์นั้นถูกสร้างขึ้นด้วยภาษา
HTML (Hypertext Markup language) เพราะฉะนั้นการที่เรา
จะเรียกข้อมูลมาดูได้ จึงต้องใช้โปรแกรมที่เข้าใจภาษา HTML
 ด้วยค่ะ ซึ่งมีอยู่หลายโปรแกรม เราเรียกโปรแกรมเหล่านี้ว่า
 Web Browser ค่ะ ที่ใช้กันมากคือ
1. Netscape Communicator
2. Internet Explorer
    ยังมีอีกมากนะคะแต่ 2 โปรแกรมนี้มีคนใช้มากกว่าค่ะ


                ถ้าจ๋อมใช้โปรแกรม
             นี้ไม่เป็นก็ดูข้อมูลไม่ได้
                     ใช่ไหมครับ
                                                            28
web browser ตัวแรกเรียกว่า
Netscape communicator ค่ะ
 โปรแกรมนี้สนับสนุนคาสั่ง
ภาษา HTML ได้เกือบหมด
 จึงแสดงผลได้อย่างถูกต้อง
  ตามที่ผู้นาเสนอต้องการ
    ลักษณะของ Netscape
        เป็นแบบนี้ค่ะ



                             ส่วนนี้คือข้อมูลค่ะ   สวยจังเลย
                                                               29
ส่วนที่ต้องให้ความสนใจเป็นพิเศษ
                ก็คือเมนูด้านบนค่ะ เพราะจะช่วยให้เรา
                  ค้นหาข้อมูลได้สะดวกและง่ายขึ้นค่ะ
ครับผม จ๋อมจะ
 จาให้ได้ครับ




                                                       30
ชื่อเว็บไซต์ ต้องพิมพ์ให้ถูกด้วย ถ้าผิดมันหาไม่เจอหรอกค่ะ




      ถ้าเราต้องการข้อมูลหรือรู้ที่อยู่
       ของข้อมูลนั้นก็พิมพ์ที่อยู่ลงไป
        ในช่อง Location เลยค่ะเช่น
    http://www.school.net.th เป็นต้น                        31
web browser ต่อมาเรียกว่า
    Internet Explorer ค่ะ
 โปรแกรมนี้มีความสามารถ
   สูงเช่นเดียวกับแบบแรก
แตกต่างกันบ้างเพียงเล็กน้อย
     ลักษณะของ Explorer
         เป็นแบบนี้ค่ะ


                                 แต่ไม่ต้องกลัวค่ะ เพราะการใช้งาน
                              จะคล้ายกัน ถ้าเราใช้ Netscape เป็นแล้ว
                               ก็สามารถใช้ Explorer ได้ทันทีเลยค่ะ
                                                                          32
                               จะใช้ทั้ง 2 ตัวหรือตัวใดตัวหนึ่งก็ได้ค่ะ
มีเยอะเลยค่ะ ทุกวันนี้มีการ
                                                 แนะนาชื่อเว็บไซต์ที่ดีและ
                                                มีประโยชน์มากมายทั้งทาง
                                                 วารสารด้านคอมพิวเตอร์
ถ้าจ๋อมไม่รู้จักที่อยู่ของข้อมูลหรือไม่รู้จัก   หนังสือพิมพ์, ในโทรทัศน์
 ชื่อของเว็บไซต์ จะหาได้จากที่ไหนครับ                 ก็ยังมีเลยนะคะ




                                                                              33
เว็บไซต์ที่ดีทั้งของไทยและต่างประเทศค่ะ เช่น
                          1. www.school.net.th 2. www.nectec.or.th
                          3. www.google.com             4. www.mcot.or.th
                          แต่สาหรับผู้เริ่มต้นแจ๋มคิดว่าวิธีที่ดีที่สุดคือเข้าไปยัง
                          ศูนย์รวมเว็บไซต์ค่ะ ของคนไทยที่ทาไว้ก็มีเช่น
 แนะนาเว็บไซต์ที่ดีๆ      1. www.sanook.com                2. www.hunsa.com
ให้จ๋อมรู้จักบ้างสิครับ   3. www.siamguru.com เป็นต้น ในนี้จะรวบรวมชื่อ
                          เว็บไซต์เป็นหมวดหมู่ ค้นหาสะดวกมากค่ะ




                                                                                      34
ยังหรอกค่ะ เพราะว่าโปรแกรมนี้
                                     ใช้ภาษาอังกฤษเป็นหลัก ดังนั้นข้อมูล
                                    ที่เป็นภาษาไทยอาจแสดงผลผิดพลาด
ถ้าอย่างนั้นจ๋อมก็ใช้อินเทอร์เน็ต    เราจึงต้องปรับตั้งโปรแกรมนิดหน่อย
 ค้นหาข้อมูลได้แล้วใช่ไหมครับ         เพื่อให้แสดงผลภาษาไทยได้ถูกต้อง
เพราะมีทั้งข้อมูลที่เป็นภาษาไทย     ปรับแค่ครั้งเดียวตอนใช้งานครั้งแรกค่ะ
        และภาษาอังกฤษ                      แจ๋มจะบอกวิธีปรับตั้งนะคะ




                                                                            35
เริ่มจาก Netscape ก่อน
เมื่อเรียกโปรแกรมขึ้นมาแล้ว
      ให้คลิกที่เมนู Edit
      แล้วเลือกรายการ
      Preferences… ค่ะ


     แล้วทา
  ยังไงต่อครับ


                              36
เลือกที่นี่ค่ะ
                  ให้คลิกเลือกที่ Fonts
                  จะมีรายการย่อยด้าน
                   ขวามือปรากฏขึ้นมา



                     ตรงนี้
                 ใช่ไหมครับ




                                      37
จากนั้นก็ปรับตั้ง
AngsanaUPC
                           ตามนี้เลยนะคะ
                           เสร็จแล้วก็กด
                          ปุ่ม OK เลยค่ะ




             ง่ายจังเลย

                                        38
ส่วน Explorer นั้น
            มักจะใช้ภาษาไทย
          ได้เลยแต่เราจะตรวจ
          ดูก่อนก็ได้ค่ะ แจ๋มขอ
         แนะนาเวอร์ชั่น 5 นะคะ
          เรียกทั่วไปว่า IE5 ค่ะ
         โดยคลิกที่เมนู Tools
                แล้วเลือก
ครับผม      Internet Options
              ตามรูปเลยค่ะ


                              39
จ๋อมก็จะเห็นหน้าต่างอันใหม่
                อย่างในรูปนี่แหละค่ะ ด้านล่าง
                จะมีคาว่า Fonts.. อยู่ ให้คลิกที่
                      Fonts.. ได้เลยค่ะ

คลิกที่นี่ค่ะ




                                                    40
จ๋อมจะเห็นหน้าต่าง
                         Fonts ขึ้นมา ให้เลือก
                        ภาษาไทยกับ Fontsเป็น
                         Microsoft Sans Serif
                         ตามรูป เสร็จแล้วกด
เลือก Fonts อย่างอื่น         OK เลยค่ะ
   ไม่ได้หรือครับ




                                            41
ได้ค่ะแต่ตัวนี้เป็น Fonts ที่
                โปรแกรมมีอยู่แล้วและแจ๋มว่า
                 มันแสดงผลเป็นตัวหนังสือ
                 ที่สวยและอ่านง่าย เมื่อจ๋อม
                กด OK แล้วหน้าจอจะกลับมา
                    ที่นี่อีกครั้ง ให้จ๋อมคลิกที่
                        ปุ่ม OK ต่อเลยค่ะ

คลิกที่นี่ค่ะ


                                                42
ส่วนขนาดของตัวหนังสือ
                   ให้เลือกตามรูปเลยนะคะ
                      Largest คือใหญ่สุด
                    Smallest คือเล็กสุดค่ะ
                      แค่นี้ก็เรียบร้อยค่ะ




