SlideShare a Scribd company logo
1
2. ศึกษาความรู้เกี่ยวกับการพัฒนาเว็บไซต์จากงานวิจัย หนังสือต่างๆ อาทิเช่น
หลักการ และทฤษฎีในการสื่อสาร
ชีวิตเป็นเรื่องของการเรียนรู้และสิ่งหนึ่งที่สาคัญและต้องมีการเรียนรู้คือ ความสัมพันธ์ หรือ
มนุษยสัมพันธ์ เพราะทุกสิ่งทุกอย่างในโลกนี้มักเป็นบทเรียนของกันและกัน ถ้าไม่ใส่ใจเรียนรู้ซึ่งกัน
และกันก็จะอยู่ในโลกนี้ด้วยความยากลาบาก เพราะชีวิตจะมีคุณค่าและรู้สึกมีความสุขเมื่อได้
แสดงออกอย่างที่รู้สึก มีโอกาสเรียนรู้เรื่องราวและสิ่งใหม่ๆตามที่เราต้องการ
ดังนั้นความสาเร็จของมนุษย์ในการดารงชีวิตทั่วไป จึงมักมีข้อกาหนดไว้อย่างกว้างๆว่า เรา
จะต้องเข้ากับคนที่เราติดต่อด้วยให้ได้ และต้องเข้าให้ได้ดี ด้วยการเรียนรู้ที่จะสร้างความสัมพันธ์
ร่วมกัน โดยอาศัยวิธีการสื่อสารและหลักจิตวิทยา ความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์โดยทั่วไปมักถูกมองว่า
เป็นเรื่องของศิลปะ(Arts) มากกว่าศาสตร์(Science) ซึ่งก็หมายความว่า การเรียนรู้เกี่ยวกับ
ความสัมพันธ์ของบุคคลแต่เพียงอย่างเดียว โดยขาดศาสตร์ของการสื่อสาร ย่อมขาดศิลปะในการ
นาไปปรับใช้ในชีวิตจริงให้ประสบความสาเร็จได้
1. แนวคิดด้านการสื่อสารข้อมูล (Concept of networks layers)
ปัญหาของการสื่อสารข้อมูลก็คือทาอย่างไรจะให้อุปกรณ์การสื่อสารต่างๆ สื่อสารกันได้อย่าง
อัตโนมัติ เนื่องจากมีความแตกต่างกันด้านเครื่องมือ อุปกรณ์และวิธีการสื่อสารแบบต่างๆ เช่น เครื่อง
คอมพิวเตอร์เครื่องหนึ่งจะติดต่อสื่อสารกับเครื่องคอมพิวเตอร์อีกเครื่องหนึ่งซึ่งอาจจะอยู่คนละส่วน
ของโลก โดยมีสื่อกลางคืออุปกรณ์เชื่อมโยงเครือข่ายที่มาจากผู้ผลิตหลายบริษัท แนวคิดนี้เององค์กร
ว่าด้วยเครื่องมาตรฐานระหว่างประเทศ (International Standard Organization-ISO) จึงได้วาง
มาตรฐานโปรโตคอลไว้เป็นระดับ เพื่อให้การสื่อสารต่างๆ ยึดหลักการนั้นและเรียกมาตรฐาน
โปรโตคอลนี้ว่า OSI Protocol โดยวางเป็นระดับ 7 ชั้น
1. ชั้น Physical เป็นการอธิบายคุณสมบัติทางกายภาพ เช่น คุณสมบัติทางไฟฟ้า และกลไก
ต่างๆ ของวัสดุที่ใช้เป็นสื่อกลาง ตลอดจนสัญญาณที่ใช้ในการส่งข้อมูล คุณสมบัติที่กาหนดไว้ในชั้นนี้
ประกอบด้วยคุณลักษณะทางกายภาพของสาย, อุปกรณ์เชื่อมต่อ (Connector) ระดับความต่างศักย์
ของไฟฟ้า (Voltage) และอื่นๆ เช่น อธิบายถึงคุณสมบัติของสาย Unshield Twisted Pair
(UTP) เป็นต้น
2. ชั้น Data-Link เป็นชั้นที่อธิบายถึงการส่งข้อมูลไปบนสื่อกลาง ชั้นนี้ยังได้ถูกแบ่งออกเป็น
ชั้นย่อย (Sub-Layer) คือ Logical Link Control (LLC) และ Media Access Control (MAC) การ
แบ่งแยกเช่นนี้จะทาให้ชั้น LLC ชั้นเดียวสามารถจะใช้ชั้น MAC ที่แตกต่างกันออกไปได้หลายชั้น
ชั้น MAC นั้นเป็นการดาเนินการเกี่ยวกับแอดเดรสทางกายภาพอย่างที่ใช้ในมาตรฐานอีเทอร์เน็ตและ
โทเคนริง แอดเดรสทางกายภาพนี้จะถูกฝังมาในการ์ดเครือข่ายโดยบริษัทผู้ผลิตการ์ดนั้น แอดเดรส
ทางกายภาพนั้นเป็นคนละอย่างกับแอดเดรสทางตรรกะ เช่นIP Address ที่จะถูกใช้งานใน
ชั้น Network เพื่อความชัดเจนครบถ้วนสมบูรณ์ของการใช้ชั้น Data-Link
3. ชั้น Network ในขณะที่ชั้น Data-Link ให้ความสนใจกับแอดเดรสทางกายภาพ แต่การ
ทางานในชั้น Network จะให้ความสนใจกับแอดเดรสทางตรรกะ การทางานในชั้นนี้จะเป็นการ
2
เชื่อมต่อ และการเลือกเส้นทางนาพาข้อมูลระหว่างเครื่องสองเครื่องในเครือข่ายชั้นNetwork ยังให้
บริการเชื่อมต่อในแบบ "Connection Oriented" อย่างเช่น X.25 หรือบริการแบบ
"Connectionless" เช่น Internet Protocol ซึ่งใช้งานโดยชั้น Transport ตัวอย่างของบริการหลักที่
ชั้น Network มีให้คือ การเลือกเส้นทางนาพาข้อมูลไปยังปลายทางที่เรียกว่าRouting ตัวอย่างของ
โปรโตคอลในชั้นนี้ประกอบด้วย Internet Protocol (IP) และInternet Control Message
Protocol (ICMP)
4. ชั้นTransport ในชั้นนี้มีบางโปรโตคอลจะให้บริการที่ค่อนข้างคล้ายกับที่มีใน
ชั้น Networkโดยมีบริการด้านคุณภาพที่ทาให้เกิดความน่าเชื่อถือ แต่ในบางโปรโตคอลที่ไม่มีการดูแล
เรื่องคุณภาพดังกล่าวจะอาศัยการทางานในชั้น Transport นี้เพื่อเข้ามาช่วยดูแลเรื่องคุณภาพแทน
เหตุผลที่สนับสนุนการใช้งานชั้นนี้ก็คือ ในบางสถานการณ์ของชั้นในระดับล่างทั้งสาม (คือ
ชั้น Physical Data-Link และNetwork) ดาเนินการโดยผู้ให้บริการโทรคมนาคม การจะเพิ่มความ
มั่นใจในคุณภาพให้กับผู้ใช้บริการก็ด้วยการใช้ชั้นTransportนี้ “Transmission Control Protocol
(TCP) เป็นโปรโตคอลในชั้น Transport ที่มีการใช้งานกันมากที่สุด
5. ชั้น Session ทาหน้าที่สร้างการเชื่อมต่อ การจัดการระหว่างการเชื่อมต่อ และการตัดการ
เชื่อมต่อคาว่า "เซสชัน" (Session) นั้นหมายถึงการเชื่อมต่อกันในเชิงตรรกะ (Logic) ระหว่าง
ปลายทางทั้งสองด้าน (เครื่อง2 เครื่อง) ชั้นนี้อาจไม่จาเป็นต้องถูกใช้งานเสมอไปอย่างเช่นถ้าการ
สื่อสารนั้นเป็นไปในแบบ "Connectionless" ที่ไม่จาเป็นต้องเชื่อมต่อ เป็นต้น ระหว่างการสื่อสารใน
แบบ "Connection-less"ทุกๆ แพ็กเก็ต (Packet) ของข้อมูลจะมีข้อมูลเกี่ยวกับเครื่องปลายทางที่
เป็นผู้รับติดอยู่อย่าง สมบูรณ์ในลักษณะของจดหมายที่มีการจ่าหน้าซองอย่างถูกต้องครบถ้วน ส่วน
การสื่อสารในแบบ "Connection Oriented" จะต้องมีการดาเนินการบางอย่างเพื่อให้เกิดการ
เชื่อมต่อ หรือเกิดเป็นวงจรในเชิงตรรกะขึ้นมาก่อนที่การรับ/ส่งข้อมูลจะเริ่มต้นขึ้น แล้วเมื่อการรับส่ง
ข้อมูลดาเนินไปจนเสร็จสิ้นก็ต้องมีการดาเนินการบางอย่างเพื่อที่จะตัดการเชื่อมต่อลง ตัวอย่างของ
การเชื่อมต่อแบบนี้ได้แก่ การใช้โทรศัพท์ที่ต้องมีการกดหมายเลขปลายทาง จากนั้นก็ต้องมีการ
ดาเนินการบางอย่างของระบบจนกระทั่งเครื่องปลายทางมีเสียงดังขึ้น การสื่อสารจะเริ่มขึ้นจริงเมื่อมี
การทักทายกันของคู่สนทนา จากนั้นเมื่อคู่สนทนาฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งวางหูก็ต้องมีการดาเนินการ
บางอย่างที่จะตัดการเชื่อมต่อลงชั้นSession นี้มีระบบการติดตามด้วยว่าฝั่งใดที่ส่งข้อมูลซึ่งเรียกว่า
"Dialog Management" Simple Mail Transport Protocol (SMTP) File Transfer Protocol
(FTP) และ Telnet เป็นตัวอย่างของโปรโตคอลที่นิยมใช้ และมีการทางานครอบคลุมในชั้นSession
Presentation และ Application
6. ชั้น Presentation ให้บริการทาการตกลงกันระหว่างสองโปรโตคอลถึงไวยากรณ์
(Syntax) ที่จะใช้ในการรับ/ส่งข้อมูล เนื่องจากว่าไม่มีการรับรองถึงไวยากรณ์ที่จะใช้ร่วมกัน การ
ทางานในชั้นนี้จึงมีบริการในการแปลข้อมูลตามที่ได้รับการร้องขอด้วย
7. ชั้น Application เป็นชั้นบนสุดของแบบจาลอง ISO/OSI เป็นชั้นที่ใช้บริการของ
ชั้น Presentation (และชั้นอื่นๆ ในทางอ้อมด้วย) เพื่อประยุกต์ใช้งานต่างๆ เช่น การรับ-ส่งอีเมล์)
การโอนย้ายไฟล์ หรือการประยุกต์ใช้งานทางด้านเครือข่ายอื่นๆ
3
เครื่องคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์จะต้องมีเครื่องคอมพิวเตอร์เป็นองค์ประกอบพื้นฐาน
คอมพิวเตอร์ที่เชื่อมต่อกันเป็นเครือข่ายนั้น ไม่จาเป็นจะต้องเป็นรุ่นเดียวกัน หรือประเภทเดียวกัน
คุณสามารถนาเอาคอมพิวเตอร์หลากหลายรุ่น หลากหลายประเภทมาเชื่อมต่อกันได้ ไม่ว่าจะเป็น
เครื่องพีซี แมคอินทอช หรือยูนิกซ์เวิร์กสเตชัน โดยใช้คอนเน็กเตอร์ (Bridge) เป็นตัวเชื่อมระบบ
ที่ต่างกันให้เป็นระบบเดียวกันได้ นอกจากนั้นยังสามารถเชื่อมต่อเข้ากับอุปกรณ์คอมพิวเตอร์อื่น ๆ
เช่น เครื่องพิมพ์ แฟกซ์ เทปแบ๊กอัป หรืออุปกรณ์เก็บข้อมูลอื่น ๆ และสามารถใช้งานอุปกรณ์
เหล่านี้ได้โดยเรียกผ่านคอมพิวเตอร์ของผู้ใช้เอง เป็นการใช้ทรัพยากรในระบบเครือข่ายร่วมกัน
ระบบสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
เซอร์เวอร์ (Server)
เซอร์เวอร์ หรือเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า เครืองแม่ข่าย เป็นเครื่องคอมพิวเตอร์หลักในเครือข่าย
ที่ทาหน้าที่จัดเก็บและให้บริการไฟล์ข้อมูลและทรัพยากรอื่นๆ กับคอมพิวเตอร์เครื่องอื่น ๆ ใน
เครือข่าย โดยปกติคอมพิวเตอร์ที่นามาใช้เป็นเซอร์เวอร์มักจะเป็นเครื่องที่มีสมรรถนะสูง และ
มีฮาร์ดดิกส์ความจาสูงกว่าคอมพิวเตอร์เครื่องอื่น ๆ ในเครือข่าย .
ไคลเอนต์ (Client) หรือเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า เครื่องลูกข่าย เป็นคอมพิวเตอร์ในเครือข่ายที่ร้องขอ
บริการและเข้าถึงไฟล์ข้อมูลที่จัดเก็บในเซอร์เวอร์ หรือพูดง่าย ๆ ก็คือ ไคลเอนต์ เป็นคอมพิวเตอร์
ของผู้ใช้แต่ละคนในระบบเครือข่ายนั่นเอง .
ฮับ (Hub)
เป็นอุปกรณ์ศูนย์กลาง ที่เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์หรืออุปกรณ์คอมพิวเตอร์อื่นๆ เข้าด้วยกัน
ผลที่เกิดขึ้น (Result)
1. ยอมรับ (Acceptation)
2. ตัดสินใจ (Decision)
3. เปลี่ยนแปลงพฤติกรรม (Behavior)–ชั่วคราว–ถาวร
วัตถุประสงค์ทางคุณธรรม (บุญนิยม)
1. วิเคราะห์สาร เลือกสิ่งที่มีผลเป็นบวก (เชิงคุณธรรม) แล้วยอมรับ
2. ตัดสินใจในการรับสารนั้น ตามหลักนิยามความจริง 7 ประการ*
3. เปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของตนตามสารที่ได้รับ การเปลี่ยนแปลง ขึ้นอยู่กับระดับความหนักแน่น
ของความเชื่อ - ถ้าเชื่อฟัง เชื่อถือ (เลื่อมใส) ก็จะเกิดการเปลี่ยนแปลงแบบชั่วคราว - ถ้าเชื่อมั่น
(ศรัทธา) ก็จะเกิดการเปลี่ยนแปลงแบบถาวร
“หลักนิยามความจริง 7 ประการ หมายถึงหลักแห่งการตัดสินใจกระทาการ อย่างใดอย่าง
หนึ่ง โดยอาศัยองค์ประกอบหลัก 7 ประการ คือ“ดี, ถูกต้อง, เป็นประโยชน์, ทาให้พ้นทุกข์ได้ หรือ
แก้ปัญหาได้, มีความเป็นไปได้, รู้ได้สัมผัสได้จากรูปธรรมและนามธรรม, และท้าทายให้มาพิสูจน์ได้”
4
ทฤษฎีและแบบจาลองการสื่อสาร
ทฤษฎี คือข้อความเกี่ยวกับการทางานของสิ่งต่าง ๆ หรือข้อความที่แสดงความสัมพันธ์
ระหว่างข้อเท็จจริงต่าง ๆ
แบบจาลอง เกิดจากความพยายาม ที่จะอธิบายปรากฏการณ์ทางการสื่อสารแบบต่างๆ จึงสร้าง
แบบจาลองขึ้น
แบบจาลองทฤษฎีการสื่อสารมีอยู่ 4 แบบ คือ [อาจารย์ประช้นวัลลิโก]
(1) ทฤษฎีการสื่อสารเชิงระบบพฤติกรรม
(2) ทฤษฎีการสื่อสารเชิงพฤติกรรมการเข้าและถอดรหัส
(3) ทฤษฎีการสื่อสารเชิงปฏิสัมพันธ์
(4) ทฤษฎีการสื่อสารเชิงปริบททางสังคม
1. ทฤษฎีการสื่อสารเชิงระบบพฤติกรรม มีลักษณะดังนี้
1.1 เป็นการมองการสื่อสารทั้งระบบ คล้ายเครื่องจักรกล ระบบการรับส่งข้อมูลข่าวสารจะ
เกิดขึ้นได้ ต่อเมื่อมีแหล่งข่าวสาร (ผู้ส่ง) ส่งสัญญาณผ่านช่องทางการสื่อสารไปยังจุดหมายปลายทาง
(ผู้รับสาร)
1.2 เป็นการสื่อสารแบบตัวต่อตัว ที่เห็นหน้าตาของผู้รับและผู้ส่งได้
1.3 มีการกระทาสะท้อนกลับ ( Feed back)
1.4 มีสภาพแวดล้อมทางสังคม จิตวิทยา กาลเวลา สถานที่ เป็นปัจจัยในการสื่อสาร และ
ประกอบคาอธิบาย และให้เหตุผล
1.5 เป็นการสื่อสารแบบต่อเนื่อง (เป็นวงกลม)
1.6 เป็นการสื่อสารเรื่องใหม่ ๆ
1.7 ผู้สื่อสาร เป็นผู้กาหนดความหมาย และเจตนารมย์ของสารที่ส่งไป
2. ทฤษฎีการสื่อสารเชิงพฤติกรรมการเข้าและถอดรหัส มีลักษณะดังนี้
2.1 ถือว่าการเข้ารหัสและการถอดรหัสเป็นหัวใจของการสื่อสาร