   ไม่ยากเลยครับ
จ๋อมทาได้สบายมาก                             43
ได้ค่ะ มี E-mail ของหลายบริษัทค่ะที่ให้บริการฟรีเพียงแค่
                    เข้าไปสมัครเป็นสมาชิกเท่านั้นก็ใช้ได้ ไม่เสียค่าใช้จ่ายค่ะเช่น
                    1. Hotmail           2. Thaimail            3. Chaiyomail
                    4. Popymail          5. Keromail             6. Kittymail
 จ๋อมสนใจเรื่อง     7. Siammail          8. Rocketmail 9. Doramail
   E-mail ครับ      แต่แจ๋มขอแนะนาให้เลือกใช้บางอันที่เราชอบก็พอค่ะ
เอาไว้ส่งจดหมาย     อันที่สวยๆ น่ารักเป็นรูปการ์ตูนก็มีนะคะ แจ๋มใช้ของ
  หาเพื่อนที่อยู่   Doramail ค่ะ ดูวิธีสมัครสมาชิกและวิธีใช้นะคะ
   ไกลกันครับ




                                                                                     44
พิมพ์ชื่อเว็บไซต์ http://www.doramail.com ลงไปค่ะ

                                           เห็นแล้วน่าใช้
                                           ไหมคะเริ่มต้น
                                             สมัครเป็น
                                           สมาชิกเลยค่ะ




             สวัสดีเพื่อนรัก
                                                            45
ให้คลิกที่นี่เพื่อลงทะเบียนเป็นสมาชิกใหม่ค่ะ




จากนั้นหน้าจอ
จะเปลี่ยนเป็น
 รูปข้างล่างค่ะ

        จาได้อยู่แล้ว

                                                                       46
เลื่อน scroll bar ลงข้างล่าง
จนสุด แล้วคลิกปุ่ม I Accept
เพื่อยอมรับเงื่อนไขที่กาหนดค่ะ




                                 47
โปรแกรมจะให้เรา
               ตั้งชื่อค่ะ เรียกว่า
            login name อย่าให้ซ้า
              กับชื่อคนอื่นนะคะ



เช่นใช้ชื่อ sun_jr
แล้วกด enter ค่ะ
 ชื่อนี้ใช้แล้วอย่า
     ใช้อีกนะคะ                       48
หน้าจอจะเปลี่ยนเป็น
แบบฟอร์มให้กรอกค่ะ




                         นี่คือข้อมูล
                       ที่ต้องกรอก
                      ลงไป ไม่ต้อง
                      เป็นข้อมูลจริง
                                        49
                      ทั้งหมดก็ได้ค่ะ
ด้านล่างมีคาถามลับเฉพาะ
   ใช้เวลาลืม รหัสผ่าน ค่ะ
ใช้คาถามง่ายๆ แบบนี้ก็ได้ค่ะ




                      จาไว้ว่าทุกอย่างต้องเป็น
                         ภาษาอังกฤษนะคะ

   เสร็จแล้วกดปุ่ม
 Sign Me Up เลยค่ะ
                                                 50
ถ้าทุกอย่างถูกต้องและ
                            ชื่อไม่ซ้ากับคนอื่นโปรแกรม
                                 จะบอกว่าลงทะเบียน
                                   เสร็จสมบูรณ์แล้ว


สังเกตที่นี่ค่ะ

เมื่อต้องการใช้งานก็เพียงแค่ป้อนชื่อ
  login name และ รหัสผ่านลงไป
อย่าลืมเลือกเป็นภาษาไทยด้วยนะคะ
          แล้วก็ OK เลยค่ะ                               51
หน้าจอจะเป็นอย่างนี้ค่ะ




                      ดูว่ามีจดหมายมาถึงเรา
                   หรือไม่ ให้คลิกที่ อินบ๊อกซ์
                     หรือ check mail ก็ได้ค่ะ



                                                  52
จะเห็นจดหมาย
   ดังรูปค่ะ (ถ้ามีนะคะ)




คลิกที่จดหมาย
ก็อ่านได้แล้วค่ะ
                           53
อ่านจดหมายเลยค่ะ
         ยากเกินไปหรือเปล่าคะ




ง่ายจัง รูปก็สวย



                   ง่ายจริงๆ ด้วย
                                    54
การนาภาพจากอินเทอร์เน็ตมาใช้งาน
                                             ก็แค่เลื่อนเม้าส์ไปชี้ที่รูป
                                             แล้วคลิกเม้าส์ที่ปุ่มขวา
                                            จะเห็น pop-up เมนูขึ้นมา
                                           ให้คลิกที่ Save Picture As
                                            ตามรูปเลยค่ะ ใช้save รูป
                                              ที่เราชอบได้ทุกรูปค่ะ




                        เหมียวอยากได้รูปแมว
                        ญี่ปุ่นมาเก็บไว้ดู จะทา
                            ยังไงครับพี่แจ๋ม                                55
หลังจากนั้นจะเห็น
                                              หน้าต่าง Save Picture
                                                 พร้อมกับชื่อไฟล์
ชื่อไฟล์จะใช้ชื่อเดิมหรือเปลี่ยนใหม่ก็ได้นะ   ให้เราเลือกว่าจะ save
                                                   รูปไว้ที่ไหน



                           เข้าใจแล้วครับ


                                                                      56
การ download ข้อมูลในอินเทอร์เน็ต
                     ก็คือการถ่ายโอนข้อมูลจากเว็บไซต์เข้ามาเก็บ
                        ไว้ในเครื่องของเรา เพราะในอินเทอร์เน็ต
 แล้วที่เขาบอกว่า    จะมีโปรแกรมใหม่ๆ ออกมาเสมอ มีทั้งแบบ
download ข้อมูลนี่     ให้ใช้ฟรีและทดลองใช้ค่ะ มีหลายเว็บไซต์ที่
 มันเป็นยังไงครับ    ให้บริการแบบนี้เช่น www.download.com
                              www.tucows.com เป็นต้นค่ะ

                     บอกวิธีใช้เลย
                      ครับพี่แจ๋ม


                                                                   57
ลองไปที่นี่นะคะ พิมพ์ http://www.download.com ลงไปค่ะ

                                     ในนี้จะแบ่งโปรแกรมไว้เป็น
                                    หมวดหมู่ให้เราเลือกได้ง่ายๆ
                                   ถ้าต้องการโปรแกรมในกลุ่มใด
                                  ก็คลิกที่กลุ่มนั้นเลยค่ะ ลองเลือก
                                            Games นะคะ




                                                                      58
จะเห็นรายการย่อยค่ะ
                               ลองเลือก sports ค่ะ
                               มีรายชื่อเกมให้เลือก
                                    มากมายนะคะ
                                 นี่เพียงตัวอย่างค่ะ

                                                       59
เลือกโปรแกรมนี้ค่ะ คลิกเลยไม่ต้องรอ
รอสักครู่หน้าจอจะเปลี่ยนไป
 ให้คลิกที่ปุ่ม Download Now
จะเห็นหน้าต่าง File Download
ให้เลือกตามรูป แล้วกด OK ค่ะ




                               60
จะเห็นหน้าต่าง Save As พร้อมชื่อไฟล์
 ให้กดปุ่ม Save เลยค่ะ จากนั้นโปรแกรม
จะถ่ายโอนข้อมูลดังรูปข้างบนมายังเครื่อง
 คอมพิวเตอร์ของเรา จะเสร็จช้าหรือเร็ว
   ขึ้นอยู่กับขนาดของไฟล์และความเร็ว
            สัญญาณในขณะนั้นค่ะ         61
ดีจังเลย ทาแบบไหนครับ
                               จ๋อมรู้สึกสนุกกับอินเทอร์เน็ต
   เพียงแค่นี้ก็เสร็จค่ะ การ   มากจริงๆ คิดไม่ถึงว่าจะทาได้
  download ของเว็บไซต์อื่น             มากมายอย่างนี้
    ก็ใช้วิธีคล้ายๆ กันค่ะ


 นอกจากนี้แล้วถ้าจ๋อม
อยากจะส่งข้อความไปยัง
pager ผ่านอินเทอร์เน็ต
     ก็ทาได้นะคะ
                                                               62
ลองดูที่นี่นะคะ พิมพ์ที่อยู่
ตามข้างบนเลยค่ะ เสร็จแล้ว
 เลือกปุ่ม Web Paging ค่ะ




                                 63
หน้าจอจะเป็นช่องให้เติม
หมายเลข pager ที่ต้องการส่ง                 ข้อความลงไปค่ะ พิมพ์ได้
                                             ครั้งละไม่มาก ขึ้นอยู่กับ
                                                  แต่ละบริษัทค่ะ

                              หลังจากกดปุ่ม Send
                                 ถ้าส่งเรียบร้อยจะมี
                               ข้อความบอกดังรูป
                              นี่แหละค่ะ เสร็จแล้วค่ะ


                                                          ไม่ยากอย่างที่
                                                        คิดเลย สนุกด้วย
                                                                           64
ความรู้ในอินเทอร์เน็ตมีมากมาย     ครับผม เพื่อนๆ ละครับเข้าใจ
อย่าใช้แค่พูดคุยกันเท่านั้นนะคะ   เรื่องอินเทอร์เน็ตมากขึ้นอย่าง
  เพราะจะไม่เกิดประโยชน์อะไร      จ๋อมหรือเปล่าครับ อย่าลืมว่า
  ต้องขยันหาความรู้ใหม่ๆ ให้      ต้องกล้าถามอย่างจ๋อมนะครับ
     ตัวเอง จึงจะเป็นคนเก่ง
 โดยเฉพาะอย่างยิ่งคือต้องกล้า
        ถามในสิ่งที่ไม่รู้ค่ะ


       ลาก่อนค่ะ สวัสดีค่ะ                                  ลาก่อนครับ


                                                                    65
พัฒนาโดย
นางณิชชนาฎฐ์ ภานุพัฒน์นิธิยา




                               สวัสดีครับ
                                            66

More Related Content

What's hot

ทฤษฎีการเรียนรู้ (Learning theory)
ทฤษฎีการเรียนรู้ (Learning theory)ทฤษฎีการเรียนรู้ (Learning theory)
ทฤษฎีการเรียนรู้ (Learning theory)
Maesinee Fuguro
 
ประโยชน์ของวัสดุ
ประโยชน์ของวัสดุประโยชน์ของวัสดุ
ประโยชน์ของวัสดุ
ส.อ.ราชนาวี มณีรัตน์
 
บทคัดย่อ Is มุก
บทคัดย่อ Is มุกบทคัดย่อ Is มุก
บทคัดย่อ Is มุกPantawan Bututham
 
โครงงานคอมพิวเตอรN
โครงงานคอมพิวเตอรNโครงงานคอมพิวเตอรN
โครงงานคอมพิวเตอรN
Bank Kitsana
 
กำหนดการสอน อ.2
กำหนดการสอน  อ.2กำหนดการสอน  อ.2
กำหนดการสอน อ.2krutitirut
 
โครงงาน สมุนไพรลดความอ้วน
โครงงาน สมุนไพรลดความอ้วนโครงงาน สมุนไพรลดความอ้วน
โครงงาน สมุนไพรลดความอ้วน
Mai Natthida
 
ตัวอย่างประวัติส่วนตัว
ตัวอย่างประวัติส่วนตัวตัวอย่างประวัติส่วนตัว
ตัวอย่างประวัติส่วนตัวAnussara Thathaisong
 
ผลกระทบเชิงลบของนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศ
ผลกระทบเชิงลบของนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศผลกระทบเชิงลบของนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศ
ผลกระทบเชิงลบของนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศ
Kunnanatya Pare
 
เทคโนโลยีสมัยใหม่
เทคโนโลยีสมัยใหม่เทคโนโลยีสมัยใหม่
เทคโนโลยีสมัยใหม่
Anakkwee Saeton
 
สื่อการสอน.Ppt
 สื่อการสอน.Ppt  สื่อการสอน.Ppt
สื่อการสอน.Ppt poonick
 
กำหดการจัดประสบการณ์อนุบาล1
กำหดการจัดประสบการณ์อนุบาล1กำหดการจัดประสบการณ์อนุบาล1
กำหดการจัดประสบการณ์อนุบาล1
krutitirut
 
20 คำถามเศรษฐกิจพอเพียง
20 คำถามเศรษฐกิจพอเพียง20 คำถามเศรษฐกิจพอเพียง
20 คำถามเศรษฐกิจพอเพียงjiko2505
 
13แผน เรื่อง สมดุลกล
13แผน เรื่อง สมดุลกล13แผน เรื่อง สมดุลกล
13แผน เรื่อง สมดุลกล
Wijitta DevilTeacher
 
ประชาคมอาเซียนกับคนไทย
ประชาคมอาเซียนกับคนไทยประชาคมอาเซียนกับคนไทย
ประชาคมอาเซียนกับคนไทย
LeoBlack1017
 
การหักเหของแสง
การหักเหของแสงการหักเหของแสง
การหักเหของแสง
พัน พัน
 
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษา
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษาการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษา
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษาCholthicha JaNg
 
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม1
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม1การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม1
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม1korakate
 
แบบสอบถาม การตัดสินใจซื้อโทรศัพท์มือถือ I phone ของผู้ใช้บริการรถไฟฟ้า bts
แบบสอบถาม การตัดสินใจซื้อโทรศัพท์มือถือ I phone ของผู้ใช้บริการรถไฟฟ้า btsแบบสอบถาม การตัดสินใจซื้อโทรศัพท์มือถือ I phone ของผู้ใช้บริการรถไฟฟ้า bts
แบบสอบถาม การตัดสินใจซื้อโทรศัพท์มือถือ I phone ของผู้ใช้บริการรถไฟฟ้า btsสำเร็จ นางสีคุณ
 
สำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนของ นักเรียนชั้น ม.4-5
สำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนของนักเรียนชั้น ม.4-5สำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนของนักเรียนชั้น ม.4-5
สำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนของ นักเรียนชั้น ม.4-5kessara61977
 
หน่วยที่ ๕ การ์ตูนสร้างสรรค์
หน่วยที่ ๕ การ์ตูนสร้างสรรค์หน่วยที่ ๕ การ์ตูนสร้างสรรค์
หน่วยที่ ๕ การ์ตูนสร้างสรรค์srkschool
 

What's hot (20)

ทฤษฎีการเรียนรู้ (Learning theory)
ทฤษฎีการเรียนรู้ (Learning theory)ทฤษฎีการเรียนรู้ (Learning theory)
ทฤษฎีการเรียนรู้ (Learning theory)
 
ประโยชน์ของวัสดุ
ประโยชน์ของวัสดุประโยชน์ของวัสดุ
ประโยชน์ของวัสดุ
 
บทคัดย่อ Is มุก
บทคัดย่อ Is มุกบทคัดย่อ Is มุก
บทคัดย่อ Is มุก
 
โครงงานคอมพิวเตอรN
โครงงานคอมพิวเตอรNโครงงานคอมพิวเตอรN
โครงงานคอมพิวเตอรN
 
กำหนดการสอน อ.2
กำหนดการสอน  อ.2กำหนดการสอน  อ.2
กำหนดการสอน อ.2
 
โครงงาน สมุนไพรลดความอ้วน
โครงงาน สมุนไพรลดความอ้วนโครงงาน สมุนไพรลดความอ้วน
โครงงาน สมุนไพรลดความอ้วน
 
ตัวอย่างประวัติส่วนตัว
ตัวอย่างประวัติส่วนตัวตัวอย่างประวัติส่วนตัว
ตัวอย่างประวัติส่วนตัว
 
ผลกระทบเชิงลบของนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศ
ผลกระทบเชิงลบของนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศผลกระทบเชิงลบของนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศ
ผลกระทบเชิงลบของนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
เทคโนโลยีสมัยใหม่
เทคโนโลยีสมัยใหม่เทคโนโลยีสมัยใหม่
เทคโนโลยีสมัยใหม่
 
สื่อการสอน.Ppt
 สื่อการสอน.Ppt  สื่อการสอน.Ppt
สื่อการสอน.Ppt
 
กำหดการจัดประสบการณ์อนุบาล1
กำหดการจัดประสบการณ์อนุบาล1กำหดการจัดประสบการณ์อนุบาล1
กำหดการจัดประสบการณ์อนุบาล1
 
20 คำถามเศรษฐกิจพอเพียง
20 คำถามเศรษฐกิจพอเพียง20 คำถามเศรษฐกิจพอเพียง
20 คำถามเศรษฐกิจพอเพียง
 
13แผน เรื่อง สมดุลกล
13แผน เรื่อง สมดุลกล13แผน เรื่อง สมดุลกล
13แผน เรื่อง สมดุลกล
 
ประชาคมอาเซียนกับคนไทย
ประชาคมอาเซียนกับคนไทยประชาคมอาเซียนกับคนไทย
ประชาคมอาเซียนกับคนไทย
 
การหักเหของแสง
การหักเหของแสงการหักเหของแสง
การหักเหของแสง
 
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษา
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษาการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษา
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษา
 