2.2 กระบวนการเข้ารหัส และถอดรหัส คือ รูปแบบของการควบคุม ตรวจสอบ หรือมีอานาจ
เหนือสิ่งแวดล้อม
2.3 อธิบายกิจกรรมของการเข้ารหัส และถอดรหัส 3 ประการ
2.3.1 การรับรหัส-ถอดรหัส ( Perception or Decoding)
2.3.2 การคิด-ตีความ ( Cognition or Interpretation)
2.3.3 การตอบสนอง-การเข้ารหัส ( Response or Eencoding)
3. ทฤษฎีการสื่อสารเชิงปฏิสัมพันธ์ ทฤษฎีนี้วางหลักเกณฑ์ไว้ว่า
3.1 การสื่อสาร หรือ ปัจจัยทางการสื่อสาร เป็นเครื่องมือในการสร้างปฏิสัมพันธ์ และสร้าง
ความสัมพันธ์ระหว่างเนื้อหาข่าวสาร กับบุคคล
3.2 ปฏิสัมพันธ์แสดงออกมาทางพฤติกรรมต่าง ๆ ของผู้รับสาร ดังนั้น พฤติกรรมทั้งหลายจึง
เกิดจากพฤติกรรมทางการสื่อสารทั้งสิ้น
5
ตัวแปรทางการสื่อสาร ที่ทาให้เกิดปฏิสัมพันธ์ที่ไม่เหมือนกัน มี 3 ประการ คือ
3.2.1 ปัจจัยด้านผู้ส่งสาร บุคลิกภาพของผู้ส่งสาร ความน่าเชื่อถือของผู้ส่งสาร
ทัศนคติของผู้ส่งสาร ความคิด อิทธิพลของข่าวสาร
3.2.2 ปัจจัยผู้รับสาร ความรู้สึกของผู้รับสารต่อข่าวสาร บุคลิกภาพเป็นตัวกาหนด
ปฏิกิริยาตอบเนื้อหาข่าวสาร
3.2.3 ปฏิกิริยาต่อเนื้อสารเดียวกัน จะแตกต่างกันไปตามอารมณ์ ความรู้สึกนึกคิด
บุคลิกภาพของผู้รับสารที่แตกต่างกัน ตัวแปรทางการสื่อสาร ที่ทาให้เกิดปฏิสัมพันธ์ที่แตกต่างกัน มี 4
ประการ คือ
(1) ปัจจัยผู้ส่งสาร
(2) ปัจจัยผู้รับสาร
(3) ปัจจัยทางด้านสังคม หมายถึงอิทธิพลทางสังคม เพราะ คนเราต้องปรับตัวให้เข้ากับสังคม
เพื่อให้สังคมยอมรับ
(4) ลักษณะของเนื้อหาข่าวสาร ลักษณะของเนื้อหาข่าวสารสร้างปฏิกิริยาของผู้รับสารได้
แตกต่างกัน ที่สาคัญคือ รูปแบบการเรียบเรียงเนื้อหา การจัดลาดับภาษาที่ใช้ การเลือกประเด็น การ
จัด sequence ของเนื้อหา
4. ทฤษฎีเชิงปริบททางสังคม ทฤษฏีนี้อธิบายว่า
4.1 กระบวนการสื่อสาร เป็นปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้น ภายใต้อิทธิพลทางสังคมและวัฒนธรรม
4.2 สภาพแวดล้อมทางสังคมมีอิทธิพลอย่างสาคัญที่ทาให้การสื่อสารเกิดขึ้นได้ ดังนั้น สังคม
เป็นปัจจัยที่ควบคุมแหล่งข่าวสาร
4.3 สังคมเป็นปัจจัยการไหลของข่าวสาร และผลของข่าวสาร ทาให้การไหลของข่าวสาร
เปลี่ยนแปลงได้ทุกครั้งทุกเมื่อ
วิเคราะห์แบบจาลองการสื่อสาร
แบบจาลองการสื่อสาร ที่ผู้เขียนคัดเลือกและหยิบยกมาอธิบาย เพื่อให้เกิดความเข้าใจใน
กระบวนการสื่อสาร องค์ประกอบที่จาเป็นของการสื่อสาร และผลของการสื่อสาร ตลอดจนการ
วิเคราะห์และจาแนกประเภทของการสื่อสาร ทั้งนี้เพื่อนาไปสู่คาอธิบายว่า การสื่อสารบุญนิยมมี
กระบวนการอะไรที่สาคัญ และมีบทบาทอย่างไรต่อการแก้ไขปัญหาทางสังคม และการพัฒนา
ทรัพยากรมนุษย์
แบบจาลองการสื่อสารดังกล่าว ได้แก่
(1) แบบจาลองของลาสเวลล์
(2) แบบจาลองเชิงคณิตศาสตร์ ของแชนนันและวีเวอร์
(3) แบบจาลอง ABX ของธีโอดอร์นิวคอมบ์
6
1. แบบจาลองของลาสเวลล์ มุ่งอธิบายกระบวนการสื่อสาร ความสัมพันธ์ขององค์ประกอบการ
สื่อสาร จากคาถามที่ว่า ใคร กล่าวอะไร ผ่านช่องทางใด กับใคร ด้วยผลประการใด
เป็นกระบวนการสื่อสารแบบง่ายๆ ระหว่างบุคคลซึ่งต้องกระทาต่อหน้า และมีการคาดหวังผลจากการ
สื่อสารในเวลาเดียวกัน แต่ไม่มีการตรวจสอบผลสะท้อนกลับ
แบบจาลองการสื่อสารของลาสเวลล์ เป็นส่วนหนึ่งของทฤษฎีการสื่อสารเชิงระบบพฤติกรรม
และทฤษฎีการสื่อสารเชิงพฤติกรรมการเข้าและถอดรหัส เพราะเป็นการสื่อสารที่จาเป็นต้องมี
องค์ประกอบพื้นฐานการสื่อสารครบถ้วน คือมีผู้ส่งสาร ผู้รับสาร ตัวสาร และช่องทางการสื่อสาร (ข้อ
1.1) เป็นการสื่อสารระหว่างบุคคลตัวต่อตัว (ข้อ 1.2) และผู้ส่งสาร จะเป็นผู้กาหนดสาร และ
เจตนารมย์ด้วยตนเอง (ข้อ 1.7) และในการสื่อสารระหว่างบุคคล จะต้องมีการเข้ารหัส-ถอดรหัส
เพราะการสื่อสารระหว่างบุคคล จาเป็นต้องสาแดงผลในการสื่อสารด้วย (ข้อ 2.3)
จากกระบวนการสื่อสารในขั้นตอน ใคร กล่าวอะไร อาจกล่าวได้ว่าเป็นหลักเกณฑ์ข้อหนึ่งของ
ทฤษฎีการสื่อสารเชิงปฏิสัมพันธ์ ในเรื่องของการสร้างความสัมพันธ์ระหว่างเนื้อหาข่าวสาร กับบุคคล
(ข้อ 3.1) นั้น เป็นปัจจัยหนึ่งทางการสื่อสาร
ลาสเวลล์ ไม่ได้อธิบายถึงสภาพแวดล้อม หรือบริบททางสังคมว่า จะมีอิทธิพลต่อการสื่อสารตาม
แนวคิดของเขาแต่อย่างใด ดังนั้น จึงไม่อาจสรุปได้ว่า ปัจจัยทางสังคมและวัฒนธรรม จะมีอิทธิพลต่อ
การสื่อ ตามแบบจาลองการสื่อสารของลาสเวลล์ แต่แบบจาลองที่ลาสเวลล์กล่าวไว้ กลับมีประโยชน์
อย่างมากต่อการนาไปใช้อธิบายโครงสร้าง และแบ่งประเภทของงานวิจัยทางการสื่อสาร โดยการ
จาแนกและวิเคราะห์องค์ประกอบการสื่อสาร 5 เรื่องหรือ 5 ประเภท คือ (1) การวิเคราะห์แหล่งสาร
(Control Studies Analysis)(2) การวิเคราะห์เนื้อหาของสาร (Content Analysis) (3) การ
วิเคราะห์สื่อที่ใช้เป็นช่องทางในการส่งสาร (Media Analysis) (4) การวิเคราะห์ผู้รับสาร (Audience
Analysis) และ (5) การวิเคราะห์ผลของการสื่อสาร (Effect Analysis)
2. แบบจาลองเชิงคณิตศาสตร์ ของแชนนันและวีเวอร์ มีผัง Diagram ดังนี้
source --> [message] --> transmitter -->[signal] --> noise source -->[received signal] -->
receiver --> [message]--> destination
อธิบายได้ว่า กระบวนการสื่อสาร จะเกิดขึ้นและดาเนินต่อไปได้ จะต้องประกอบด้วยองค์ประกอบ
สาคัญ 5 ประการ คือ
(1) ส่วนที่เป็นแหล่งข้อมูลข่าวสาร ( Information Source)
(2) เครื่องส่งสาร (Transmetter)
(3) เครื่องรับ (Receiver)
(4) จุดหมายปลายทาง (Destination)
(5) เนื้อหาข่าวสาร (Message)
ส่วนที่เป็นแหล่งข้อมูลข่าวสาร (Information Source) จะเป็นผู้กาหนดเนื้อหาสาระของสาร
หรือ Messageส่งต่อไปยังเครื่องแปลง เพื่อแปลงเนื้อหาข่าวสารให้เป็นสัญญาณ (เข้ารหัส) แล้วส่ง
รหัสสัญญาณนั้นออกไปยังเครื่องรับ (Receiver) โดยผ่านช่องทางการสื่อสารที่เหมาะสม จากนั้น
เครื่องรับก็จะแปลงสัญญาณที่รับมานั้น (ถอดรหัส) ให้เป็นเนื้อหาข่าวสารอีกครั้งหนึ่ง เพื่อส่งต่อไปให้
7
ผู้รับสารตามเป้าหมาย ระหว่างเครื่องแปลงสัญญาณภาคส่ง กับเครื่องแปลงสัญญาณภาครับ อาจเกิด
ปัญหาและอุปสรรคทาให้สัญญาณสูญเสีย จึงต้องมีการส่งสัญญาณซ้า หรือเพิ่มแรงส่งของสัญญาณ
แบบจาลองเชิงคณิตศาสตร์ ของแชนนันและวีเวอร์ เป็นพฤติกรรมการสื่อสารที่เหมือน
เครื่องจักรกลมาก มีลักษณะเป็นเส้นตรง ซึ่งต่างจากการสื่อสารของมนุษย์ จะมีลักษณะเป็นวงกลม ที่
แต่ละภาคส่วนขององค์ประกอบการสื่อสาร มีความสลับซับซ้อน การนาทฤษฎีการสื่อสารเชิง
พฤติกรรมการเข้ารหัสและถอดรหัส มาอธิบายเปรียบเทียบได้โดยอนุโลม คือ การเข้ารหัสและการ
ถอดรหัสเป็นหัวใจสาคัญของการสื่อสาร (ข้อ 2.1) เพราะถ้ามีปัญหาหรืออุปสรรจากสิ่งรบกวน จะทา
ให้การเข้ารหัสและการถอดรหัสผิดพลาดได้ จึงต้องมีการควบคุมเป็นพิเศษ (ข้อ 2.2) เพื่อให้การรับ
รหัส มีการตีความหมาย และเกิดการสนองตอบและ เข้ารหัสต่อไป (ข้อ 2.3)
สรุปได้ว่า แบบจาลองการสื่อสารของแชนนันและวีเวอร์ไม่เหมาะที่จะนามาอธิบายกับการ
สื่อสารระหว่างมนุษย์ แต่จะเป็นประโยชน์หากนาไปประยุกต์ใช้กับระบบการสื่อสาร โทรคมนาคม
(Tele-communication) การสื่อสารมวลชน (Mas Media Communication) และเครือข่ายการ
สื่อสาร (Network Communication, Internet)
3. แบบจาลองการสื่อสาร ABX ของ ธีโอดอร์นิวคอมบ์ อธิบายได้ว่า การสื่อสารจะเกิดขึ้นได้เพราะ
มนุษย์ต้องการให้เกิดความสมดุลทางความคิด ทัศนคติ และพฤติกรามต่างๆ โดยการสื่อสารจะเป็น
เครื่องมือช่วยให้การตกลงใจ ยอมรับในเรื่องใดเรื่องหนึ่งเหมือนๆ กัน การสื่อสารจะทาให้บุคคล ตั้งแต่
2 คนขึ้นไป (Aกับ B) สามารถดารงและรักษาความเข้าใจในสิ่งที่สื่อสารกัน เมื่อเกิดความไม่สมดุลกัน
หรือขัดแย้งกัน (X)มนุษย์ก็จะพยายามทาการสื่อสารกัน โดยการแสวงหาข้อมูล การให้ข้อมูล การ
แลกเปลี่ยนข้อมูล เพื่อขจัดอุปสรรคเหล่านั้นให้ได้
แบบจาลองการสื่อสารของนิวคอมบ์ สามารถนาทฤษฎีการสื่อสาร ทั้ง 4 แบบมาอธิบายได้
แบบจาลองการสื่อสาร ABX เป็นทฤษฎีการสื่อสารเชิงพฤติกรรมการเข้าและถอดรหัส เพราะ
ในการสื่อสารที่จะให้อีกฝ่ายเข้าใจในความคิดและความต้องการของตน จะต้องมีการรับ-ถอดรหัส
แล้วตีความ เพื่อตอบสนองการเข้ารหัสต่อไป (ข้อ 2.3)
แบบจาลองการสื่อสาร ABX เป็นทฤษฎีการสื่อสารเชิงระบบพฤติกรรม ในเวลาเดียวกันก็มี
ส่วนสัมพันธ์ กับทฤษฎีการสื่อสารเชิงปฏิสัมพันธ์อีกด้วย เพราะการสื่อสารที่ต้องการรักษา
สัมพันธภาพที่ดีต่อกัน จาเป็นต้องคานึงถึง ปัจจัยการสื่อสาร (ข้อ 1.4 และ 3.1 - 3.2) และจาเป็นต้อง
มีองค์ประกอบของระบบพฤติกรรมครบสมบูรณ์ คือต้องประกอบด้วยผู้ส่งสาร ช่องทางการสื่อสาร
และผู้รับสาร (ข้อ 1.1) เป็นการสื่อสารแบบตัวต่อตัว (ข้อ 1.2) ต้องมีการตรวจสอบข้อมูลย้อนกลับ
หรือ Feed back (ข้อ 1.3) และเป็นการสื่อสารแบบต่อเนื่อง (ข้อ 1.5)
นอกจากนี้เป็นการสื่อสารที่ต้องอาศัยบริบททางสังคม มาเป็นปัจจัยประกอบ กล่าวคือ ความ
เชื่อทางสังคมและวัฒนธรรม จะมีอธิพลต่อกระบวนการสื่อสาร (ข้อ 4.1) การควบคุมแหล่งข่าวสาร
(ข้อ 4.2) และการเปลี่ยนแปลง (การไหล) ของข้อมูลข่าวสาร (ข้อ 4.3) แนวคิดของนิวคอมบ์ เป็น
ประโยชน์มากในการนาไปประยุกต์ใช้กับการสื่อสารบุญนิยม เพราะสามารถนาไปอธิบายหลักและ
วิธีการลดปัญหา และขจัดปัญหาทางจริยธรรม และความประพฤติของมนุษย์ได้ ตลอดจนใช้ในการ
โฆษณา และการณรงค์ได้อย่างเหมา
8
บทสรุป
องค์ประกอบการสื่อสาร (Factor of Communication) ประกอบด้วย
(1) ฝ่ายส่งสาร
(2) ฝ่ายรับสาร
(3) ตัวสาร
(4) ช่องทางการสื่อสาร
(5) ผลของการสื่อสาร
องค์ประกอบข้างต้น สามารถนาไปใช้อธิบายแบบจาลองการสื่อสาร หรือทฤษฎีการสื่อสาร ได้ทุก
ทฤษฎี
9
การประชาสัมพันธ์
ในการจัดทาเว็บไซต์ใหม่ขึ้นมาหนึ่งเว็บไซต์นั้น สิ่งที่จาเป็นอย่างยิ่งคือการกาหนด
วัตถุประสงค์ของการจัดทาให้ชัดเจน เพื่อเป็นแนวทางในการออกแบบและพัฒนาเว็บไซต์ต่อไป
วัตถุประสงค์และประโยชน์จากการจัดทาเว็บไซต์ - เพื่อใช้ในการประชาสัมพันธ์สินค้าหรือบริการของ
องค์กร หรือบริษัท รวมถึงการสร้างภาพลักษณ์ที่ดีน่าเชื่อถือให้เกิดขึ้นกับกลุ่มเป้าหมาย ได้แก่
เว็บไซต์ประชาสัมพันธ์องค์กร - เพื่อใช้ในลักษณะการให้บริการแก่ลูกค้าหรือสมาชิกขององค์กร หรือ
บริษัท โดยการนาเว็บไซต์มาเป็นเครื่องมือ ช่วยในการอานวยความสะดวกแก่ลูกค้าหรือสมาชิกเป็น
หลัก ได้แก่ เว็บไซต์บริการหรือเว็บไซต์ชุมชน - เพื่อใช้เป็นเครื่องมือในการทาตลาดรวมถึงธุรกรรมที่
สาคัญ ผ่านเครือข่ายอินเตอร์เน็ต โดยมุ่งเน้นไปยังการหาตลาดใหม่ ๆ เป็นหลัก เพื่อนาเสนอขาย
สินค้าหรือบริการ ได้แก่ เว็บไซต์อี-คอมเมอร์ส องค์ประกอบของเว็บไซต์จะเป็นปัจจัยหลักที่มีผลต่อ
เว็บไซต์ ๆ หนึ่งในการที่จะประสบผลสาเร็จดังที่ตั้งวัตถุประสงค์ไว้หรือไม่ โดยทั่วไปประกอบด้วย
Domain Name : ชื่อและที่อยู่ของเว็บไซต์ในการเรียกข้อมูลเว็บไซต์ของท่านมาแสดงผล เช่น
www.yourcompany.com เป็นต้น ปัจจุบันมักจดชื่อ domain name ให้เป็นชื่อที่สื่อถึงสินค้าหรือ
บริการหรือเป็นชื่อองค์กร และอาศัยการทาประชาสัมพันธ์ผ่านSearch Engine และ Web
Directory การเลือกใช้ชื่อเว็บไซต์ที่เหมาะสมก็มีส่วนในการทาให้เว็บไซต์ของคุณประสบความสาเร็จ
เช่นกัน
Design & Development : การออกแบบและจัดทาเว็บไซต์ โดยทั่วไปแล้วสาหรับเว็บไซต์
ประชาสัมพันธ์องค์กร การออกแบบเว็บไซต์ เป็นเพียงส่วนที่ทาหน้าที่นาเสนอข้อมูลขององค์กร หรือ
บริษัทให้แก่ผู้เยี่ยมชมได้อย่างสะดวก และด้วยการออกแบบที่ดีที่จะสื่อถึงความเป็นเอกลักษณ์ของ
องค์กร หรือบริษัทจะนามาซึ่งความน่าเชื่อถือให้เกิดแก่ผู้เข้าเยี่ยมชมได้ หากแต่มักมีคนเข้าใจผิด
เกี่ยวกับการออกแบบเว็บไซต์ ว่าเว็บไซต์ที่มีการออกแบบดีมีความสวยงาม และมีการนาเสนอที่
น่าสนใจจะสามารถดึงดูด และเพิ่มปริมาณผู้เข้าเยี่ยมชมได้ ในความเป็นจริงแล้ว การเข้าถึง
กลุ่มเป้าหมาย และเพิ่มปริมาณของผู้เข้าเยี่ยมชมนั้น เป็นหน้าที่หลักของการทาประชาสัมพันธ์
เว็บไซต์ ไม่ใช่จากการออกแบบและจัดทาเว็บไซต์
Content : เนื้อหาของเว็บไซต์ ถือว่าเป็นสิ่งที่สาคัญที่สุดในองค์ประกอบของเว็บไซต์ เพราะคือสิ่งที่ผู้
เยี่ยมชมค้นหา โดยปกติแล้วเราสามารถใส่เนื้อหาที่เกี่ยวข้องกับสินค้า หรือบริการขององค์กรของเรา
ได้โดยละเอียด อีกทั้งจาต้องนาเสนออย่างชัดเจนอีกด้วย เช่น รูปภาพของสินค้า หรือสถานที่บริการ
เป็นต้น จึงจะทาให้ผู้เข้าเยี่ยมชมได้ประโยชน์จากการเข้าชมเว็บไซต์อย่างแท้จริง อันจานามาซึ่ง
ผลประโยชน์ทางธุรกิจในอนาคตได้ Hosting : พื้นที่จัดวางและติดตั้งเว็บไซต์ เป็นองค์ประกอบที่
สาคัญมากไม่น้อยกว่าเนื้อหาของเว็บไซต์ (Content) เพราะการเลือกผู้ให้บริการโฮสติ้งที่ดี มีการซัพ
พอร์ตลูกค้าที่ดีและรวดเร็ว เซิร์ฟเวอร์มีความเสถียรภาพสูง สามารถติดต่อเจ้าหน้าที่ที่ดูแลเซิร์ฟเวอร์
ได้ตลอดเวลา คือหัวใจสาคัญในการเลือกผู้ให้บริการด้านนี้ นอกจากความพร้อมในการออกแบบและ
จัดทาเว็บไซต์แล้ว เรายังมีความพร้อมอย่างยิ่งในการให้บริการโฮสติ้งแก่ลูกค้าเราเป็นอย่างดี อีกด้วย
ซึ่งทาให้เว็บไซต์และอีเมล์ของลูกค้าสามารถเข้าถึงได้ตลอดเวลา อันส่งผลให้ธุรกิจของลูกค้ามีความ
ต่อเนื่องในการทางานอยู่เสมอ
10
Promotion : การทาประชาสัมพันธ์เว็บไซต์ เป็นองค์ประกอบที่สาคัญมากอีกอย่างหนึ่ง เมื่อเราได้
จัดทาเว็บไซต์เสร็จแล้ว จะต้องอาศัยการประชาสัมพันธ์เว็บไซต์ เพื่อให้เข้าถึงกลุ่มเป้าหมายมากที่สุด
โดยอาศัยวิธีการต่างผ่านช่องทางอินเตอร์เน็ต เช่น Search Engine Submission, Registration
Web Directory, Mailing List, Banner Link Exchange เหล่านี้เป็นต้น นอกเหนือจากนี้ อาจใช้ชื่อ
domain name ในการประชาสัมพันธ์เว็บไซต์ผ่านสื่ออื่น ๆ เช่น ในนามบัตร, ใบปลิวหรือ โบรชัวร์
ของบริษัท เป็นต้น จากที่กล่าวมาทั้งหมดนั้น ในการจัดทาเว็บไซต์ขึ้นมาเว็บไซต์หนึ่ง สามารถ
กาหนดวัตถุประสงค์ หรือเลือกจัดทาเว็บไซต์ในลักษณะใดลักษณะหนึ่ง หรือเลือกที่จะใช้รูปแบบ และ
ประโยชน์ของการจัดทา
หลักการและกลยุทธ์ในการประชาสัมพันธ์
การประชาสัมพันธ์ คือ การสร้างความเข้าใจอันดี โดยใช้สื่อทุกรูปแบบ เพื่อสร้าง
ความสัมพันธ์ระหว่างหน่วยงานของรัฐกับประชาชน และระหว่างประชาชนกับหน่วยงานของรัฐ ทั้งนี้
การประชาสัมพันธ์จะต้องดาเนินการอย่างจริงจัง ต่อเนื่อง โดยยึดหลักความจริงเป็นหลัก
วัตถุประสงค์ของการประชาสัมพันธ์ มี 3 ประการคือ
1. ป้องกันชื่อเสียงมิให้เสื่อมเสีย ทั้งนี้หน่วยงานต่าง ๆ จะต้องประชาสัมพันธ์เชิงรุก โดย
เผยแพร่ผลงาน ชี้แจงเหตุผลในการดาเนินการต่าง ๆ ทั้งก่อน ระหว่างหรือภายหลังดาเนิน การ
โครงการต่าง ๆ
2. ก่อให้เกิดความเข้าใจอันดี ในการดาเนินการประชาสัมพันธ์จะต้องคานึงถึง การเกิด ความ
เข้าใจอันดีระหว่างกันและกัน
3. แก้ไขความผิดพลดหรือกฎระเบียบต่างๆ ปัญหาความไม่เข้าใจกันอย่างหนึ่งคือ ระบบ
ราชการมักจะอ้างกฎ ระเบียบ ข้อบังคับต่าง ๆ จึงทาให้การปฏิบัติงานขาดความรวดเร็วไมทันการจึง
เป็นสาเหตุสาคัญที่ทาให้เกิดความเข้าใจผิดเสมอ ฉะนั้น จาเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องแก้ไขกฎระเบียบ
ต่างๆ
กระบวนการประชาสัมพันธ์ ประกอบด้วย 4 ขั้นตอนคือ
1. การศึกษาสารวจวิจัย เป็นขั้นตอนแรกของการประชาสัมพันธ์กล่าวคือการจะดาเนินการ
ต่างๆ จะต้องศึกษา สารวจ วิจัย ปัญหา ทัศนคติของเจ้าหน้าที่ ประชาชน ชุมชน หน่วยงานต่างๆ ว่ามี
แนวคิดเกี่ยวกับงาน คน หน่วยงานต่างๆ ของเราในทางบวก ทางลบอย่างไร ทั้งนี้เพื่อเป็นข้อมูล ใน
การดาเนินการขั้นต่อไป
2. การวางแผน เมื่อทราบปัญหา ทัศนคติต่างๆ แล้วจะต้องมีการวางแผนว่าจะดาเนินการ
รณรงค์อย่างไร เช่น วัน เวลา สถานที่ดาเนินการ กิจกรรมการใช้วัสดุ อุปกรณ์ กาลังคน งบประมาณ
ฯลฯ เพื่อให้งานออกมามีประสิทธิภาพเป็นไปตามวัตถุประสงค์
3. การดาเนินการ เป็นขั้นตอนในการใช้สื่อ ช่องทางการประชาสัมพันธ์ให้เหมาะสม เกิด
ประโยชน์สูงสุด เช่น การนาชมสถานที่ จัดหน่วยประชาสัมพันธ์เคลื่อนที่ เผยแพร่ข่าว กิจกรรม ผ่าน
สื่อมวลชนต่างๆ ฯลฯ
11
4. การประเมินผล สามารถประเมินผลการดาเนินงานได้ตลอดเวลาทั้งก่อนดาเนินการ ใน
ระหว่างดาเนินงาน หรือสิ้นสุดโครงการแล้ว ทั้งนี้เพื่อให้กิจกรรมนั้นประสบผลสาเร็จ ตาม
วัตถุประสงค์ดีที่สุด
ในการดาเนินงานประชาสัมพันธ์นั้นจะต้องยึดหลัก SMCR กล่าวคือ
1. Source หรือตัวเรา จะต้อง
1.1 มีความรู้ คือจะต้องรู้เรื่อง
-การประชาสัมพันธ์และมีทักษะ ประสบการณ์การสื่อสาร ถ่ายทอด
พอสมควร -บทบาท หน้าที่ ภารกิจหน่วยงานของเรา
-หน้าที่หลัก หน้าที่รอง ของเรา -งานที่เราจะไปดาเนินการ และสภาพ
ชุมชน แวดล้อมต่างๆ
1.2 มีความเข้าใจ คือจะต้องเข้าใจ
-จุดอ่อน จุดแข็ง โอกาส อุปสรรค ในการดาเนินงาน -เจ้าหน้าที่ทุกคนใน
หน่วยงานมีความเข้าใจ สามารถอธิบาย ชี้แจง โต้ตอบได้
และมีเป้าหมายการทางานอันเดียวกัน
-ขีดจากัดในการดาเนินงาน เช่น กาลังคน งบประมาณ กฎระเบียบ ฯลฯ
2. Message หรือ เนื้อหา จะต้อง ศึกษา ค้นคว้า เนื้อหาสาระให้แม่นยา สามารถอ้างอิงได้
สามารถนามาประยุกต์ใช้ได้ สามารถเชื่อมโยงการดาเนินงานกับหน่วยงานอื่น
3. Channel หรือ ช่องทางการสื่อสาร มีมากมาย เช่น วิทยุ โทรทัศน์ หนังสือพิมพ์ การ
แข่งขัน การประกวด การพาชมสถานที่ การจัดหน่วยชุมชนสัมพันธ์ ฯลฯ ซึ่งการจะใช้ ช่องทางใดใน
การสื่อสารนั้น ควรคานึงถึง
3.1 ความเหมาะสมกับสภาพพื้นที่ ชุมชน ผู้คน
3.2 การรับรู้ ความเข้าใจของผู้คน
3.3 ประสิทธิภาพ ประสิทธิผล การเกิดประโยชน์สูงสุดและประหยัด
4. Receiver หรือผู้รับสาร มีความสาคัญที่สุดเนื่องจากเป็นจุดสุดท้ายในการสื่อสาร ซึ่ง
สามารถประเมินผลได้ว่า การประชาสัมพันธ์นั้นประสบผลสาเร็จตามวัตถุประสงค์หรือไม่
12
การจัดการเรียนการสอนผ่านเว็บ
1. ความหมายของการเรียนการสอนผ่านเว็บ
ภาสกร เรืองรอง ได้กล่าวถึงการเรียนการสอนผ่านเว็บ (Web Based Instruction: WBI)
เป็นเครื่องมือสาหรับการจัดการเรียนการสอนในรูปแบบE-Learning ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของ E
Education และเป็นส่วนย่อยของระบบใหญ่ E Commerce ดังรูปที่ 2.1
รูปที่ 1.องค์ประกอบต่างๆภายในระบบ E-Commerce
การเรียนการสอนผ่านเว็บ เป็นการจัดการศึกษาในรูปแบบ Web Knowledge Based On
Line เป็นการจัดสภาวการณ์การเรียนการสอน ในรูปแบบOn Line โดยมีข้อกาหนดว่าการจะเป็น
การเรียนการสอนผ่านเว็บ จะต้องมีสิ่งต่อไปนี้อย่างสมบรูณ์ ได้แก่
1. ความเป็นระบบ
2. ความเป็นเงื่อนไข
3. การสื่อสารหรือกิจกรรม
4. Learning Root
1.1 ความเป็นระบบ
รูปที่ 2 ความเป็นระบบของการศึกษาบนอินเตอร์เน็ต
13
ความเป็นระบบสามารถแบ่งเป็น
Input ได้แก่
1. ผู้เรียน
2. ผู้สอน
3. วัตถุประสงค์การเรียน
4. สื่อการสอน
5. ฐานความรู้
6. การสื่อสาร และ กิจกรรม
7. การประเมินผล
8. อื่น ๆ
Process ได้แก่
การสร้างสถานการณ์หรือการจัดสภาวะการเรียนการสอน โดยใช้วัตถุดิบจากInput อย่างมี
กลยุทธ หรือ ตามที่กาหนดไว้ในแผนการสอน
Output ได้แก่
ผลสัมฤทธิ์การเรียนรู้ ซึ่งได้จากการประเมินผลการเรียน
1.2 ความเป็นเงื่อนไข
รูปที่ 3 ความเป็นเงื่อนไขของการเรียนการสอนผ่านเว็บ
เงื่อนไขเป็นส่วนสาคัญอย่างยิ่งสาหรับการเรียนการสอนผ่านเว็บ เช่นกาหนดเงื่อนไขว่า เมื่อ
เสร็จสิ้นจากการเรียนแล้วจะต้องทาแบบประเมินการเรียน หากทาแบบประเมินผ่านตามคะแนนที่
กาหนดไว้ ก็สามารถไปศึกษาบทเรียนอื่นๆหรือบทเรียนที่ยากขึ้นเป็นลาดับได้ แต่ถ้าไม่ผ่านตาม
เงื่อนไขที่กาหนด ก็จะต้องเรียนซ้าจนกว่าจะผ่าน
14
1.3 การสื่อสารหรือกิจกรรม
รูปที่ 4 การเรียนการสอนผ่านเว็บกับการสื่อสาร
การสื่อสารและกิจกรรมจะเป็นตัวกระตุ้นให้นักเรียนเกิดการปฏิสัมพันธ์ หรือการสื่อสารขึ้น
ภายในสถานการณ์การเรียน โดยไม่ต่างจากห้องเรียนปกติอาจเรียกว่าเวอร์ชวลคลาสรูม
( Virtual Classroom )กิจกรรมจะเป็นตัวช่วยให้การเรียนเข้าสู่เป้าหมายได้ง่ายขึ้น เช่น ใช้Mail
Chat Webboard Search ฯลฯ ติดต่ออาจารย์หรือเพื่อนร่วมชั้นเรียนเพื่อถามข้อสงสัย
การเรียนการสอนผ่านเว็บสามารถทาการสื่อสารภายใต้ระบบMultiuser ได้อย่างไร้พรมแดน โดย
ผู้เรียนสามารถติดต่อสื่อสารกับผู้เรียนด้วยกัน อาจารย์ หรือผู้เชี่ยวชาญ ฐานข้อมูลความรู้ และยัง
สามารถรับส่งข้อมูลการศึกษาอิเล็กทรอนิกส์ (Electronics Education Data ) อย่างไม่จากัดเวลา
ไม่จากัดสถานที่ ไม่มีพรมแดนกีดขวางภายใต้ระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต หรืออาจเรียกว่าเป็น
เวอร์ชวลคลาสรูม ( Virtual classroom) เลยก็ได้ และนั้นก็คือการกระทากิจกรรมใด ๆ ภายใน
โรงเรียน ภายในห้องเรียน สามารถทาได้ทุกอย่างในระบบการเรียนการสอนผ่านเว็บ ที่อยู่บนระบบ
เครือข่ายอินเทอร์เน็ต จนกระทั่งจบการศึกษา
การสื่อสารในการเรียนการสอนผ่านเว็บ สามารถแยกออกได้หลายอย่างเช่น
E-mail
Web board
Chat
Conference
Electronics Home Work และอื่นๆอีกมากมาย ตามที่เทคโนโลยีอินเทอร์เน็ตจะคิดพัฒนาขึ้นมา
15
Email
ความหมาย ลักษณะการใช้ในการเรียนการสอน
ใช้ติดต่อสื่อสารระหว่างเฉพาะผู้ที่เป็นสมาชิก
อินเทอร์เน็ตเท่านั้น ผู้อื่นจะไม่สามารถอ่านได้ (
Two Way )
ใช้ติดต่อสื่อสารระหว่างอาจารย์ หรือเพื่อนร่วม
ชั้นเรียนด้วยกันใช้ส่งการบ้านหรืองานที่ได้รับ
มอบหมาย
Webboard
ความหมาย ลักษณะการใช้ในการเรียนการสอน
ใช้ติดต่อสื่อสารระหว่าง ผู้เรียน อาจารย์
และผู้เรียน ( Three Way )
ใช้กาหนดประเด็นหรือกระทู้ตามที่อาจารย์กาหนด หรือ
ตามแต่นักเรียนจะกาหนด เพื่อช่วยกันอภิปรายตอบ
ประเด็น หรือกระทู้นั้น
Chat
ความหมาย ลักษณะการใช้ในการเรียนการสอน
ใช้ติดต่อสื่อสารระหว่าง ผู้เรียน อาจารย์ และ
ผู้เรียน ( Three Way ) โดยการสนทนาแบบ
Real Time มีทั้ง Text Chat และ Voice
Chat
ใช้สนทนา ระหว่างผู้เรียนและอาจารย์ในห้องเรียน
หรือชั่วโมงเรียน นั้น ๆ เสมือนว่ากาลังคุยกันอยู่ใน
ห้องเรียนจริงๆ
Conference
ความหมาย ลักษณะการใช้ในการเรียนการสอน
ใช้ติดต่อสื่อสารระหว่าง ผู้เรียน อาจารย์ และผู้เรียน (
Three Way ) แบบ Real Time โดยที่ผู้เรียนและ
อาจารย์ สามารถเห็นหน้ากันได้ โดยผ่านทาง
กล้องโทรทัศน์ที่ติดอยู่กับคอมพิวเตอร์ทั้งสองฝ่าย
ใช้บรรยายให้ผู้เรียนกับที่อยู่หน้าเครื่อง
เสมือนว่ากาลังนั่งเรียน อยู่ในห้องเรียน
จริงๆ
Electronics Home Work
ความหมาย ลักษณะการใช้ในการเรียนการสอน