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม1
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม1การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม1
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม1
 
แบบสอบถาม การตัดสินใจซื้อโทรศัพท์มือถือ I phone ของผู้ใช้บริการรถไฟฟ้า bts
แบบสอบถาม การตัดสินใจซื้อโทรศัพท์มือถือ I phone ของผู้ใช้บริการรถไฟฟ้า btsแบบสอบถาม การตัดสินใจซื้อโทรศัพท์มือถือ I phone ของผู้ใช้บริการรถไฟฟ้า bts
แบบสอบถาม การตัดสินใจซื้อโทรศัพท์มือถือ I phone ของผู้ใช้บริการรถไฟฟ้า bts
 
สำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนของ นักเรียนชั้น ม.4-5
สำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนของนักเรียนชั้น ม.4-5สำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนของนักเรียนชั้น ม.4-5
สำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนของ นักเรียนชั้น ม.4-5
 
หน่วยที่ ๕ การ์ตูนสร้างสรรค์
หน่วยที่ ๕ การ์ตูนสร้างสรรค์หน่วยที่ ๕ การ์ตูนสร้างสรรค์
หน่วยที่ ๕ การ์ตูนสร้างสรรค์
 

Similar to บทเรียน เรื่องอินเตอร์เน็ต

บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตบทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตprimpatcha
 
หนังสือเล่มเล็ก
หนังสือเล่มเล็กหนังสือเล่มเล็ก
หนังสือเล่มเล็กthararut
 
คุยเฟื่องเรื่องอินเทอร์เน็ต
คุยเฟื่องเรื่องอินเทอร์เน็ตคุยเฟื่องเรื่องอินเทอร์เน็ต
คุยเฟื่องเรื่องอินเทอร์เน็ต
ohhomm
 
3.3 การใช้อินเทอร์เน็ตให้ปลอดภัย
3.3 การใช้อินเทอร์เน็ตให้ปลอดภัย3.3 การใช้อินเทอร์เน็ตให้ปลอดภัย
3.3 การใช้อินเทอร์เน็ตให้ปลอดภัยMeaw Sukee
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 อินเทอร์เน็ต(แก้ไขแล้ว)
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4  อินเทอร์เน็ต(แก้ไขแล้ว)หน่วยการเรียนรู้ที่ 4  อินเทอร์เน็ต(แก้ไขแล้ว)
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 อินเทอร์เน็ต(แก้ไขแล้ว)Prapatsorn Keawnoun
 
อินเทอร์เน็ต Day2 เช้า
อินเทอร์เน็ต Day2 เช้าอินเทอร์เน็ต Day2 เช้า
อินเทอร์เน็ต Day2 เช้า
Jenchoke Tachagomain
 
อินเทอร์เน็ต Day2 เช้า
อินเทอร์เน็ต Day2 เช้าอินเทอร์เน็ต Day2 เช้า
อินเทอร์เน็ต Day2 เช้า
Jenchoke Tachagomain
 
นำเสนองาน
นำเสนองานนำเสนองาน
นำเสนองาน
pasumlee
 
Communication Concept
Communication ConceptCommunication Concept
Communication Concept
Jenchoke Tachagomain
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็ต
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็ตความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็ต
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็ต
Sutin Yotyavilai
 
อินเทอร์เน็ต (Internet)
อินเทอร์เน็ต (Internet)อินเทอร์เน็ต (Internet)
อินเทอร์เน็ต (Internet)BAIFERN3112
 
คุยเฟื่อง เรื่องอินเทอร์เน็ต
คุยเฟื่อง เรื่องอินเทอร์เน็ตคุยเฟื่อง เรื่องอินเทอร์เน็ต
คุยเฟื่อง เรื่องอินเทอร์เน็ตพัน พัน
 
แบบทดสอบก่อนเรียนประจำหน่วย
แบบทดสอบก่อนเรียนประจำหน่วยแบบทดสอบก่อนเรียนประจำหน่วย
แบบทดสอบก่อนเรียนประจำหน่วยMayuree Janpakwaen
 
แบบทดสอบหลังเรียนประจำหน่วย
แบบทดสอบหลังเรียนประจำหน่วยแบบทดสอบหลังเรียนประจำหน่วย
แบบทดสอบหลังเรียนประจำหน่วยMayuree Janpakwaen
 

Similar to บทเรียน เรื่องอินเตอร์เน็ต (20)

บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตบทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต
 
หนังสือเล่มเล็ก
หนังสือเล่มเล็กหนังสือเล่มเล็ก
หนังสือเล่มเล็ก
 
ทดลอง
ทดลองทดลอง
ทดลอง
 
คุยเฟื่องเรื่องอินเทอร์เน็ต
คุยเฟื่องเรื่องอินเทอร์เน็ตคุยเฟื่องเรื่องอินเทอร์เน็ต
คุยเฟื่องเรื่องอินเทอร์เน็ต
 
3.3 การใช้อินเทอร์เน็ตให้ปลอดภัย
3.3 การใช้อินเทอร์เน็ตให้ปลอดภัย3.3 การใช้อินเทอร์เน็ตให้ปลอดภัย
3.3 การใช้อินเทอร์เน็ตให้ปลอดภัย
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 อินเทอร์เน็ต(แก้ไขแล้ว)
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4  อินเทอร์เน็ต(แก้ไขแล้ว)หน่วยการเรียนรู้ที่ 4  อินเทอร์เน็ต(แก้ไขแล้ว)
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 อินเทอร์เน็ต(แก้ไขแล้ว)
 
อินเทอร์เน็ต Day2 เช้า
อินเทอร์เน็ต Day2 เช้าอินเทอร์เน็ต Day2 เช้า
อินเทอร์เน็ต Day2 เช้า
 
อินเทอร์เน็ต Day2 เช้า
อินเทอร์เน็ต Day2 เช้าอินเทอร์เน็ต Day2 เช้า
อินเทอร์เน็ต Day2 เช้า
 
นำเสนองาน
นำเสนองานนำเสนองาน
นำเสนองาน
 
Communication Concept
Communication ConceptCommunication Concept
Communication Concept
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็ต
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็ตความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็ต
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็ต
 
Internet
InternetInternet
Internet
 
ประวัติความเป็นมาของ Internet
ประวัติความเป็นมาของ Internetประวัติความเป็นมาของ Internet
ประวัติความเป็นมาของ Internet
 
Internet
InternetInternet
Internet
 
Internet
InternetInternet
Internet
 
Lernning 05
Lernning 05Lernning 05
Lernning 05
 
อินเทอร์เน็ต (Internet)
อินเทอร์เน็ต (Internet)อินเทอร์เน็ต (Internet)
อินเทอร์เน็ต (Internet)
 
คุยเฟื่อง เรื่องอินเทอร์เน็ต
คุยเฟื่อง เรื่องอินเทอร์เน็ตคุยเฟื่อง เรื่องอินเทอร์เน็ต
คุยเฟื่อง เรื่องอินเทอร์เน็ต
 
แบบทดสอบก่อนเรียนประจำหน่วย
แบบทดสอบก่อนเรียนประจำหน่วยแบบทดสอบก่อนเรียนประจำหน่วย
แบบทดสอบก่อนเรียนประจำหน่วย
 
แบบทดสอบหลังเรียนประจำหน่วย
แบบทดสอบหลังเรียนประจำหน่วยแบบทดสอบหลังเรียนประจำหน่วย
แบบทดสอบหลังเรียนประจำหน่วย
 

More from ณิชชนาฎฐ์ ภานุพัฒน์นิธิ?