ใช้ติดต่อสื่อสารระหว่างผู้เรียนอาจารย์เป็นเสมือน
ประจาตัวนักเรียน โดยที่นักเรียนไม่ต้องถือสมุด
การบ้านจริงๆเป็นสมุดการบ้านที่ติดตัว
ตลอดเวลา
ใช้ส่งงานตามที่อาจารย์กาหนดเช่นให้เขียน
รายงานโดยที่อาจารย์สามารถเปิดดู Electronics
Home Work ของนักเรียนและ เขียนบันทึกเพื่อ
ตรวจงานและให้คะแนนได้ แต่นักเรียนด้วยกันจะ
เปิดดูไม่ได้
อย่างไรก็ตามการดาเนินจัดการกิจกรรมสื่อสารบนการเรียนการสอนผ่านเว็บจาเป็นต้องทาภายใต้
แผนการสอน ที่มีการกาหนดแนวทางการทากิจกรรมอย่างชัดเจน
16
การจัดการเรียนการสอนให้มีประสิทธิภาพประสบความสาเร็จได้นั้น กิจกรรมนับเป็นปัจจัยที่
สาคัญมากอย่างหนึ่ง หากขาดซึ่งกิจกรรมแล้ว การเรียนการสอนนั้นก็จะแห้งแล้งน่าเบื่อหน่าย จนกระ
ทั้งผู้เรียนหมดความสนใจในการเรียน เมื่อกล่าวถึงการจัดกิจกรรมที่เป็นการเรียนการสอนในห้องเรียน
หลายท่านมักจะกล่าวว่าทาได้ไม่อยาก แต่หากเป็นการจัดกิจกรรมในไซเบอร์คลาสรูม(Cyber
Classroom) หรือ อาจเรียกอีกอย่างหนึ่งว่าเวอร์ชวลคลาสรูม (Virtual Classroom) โดยใช้การ
เรียนการสอนผ่านเว็บเป็นเครื่องมือนั้น ไม่สามารถจัดได้เลย เนื่องจากผู้เรียนและผู้สอนนั้นอยู่กันคน
ละที่คนละเวลา เพื่อสร้างความเข้าใจเกี่ยวกับการจัดกิจกรรมบนเวอร์ชวลคลาสรูม(Virtual
Classroom) จึงขอยกตัวอย่างดังนี้
รูปที่ 5 โมเดลการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนผ่านเว็บ (ThaiWBI’s WBI Activity Model)
Situation Classroom Number 1 เป็นการเริ่มต้นจัดกิจกรรมการเรียนการสอน ณ.จุดเริ่มต้น
ของห้องเรียนที่เผชิญประสบการณ์การเรียนการสอนก่อนชั้นเรียนอื่นๆ เช่น ชั้น ม.1 ภาคเรียนต้น ปี
การศึกษา 2544 เรียนเรื่องการสืบพันธ์ของสิ่งมีชีวิต
Preparing Knowledge ( เตรียมการรับความรู้) ผู้เรียนในชั้นม. 1 ภาคเรียนต้น ปีการศึกษา
2544 เริ่มรับ วัตถุประสงค์และกรอบประสบการณ์การเรียนรู้ จากครูผู้สอนหรืออาจเรียกอีกอย่างว่า
"ผู้ควบคุมการเรียนรู้" เรื่องการสืบพันธ์ของสิ่งมีชีวิต
Seek Knowledge ( แสวงหาความรู้) เมื่อรับวัตถุประสงค์และกรอบประสบการณ์การเรียนรู้ จาก
ครูผู้สอนแล้ว ผู้เรียนก็เริ่มแสวงหาความรู้จากเส้นทางความรู้ที่ครูวางเป็นไว้ให้เป็นแนวทาง เช่นสื่อ
และแหล่งความรู้ภายใน Website ตนเอง(Internal Knowledge) หรือสื่อและแหล่งความรู้จาก
ภายนอก Website ของตนโดยแบ่งเป็น Link จาก Website ต่างๆที่เกี่ยวข้อง (Relational
Knowledge) หรือจาก Search Engine ตาม Keyword ที่กาหนด เช่น ศึกษา เรื่องการสืบพันธ์ของ
สิ่งมีชีวิต ดังนี้
17
1. ศึกษาเรื่องการสืบพันธ์ของสิ่งมีชีวิตจาก http://www.myknowledge.com
2. สืบค้นข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับสิ่งมีชีวิตจาก http://www.yahoo.com
Discussion Knowledge ( เสวนาความรู้) หลังจากที่เผชิญประสบการณ์และแสวงหาความรู้จาก
internal และ External Knowledge ข้างตนแล้ว ให้ผู้เรียนสนทนาเพื่อถกเถียงและหาข้อสรุป
ความรู้ที่ได้ดังนี้
1. ให้ผู้เรียนสนทนาตามเวลาที่กาหนดกับ ครูผู้สอน และ ผู้เรียนในชั้นเรียน เรื่องการสืบ
พันธ์ของสิ่งมีชีวิต
2. สนทนาสักถามความรู้จากผู้เชี่ยวชาญที่ครูผู้สอนกาหนด หรือ จากผู้ที่ต้องการร่วม
แลกเปลี่ยนประสบการณ์ เรื่องการสืบพันธ์ของสิ่งมีชีวิต
3. หาขอสรุปของความรู้ที่ได้จากการสนทนาจากกลุ่มสนทนาทั้งหมด เรื่องการสืบพันธ์ของ
สิ่งมีชีวิต
Building Knowledge Based ( หลักฐานความรู้) เมื่อได้ข้อสรุปของความรู้แล้วเราจาเป็นที่
จะต้องทาการสร้างหลักฐานของความรู้เพื่อเป็นKnowledge Based สาหรับผู้เรียนกลุ่มต่อๆมา โดย
สามารถจัดได้ดังนี้
1. เมื่อสนทนาแลกเปลี่ยนความรู้จากChatroom จนได้ขอสรุปของความรู้เรื่องการสืบพันธ์
ของสิ่งมีชีวิต แล้วให้ผู้เรียนเขียนสรุปลงบนWeb board เช่น เรื่องการสืบพันธ์ของสิ่งมีชีวิต มีกี่
ประเภท
2. ให้ตั้งคาถามที่เกี่ยวข้องกับข้อสรุปความรู้ที่ได้มาเพื่อให้เกิดข้อสนับสนุนหรือโต้แย้งความรู้
ที่ได้มา เช่น เรื่องการสืบพันธ์ของสิ่งมีชีวิต เราอาจค้นพบว่ามีวิธีการที่มากกว่ากลุ่มเรียนกลุ่มแรก
เช่นผสมพันธ์เทียมเป็นต้น
3. ให้ตอบคาถามของเพื่อนๆในกลุ่มเรียนเดียวกัน
4. ได้ข้อสรุปรวบยอดแล้วให้
4.1 เขียนลงสมุดการบ้าน Electronic
4.2 หรือเขียนสรุปแล้วแนบ File ส่งมากับ E-mail ให้อาจารย์ผู้สอน
4.3 หรือสร้างเป็น Homepage ขึ้นมา
4.5 หรือจัดเป็นนิทรรศการ
4.6 หรือเขียนเป็น Report
4.7 หรือนามารายงานหน้าชั้นเรียน
4.8 หรือสร้างเป็นรายการVideo
4.9 หรือแสดงเป็นละคร ณ วันเวลา หรือเทศกาลที่กาหนด
4.10 ETC..... ที่ยืนยันได้ว่าได้รับประการณ์ความรู้ที่กาหนดไว้แล้ว
Situation Classroom Number 2 เป็นการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน ต่อจากปีการศึกษาที่
แล้วของ Situation Classroom Number 1 เช่น ชั้น ม. 1 ภาคเรียนต้น ปีการศึกษา 2545 เรียน
18
เรื่องวิชาการสืบพันธ์ของสิ่งมีชีวิต ซึ่งได้รับความรู้ที่เหมือนกัน ขั้นตอนการจัดกิจกรรมจะเหมือนกับ
Situation Classroom Number 1 ทุกอย่าง แต่แตกต่างกันตรงที่จะได้รับประสบการณ์ความรู้ที่สูง
กว่า เช่น Classroom Number 1 สรุปประสบการณ์ความรู้ เรื่องการสืบพันธ์ของสิ่งมีชีวิต มี 2.
คือการร่วมเพศ และการผสมเทียม แต่ใน Classroom Number 2 อาจค้นพบว่า การสืบพันธ์ของ
สิ่งมีชีวิต มี มากกว่า 2. วิธีคือ มีการ โครนนิ่ง ด้วย เป็นต้น ดังภาพพีระมิดฐานความรู้ข้างล่างนี้
รูปที่ 6 พีระมิดฐานความรู้
จะเห็นได้ว่าการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนบนระบบเครือข่าย โดยใช้การเรียนการสอนผ่านเว็บ
เป็นเครื่องมือนั้นมีเทคนิคไม่อยากเลย เพียงแต่รู้จักใช้ความสามารถการสื่อสารของเทคโนโลยีเว็บ
(Web Technology) ให้ครบวงจรตามโมเดลที่ได้เสนอข้างต้น ก็สามารถจัดกิจกรรมบนระบบ
เครือข่ายได้ไม่อยาก
1.4 Learning Root เป็นการกาหนดแหล่งความรู้ภายนอกที่เกี่ยวข้องกับบทเรียน โดยมีเงื่อนไข เช่น
แหล่งความรู้ภายนอก ที่มีความยากเป็นลาดับ หรือ เกี่ยวข้องกับหัวข้อการเรียนเป็นลาดับ การ
กาหนด Leaning Root โดยใช้ เทคนิคเฟรมจะช่วยให้ผู้เรียนไม่เกิดภาวะหลงทาง
2. การสร้างเนื้อหาบนสื่อการเรียนการสอนผ่านเว็บ
การสร้างเนื้อหาบนการเรียนการสอนผ่านเว็บนั้นมิใช่เรื่องง่ายเท่าไรนัก โดยเฉพาะครูผู้สอนที่ยัง
มือใหม่ ไม่ค่อยคุ้นเคยกับการเขียนเนื้อหาและผลิตสื่อการสอนด้วยตนเอง หรือแม้กระทั้งครูผู้สอนที่มี
ความเชี่ยวชาญด้านเขียนเนื้อหาและผลิตสื่อก็ตามที มิได้หมายความว่าท่านจะเป็นผู้เชี่ยวชาญเขียน
เนื้อหาได้ไปหมดทุกเรื่อง อินเทอร์เน็ตมีข้อมูลเนื้อหาและสื่อการเรียนการสอนมากมายที่สามารถ
นามาใช้ร่วมกับวิชาเราได้บ้าง ไม่มากก็น้อย การสร้างความสัมพันธ์การฐานข้อมูลเนื้อหาเหล่านี้ จะ
อานวยความสะดวกสบายต่อการสอนของวิชาเรามาก โดยที่ครูผู้สอนไม่จาเป็นต้องมีความรู้เชี่ยวชาญ
ในการเขียนเนื้อหาทุกเรื่องไป
ก่อนอื่นจะทาการสร้างความสัมพันธ์เนื้อหาหลักสูตร (Course Relation) จาเป็นที่จะต้องทาการ
วิเคราะห์เนื้อหาของเราก่อน ( Course Analysis) เพื่อทาการแบ่งเนื้อหา ( Mapping) โดย แนว
ทางการแบ่งเนื้อหาสามารถทาได้ตามภาพข้างล่างนี้
19
รูปที่ 7 ตัวอย่างการแบ่งเนื้อหารายวิชา
การวิเคราะห์เนื้อหาเรามักจะเริ่มที่พิจารณาในคาอธิบายรายวิชา จากนั้นก็จัดแบ่งเป็น
วัตถุประสงค์การเรียนตามทักษะของรายวิชาที่กาหนดไว้ โดยยึดตามหลักการกาหนดวัตถุประสงค์
ดังที่ได้กล่าวไปแล้วในเรื่องของวัตถุประสงค์การเรียน ซึ่งจะขอกล่าวพอสังเขป ดังนี้
1. พุทธพิสัย (Cognitive Domain) หมายถึงความรู้ความเข้าใจการจดจาในเนื้อหา
2. จิตพิสัย (Effective Domain) หมายถึงความซาบซึ้งความรู้สึกผิดชอบชั่วดี
3. ทักษะพิสัย (Psychomotor Domain) หมายถึงทักษะการฝึกหัด ของร่างกาย
เมื่อกาหนดวัตถุประสงค์แล้วเราก็มาทาการแบ่งเนื้อหากัน การแบ่งเนื้อหา เรามักจะยึดวัตถุประสงค์
การเรียนเป็นหลัก เช่นวัตถุประสงค์ข้อที่ 1 อาจครอบคลุมเนื้อหาได้ 2 -3 บทเรียน หรือมากกว่านั้นก็
ได้ เมื่อแบ่งเนื้อหาเป็นบทเรียนต่างๆแล้ว ในบทเรียนนั้นเรายังแบ่งเป็นตอนเรียนต่างๆอีก หากเรา
พบว่าในตอนเรียนยังมีเนื้อหามากจนเกินไปเราก็สามารถ แบ่งเป็นเรื่องย่อยต่างๆได้ ดังภาพข้างบน
จากที่เราได้ทาการวิเคราะห์จัดแบ่งเนื้อหาได้เรียบร้อยแล้วเราก็มาทาการสร้างความสัมพันธ์เนื้อหา
(Course Relation) ดังตัวอย่าง แบบวิเคราะห์เพื่อสร้างความสัมพันธ์เนื้อหา (Course Relation)
ข้างล่างนี้
20
ตารางที่ 1. ตัวอย่างแบบวิเคราะห์เพื่อสร้างความสัมพันธ์เนื้อหา ( Course Relation)
บทเรียน
ที่ 1
บทเรียน
ที่ 2
บทเรียน
ที่ n
แหล่งความรู้
ตอน
เรียน
ที่ 1
ตอน
เรียน
ที่ 2
ตอน
เรียน
ที่ n
ตอน
เรียน
ที่ 1
ตอน
เรียน
ที่ 2
ตอน
เรียน
ที่ n
ตอน
เรียน
ที่ 1
ตอน
เรียน
ที่ 2
ตอน
เรียน
ที่ n
URL
x x x www.course1.com
www.course2.com
x x www.course3.com
www.course4.com
x www.course5.com
x x www.course6.com
แหล่งข้อมูล URL ต่าง ๆ ที่มีเนื้อหาสัมพันธ์เกี่ยวข้องกับบทเรียนวิชาของเรานั้นมีมากมาย แต่มิได้
หมายความว่าจะมีเนื้อหาตรงต่อความต้องการของเราไปหมดทุกเรื่อง เราจาเป็นจะต้องทาการ
วิเคราะห์เพื่อสร้างความสัมพันธ์เนื้อหาว่า ข้อมูลที่เราได้มานั้นสามารถนาไปสัมพันธ์กับเนื้อหาใน
บทเรียนใด ตอนเรียนใด หัวเรื่องใดได้บ้าง การวิเคราะห์ทาได้โดยไม่อยาก ดังตัวอย่างข้างบน โดย
เราสามารถทาเครื่องหมายถูกลงบน บทเรียน ตอนเรียน ที่เกี่ยวข้องได้เลย
อย่างไรก็ตามคงไม่มีแหล่งข้อมูล URL ที่มีความสัมพันธ์ตรงต่อความต้องการครบทั้งรายวิชาที่เป็น
บทเรียนของเรา ฉะนั้นเรายังจาเป็นที่จะต้องสร้างเนื้อหาและสื่อการสอนของเราเอง อีกทั้งยังเป็น
แหล่งข้อมูลสาหรับการเรียนการสอนอื่น ๆ ด้วย
ราชบัณฑิตยสถาน [4] ได้บัญญัติความหมายของการเรียนการสอนผ่านเว็บ (Web based
Instruction) คือ การสอนโดยใช้เว็บเป็นฐานเป็นการผนวกคุณสมบัติไฮเปอร์มีเดียเข้ากับคุณสมบัติ
ของเครือข่าย เวิล์ดไวด์เว็บ เพื่อเสริมสร้างสิ่งแวดล้อมแห่งการเรียนในมิติที่ไม่มีขอบเขตจากัดด้วย
ระยะทางและเวลาที่แตกต่างกันของผู้เรียน
การใช้คุณสมบัติของไฮเปอร์มีเดียในการเรียนการสอนผ่านเครือข่ายนั้น หมายถึง การ
สนับสนุนศักยภาพการเรียนด้วยตนเองตามลาพัง (One Alone ) กล่าวคือ ผู้เรียนสามารถเลือกสรร
เนื้อหาบทเรียนที่เรียนอยู่ในรูปแบบไฮเปอร์มีเดีย ซึ่งเป็นเทคนิคการเชื่อมโยงเนื้อหาหลัก ด้วยเนื้อหา
อื่นที่เกี่ยวข้องรูปแบบการเชื่อมโยงนี้เป็นได้ทั้งการเชื่อมโยงข้อความไปสู่เนื้อหาที่มีความเกี่ยวข้อง
หรือสื่อภาพ และเสียง การเชื่อมโยงดังกล่าวจึงเป็นการเปิดโอกาสให้ผู้เรียนสามารถควบคุมการเรียน
Bweb
Bweb
Bweb
Bweb
Bweb
Bweb
Bweb
Bweb
Bweb
Bweb
Bweb
Bweb
Bweb
Bweb
Bweb
Bweb
Bweb
Bweb
Bweb
Bweb
Bweb
Bweb
Bweb
Bweb
Bweb
Bweb
Bweb
Bweb
Bweb
Bweb
Bweb
Bweb
Bweb
Bweb
Bweb
Bweb
Bweb
Bweb
Bweb
Bweb
Bweb
Bweb
Bweb
Bweb
Bweb
Bweb
Bweb
Bweb
Bweb
Bweb
Bweb
Bweb
Bweb
Bweb
Bweb
Bweb
Bweb
Bweb
Bweb
Bweb
Bweb
Bweb
Bweb
Bweb
Bweb
Bweb

More Related Content

What's hot

ความหมายและพัฒนาการของอินเทอร์เน็ต
ความหมายและพัฒนาการของอินเทอร์เน็ตความหมายและพัฒนาการของอินเทอร์เน็ต
ความหมายและพัฒนาการของอินเทอร์เน็ต
Haprem HAprem
 
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องKittichai Pinlert
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 อินเทอร์เน็ตและการใช้งาน
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 อินเทอร์เน็ตและการใช้งานหน่วยการเรียนรู้ที่ 3 อินเทอร์เน็ตและการใช้งาน
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 อินเทอร์เน็ตและการใช้งาน
ครู อินดี้
 
บทที่ 5 เทคโน ม.6 เรื่องอินเทอร์เน็ต
บทที่ 5 เทคโน ม.6 เรื่องอินเทอร์เน็ตบทที่ 5 เทคโน ม.6 เรื่องอินเทอร์เน็ต
บทที่ 5 เทคโน ม.6 เรื่องอินเทอร์เน็ต
ครู อินดี้
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็ม
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็มความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็ม
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็มSutin Yotyavilai
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ครู อินดี้
 
สรุปอินเตอร์เน็ตและการสืบค้นข้อมูล
สรุปอินเตอร์เน็ตและการสืบค้นข้อมูลสรุปอินเตอร์เน็ตและการสืบค้นข้อมูล
สรุปอินเตอร์เน็ตและการสืบค้นข้อมูล
Happy Sara
 
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้นอินเทอร์เน็ตเบื้องต้น
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้นChantana Papattha
 
รายงานอินเทอร์เน็ต
รายงานอินเทอร์เน็ตรายงานอินเทอร์เน็ต
รายงานอินเทอร์เน็ตnatlove220
 
สื่อการเรียนการสอน วิชาการสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย
สื่อการเรียนการสอน วิชาการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายสื่อการเรียนการสอน วิชาการสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย
สื่อการเรียนการสอน วิชาการสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย
Note Narudaj
 
ตัวอย่างวิทยานิพนธ์บทที่ 1-2 E-learning
ตัวอย่างวิทยานิพนธ์บทที่ 1-2 E-learningตัวอย่างวิทยานิพนธ์บทที่ 1-2 E-learning
ตัวอย่างวิทยานิพนธ์บทที่ 1-2 E-learning
rubtumproject.com
 
บทที่ 5 เทคโน ม.6 อินเทอร์เน็ต
บทที่ 5 เทคโน ม.6 อินเทอร์เน็ตบทที่ 5 เทคโน ม.6 อินเทอร์เน็ต
บทที่ 5 เทคโน ม.6 อินเทอร์เน็ต
Bhisut Boonyen
 
บทที่ 5 อินเทอร์เน็ตและการสืบค้น
บทที่ 5 อินเทอร์เน็ตและการสืบค้นบทที่ 5 อินเทอร์เน็ตและการสืบค้น
บทที่ 5 อินเทอร์เน็ตและการสืบค้นxsitezaa
 

What's hot (20)

ความหมายและพัฒนาการของอินเทอร์เน็ต
ความหมายและพัฒนาการของอินเทอร์เน็ตความหมายและพัฒนาการของอินเทอร์เน็ต
ความหมายและพัฒนาการของอินเทอร์เน็ต
 
ใบความรู้ที่ 1
ใบความรู้ที่ 1ใบความรู้ที่ 1
ใบความรู้ที่ 1
 
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 อินเทอร์เน็ตและการใช้งาน
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 อินเทอร์เน็ตและการใช้งานหน่วยการเรียนรู้ที่ 3 อินเทอร์เน็ตและการใช้งาน
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 อินเทอร์เน็ตและการใช้งาน
 
เฉลยแบบทดสอบปลายภาค ม.5
เฉลยแบบทดสอบปลายภาค ม.5เฉลยแบบทดสอบปลายภาค ม.5
เฉลยแบบทดสอบปลายภาค ม.5
 
บทที่ 5 เทคโน ม.6 เรื่องอินเทอร์เน็ต
บทที่ 5 เทคโน ม.6 เรื่องอินเทอร์เน็ตบทที่ 5 เทคโน ม.6 เรื่องอินเทอร์เน็ต
บทที่ 5 เทคโน ม.6 เรื่องอินเทอร์เน็ต
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็ม
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็มความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็ม
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็ม
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
สรุปอินเตอร์เน็ตและการสืบค้นข้อมูล
สรุปอินเตอร์เน็ตและการสืบค้นข้อมูลสรุปอินเตอร์เน็ตและการสืบค้นข้อมูล
สรุปอินเตอร์เน็ตและการสืบค้นข้อมูล
 
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้นอินเทอร์เน็ตเบื้องต้น
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น
 
รายงานอินเทอร์เน็ต
รายงานอินเทอร์เน็ตรายงานอินเทอร์เน็ต
รายงานอินเทอร์เน็ต
 
สื่อการเรียนการสอน วิชาการสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย
สื่อการเรียนการสอน วิชาการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายสื่อการเรียนการสอน วิชาการสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย
สื่อการเรียนการสอน วิชาการสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย
 
ตัวอย่างวิทยานิพนธ์บทที่ 1-2 E-learning
ตัวอย่างวิทยานิพนธ์บทที่ 1-2 E-learningตัวอย่างวิทยานิพนธ์บทที่ 1-2 E-learning
ตัวอย่างวิทยานิพนธ์บทที่ 1-2 E-learning
 
I smyresearch
I smyresearchI smyresearch
I smyresearch
 
โครงการสอน 1.56
โครงการสอน 1.56โครงการสอน 1.56
โครงการสอน 1.56
 
บทที่ 5 เทคโน ม.6 อินเทอร์เน็ต
บทที่ 5 เทคโน ม.6 อินเทอร์เน็ตบทที่ 5 เทคโน ม.6 อินเทอร์เน็ต
บทที่ 5 เทคโน ม.6 อินเทอร์เน็ต
 
สื่อกลางในการสื่อสารข้อมูล
สื่อกลางในการสื่อสารข้อมูลสื่อกลางในการสื่อสารข้อมูล
สื่อกลางในการสื่อสารข้อมูล
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ Internet
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ Internetความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ Internet
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ Internet
 
บทที่ 5 อินเทอร์เน็ตและการสืบค้น
บทที่ 5 อินเทอร์เน็ตและการสืบค้นบทที่ 5 อินเทอร์เน็ตและการสืบค้น
บทที่ 5 อินเทอร์เน็ตและการสืบค้น
 

Similar to Bweb

ใบงานที่2 8
ใบงานที่2 8ใบงานที่2 8
ใบงานที่2 8Pornthip Nabnain
 
ใบความรู้ที่ 1
ใบความรู้ที่ 1ใบความรู้ที่ 1
ใบความรู้ที่ 1Rattana Wongphu-nga
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้องChalita Vitamilkz
 
สื่อการสอนม.6
สื่อการสอนม.6สื่อการสอนม.6
สื่อการสอนม.6Tanatchapan Jakmanee
 
งานคอม
งานคอมงานคอม
งานคอมsorfreedom
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
Kawinna2538
 
Random 100125184602-phpapp02
Random 100125184602-phpapp02Random 100125184602-phpapp02
Random 100125184602-phpapp02nantiya2010
 
ความเป็นมาของอินเทอร์เน็ต
ความเป็นมาของอินเทอร์เน็ตความเป็นมาของอินเทอร์เน็ต
ความเป็นมาของอินเทอร์เน็ตguest832105
 
605รุ่งโรจน์ 22
605รุ่งโรจน์ 22605รุ่งโรจน์ 22
605รุ่งโรจน์ 22Rungroj Ssan
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ ครูสมร
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ ครูสมรแบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ ครูสมร
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ ครูสมรM'suKanya MinHyuk
 
2012education1
2012education12012education1
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้องM'suKanya MinHyuk
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง1
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง102 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง1
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง1Thanggwa Taemin
 

Similar to Bweb (20)

บริการบนอินเทอร์เน็ต
บริการบนอินเทอร์เน็ตบริการบนอินเทอร์เน็ต
บริการบนอินเทอร์เน็ต
 
ใบงานที่2 8
ใบงานที่2 8ใบงานที่2 8
ใบงานที่2 8
 
ใบงานที่2 8
ใบงานที่2 8ใบงานที่2 8
ใบงานที่2 8
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5
 
ใบความรู้ที่ 1
ใบความรู้ที่ 1ใบความรู้ที่ 1
ใบความรู้ที่ 1
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
สื่อการสอนม.6
สื่อการสอนม.6สื่อการสอนม.6
สื่อการสอนม.6
 
ใบงาน K2
ใบงาน K2ใบงาน K2
ใบงาน K2
 
งานคอม
งานคอมงานคอม
งานคอม
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
Random 100125184602-phpapp02
Random 100125184602-phpapp02Random 100125184602-phpapp02
Random 100125184602-phpapp02
 
ความเป็นมาของอินเทอร์เน็ต
ความเป็นมาของอินเทอร์เน็ตความเป็นมาของอินเทอร์เน็ต
ความเป็นมาของอินเทอร์เน็ต
 
605รุ่งโรจน์ 22
605รุ่งโรจน์ 22605รุ่งโรจน์ 22
605รุ่งโรจน์ 22
 
28 supamongkol
28 supamongkol28 supamongkol
28 supamongkol
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ ครูสมร
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ ครูสมรแบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ ครูสมร
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ ครูสมร
 
2012education1
2012education12012education1
2012education1
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง1
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง102 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง1
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง1
 
2012education
2012education2012education
2012education
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 