Onet 54 55
Onet 54 55Onet 54 55

More from ณิชชนาฎฐ์ ภานุพัฒน์นิธิ? (13)

เทคโนโลยีกับการแก้ปัญหา ป.6 ง3.1
เทคโนโลยีกับการแก้ปัญหา ป.6 ง3.1เทคโนโลยีกับการแก้ปัญหา ป.6 ง3.1
เทคโนโลยีกับการแก้ปัญหา ป.6 ง3.1
 
วิชา เทคโนโลยีและการสื่อสาร ป.5 ง3.1
วิชา เทคโนโลยีและการสื่อสาร  ป.5 ง3.1วิชา เทคโนโลยีและการสื่อสาร  ป.5 ง3.1
วิชา เทคโนโลยีและการสื่อสาร ป.5 ง3.1
 
วารสารผ่องพลอยอนุสรณ์ พ.ค.56
วารสารผ่องพลอยอนุสรณ์ พ.ค.56วารสารผ่องพลอยอนุสรณ์ พ.ค.56
วารสารผ่องพลอยอนุสรณ์ พ.ค.56
 
Onet 54 55
Onet 54 55Onet 54 55
Onet 54 55
 
Onet 54 55
Onet 54 55Onet 54 55
Onet 54 55
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
 
แผนภูมิแท่งแสดงผลการเรียน ป.1 6 ปีการศึกษา 2555
แผนภูมิแท่งแสดงผลการเรียน  ป.1   6  ปีการศึกษา 2555แผนภูมิแท่งแสดงผลการเรียน  ป.1   6  ปีการศึกษา 2555
แผนภูมิแท่งแสดงผลการเรียน ป.1 6 ปีการศึกษา 2555
 
แผนภูมิแท่งแสดงผลการเรียน ป.1 6 ปีการศึกษา 2555
แผนภูมิแท่งแสดงผลการเรียน  ป.1   6  ปีการศึกษา 2555แผนภูมิแท่งแสดงผลการเรียน  ป.1   6  ปีการศึกษา 2555
แผนภูมิแท่งแสดงผลการเรียน ป.1 6 ปีการศึกษา 2555
 
แผนภูมิแท่งแสดงผลการเรียน ป.1 6 ปีการศึกษา 2555
แผนภูมิแท่งแสดงผลการเรียน  ป.1   6  ปีการศึกษา 2555แผนภูมิแท่งแสดงผลการเรียน  ป.1   6  ปีการศึกษา 2555
แผนภูมิแท่งแสดงผลการเรียน ป.1 6 ปีการศึกษา 2555
 
Sbj statbyschool 2555_p6_3110014703
Sbj statbyschool 2555_p6_3110014703Sbj statbyschool 2555_p6_3110014703
Sbj statbyschool 2555_p6_3110014703
 
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 53
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 53ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 53
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 53
 
กพ.56
กพ.56กพ.56
กพ.56
 
บทเรียน เรื่องอินเตอร์เน็ต
บทเรียน เรื่องอินเตอร์เน็ตบทเรียน เรื่องอินเตอร์เน็ต
บทเรียน เรื่องอินเตอร์เน็ต
 