Bweb

  • 1. 1 2. ศึกษาความรู้เกี่ยวกับการพัฒนาเว็บไซต์จากงานวิจัย หนังสือต่างๆ อาทิเช่น หลักการ และทฤษฎีในการสื่อสาร ชีวิตเป็นเรื่องของการเรียนรู้และสิ่งหนึ่งที่สาคัญและต้องมีการเรียนรู้คือ ความสัมพันธ์ หรือ มนุษยสัมพันธ์ เพราะทุกสิ่งทุกอย่างในโลกนี้มักเป็นบทเรียนของกันและกัน ถ้าไม่ใส่ใจเรียนรู้ซึ่งกัน และกันก็จะอยู่ในโลกนี้ด้วยความยากลาบาก เพราะชีวิตจะมีคุณค่าและรู้สึกมีความสุขเมื่อได้ แสดงออกอย่างที่รู้สึก มีโอกาสเรียนรู้เรื่องราวและสิ่งใหม่ๆตามที่เราต้องการ ดังนั้นความสาเร็จของมนุษย์ในการดารงชีวิตทั่วไป จึงมักมีข้อกาหนดไว้อย่างกว้างๆว่า เรา จะต้องเข้ากับคนที่เราติดต่อด้วยให้ได้ และต้องเข้าให้ได้ดี ด้วยการเรียนรู้ที่จะสร้างความสัมพันธ์ ร่วมกัน โดยอาศัยวิธีการสื่อสารและหลักจิตวิทยา ความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์โดยทั่วไปมักถูกมองว่า เป็นเรื่องของศิลปะ(Arts) มากกว่าศาสตร์(Science) ซึ่งก็หมายความว่า การเรียนรู้เกี่ยวกับ ความสัมพันธ์ของบุคคลแต่เพียงอย่างเดียว โดยขาดศาสตร์ของการสื่อสาร ย่อมขาดศิลปะในการ นาไปปรับใช้ในชีวิตจริงให้ประสบความสาเร็จได้ 1. แนวคิดด้านการสื่อสารข้อมูล (Concept of networks layers) ปัญหาของการสื่อสารข้อมูลก็คือทาอย่างไรจะให้อุปกรณ์การสื่อสารต่างๆ สื่อสารกันได้อย่าง อัตโนมัติ เนื่องจากมีความแตกต่างกันด้านเครื่องมือ อุปกรณ์และวิธีการสื่อสารแบบต่างๆ เช่น เครื่อง คอมพิวเตอร์เครื่องหนึ่งจะติดต่อสื่อสารกับเครื่องคอมพิวเตอร์อีกเครื่องหนึ่งซึ่งอาจจะอยู่คนละส่วน ของโลก โดยมีสื่อกลางคืออุปกรณ์เชื่อมโยงเครือข่ายที่มาจากผู้ผลิตหลายบริษัท แนวคิดนี้เององค์กร ว่าด้วยเครื่องมาตรฐานระหว่างประเทศ (International Standard Organization-ISO) จึงได้วาง มาตรฐานโปรโตคอลไว้เป็นระดับ เพื่อให้การสื่อสารต่างๆ ยึดหลักการนั้นและเรียกมาตรฐาน โปรโตคอลนี้ว่า OSI Protocol โดยวางเป็นระดับ 7 ชั้น 1. ชั้น Physical เป็นการอธิบายคุณสมบัติทางกายภาพ เช่น คุณสมบัติทางไฟฟ้า และกลไก ต่างๆ ของวัสดุที่ใช้เป็นสื่อกลาง ตลอดจนสัญญาณที่ใช้ในการส่งข้อมูล คุณสมบัติที่กาหนดไว้ในชั้นนี้ ประกอบด้วยคุณลักษณะทางกายภาพของสาย, อุปกรณ์เชื่อมต่อ (Connector) ระดับความต่างศักย์ ของไฟฟ้า (Voltage) และอื่นๆ เช่น อธิบายถึงคุณสมบัติของสาย Unshield Twisted Pair (UTP) เป็นต้น 2. ชั้น Data-Link เป็นชั้นที่อธิบายถึงการส่งข้อมูลไปบนสื่อกลาง ชั้นนี้ยังได้ถูกแบ่งออกเป็น ชั้นย่อย (Sub-Layer) คือ Logical Link Control (LLC) และ Media Access Control (MAC) การ แบ่งแยกเช่นนี้จะทาให้ชั้น LLC ชั้นเดียวสามารถจะใช้ชั้น MAC ที่แตกต่างกันออกไปได้หลายชั้น ชั้น MAC นั้นเป็นการดาเนินการเกี่ยวกับแอดเดรสทางกายภาพอย่างที่ใช้ในมาตรฐานอีเทอร์เน็ตและ โทเคนริง แอดเดรสทางกายภาพนี้จะถูกฝังมาในการ์ดเครือข่ายโดยบริษัทผู้ผลิตการ์ดนั้น แอดเดรส ทางกายภาพนั้นเป็นคนละอย่างกับแอดเดรสทางตรรกะ เช่นIP Address ที่จะถูกใช้งานใน ชั้น Network เพื่อความชัดเจนครบถ้วนสมบูรณ์ของการใช้ชั้น Data-Link 3. ชั้น Network ในขณะที่ชั้น Data-Link ให้ความสนใจกับแอดเดรสทางกายภาพ แต่การ ทางานในชั้น Network จะให้ความสนใจกับแอดเดรสทางตรรกะ การทางานในชั้นนี้จะเป็นการ
  • 2. 2 เชื่อมต่อ และการเลือกเส้นทางนาพาข้อมูลระหว่างเครื่องสองเครื่องในเครือข่ายชั้นNetwork ยังให้ บริการเชื่อมต่อในแบบ "Connection Oriented" อย่างเช่น X.25 หรือบริการแบบ "Connectionless" เช่น Internet Protocol ซึ่งใช้งานโดยชั้น Transport ตัวอย่างของบริการหลักที่ ชั้น Network มีให้คือ การเลือกเส้นทางนาพาข้อมูลไปยังปลายทางที่เรียกว่าRouting ตัวอย่างของ โปรโตคอลในชั้นนี้ประกอบด้วย Internet Protocol (IP) และInternet Control Message Protocol (ICMP) 4. ชั้นTransport ในชั้นนี้มีบางโปรโตคอลจะให้บริการที่ค่อนข้างคล้ายกับที่มีใน ชั้น Networkโดยมีบริการด้านคุณภาพที่ทาให้เกิดความน่าเชื่อถือ แต่ในบางโปรโตคอลที่ไม่มีการดูแล เรื่องคุณภาพดังกล่าวจะอาศัยการทางานในชั้น Transport นี้เพื่อเข้ามาช่วยดูแลเรื่องคุณภาพแทน เหตุผลที่สนับสนุนการใช้งานชั้นนี้ก็คือ ในบางสถานการณ์ของชั้นในระดับล่างทั้งสาม (คือ ชั้น Physical Data-Link และNetwork) ดาเนินการโดยผู้ให้บริการโทรคมนาคม การจะเพิ่มความ มั่นใจในคุณภาพให้กับผู้ใช้บริการก็ด้วยการใช้ชั้นTransportนี้ “Transmission Control Protocol (TCP) เป็นโปรโตคอลในชั้น Transport ที่มีการใช้งานกันมากที่สุด 5. ชั้น Session ทาหน้าที่สร้างการเชื่อมต่อ การจัดการระหว่างการเชื่อมต่อ และการตัดการ เชื่อมต่อคาว่า "เซสชัน" (Session) นั้นหมายถึงการเชื่อมต่อกันในเชิงตรรกะ (Logic) ระหว่าง ปลายทางทั้งสองด้าน (เครื่อง2 เครื่อง) ชั้นนี้อาจไม่จาเป็นต้องถูกใช้งานเสมอไปอย่างเช่นถ้าการ สื่อสารนั้นเป็นไปในแบบ "Connectionless" ที่ไม่จาเป็นต้องเชื่อมต่อ เป็นต้น ระหว่างการสื่อสารใน แบบ "Connection-less"ทุกๆ แพ็กเก็ต (Packet) ของข้อมูลจะมีข้อมูลเกี่ยวกับเครื่องปลายทางที่ เป็นผู้รับติดอยู่อย่าง สมบูรณ์ในลักษณะของจดหมายที่มีการจ่าหน้าซองอย่างถูกต้องครบถ้วน ส่วน การสื่อสารในแบบ "Connection Oriented" จะต้องมีการดาเนินการบางอย่างเพื่อให้เกิดการ เชื่อมต่อ หรือเกิดเป็นวงจรในเชิงตรรกะขึ้นมาก่อนที่การรับ/ส่งข้อมูลจะเริ่มต้นขึ้น แล้วเมื่อการรับส่ง ข้อมูลดาเนินไปจนเสร็จสิ้นก็ต้องมีการดาเนินการบางอย่างเพื่อที่จะตัดการเชื่อมต่อลง ตัวอย่างของ การเชื่อมต่อแบบนี้ได้แก่ การใช้โทรศัพท์ที่ต้องมีการกดหมายเลขปลายทาง จากนั้นก็ต้องมีการ ดาเนินการบางอย่างของระบบจนกระทั่งเครื่องปลายทางมีเสียงดังขึ้น การสื่อสารจะเริ่มขึ้นจริงเมื่อมี การทักทายกันของคู่สนทนา จากนั้นเมื่อคู่สนทนาฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งวางหูก็ต้องมีการดาเนินการ บางอย่างที่จะตัดการเชื่อมต่อลงชั้นSession นี้มีระบบการติดตามด้วยว่าฝั่งใดที่ส่งข้อมูลซึ่งเรียกว่า "Dialog Management" Simple Mail Transport Protocol (SMTP) File Transfer Protocol (FTP) และ Telnet เป็นตัวอย่างของโปรโตคอลที่นิยมใช้ และมีการทางานครอบคลุมในชั้นSession Presentation และ Application 6. ชั้น Presentation ให้บริการทาการตกลงกันระหว่างสองโปรโตคอลถึงไวยากรณ์ (Syntax) ที่จะใช้ในการรับ/ส่งข้อมูล เนื่องจากว่าไม่มีการรับรองถึงไวยากรณ์ที่จะใช้ร่วมกัน การ ทางานในชั้นนี้จึงมีบริการในการแปลข้อมูลตามที่ได้รับการร้องขอด้วย 7. ชั้น Application เป็นชั้นบนสุดของแบบจาลอง ISO/OSI เป็นชั้นที่ใช้บริการของ ชั้น Presentation (และชั้นอื่นๆ ในทางอ้อมด้วย) เพื่อประยุกต์ใช้งานต่างๆ เช่น การรับ-ส่งอีเมล์) การโอนย้ายไฟล์ หรือการประยุกต์ใช้งานทางด้านเครือข่ายอื่นๆ
  • 3. 3 เครื่องคอมพิวเตอร์ เครือข่ายคอมพิวเตอร์จะต้องมีเครื่องคอมพิวเตอร์เป็นองค์ประกอบพื้นฐาน คอมพิวเตอร์ที่เชื่อมต่อกันเป็นเครือข่ายนั้น ไม่จาเป็นจะต้องเป็นรุ่นเดียวกัน หรือประเภทเดียวกัน คุณสามารถนาเอาคอมพิวเตอร์หลากหลายรุ่น หลากหลายประเภทมาเชื่อมต่อกันได้ ไม่ว่าจะเป็น เครื่องพีซี แมคอินทอช หรือยูนิกซ์เวิร์กสเตชัน โดยใช้คอนเน็กเตอร์ (Bridge) เป็นตัวเชื่อมระบบ ที่ต่างกันให้เป็นระบบเดียวกันได้ นอกจากนั้นยังสามารถเชื่อมต่อเข้ากับอุปกรณ์คอมพิวเตอร์อื่น ๆ เช่น เครื่องพิมพ์ แฟกซ์ เทปแบ๊กอัป หรืออุปกรณ์เก็บข้อมูลอื่น ๆ และสามารถใช้งานอุปกรณ์ เหล่านี้ได้โดยเรียกผ่านคอมพิวเตอร์ของผู้ใช้เอง เป็นการใช้ทรัพยากรในระบบเครือข่ายร่วมกัน ระบบสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ เซอร์เวอร์ (Server) เซอร์เวอร์ หรือเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า เครืองแม่ข่าย เป็นเครื่องคอมพิวเตอร์หลักในเครือข่าย ที่ทาหน้าที่จัดเก็บและให้บริการไฟล์ข้อมูลและทรัพยากรอื่นๆ กับคอมพิวเตอร์เครื่องอื่น ๆ ใน เครือข่าย โดยปกติคอมพิวเตอร์ที่นามาใช้เป็นเซอร์เวอร์มักจะเป็นเครื่องที่มีสมรรถนะสูง และ มีฮาร์ดดิกส์ความจาสูงกว่าคอมพิวเตอร์เครื่องอื่น ๆ ในเครือข่าย . ไคลเอนต์ (Client) หรือเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า เครื่องลูกข่าย เป็นคอมพิวเตอร์ในเครือข่ายที่ร้องขอ บริการและเข้าถึงไฟล์ข้อมูลที่จัดเก็บในเซอร์เวอร์ หรือพูดง่าย ๆ ก็คือ ไคลเอนต์ เป็นคอมพิวเตอร์ ของผู้ใช้แต่ละคนในระบบเครือข่ายนั่นเอง . ฮับ (Hub) เป็นอุปกรณ์ศูนย์กลาง ที่เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์หรืออุปกรณ์คอมพิวเตอร์อื่นๆ เข้าด้วยกัน ผลที่เกิดขึ้น (Result) 1. ยอมรับ (Acceptation) 2. ตัดสินใจ (Decision) 3. เปลี่ยนแปลงพฤติกรรม (Behavior)–ชั่วคราว–ถาวร วัตถุประสงค์ทางคุณธรรม (บุญนิยม) 1. วิเคราะห์สาร เลือกสิ่งที่มีผลเป็นบวก (เชิงคุณธรรม) แล้วยอมรับ 2. ตัดสินใจในการรับสารนั้น ตามหลักนิยามความจริง 7 ประการ* 3. เปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของตนตามสารที่ได้รับ การเปลี่ยนแปลง ขึ้นอยู่กับระดับความหนักแน่น ของความเชื่อ - ถ้าเชื่อฟัง เชื่อถือ (เลื่อมใส) ก็จะเกิดการเปลี่ยนแปลงแบบชั่วคราว - ถ้าเชื่อมั่น (ศรัทธา) ก็จะเกิดการเปลี่ยนแปลงแบบถาวร “หลักนิยามความจริง 7 ประการ หมายถึงหลักแห่งการตัดสินใจกระทาการ อย่างใดอย่าง หนึ่ง โดยอาศัยองค์ประกอบหลัก 7 ประการ คือ“ดี, ถูกต้อง, เป็นประโยชน์, ทาให้พ้นทุกข์ได้ หรือ แก้ปัญหาได้, มีความเป็นไปได้, รู้ได้สัมผัสได้จากรูปธรรมและนามธรรม, และท้าทายให้มาพิสูจน์ได้”
  • 4. 4 ทฤษฎีและแบบจาลองการสื่อสาร ทฤษฎี คือข้อความเกี่ยวกับการทางานของสิ่งต่าง ๆ หรือข้อความที่แสดงความสัมพันธ์ ระหว่างข้อเท็จจริงต่าง ๆ แบบจาลอง เกิดจากความพยายาม ที่จะอธิบายปรากฏการณ์ทางการสื่อสารแบบต่างๆ จึงสร้าง แบบจาลองขึ้น แบบจาลองทฤษฎีการสื่อสารมีอยู่ 4 แบบ คือ [อาจารย์ประช้นวัลลิโก] (1) ทฤษฎีการสื่อสารเชิงระบบพฤติกรรม (2) ทฤษฎีการสื่อสารเชิงพฤติกรรมการเข้าและถอดรหัส (3) ทฤษฎีการสื่อสารเชิงปฏิสัมพันธ์ (4) ทฤษฎีการสื่อสารเชิงปริบททางสังคม 1. ทฤษฎีการสื่อสารเชิงระบบพฤติกรรม มีลักษณะดังนี้ 1.1 เป็นการมองการสื่อสารทั้งระบบ คล้ายเครื่องจักรกล ระบบการรับส่งข้อมูลข่าวสารจะ เกิดขึ้นได้ ต่อเมื่อมีแหล่งข่าวสาร (ผู้ส่ง) ส่งสัญญาณผ่านช่องทางการสื่อสารไปยังจุดหมายปลายทาง (ผู้รับสาร) 1.2 เป็นการสื่อสารแบบตัวต่อตัว ที่เห็นหน้าตาของผู้รับและผู้ส่งได้ 1.3 มีการกระทาสะท้อนกลับ ( Feed back) 1.4 มีสภาพแวดล้อมทางสังคม จิตวิทยา กาลเวลา สถานที่ เป็นปัจจัยในการสื่อสาร และ ประกอบคาอธิบาย และให้เหตุผล 1.5 เป็นการสื่อสารแบบต่อเนื่อง (เป็นวงกลม) 1.6 เป็นการสื่อสารเรื่องใหม่ ๆ 1.7 ผู้สื่อสาร เป็นผู้กาหนดความหมาย และเจตนารมย์ของสารที่ส่งไป 2. ทฤษฎีการสื่อสารเชิงพฤติกรรมการเข้าและถอดรหัส มีลักษณะดังนี้ 2.1 ถือว่าการเข้ารหัสและการถอดรหัสเป็นหัวใจของการสื่อสาร 2.2 กระบวนการเข้ารหัส และถอดรหัส คือ รูปแบบของการควบคุม ตรวจสอบ หรือมีอานาจ เหนือสิ่งแวดล้อม 2.3 อธิบายกิจกรรมของการเข้ารหัส และถอดรหัส 3 ประการ 2.3.1 การรับรหัส-ถอดรหัส ( Perception or Decoding) 2.3.2 การคิด-ตีความ ( Cognition or Interpretation) 2.3.3 การตอบสนอง-การเข้ารหัส ( Response or Eencoding) 3. ทฤษฎีการสื่อสารเชิงปฏิสัมพันธ์ ทฤษฎีนี้วางหลักเกณฑ์ไว้ว่า 3.1 การสื่อสาร หรือ ปัจจัยทางการสื่อสาร เป็นเครื่องมือในการสร้างปฏิสัมพันธ์ และสร้าง ความสัมพันธ์ระหว่างเนื้อหาข่าวสาร กับบุคคล 3.2 ปฏิสัมพันธ์แสดงออกมาทางพฤติกรรมต่าง ๆ ของผู้รับสาร ดังนั้น พฤติกรรมทั้งหลายจึง เกิดจากพฤติกรรมทางการสื่อสารทั้งสิ้น