บทเรียน เรื่องอินเตอร์เน็ต

  • 1. คุยเฟื่อง เรื่องอินเทอร์เน็ต แนะนาโดย จ๋อมกับแจ๋ม 1
  • 3. Internet ย่อมาจาก Inter Connection Network เป็นระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์หลายๆ เครือข่าย ที่มีการเชื่อมโยงเข้าด้วยกัน โดยที่คอมพิวเตอร์ ทุกเครื่องจะสามารถเชื่อมต่อถึงกันได้ทั่วโลก ระบบแตกต่างกันก็เชื่อมต่อกันได้นะ อย่างนี้เอง 3
  • 5. แต่การที่คอมพิวเตอร์จะสื่อสารกันได้ข้อมูลที่เก็บต้องถูก แปลงเป็นรหัสที่คอมพิวเตอร์เข้าใจเสียก่อน คือจะมีเฉพาะ เลข 0 กับ 1 เท่านั้นเรียงกันหลายๆ ตัว เราเรียกว่า เลขไบนารี่ เช่น 10010 เป็นต้น 10010 11001 แล้วอินเทอร์เน็ต มันสาคัญยังไงนะ 5
  • 6. ก็เพราะคนเราต้องสื่อสารกันตลอดเวลา เรื่องที่เราพูดคุยมักเป็นเรื่องที่เราอยากรู้ และเรื่องที่เราอยากรู้นี่เองคือ “ข้อมูล” ปัจจุบันนี้ข้อมูลมากมายถูกเก็บไว้ใน คอมพิวเตอร์ ไม่เห็นเกี่ยวกับ อินเทอร์เน็ตเลย 6
  • 7. เกี่ยวสิคะ เพราะเมื่อเราเชื่อมต่อ คอมพิวเตอร์ที่เก็บข้อมูลเหล่านั้น เข้าด้วยกันโดยผ่านสายสัญญาณหรือ สายโทรศัพท์ก็จะทาให้แลกเปลี่ยน ข้อมูลกันได้ การเชื่อมต่อกันเป็นเครือข่าย ขนาดใหญ่นี้เรียกว่าอินเทอร์เน็ตค่ะ เป็นอย่างนี้เอง 7
  • 8. จ๋อมก็ยังมองไม่เห็นเลยว่ามันจะมี ประโยชน์กับเรายังไงบ้าง จ๋อมคิดดูนะคะ จะดีแค่ไหนถ้าเราสามารถค้นหา ข้อมูลที่ต้องการได้ผ่านเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ต่ออยู่ กับอินเทอร์เน็ตโดยไม่ต้องเสียเวลาเดินทางและยัง จะได้รับบริการอื่นๆ จากอินเทอร์เน็ตอีก เหมียวจะหาหนู ทางอินเทอร์เน็ต 8
  • 9. ใช้ได้ทุกคนค่ะ แต่ข้อมูล ส่วนใหญ่เป็นภาษาอังกฤษนะคะ ควรรู้ภาษาอังกฤษบ้างก็จะดีค่ะ แจ๋มขอแนะนาบริการที่มีบน อินเทอร์เน็ตให้จ๋อมรู้จักนะคะ แล้วใครๆ สามารถใช้ อินเทอร์เน็ตได้ทุกคน หรือเปล่าครับแจ๋ม 9
  • 11. เริ่มต้นด้วย Electronic Mail • เรียกย่อว่า E-Mail (อีเมล์) • การรับ-ส่งข้อความ (รวมทั้งรูปภาพ เสียง วิดีโอ) ใน ลักษณะจดหมาย โดยใช้เครือข่ายอินเทอร์เน็ต เป็น เส้นทางในการรับ - ส่ง • ใช้เวลาในการรับ/ส่งไม่นาน (หน่วยเป็นนาที) • การใช้ E-Mail จะต้องมี E-Mail Address เพื่อระบุ ปลายทางในการรับ-ส่ง ลักษณะเดียวกับชื่อ- ที่อยู่ในการส่งจดหมายปกติ เช่น aroonpib@user.school.net.th เป็นต้น 11
  • 12. ขั้นตอนการส่ง E - Mail ผู้ส่ง ผู้รับ Courseware2u@hotmail.com To courseware2u@hotmail.com From aroonpib@user.school.net.th ISP : Internet Service Provider 12 ผู้ให้บริการ Internet
  • 13. การโอนถ่ายข้อมูลFTP • FTP ย่อมาจาก File Transfer Protocol • บริการส่งถ่ายแฟ้มข้อมูลระหว่างคอมพิวเตอร์ ผ่านทางอินเทอร์เน็ต Download • ผู้ใช้สามารถ Copy หรือ Download โปรแกรมจากผู้ให้บริการ ซึ่งเรียกว่า FTP Site หรือ FTP Server หรือจะส่งไปยังเครื่อง แม่ข่ายก็ได้ เรียกว่า Upload Upload 13
  • 14. ต่อไปคือTelnet ค่ะ เป็นการให้บริการแบบทางไกล (Remote) ค่ะ นั่นคือเราสามารถจาลองคอมพิวเตอร์ของ เราเองให้กลายเป็นลูกข่ายของคอมพิวเตอร์หลัก (โดยทั่วไปจะมีประสิทธิภาพสูงมาก) ทาให้ สามารถใช้งานข้อมูลและโปรแกรมต่าง ๆ ของคอมพิวเตอร์หลักนั้นได้ 14
  • 15. แลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสาร และความ คิดเห็นด้วย UseNet UseNet ย่อมาจากคาว่า User Network เป็นการ แบ่งข่าวสารเป็นกลุ่มย่อย ๆ เก็บไว้ใน News Serverซึ่ง เป็นคอมพิวเตอร์ในอินเทอร์เน็ต ที่ทาหน้าที่เก็บข่าวสาร ต่าง ๆ ที่ผู้ใช้ส่งมา เรียกกลุ่มข่าวสาร นี้ว่า News Group และเรียกข่าวที่ส่งมา ว่า Article 15
  • 16. ต่อไปก็ IRC ค่ะ ย่อมาจาก Internet Relay Chat เป็นการให้ บริการสนทนาระหว่างผู้ใช้คอมพิวเตอร์โดยอาศัย การพิมพ์ข้อความทางแป้นพิมพ์ แทนการพูด ด้วยคาพูด ทาให้คนทั่วโลกสามารถสื่อสารกันได้ง่ายขึ้น แต่ทุกวันนี้มีโปรแกรมที่ช่วยให้เราคุยกันได้โดยตรง เหมือนกับโทรศัพท์เลยนะจ๋อม 16
  • 17. WWW มาแล้วค่ะ WWW ย่อมาจาก World Wide Web เป็นแหล่งเก็บข้อมูลในลักษณะ ข้อความ ภาพ และเสียง ซึ่งมีรูปแบบการนาเสนอที่เรียกว่า Web pages โดย ข้อมูลในแต่ละส่วนสามารถเชื่อมโยง (Link) ไปยังแหล่งข้อมูลส่วนอื่นได้ และเป็นบริการที่ ได้รับความนิยมมากที่สุดอย่างหนึ่งด้วย 17
  • 18. ไม่ยากหรอกค่ะ เพียงแต่จ๋อมต้องมีอุปกรณ์ ต่อไปนี้นะคะ 1. คอมพิวเตอร์ 2. โมเด็ม (Modem) 3. คู่สายโทรศัพท์ 4. โปรแกรมสื่อสาร อินเทอร์เน็ตนี่มีประโยชน์ 5. สมัครเป็นสมาชิกอินเทอร์เน็ตกับบริษัทที่ให้ มากจริงๆ ถ้าจ๋อมอยากใช้ บริการ เรียกสั้นๆ ว่า ISP ค่ะ อินเทอร์เน็ตบ้างจะต้อง ทายังไงครับแจ๋ม การเชื่อมต่อกับ อินเทอร์เน็ตนั้นดูจาก แผนผังได้ค่ะ 18
  • 19. การเชื่อมโยงของระบบอินเทอร์เน็ต เป็นแบบนี้ค่ะ อาจใช้ดาวเทียมช่วย ติดตั้งโปรแกรมสื่อสาร รับ-ส่งข้อมูลก็ได้ คู่สายโทรศัพท์ คอมพิวเตอร์ MODEM MODEM ISP 19
  • 20. ถ้าจ๋อมกาลังใช้อินเทอร์เน็ต ไม่ได้ค่ะ เพราะว่า อยู่จะสามารถใช้โทรศัพท์ อินเทอร์เน็ตจะรับส่ง ติดต่อกับเพื่อนๆ ไปพร้อมกัน ข้อมูลผ่านสายโทรศัพท์ ได้หรือเปล่าครับ เพราะฉะนั้น ก็เหมือน กับเรากาลังใช้โทรศัพท์ สัญญาณจะไม่ว่างค่ะ ต้องซื้อ โทรศัพท์เพิ่ม 20
  • 21. ประโยชน์ของ ทีนี้จ๋อมก็ไม่ต้องกลัวการบ้าน อินเทอร์เน็ตยังมีอีก และรายงานแล้ว เพราะมีข้อมูล มากมายนะ ให้ค้นหาตั้งเยอะ และยังคุยกับ แจ๋มจะบอกให้ เพื่อนๆ ได้อีกด้วย เอาเรื่องง่ายๆ ทั่วไป เสียก่อน 21
  • 22. ประโยชน์ของอินเทอร์เน็ต เท่าที่แจ๋มรู้นะคะ 1. ติดต่อสื่อสารกันได้ทั่วโลกในราคาถูกด้วยนะ 2. หาเพื่อนใหม่ทางอินเทอร์เน็ตก็ได้ แจ๋มมีเยอะแล้ว 3. มีข้อมูลเยอะเหมือนมีห้องสมุดขนาดยักษ์ให้ค้นหา จ๋อมจะสั่งส้มตา 4. ดูตัวอย่างหนัง - ฟังเพลงทางอินเทอร์เน็ตก็ได้ด้วย ทางอินเทอร์เน็ต 5. มีเกมสนุกๆ ที่จ๋อมชอบอีกแน่ะ 6. ข้อมูล - ข่าวสารในอินเทอร์เน็ตจะทันสมัยอยู่เสมอ 7. เผยแพร่ข้อมูลของเราในระบบอินเทอร์เน็ตก็ได้นะ 8. สั่งซื้อสินค้า - อาหารทางอินเทอร์เน็ตก็ได้อีก ส้มตากระป๋อง 22