  • 5. 5 ตัวแปรทางการสื่อสาร ที่ทาให้เกิดปฏิสัมพันธ์ที่ไม่เหมือนกัน มี 3 ประการ คือ 3.2.1 ปัจจัยด้านผู้ส่งสาร บุคลิกภาพของผู้ส่งสาร ความน่าเชื่อถือของผู้ส่งสาร ทัศนคติของผู้ส่งสาร ความคิด อิทธิพลของข่าวสาร 3.2.2 ปัจจัยผู้รับสาร ความรู้สึกของผู้รับสารต่อข่าวสาร บุคลิกภาพเป็นตัวกาหนด ปฏิกิริยาตอบเนื้อหาข่าวสาร 3.2.3 ปฏิกิริยาต่อเนื้อสารเดียวกัน จะแตกต่างกันไปตามอารมณ์ ความรู้สึกนึกคิด บุคลิกภาพของผู้รับสารที่แตกต่างกัน ตัวแปรทางการสื่อสาร ที่ทาให้เกิดปฏิสัมพันธ์ที่แตกต่างกัน มี 4 ประการ คือ (1) ปัจจัยผู้ส่งสาร (2) ปัจจัยผู้รับสาร (3) ปัจจัยทางด้านสังคม หมายถึงอิทธิพลทางสังคม เพราะ คนเราต้องปรับตัวให้เข้ากับสังคม เพื่อให้สังคมยอมรับ (4) ลักษณะของเนื้อหาข่าวสาร ลักษณะของเนื้อหาข่าวสารสร้างปฏิกิริยาของผู้รับสารได้ แตกต่างกัน ที่สาคัญคือ รูปแบบการเรียบเรียงเนื้อหา การจัดลาดับภาษาที่ใช้ การเลือกประเด็น การ จัด sequence ของเนื้อหา 4. ทฤษฎีเชิงปริบททางสังคม ทฤษฏีนี้อธิบายว่า 4.1 กระบวนการสื่อสาร เป็นปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้น ภายใต้อิทธิพลทางสังคมและวัฒนธรรม 4.2 สภาพแวดล้อมทางสังคมมีอิทธิพลอย่างสาคัญที่ทาให้การสื่อสารเกิดขึ้นได้ ดังนั้น สังคม เป็นปัจจัยที่ควบคุมแหล่งข่าวสาร 4.3 สังคมเป็นปัจจัยการไหลของข่าวสาร และผลของข่าวสาร ทาให้การไหลของข่าวสาร เปลี่ยนแปลงได้ทุกครั้งทุกเมื่อ วิเคราะห์แบบจาลองการสื่อสาร แบบจาลองการสื่อสาร ที่ผู้เขียนคัดเลือกและหยิบยกมาอธิบาย เพื่อให้เกิดความเข้าใจใน กระบวนการสื่อสาร องค์ประกอบที่จาเป็นของการสื่อสาร และผลของการสื่อสาร ตลอดจนการ วิเคราะห์และจาแนกประเภทของการสื่อสาร ทั้งนี้เพื่อนาไปสู่คาอธิบายว่า การสื่อสารบุญนิยมมี กระบวนการอะไรที่สาคัญ และมีบทบาทอย่างไรต่อการแก้ไขปัญหาทางสังคม และการพัฒนา ทรัพยากรมนุษย์ แบบจาลองการสื่อสารดังกล่าว ได้แก่ (1) แบบจาลองของลาสเวลล์ (2) แบบจาลองเชิงคณิตศาสตร์ ของแชนนันและวีเวอร์ (3) แบบจาลอง ABX ของธีโอดอร์นิวคอมบ์
  • 6. 6 1. แบบจาลองของลาสเวลล์ มุ่งอธิบายกระบวนการสื่อสาร ความสัมพันธ์ขององค์ประกอบการ สื่อสาร จากคาถามที่ว่า ใคร กล่าวอะไร ผ่านช่องทางใด กับใคร ด้วยผลประการใด เป็นกระบวนการสื่อสารแบบง่ายๆ ระหว่างบุคคลซึ่งต้องกระทาต่อหน้า และมีการคาดหวังผลจากการ สื่อสารในเวลาเดียวกัน แต่ไม่มีการตรวจสอบผลสะท้อนกลับ แบบจาลองการสื่อสารของลาสเวลล์ เป็นส่วนหนึ่งของทฤษฎีการสื่อสารเชิงระบบพฤติกรรม และทฤษฎีการสื่อสารเชิงพฤติกรรมการเข้าและถอดรหัส เพราะเป็นการสื่อสารที่จาเป็นต้องมี องค์ประกอบพื้นฐานการสื่อสารครบถ้วน คือมีผู้ส่งสาร ผู้รับสาร ตัวสาร และช่องทางการสื่อสาร (ข้อ 1.1) เป็นการสื่อสารระหว่างบุคคลตัวต่อตัว (ข้อ 1.2) และผู้ส่งสาร จะเป็นผู้กาหนดสาร และ เจตนารมย์ด้วยตนเอง (ข้อ 1.7) และในการสื่อสารระหว่างบุคคล จะต้องมีการเข้ารหัส-ถอดรหัส เพราะการสื่อสารระหว่างบุคคล จาเป็นต้องสาแดงผลในการสื่อสารด้วย (ข้อ 2.3) จากกระบวนการสื่อสารในขั้นตอน ใคร กล่าวอะไร อาจกล่าวได้ว่าเป็นหลักเกณฑ์ข้อหนึ่งของ ทฤษฎีการสื่อสารเชิงปฏิสัมพันธ์ ในเรื่องของการสร้างความสัมพันธ์ระหว่างเนื้อหาข่าวสาร กับบุคคล (ข้อ 3.1) นั้น เป็นปัจจัยหนึ่งทางการสื่อสาร ลาสเวลล์ ไม่ได้อธิบายถึงสภาพแวดล้อม หรือบริบททางสังคมว่า จะมีอิทธิพลต่อการสื่อสารตาม แนวคิดของเขาแต่อย่างใด ดังนั้น จึงไม่อาจสรุปได้ว่า ปัจจัยทางสังคมและวัฒนธรรม จะมีอิทธิพลต่อ การสื่อ ตามแบบจาลองการสื่อสารของลาสเวลล์ แต่แบบจาลองที่ลาสเวลล์กล่าวไว้ กลับมีประโยชน์ อย่างมากต่อการนาไปใช้อธิบายโครงสร้าง และแบ่งประเภทของงานวิจัยทางการสื่อสาร โดยการ จาแนกและวิเคราะห์องค์ประกอบการสื่อสาร 5 เรื่องหรือ 5 ประเภท คือ (1) การวิเคราะห์แหล่งสาร (Control Studies Analysis)(2) การวิเคราะห์เนื้อหาของสาร (Content Analysis) (3) การ วิเคราะห์สื่อที่ใช้เป็นช่องทางในการส่งสาร (Media Analysis) (4) การวิเคราะห์ผู้รับสาร (Audience Analysis) และ (5) การวิเคราะห์ผลของการสื่อสาร (Effect Analysis) 2. แบบจาลองเชิงคณิตศาสตร์ ของแชนนันและวีเวอร์ มีผัง Diagram ดังนี้ source --> [message] --> transmitter -->[signal] --> noise source -->[received signal] --> receiver --> [message]--> destination อธิบายได้ว่า กระบวนการสื่อสาร จะเกิดขึ้นและดาเนินต่อไปได้ จะต้องประกอบด้วยองค์ประกอบ สาคัญ 5 ประการ คือ (1) ส่วนที่เป็นแหล่งข้อมูลข่าวสาร ( Information Source) (2) เครื่องส่งสาร (Transmetter) (3) เครื่องรับ (Receiver) (4) จุดหมายปลายทาง (Destination) (5) เนื้อหาข่าวสาร (Message) ส่วนที่เป็นแหล่งข้อมูลข่าวสาร (Information Source) จะเป็นผู้กาหนดเนื้อหาสาระของสาร หรือ Messageส่งต่อไปยังเครื่องแปลง เพื่อแปลงเนื้อหาข่าวสารให้เป็นสัญญาณ (เข้ารหัส) แล้วส่ง รหัสสัญญาณนั้นออกไปยังเครื่องรับ (Receiver) โดยผ่านช่องทางการสื่อสารที่เหมาะสม จากนั้น เครื่องรับก็จะแปลงสัญญาณที่รับมานั้น (ถอดรหัส) ให้เป็นเนื้อหาข่าวสารอีกครั้งหนึ่ง เพื่อส่งต่อไปให้
  • 7. 7 ผู้รับสารตามเป้าหมาย ระหว่างเครื่องแปลงสัญญาณภาคส่ง กับเครื่องแปลงสัญญาณภาครับ อาจเกิด ปัญหาและอุปสรรคทาให้สัญญาณสูญเสีย จึงต้องมีการส่งสัญญาณซ้า หรือเพิ่มแรงส่งของสัญญาณ แบบจาลองเชิงคณิตศาสตร์ ของแชนนันและวีเวอร์ เป็นพฤติกรรมการสื่อสารที่เหมือน เครื่องจักรกลมาก มีลักษณะเป็นเส้นตรง ซึ่งต่างจากการสื่อสารของมนุษย์ จะมีลักษณะเป็นวงกลม ที่ แต่ละภาคส่วนขององค์ประกอบการสื่อสาร มีความสลับซับซ้อน การนาทฤษฎีการสื่อสารเชิง พฤติกรรมการเข้ารหัสและถอดรหัส มาอธิบายเปรียบเทียบได้โดยอนุโลม คือ การเข้ารหัสและการ ถอดรหัสเป็นหัวใจสาคัญของการสื่อสาร (ข้อ 2.1) เพราะถ้ามีปัญหาหรืออุปสรรจากสิ่งรบกวน จะทา ให้การเข้ารหัสและการถอดรหัสผิดพลาดได้ จึงต้องมีการควบคุมเป็นพิเศษ (ข้อ 2.2) เพื่อให้การรับ รหัส มีการตีความหมาย และเกิดการสนองตอบและ เข้ารหัสต่อไป (ข้อ 2.3) สรุปได้ว่า แบบจาลองการสื่อสารของแชนนันและวีเวอร์ไม่เหมาะที่จะนามาอธิบายกับการ สื่อสารระหว่างมนุษย์ แต่จะเป็นประโยชน์หากนาไปประยุกต์ใช้กับระบบการสื่อสาร โทรคมนาคม (Tele-communication) การสื่อสารมวลชน (Mas Media Communication) และเครือข่ายการ สื่อสาร (Network Communication, Internet) 3. แบบจาลองการสื่อสาร ABX ของ ธีโอดอร์นิวคอมบ์ อธิบายได้ว่า การสื่อสารจะเกิดขึ้นได้เพราะ มนุษย์ต้องการให้เกิดความสมดุลทางความคิด ทัศนคติ และพฤติกรามต่างๆ โดยการสื่อสารจะเป็น เครื่องมือช่วยให้การตกลงใจ ยอมรับในเรื่องใดเรื่องหนึ่งเหมือนๆ กัน การสื่อสารจะทาให้บุคคล ตั้งแต่ 2 คนขึ้นไป (Aกับ B) สามารถดารงและรักษาความเข้าใจในสิ่งที่สื่อสารกัน เมื่อเกิดความไม่สมดุลกัน หรือขัดแย้งกัน (X)มนุษย์ก็จะพยายามทาการสื่อสารกัน โดยการแสวงหาข้อมูล การให้ข้อมูล การ แลกเปลี่ยนข้อมูล เพื่อขจัดอุปสรรคเหล่านั้นให้ได้ แบบจาลองการสื่อสารของนิวคอมบ์ สามารถนาทฤษฎีการสื่อสาร ทั้ง 4 แบบมาอธิบายได้ แบบจาลองการสื่อสาร ABX เป็นทฤษฎีการสื่อสารเชิงพฤติกรรมการเข้าและถอดรหัส เพราะ ในการสื่อสารที่จะให้อีกฝ่ายเข้าใจในความคิดและความต้องการของตน จะต้องมีการรับ-ถอดรหัส แล้วตีความ เพื่อตอบสนองการเข้ารหัสต่อไป (ข้อ 2.3) แบบจาลองการสื่อสาร ABX เป็นทฤษฎีการสื่อสารเชิงระบบพฤติกรรม ในเวลาเดียวกันก็มี ส่วนสัมพันธ์ กับทฤษฎีการสื่อสารเชิงปฏิสัมพันธ์อีกด้วย เพราะการสื่อสารที่ต้องการรักษา สัมพันธภาพที่ดีต่อกัน จาเป็นต้องคานึงถึง ปัจจัยการสื่อสาร (ข้อ 1.4 และ 3.1 - 3.2) และจาเป็นต้อง มีองค์ประกอบของระบบพฤติกรรมครบสมบูรณ์ คือต้องประกอบด้วยผู้ส่งสาร ช่องทางการสื่อสาร และผู้รับสาร (ข้อ 1.1) เป็นการสื่อสารแบบตัวต่อตัว (ข้อ 1.2) ต้องมีการตรวจสอบข้อมูลย้อนกลับ หรือ Feed back (ข้อ 1.3) และเป็นการสื่อสารแบบต่อเนื่อง (ข้อ 1.5) นอกจากนี้เป็นการสื่อสารที่ต้องอาศัยบริบททางสังคม มาเป็นปัจจัยประกอบ กล่าวคือ ความ เชื่อทางสังคมและวัฒนธรรม จะมีอธิพลต่อกระบวนการสื่อสาร (ข้อ 4.1) การควบคุมแหล่งข่าวสาร (ข้อ 4.2) และการเปลี่ยนแปลง (การไหล) ของข้อมูลข่าวสาร (ข้อ 4.3) แนวคิดของนิวคอมบ์ เป็น ประโยชน์มากในการนาไปประยุกต์ใช้กับการสื่อสารบุญนิยม เพราะสามารถนาไปอธิบายหลักและ วิธีการลดปัญหา และขจัดปัญหาทางจริยธรรม และความประพฤติของมนุษย์ได้ ตลอดจนใช้ในการ โฆษณา และการณรงค์ได้อย่างเหมา
  • 8. 8 บทสรุป องค์ประกอบการสื่อสาร (Factor of Communication) ประกอบด้วย (1) ฝ่ายส่งสาร (2) ฝ่ายรับสาร (3) ตัวสาร (4) ช่องทางการสื่อสาร (5) ผลของการสื่อสาร องค์ประกอบข้างต้น สามารถนาไปใช้อธิบายแบบจาลองการสื่อสาร หรือทฤษฎีการสื่อสาร ได้ทุก ทฤษฎี
  • 9. 9 การประชาสัมพันธ์ ในการจัดทาเว็บไซต์ใหม่ขึ้นมาหนึ่งเว็บไซต์นั้น สิ่งที่จาเป็นอย่างยิ่งคือการกาหนด วัตถุประสงค์ของการจัดทาให้ชัดเจน เพื่อเป็นแนวทางในการออกแบบและพัฒนาเว็บไซต์ต่อไป วัตถุประสงค์และประโยชน์จากการจัดทาเว็บไซต์ - เพื่อใช้ในการประชาสัมพันธ์สินค้าหรือบริการของ องค์กร หรือบริษัท รวมถึงการสร้างภาพลักษณ์ที่ดีน่าเชื่อถือให้เกิดขึ้นกับกลุ่มเป้าหมาย ได้แก่ เว็บไซต์ประชาสัมพันธ์องค์กร - เพื่อใช้ในลักษณะการให้บริการแก่ลูกค้าหรือสมาชิกขององค์กร หรือ บริษัท โดยการนาเว็บไซต์มาเป็นเครื่องมือ ช่วยในการอานวยความสะดวกแก่ลูกค้าหรือสมาชิกเป็น หลัก ได้แก่ เว็บไซต์บริการหรือเว็บไซต์ชุมชน - เพื่อใช้เป็นเครื่องมือในการทาตลาดรวมถึงธุรกรรมที่ สาคัญ ผ่านเครือข่ายอินเตอร์เน็ต โดยมุ่งเน้นไปยังการหาตลาดใหม่ ๆ เป็นหลัก เพื่อนาเสนอขาย สินค้าหรือบริการ ได้แก่ เว็บไซต์อี-คอมเมอร์ส องค์ประกอบของเว็บไซต์จะเป็นปัจจัยหลักที่มีผลต่อ เว็บไซต์ ๆ หนึ่งในการที่จะประสบผลสาเร็จดังที่ตั้งวัตถุประสงค์ไว้หรือไม่ โดยทั่วไปประกอบด้วย Domain Name : ชื่อและที่อยู่ของเว็บไซต์ในการเรียกข้อมูลเว็บไซต์ของท่านมาแสดงผล เช่น www.yourcompany.com เป็นต้น ปัจจุบันมักจดชื่อ domain name ให้เป็นชื่อที่สื่อถึงสินค้าหรือ บริการหรือเป็นชื่อองค์กร และอาศัยการทาประชาสัมพันธ์ผ่านSearch Engine และ Web Directory การเลือกใช้ชื่อเว็บไซต์ที่เหมาะสมก็มีส่วนในการทาให้เว็บไซต์ของคุณประสบความสาเร็จ เช่นกัน Design & Development : การออกแบบและจัดทาเว็บไซต์ โดยทั่วไปแล้วสาหรับเว็บไซต์ ประชาสัมพันธ์องค์กร การออกแบบเว็บไซต์ เป็นเพียงส่วนที่ทาหน้าที่นาเสนอข้อมูลขององค์กร หรือ บริษัทให้แก่ผู้เยี่ยมชมได้อย่างสะดวก และด้วยการออกแบบที่ดีที่จะสื่อถึงความเป็นเอกลักษณ์ของ องค์กร หรือบริษัทจะนามาซึ่งความน่าเชื่อถือให้เกิดแก่ผู้เข้าเยี่ยมชมได้ หากแต่มักมีคนเข้าใจผิด เกี่ยวกับการออกแบบเว็บไซต์ ว่าเว็บไซต์ที่มีการออกแบบดีมีความสวยงาม และมีการนาเสนอที่ น่าสนใจจะสามารถดึงดูด และเพิ่มปริมาณผู้เข้าเยี่ยมชมได้ ในความเป็นจริงแล้ว การเข้าถึง กลุ่มเป้าหมาย และเพิ่มปริมาณของผู้เข้าเยี่ยมชมนั้น เป็นหน้าที่หลักของการทาประชาสัมพันธ์ เว็บไซต์ ไม่ใช่จากการออกแบบและจัดทาเว็บไซต์ Content : เนื้อหาของเว็บไซต์ ถือว่าเป็นสิ่งที่สาคัญที่สุดในองค์ประกอบของเว็บไซต์ เพราะคือสิ่งที่ผู้ เยี่ยมชมค้นหา โดยปกติแล้วเราสามารถใส่เนื้อหาที่เกี่ยวข้องกับสินค้า หรือบริการขององค์กรของเรา ได้โดยละเอียด อีกทั้งจาต้องนาเสนออย่างชัดเจนอีกด้วย เช่น รูปภาพของสินค้า หรือสถานที่บริการ เป็นต้น จึงจะทาให้ผู้เข้าเยี่ยมชมได้ประโยชน์จากการเข้าชมเว็บไซต์อย่างแท้จริง อันจานามาซึ่ง ผลประโยชน์ทางธุรกิจในอนาคตได้ Hosting : พื้นที่จัดวางและติดตั้งเว็บไซต์ เป็นองค์ประกอบที่ สาคัญมากไม่น้อยกว่าเนื้อหาของเว็บไซต์ (Content) เพราะการเลือกผู้ให้บริการโฮสติ้งที่ดี มีการซัพ พอร์ตลูกค้าที่ดีและรวดเร็ว เซิร์ฟเวอร์มีความเสถียรภาพสูง สามารถติดต่อเจ้าหน้าที่ที่ดูแลเซิร์ฟเวอร์ ได้ตลอดเวลา คือหัวใจสาคัญในการเลือกผู้ให้บริการด้านนี้ นอกจากความพร้อมในการออกแบบและ จัดทาเว็บไซต์แล้ว เรายังมีความพร้อมอย่างยิ่งในการให้บริการโฮสติ้งแก่ลูกค้าเราเป็นอย่างดี อีกด้วย ซึ่งทาให้เว็บไซต์และอีเมล์ของลูกค้าสามารถเข้าถึงได้ตลอดเวลา อันส่งผลให้ธุรกิจของลูกค้ามีความ ต่อเนื่องในการทางานอยู่เสมอ