  • 23. ทุกอย่างมีทั้งข้อดีและข้อเสียค่ะ ข้อเสียของอินเทอร์เน็ต ที่แจ๋มนึกออกนะคะ จ๋อมฟังแล้วมันมี 1. ข้อมูลบางอย่างอาจไม่จริง ต้องดูให้ดีเสียก่อน แต่สิ่งดีๆ ทั้งนั้นเลย 2. อาจถูกหลอกลวง-กลั่นแกล้งจากเพื่อนใหม่ มันมีข้อเสียบ้าง 3. ถ้าเล่นอินเทอร์เน็ตมากเกินไปอาจเสียการเรียนได้ ไหมครับ 4. ข้อมูลบางอย่างก็ไม่เหมาะกับเด็กๆ อย่างพวกเรา 5. อาจทาให้นอนดึกและเสียสุขภาพค่ะ 6. บางคนเล่นอินเทอร์เน็ตมากไม่ยอมออกกาลังกาย 7. อยู่หน้าจอนานๆ อาจทาให้เสียสายตาก็ได้นะ 8. ขณะที่ใช้อินเทอร์เน็ต โทรศัพท์จะใช้งานไม่ได้ค่ะ อยากรู้ 23 เหมือนกัน
  • 24. ง่ายๆ เลยนะคะ ก็คือถ้าจ๋อม ติดต่อกับเพื่อนใหม่ทาง ถ้าอย่างนั้นเราควรระวัง อินเทอร์เน็ต อย่าเพิ่งบอก อะไรบ้างครับ จึงจะ ชื่อ-นามสกุล และที่อยู่จริง ปลอดภัยจากการใช้ จนกว่าจะมั่นใจเสียก่อนค่ะ อินเทอร์เน็ต ระวังไวรัสด้วยนะคะ เห็นด้วย เพราะมี ทั้งคนดีและไม่ดี 24
  • 25. มีอีกอย่างที่แจ๋มอยากแนะนาให้จ๋อม ได้รู้ไว้ก็คือมารยาทในการใช้อินเทอร์เน็ตค่ะ เรียกว่าบัญญัติ 10 ประการของการใช้ อินเทอร์เน็ตก็ได้ แจ๋มจามาจากอาจารย์ ยืน ภู่วรวรรณ ที่มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ค่ะ จ๋อมจะได้เป็นผู้ใช้ งานอินเทอร์เน็ต ต้องจาไปบอก ที่ดีใช่ไหมครับ เพื่อนๆ ด้วย 25
  • 26. บัญญัติ 10 ประการ ของการใช้อินเทอร์เน็ต 1. ต้องไม่ใช้คอมพิวเตอร์ทาร้าย หรือละเมิดผู้อื่น 2. ต้องไม่รบกวนการทางานของผู้อื่น 3. ต้องไม่สอดแนม แก้ไข หรือเปิดดูแฟ้มข้อมูลของผู้อื่น 4. ต้องไม่ใช้คอมพิวเตอร์เพื่อการโจรกรรมข้อมูลข่าวสาร 5. ต้องไม่ใช้คอมพิวเตอร์สร้างหลักฐานที่เป็นเท็จ 6. ต้องไม่คัดลอกโปรแกรมของผู้อื่นที่มีลิขสิทธิ์ 7. ต้องไม่ละเมิดการใช้ทรัพยากรคอมพิวเตอร์โดยที่ตนเองไม่มีสิทธิ์ 8. ต้องไม่นาเอาผลงานของผู้อื่นมาเป็นของตน 9. ต้องคานึงถึงสิ่งที่จะเกิดขึ้นกับสังคมที่เกิดจากการกระทาของท่าน 10. ต้องใช้คอมพิวเตอร์โดยเคารพกฎระเบียบ กติกา และมีมารยาท 26
  • 27. เว็บไซต์ (Web Site) ก็คือเครื่องคอมพิวเตอร์ ของหน่วยงานหรือองค์กรใดๆ ที่เชื่อมต่ออยู่กับ จ๋อมจะจาไว้ครับ เครือข่ายอินเทอร์เน็ตและสามารถให้บริการ แล้วถ้าจ๋อมอยากได้ข้อมูลใน ที่เรียกว่า WWW (World wide web) แก่ อินเทอร์เน็ตจะเริ่มต้นหา คอมพิวเตอร์ทั่วไปได้ค่ะ ซึ่งจะมีการระบุ จากที่ไหนครับได้ยินเขา ที่อยู่ของเว็บไซต์นั้น เรียกว่า URL ค่ะ บอกว่าหาจากเว็บไซต์ URL = Uniform Resource Locator แล้วเว็บไซต์มันคืออะไรครับ เช่น http://www.school.net.th เป็นต้น 27
  • 28. แต่ข้อมูลที่อยู่ในเว็บไซต์นั้นถูกสร้างขึ้นด้วยภาษา HTML (Hypertext Markup language) เพราะฉะนั้นการที่เรา จะเรียกข้อมูลมาดูได้ จึงต้องใช้โปรแกรมที่เข้าใจภาษา HTML ด้วยค่ะ ซึ่งมีอยู่หลายโปรแกรม เราเรียกโปรแกรมเหล่านี้ว่า Web Browser ค่ะ ที่ใช้กันมากคือ 1. Netscape Communicator 2. Internet Explorer ยังมีอีกมากนะคะแต่ 2 โปรแกรมนี้มีคนใช้มากกว่าค่ะ ถ้าจ๋อมใช้โปรแกรม นี้ไม่เป็นก็ดูข้อมูลไม่ได้ ใช่ไหมครับ 28
  • 29. web browser ตัวแรกเรียกว่า Netscape communicator ค่ะ โปรแกรมนี้สนับสนุนคาสั่ง ภาษา HTML ได้เกือบหมด จึงแสดงผลได้อย่างถูกต้อง ตามที่ผู้นาเสนอต้องการ ลักษณะของ Netscape เป็นแบบนี้ค่ะ ส่วนนี้คือข้อมูลค่ะ สวยจังเลย 29
  • 30. ส่วนที่ต้องให้ความสนใจเป็นพิเศษ ก็คือเมนูด้านบนค่ะ เพราะจะช่วยให้เรา ค้นหาข้อมูลได้สะดวกและง่ายขึ้นค่ะ ครับผม จ๋อมจะ จาให้ได้ครับ 30
  • 31. ชื่อเว็บไซต์ ต้องพิมพ์ให้ถูกด้วย ถ้าผิดมันหาไม่เจอหรอกค่ะ ถ้าเราต้องการข้อมูลหรือรู้ที่อยู่ ของข้อมูลนั้นก็พิมพ์ที่อยู่ลงไป ในช่อง Location เลยค่ะเช่น http://www.school.net.th เป็นต้น 31
  • 32. web browser ต่อมาเรียกว่า Internet Explorer ค่ะ โปรแกรมนี้มีความสามารถ สูงเช่นเดียวกับแบบแรก แตกต่างกันบ้างเพียงเล็กน้อย ลักษณะของ Explorer เป็นแบบนี้ค่ะ แต่ไม่ต้องกลัวค่ะ เพราะการใช้งาน จะคล้ายกัน ถ้าเราใช้ Netscape เป็นแล้ว ก็สามารถใช้ Explorer ได้ทันทีเลยค่ะ 32 จะใช้ทั้ง 2 ตัวหรือตัวใดตัวหนึ่งก็ได้ค่ะ
  • 33. มีเยอะเลยค่ะ ทุกวันนี้มีการ แนะนาชื่อเว็บไซต์ที่ดีและ มีประโยชน์มากมายทั้งทาง วารสารด้านคอมพิวเตอร์ ถ้าจ๋อมไม่รู้จักที่อยู่ของข้อมูลหรือไม่รู้จัก หนังสือพิมพ์, ในโทรทัศน์ ชื่อของเว็บไซต์ จะหาได้จากที่ไหนครับ ก็ยังมีเลยนะคะ 33
  • 34. เว็บไซต์ที่ดีทั้งของไทยและต่างประเทศค่ะ เช่น 1. www.school.net.th 2. www.nectec.or.th 3. www.google.com 4. www.mcot.or.th แต่สาหรับผู้เริ่มต้นแจ๋มคิดว่าวิธีที่ดีที่สุดคือเข้าไปยัง ศูนย์รวมเว็บไซต์ค่ะ ของคนไทยที่ทาไว้ก็มีเช่น แนะนาเว็บไซต์ที่ดีๆ 1. www.sanook.com 2. www.hunsa.com ให้จ๋อมรู้จักบ้างสิครับ 3. www.siamguru.com เป็นต้น ในนี้จะรวบรวมชื่อ เว็บไซต์เป็นหมวดหมู่ ค้นหาสะดวกมากค่ะ 34
  • 35. ยังหรอกค่ะ เพราะว่าโปรแกรมนี้ ใช้ภาษาอังกฤษเป็นหลัก ดังนั้นข้อมูล ที่เป็นภาษาไทยอาจแสดงผลผิดพลาด ถ้าอย่างนั้นจ๋อมก็ใช้อินเทอร์เน็ต เราจึงต้องปรับตั้งโปรแกรมนิดหน่อย ค้นหาข้อมูลได้แล้วใช่ไหมครับ เพื่อให้แสดงผลภาษาไทยได้ถูกต้อง เพราะมีทั้งข้อมูลที่เป็นภาษาไทย ปรับแค่ครั้งเดียวตอนใช้งานครั้งแรกค่ะ และภาษาอังกฤษ แจ๋มจะบอกวิธีปรับตั้งนะคะ 35
  • 36. เริ่มจาก Netscape ก่อน เมื่อเรียกโปรแกรมขึ้นมาแล้ว ให้คลิกที่เมนู Edit แล้วเลือกรายการ Preferences… ค่ะ แล้วทา ยังไงต่อครับ 36
  • 37. เลือกที่นี่ค่ะ ให้คลิกเลือกที่ Fonts จะมีรายการย่อยด้าน ขวามือปรากฏขึ้นมา ตรงนี้ ใช่ไหมครับ 37
  • 38. จากนั้นก็ปรับตั้ง AngsanaUPC ตามนี้เลยนะคะ เสร็จแล้วก็กด ปุ่ม OK เลยค่ะ ง่ายจังเลย 38
  • 39. ส่วน Explorer นั้น มักจะใช้ภาษาไทย ได้เลยแต่เราจะตรวจ ดูก่อนก็ได้ค่ะ แจ๋มขอ แนะนาเวอร์ชั่น 5 นะคะ เรียกทั่วไปว่า IE5 ค่ะ โดยคลิกที่เมนู Tools แล้วเลือก ครับผม Internet Options ตามรูปเลยค่ะ 39
  • 40. จ๋อมก็จะเห็นหน้าต่างอันใหม่ อย่างในรูปนี่แหละค่ะ ด้านล่าง จะมีคาว่า Fonts.. อยู่ ให้คลิกที่ Fonts.. ได้เลยค่ะ คลิกที่นี่ค่ะ 40
  • 41. จ๋อมจะเห็นหน้าต่าง Fonts ขึ้นมา ให้เลือก ภาษาไทยกับ Fontsเป็น Microsoft Sans Serif ตามรูป เสร็จแล้วกด เลือก Fonts อย่างอื่น OK เลยค่ะ ไม่ได้หรือครับ 41
  • 42. ได้ค่ะแต่ตัวนี้เป็น Fonts ที่ โปรแกรมมีอยู่แล้วและแจ๋มว่า มันแสดงผลเป็นตัวหนังสือ ที่สวยและอ่านง่าย เมื่อจ๋อม กด OK แล้วหน้าจอจะกลับมา ที่นี่อีกครั้ง ให้จ๋อมคลิกที่ ปุ่ม OK ต่อเลยค่ะ คลิกที่นี่ค่ะ 42
  • 43. ส่วนขนาดของตัวหนังสือ ให้เลือกตามรูปเลยนะคะ Largest คือใหญ่สุด Smallest คือเล็กสุดค่ะ แค่นี้ก็เรียบร้อยค่ะ ไม่ยากเลยครับ จ๋อมทาได้สบายมาก 43
  • 44. ได้ค่ะ มี E-mail ของหลายบริษัทค่ะที่ให้บริการฟรีเพียงแค่ เข้าไปสมัครเป็นสมาชิกเท่านั้นก็ใช้ได้ ไม่เสียค่าใช้จ่ายค่ะเช่น 1. Hotmail 2. Thaimail 3. Chaiyomail 4. Popymail 5. Keromail 6. Kittymail จ๋อมสนใจเรื่อง 7. Siammail 8. Rocketmail 9. Doramail E-mail ครับ แต่แจ๋มขอแนะนาให้เลือกใช้บางอันที่เราชอบก็พอค่ะ เอาไว้ส่งจดหมาย อันที่สวยๆ น่ารักเป็นรูปการ์ตูนก็มีนะคะ แจ๋มใช้ของ หาเพื่อนที่อยู่ Doramail ค่ะ ดูวิธีสมัครสมาชิกและวิธีใช้นะคะ ไกลกันครับ 44
  • 45. พิมพ์ชื่อเว็บไซต์ http://www.doramail.com ลงไปค่ะ เห็นแล้วน่าใช้ ไหมคะเริ่มต้น สมัครเป็น สมาชิกเลยค่ะ สวัสดีเพื่อนรัก 45
  • 47. เลื่อน scroll bar ลงข้างล่าง จนสุด แล้วคลิกปุ่ม I Accept เพื่อยอมรับเงื่อนไขที่กาหนดค่ะ 47
  • 48. โปรแกรมจะให้เรา ตั้งชื่อค่ะ เรียกว่า login name อย่าให้ซ้า กับชื่อคนอื่นนะคะ เช่นใช้ชื่อ sun_jr แล้วกด enter ค่ะ ชื่อนี้ใช้แล้วอย่า ใช้อีกนะคะ 48
  • 49. หน้าจอจะเปลี่ยนเป็น แบบฟอร์มให้กรอกค่ะ นี่คือข้อมูล ที่ต้องกรอก ลงไป ไม่ต้อง เป็นข้อมูลจริง 49 ทั้งหมดก็ได้ค่ะ
  • 50. ด้านล่างมีคาถามลับเฉพาะ ใช้เวลาลืม รหัสผ่าน ค่ะ ใช้คาถามง่ายๆ แบบนี้ก็ได้ค่ะ จาไว้ว่าทุกอย่างต้องเป็น ภาษาอังกฤษนะคะ เสร็จแล้วกดปุ่ม Sign Me Up เลยค่ะ 50
  • 51. ถ้าทุกอย่างถูกต้องและ ชื่อไม่ซ้ากับคนอื่นโปรแกรม จะบอกว่าลงทะเบียน เสร็จสมบูรณ์แล้ว สังเกตที่นี่ค่ะ เมื่อต้องการใช้งานก็เพียงแค่ป้อนชื่อ login name และ รหัสผ่านลงไป อย่าลืมเลือกเป็นภาษาไทยด้วยนะคะ แล้วก็ OK เลยค่ะ 51
  • 52. หน้าจอจะเป็นอย่างนี้ค่ะ ดูว่ามีจดหมายมาถึงเรา หรือไม่ ให้คลิกที่ อินบ๊อกซ์ หรือ check mail ก็ได้ค่ะ 52
  • 53. จะเห็นจดหมาย ดังรูปค่ะ (ถ้ามีนะคะ) คลิกที่จดหมาย ก็อ่านได้แล้วค่ะ 53
  • 54. อ่านจดหมายเลยค่ะ ยากเกินไปหรือเปล่าคะ ง่ายจัง รูปก็สวย ง่ายจริงๆ ด้วย 54
  • 55. การนาภาพจากอินเทอร์เน็ตมาใช้งาน ก็แค่เลื่อนเม้าส์ไปชี้ที่รูป แล้วคลิกเม้าส์ที่ปุ่มขวา จะเห็น pop-up เมนูขึ้นมา ให้คลิกที่ Save Picture As ตามรูปเลยค่ะ ใช้save รูป ที่เราชอบได้ทุกรูปค่ะ เหมียวอยากได้รูปแมว ญี่ปุ่นมาเก็บไว้ดู จะทา ยังไงครับพี่แจ๋ม 55
  • 56. หลังจากนั้นจะเห็น หน้าต่าง Save Picture พร้อมกับชื่อไฟล์ ชื่อไฟล์จะใช้ชื่อเดิมหรือเปลี่ยนใหม่ก็ได้นะ ให้เราเลือกว่าจะ save รูปไว้ที่ไหน เข้าใจแล้วครับ 56
  • 57. การ download ข้อมูลในอินเทอร์เน็ต ก็คือการถ่ายโอนข้อมูลจากเว็บไซต์เข้ามาเก็บ ไว้ในเครื่องของเรา เพราะในอินเทอร์เน็ต แล้วที่เขาบอกว่า จะมีโปรแกรมใหม่ๆ ออกมาเสมอ มีทั้งแบบ download ข้อมูลนี่ ให้ใช้ฟรีและทดลองใช้ค่ะ มีหลายเว็บไซต์ที่ มันเป็นยังไงครับ ให้บริการแบบนี้เช่น www.download.com www.tucows.com เป็นต้นค่ะ บอกวิธีใช้เลย ครับพี่แจ๋ม 57
  • 58. ลองไปที่นี่นะคะ พิมพ์ http://www.download.com ลงไปค่ะ ในนี้จะแบ่งโปรแกรมไว้เป็น หมวดหมู่ให้เราเลือกได้ง่ายๆ ถ้าต้องการโปรแกรมในกลุ่มใด ก็คลิกที่กลุ่มนั้นเลยค่ะ ลองเลือก Games นะคะ 58
  • 59. จะเห็นรายการย่อยค่ะ ลองเลือก sports ค่ะ มีรายชื่อเกมให้เลือก มากมายนะคะ นี่เพียงตัวอย่างค่ะ 59 เลือกโปรแกรมนี้ค่ะ คลิกเลยไม่ต้องรอ
  • 60. รอสักครู่หน้าจอจะเปลี่ยนไป ให้คลิกที่ปุ่ม Download Now จะเห็นหน้าต่าง File Download ให้เลือกตามรูป แล้วกด OK ค่ะ 60
  • 61. จะเห็นหน้าต่าง Save As พร้อมชื่อไฟล์ ให้กดปุ่ม Save เลยค่ะ จากนั้นโปรแกรม จะถ่ายโอนข้อมูลดังรูปข้างบนมายังเครื่อง คอมพิวเตอร์ของเรา จะเสร็จช้าหรือเร็ว ขึ้นอยู่กับขนาดของไฟล์และความเร็ว สัญญาณในขณะนั้นค่ะ 61
  • 62. ดีจังเลย ทาแบบไหนครับ จ๋อมรู้สึกสนุกกับอินเทอร์เน็ต เพียงแค่นี้ก็เสร็จค่ะ การ มากจริงๆ คิดไม่ถึงว่าจะทาได้ download ของเว็บไซต์อื่น มากมายอย่างนี้ ก็ใช้วิธีคล้ายๆ กันค่ะ นอกจากนี้แล้วถ้าจ๋อม อยากจะส่งข้อความไปยัง pager ผ่านอินเทอร์เน็ต ก็ทาได้นะคะ 62
  • 64. หน้าจอจะเป็นช่องให้เติม หมายเลข pager ที่ต้องการส่ง ข้อความลงไปค่ะ พิมพ์ได้ ครั้งละไม่มาก ขึ้นอยู่กับ แต่ละบริษัทค่ะ หลังจากกดปุ่ม Send ถ้าส่งเรียบร้อยจะมี ข้อความบอกดังรูป นี่แหละค่ะ เสร็จแล้วค่ะ ไม่ยากอย่างที่ คิดเลย สนุกด้วย 64
  • 65. ความรู้ในอินเทอร์เน็ตมีมากมาย ครับผม เพื่อนๆ ละครับเข้าใจ อย่าใช้แค่พูดคุยกันเท่านั้นนะคะ เรื่องอินเทอร์เน็ตมากขึ้นอย่าง เพราะจะไม่เกิดประโยชน์อะไร จ๋อมหรือเปล่าครับ อย่าลืมว่า ต้องขยันหาความรู้ใหม่ๆ ให้ ต้องกล้าถามอย่างจ๋อมนะครับ ตัวเอง จึงจะเป็นคนเก่ง โดยเฉพาะอย่างยิ่งคือต้องกล้า ถามในสิ่งที่ไม่รู้ค่ะ ลาก่อนค่ะ สวัสดีค่ะ ลาก่อนครับ 65