  • 10. 10 Promotion : การทาประชาสัมพันธ์เว็บไซต์ เป็นองค์ประกอบที่สาคัญมากอีกอย่างหนึ่ง เมื่อเราได้ จัดทาเว็บไซต์เสร็จแล้ว จะต้องอาศัยการประชาสัมพันธ์เว็บไซต์ เพื่อให้เข้าถึงกลุ่มเป้าหมายมากที่สุด โดยอาศัยวิธีการต่างผ่านช่องทางอินเตอร์เน็ต เช่น Search Engine Submission, Registration Web Directory, Mailing List, Banner Link Exchange เหล่านี้เป็นต้น นอกเหนือจากนี้ อาจใช้ชื่อ domain name ในการประชาสัมพันธ์เว็บไซต์ผ่านสื่ออื่น ๆ เช่น ในนามบัตร, ใบปลิวหรือ โบรชัวร์ ของบริษัท เป็นต้น จากที่กล่าวมาทั้งหมดนั้น ในการจัดทาเว็บไซต์ขึ้นมาเว็บไซต์หนึ่ง สามารถ กาหนดวัตถุประสงค์ หรือเลือกจัดทาเว็บไซต์ในลักษณะใดลักษณะหนึ่ง หรือเลือกที่จะใช้รูปแบบ และ ประโยชน์ของการจัดทา หลักการและกลยุทธ์ในการประชาสัมพันธ์ การประชาสัมพันธ์ คือ การสร้างความเข้าใจอันดี โดยใช้สื่อทุกรูปแบบ เพื่อสร้าง ความสัมพันธ์ระหว่างหน่วยงานของรัฐกับประชาชน และระหว่างประชาชนกับหน่วยงานของรัฐ ทั้งนี้ การประชาสัมพันธ์จะต้องดาเนินการอย่างจริงจัง ต่อเนื่อง โดยยึดหลักความจริงเป็นหลัก วัตถุประสงค์ของการประชาสัมพันธ์ มี 3 ประการคือ 1. ป้องกันชื่อเสียงมิให้เสื่อมเสีย ทั้งนี้หน่วยงานต่าง ๆ จะต้องประชาสัมพันธ์เชิงรุก โดย เผยแพร่ผลงาน ชี้แจงเหตุผลในการดาเนินการต่าง ๆ ทั้งก่อน ระหว่างหรือภายหลังดาเนิน การ โครงการต่าง ๆ 2. ก่อให้เกิดความเข้าใจอันดี ในการดาเนินการประชาสัมพันธ์จะต้องคานึงถึง การเกิด ความ เข้าใจอันดีระหว่างกันและกัน 3. แก้ไขความผิดพลดหรือกฎระเบียบต่างๆ ปัญหาความไม่เข้าใจกันอย่างหนึ่งคือ ระบบ ราชการมักจะอ้างกฎ ระเบียบ ข้อบังคับต่าง ๆ จึงทาให้การปฏิบัติงานขาดความรวดเร็วไมทันการจึง เป็นสาเหตุสาคัญที่ทาให้เกิดความเข้าใจผิดเสมอ ฉะนั้น จาเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องแก้ไขกฎระเบียบ ต่างๆ กระบวนการประชาสัมพันธ์ ประกอบด้วย 4 ขั้นตอนคือ 1. การศึกษาสารวจวิจัย เป็นขั้นตอนแรกของการประชาสัมพันธ์กล่าวคือการจะดาเนินการ ต่างๆ จะต้องศึกษา สารวจ วิจัย ปัญหา ทัศนคติของเจ้าหน้าที่ ประชาชน ชุมชน หน่วยงานต่างๆ ว่ามี แนวคิดเกี่ยวกับงาน คน หน่วยงานต่างๆ ของเราในทางบวก ทางลบอย่างไร ทั้งนี้เพื่อเป็นข้อมูล ใน การดาเนินการขั้นต่อไป 2. การวางแผน เมื่อทราบปัญหา ทัศนคติต่างๆ แล้วจะต้องมีการวางแผนว่าจะดาเนินการ รณรงค์อย่างไร เช่น วัน เวลา สถานที่ดาเนินการ กิจกรรมการใช้วัสดุ อุปกรณ์ กาลังคน งบประมาณ ฯลฯ เพื่อให้งานออกมามีประสิทธิภาพเป็นไปตามวัตถุประสงค์ 3. การดาเนินการ เป็นขั้นตอนในการใช้สื่อ ช่องทางการประชาสัมพันธ์ให้เหมาะสม เกิด ประโยชน์สูงสุด เช่น การนาชมสถานที่ จัดหน่วยประชาสัมพันธ์เคลื่อนที่ เผยแพร่ข่าว กิจกรรม ผ่าน สื่อมวลชนต่างๆ ฯลฯ
  • 11. 11 4. การประเมินผล สามารถประเมินผลการดาเนินงานได้ตลอดเวลาทั้งก่อนดาเนินการ ใน ระหว่างดาเนินงาน หรือสิ้นสุดโครงการแล้ว ทั้งนี้เพื่อให้กิจกรรมนั้นประสบผลสาเร็จ ตาม วัตถุประสงค์ดีที่สุด ในการดาเนินงานประชาสัมพันธ์นั้นจะต้องยึดหลัก SMCR กล่าวคือ 1. Source หรือตัวเรา จะต้อง 1.1 มีความรู้ คือจะต้องรู้เรื่อง -การประชาสัมพันธ์และมีทักษะ ประสบการณ์การสื่อสาร ถ่ายทอด พอสมควร -บทบาท หน้าที่ ภารกิจหน่วยงานของเรา -หน้าที่หลัก หน้าที่รอง ของเรา -งานที่เราจะไปดาเนินการ และสภาพ ชุมชน แวดล้อมต่างๆ 1.2 มีความเข้าใจ คือจะต้องเข้าใจ -จุดอ่อน จุดแข็ง โอกาส อุปสรรค ในการดาเนินงาน -เจ้าหน้าที่ทุกคนใน หน่วยงานมีความเข้าใจ สามารถอธิบาย ชี้แจง โต้ตอบได้ และมีเป้าหมายการทางานอันเดียวกัน -ขีดจากัดในการดาเนินงาน เช่น กาลังคน งบประมาณ กฎระเบียบ ฯลฯ 2. Message หรือ เนื้อหา จะต้อง ศึกษา ค้นคว้า เนื้อหาสาระให้แม่นยา สามารถอ้างอิงได้ สามารถนามาประยุกต์ใช้ได้ สามารถเชื่อมโยงการดาเนินงานกับหน่วยงานอื่น 3. Channel หรือ ช่องทางการสื่อสาร มีมากมาย เช่น วิทยุ โทรทัศน์ หนังสือพิมพ์ การ แข่งขัน การประกวด การพาชมสถานที่ การจัดหน่วยชุมชนสัมพันธ์ ฯลฯ ซึ่งการจะใช้ ช่องทางใดใน การสื่อสารนั้น ควรคานึงถึง 3.1 ความเหมาะสมกับสภาพพื้นที่ ชุมชน ผู้คน 3.2 การรับรู้ ความเข้าใจของผู้คน 3.3 ประสิทธิภาพ ประสิทธิผล การเกิดประโยชน์สูงสุดและประหยัด 4. Receiver หรือผู้รับสาร มีความสาคัญที่สุดเนื่องจากเป็นจุดสุดท้ายในการสื่อสาร ซึ่ง สามารถประเมินผลได้ว่า การประชาสัมพันธ์นั้นประสบผลสาเร็จตามวัตถุประสงค์หรือไม่
  • 12. 12 การจัดการเรียนการสอนผ่านเว็บ 1. ความหมายของการเรียนการสอนผ่านเว็บ ภาสกร เรืองรอง ได้กล่าวถึงการเรียนการสอนผ่านเว็บ (Web Based Instruction: WBI) เป็นเครื่องมือสาหรับการจัดการเรียนการสอนในรูปแบบE-Learning ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของ E Education และเป็นส่วนย่อยของระบบใหญ่ E Commerce ดังรูปที่ 2.1 รูปที่ 1.องค์ประกอบต่างๆภายในระบบ E-Commerce การเรียนการสอนผ่านเว็บ เป็นการจัดการศึกษาในรูปแบบ Web Knowledge Based On Line เป็นการจัดสภาวการณ์การเรียนการสอน ในรูปแบบOn Line โดยมีข้อกาหนดว่าการจะเป็น การเรียนการสอนผ่านเว็บ จะต้องมีสิ่งต่อไปนี้อย่างสมบรูณ์ ได้แก่ 1. ความเป็นระบบ 2. ความเป็นเงื่อนไข 3. การสื่อสารหรือกิจกรรม 4. Learning Root 1.1 ความเป็นระบบ รูปที่ 2 ความเป็นระบบของการศึกษาบนอินเตอร์เน็ต
  • 13. 13 ความเป็นระบบสามารถแบ่งเป็น Input ได้แก่ 1. ผู้เรียน 2. ผู้สอน 3. วัตถุประสงค์การเรียน 4. สื่อการสอน 5. ฐานความรู้ 6. การสื่อสาร และ กิจกรรม 7. การประเมินผล 8. อื่น ๆ Process ได้แก่ การสร้างสถานการณ์หรือการจัดสภาวะการเรียนการสอน โดยใช้วัตถุดิบจากInput อย่างมี กลยุทธ หรือ ตามที่กาหนดไว้ในแผนการสอน Output ได้แก่ ผลสัมฤทธิ์การเรียนรู้ ซึ่งได้จากการประเมินผลการเรียน 1.2 ความเป็นเงื่อนไข รูปที่ 3 ความเป็นเงื่อนไขของการเรียนการสอนผ่านเว็บ เงื่อนไขเป็นส่วนสาคัญอย่างยิ่งสาหรับการเรียนการสอนผ่านเว็บ เช่นกาหนดเงื่อนไขว่า เมื่อ เสร็จสิ้นจากการเรียนแล้วจะต้องทาแบบประเมินการเรียน หากทาแบบประเมินผ่านตามคะแนนที่ กาหนดไว้ ก็สามารถไปศึกษาบทเรียนอื่นๆหรือบทเรียนที่ยากขึ้นเป็นลาดับได้ แต่ถ้าไม่ผ่านตาม เงื่อนไขที่กาหนด ก็จะต้องเรียนซ้าจนกว่าจะผ่าน
  • 14. 14 1.3 การสื่อสารหรือกิจกรรม รูปที่ 4 การเรียนการสอนผ่านเว็บกับการสื่อสาร การสื่อสารและกิจกรรมจะเป็นตัวกระตุ้นให้นักเรียนเกิดการปฏิสัมพันธ์ หรือการสื่อสารขึ้น ภายในสถานการณ์การเรียน โดยไม่ต่างจากห้องเรียนปกติอาจเรียกว่าเวอร์ชวลคลาสรูม ( Virtual Classroom )กิจกรรมจะเป็นตัวช่วยให้การเรียนเข้าสู่เป้าหมายได้ง่ายขึ้น เช่น ใช้Mail Chat Webboard Search ฯลฯ ติดต่ออาจารย์หรือเพื่อนร่วมชั้นเรียนเพื่อถามข้อสงสัย การเรียนการสอนผ่านเว็บสามารถทาการสื่อสารภายใต้ระบบMultiuser ได้อย่างไร้พรมแดน โดย ผู้เรียนสามารถติดต่อสื่อสารกับผู้เรียนด้วยกัน อาจารย์ หรือผู้เชี่ยวชาญ ฐานข้อมูลความรู้ และยัง สามารถรับส่งข้อมูลการศึกษาอิเล็กทรอนิกส์ (Electronics Education Data ) อย่างไม่จากัดเวลา ไม่จากัดสถานที่ ไม่มีพรมแดนกีดขวางภายใต้ระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต หรืออาจเรียกว่าเป็น เวอร์ชวลคลาสรูม ( Virtual classroom) เลยก็ได้ และนั้นก็คือการกระทากิจกรรมใด ๆ ภายใน โรงเรียน ภายในห้องเรียน สามารถทาได้ทุกอย่างในระบบการเรียนการสอนผ่านเว็บ ที่อยู่บนระบบ เครือข่ายอินเทอร์เน็ต จนกระทั่งจบการศึกษา การสื่อสารในการเรียนการสอนผ่านเว็บ สามารถแยกออกได้หลายอย่างเช่น E-mail Web board Chat Conference Electronics Home Work และอื่นๆอีกมากมาย ตามที่เทคโนโลยีอินเทอร์เน็ตจะคิดพัฒนาขึ้นมา
  • 15. 15 Email ความหมาย ลักษณะการใช้ในการเรียนการสอน ใช้ติดต่อสื่อสารระหว่างเฉพาะผู้ที่เป็นสมาชิก อินเทอร์เน็ตเท่านั้น ผู้อื่นจะไม่สามารถอ่านได้ ( Two Way ) ใช้ติดต่อสื่อสารระหว่างอาจารย์ หรือเพื่อนร่วม ชั้นเรียนด้วยกันใช้ส่งการบ้านหรืองานที่ได้รับ มอบหมาย Webboard ความหมาย ลักษณะการใช้ในการเรียนการสอน ใช้ติดต่อสื่อสารระหว่าง ผู้เรียน อาจารย์ และผู้เรียน ( Three Way ) ใช้กาหนดประเด็นหรือกระทู้ตามที่อาจารย์กาหนด หรือ ตามแต่นักเรียนจะกาหนด เพื่อช่วยกันอภิปรายตอบ ประเด็น หรือกระทู้นั้น Chat ความหมาย ลักษณะการใช้ในการเรียนการสอน ใช้ติดต่อสื่อสารระหว่าง ผู้เรียน อาจารย์ และ ผู้เรียน ( Three Way ) โดยการสนทนาแบบ Real Time มีทั้ง Text Chat และ Voice Chat ใช้สนทนา ระหว่างผู้เรียนและอาจารย์ในห้องเรียน หรือชั่วโมงเรียน นั้น ๆ เสมือนว่ากาลังคุยกันอยู่ใน ห้องเรียนจริงๆ Conference ความหมาย ลักษณะการใช้ในการเรียนการสอน ใช้ติดต่อสื่อสารระหว่าง ผู้เรียน อาจารย์ และผู้เรียน ( Three Way ) แบบ Real Time โดยที่ผู้เรียนและ อาจารย์ สามารถเห็นหน้ากันได้ โดยผ่านทาง กล้องโทรทัศน์ที่ติดอยู่กับคอมพิวเตอร์ทั้งสองฝ่าย ใช้บรรยายให้ผู้เรียนกับที่อยู่หน้าเครื่อง เสมือนว่ากาลังนั่งเรียน อยู่ในห้องเรียน จริงๆ Electronics Home Work ความหมาย ลักษณะการใช้ในการเรียนการสอน ใช้ติดต่อสื่อสารระหว่างผู้เรียนอาจารย์เป็นเสมือน ประจาตัวนักเรียน โดยที่นักเรียนไม่ต้องถือสมุด การบ้านจริงๆเป็นสมุดการบ้านที่ติดตัว ตลอดเวลา ใช้ส่งงานตามที่อาจารย์กาหนดเช่นให้เขียน รายงานโดยที่อาจารย์สามารถเปิดดู Electronics Home Work ของนักเรียนและ เขียนบันทึกเพื่อ ตรวจงานและให้คะแนนได้ แต่นักเรียนด้วยกันจะ เปิดดูไม่ได้ อย่างไรก็ตามการดาเนินจัดการกิจกรรมสื่อสารบนการเรียนการสอนผ่านเว็บจาเป็นต้องทาภายใต้ แผนการสอน ที่มีการกาหนดแนวทางการทากิจกรรมอย่างชัดเจน
  • 16. 16 การจัดการเรียนการสอนให้มีประสิทธิภาพประสบความสาเร็จได้นั้น กิจกรรมนับเป็นปัจจัยที่ สาคัญมากอย่างหนึ่ง หากขาดซึ่งกิจกรรมแล้ว การเรียนการสอนนั้นก็จะแห้งแล้งน่าเบื่อหน่าย จนกระ ทั้งผู้เรียนหมดความสนใจในการเรียน เมื่อกล่าวถึงการจัดกิจกรรมที่เป็นการเรียนการสอนในห้องเรียน หลายท่านมักจะกล่าวว่าทาได้ไม่อยาก แต่หากเป็นการจัดกิจกรรมในไซเบอร์คลาสรูม(Cyber Classroom) หรือ อาจเรียกอีกอย่างหนึ่งว่าเวอร์ชวลคลาสรูม (Virtual Classroom) โดยใช้การ เรียนการสอนผ่านเว็บเป็นเครื่องมือนั้น ไม่สามารถจัดได้เลย เนื่องจากผู้เรียนและผู้สอนนั้นอยู่กันคน ละที่คนละเวลา เพื่อสร้างความเข้าใจเกี่ยวกับการจัดกิจกรรมบนเวอร์ชวลคลาสรูม(Virtual Classroom) จึงขอยกตัวอย่างดังนี้ รูปที่ 5 โมเดลการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนผ่านเว็บ (ThaiWBI’s WBI Activity Model) Situation Classroom Number 1 เป็นการเริ่มต้นจัดกิจกรรมการเรียนการสอน ณ.จุดเริ่มต้น ของห้องเรียนที่เผชิญประสบการณ์การเรียนการสอนก่อนชั้นเรียนอื่นๆ เช่น ชั้น ม.1 ภาคเรียนต้น ปี การศึกษา 2544 เรียนเรื่องการสืบพันธ์ของสิ่งมีชีวิต Preparing Knowledge ( เตรียมการรับความรู้) ผู้เรียนในชั้นม. 1 ภาคเรียนต้น ปีการศึกษา 2544 เริ่มรับ วัตถุประสงค์และกรอบประสบการณ์การเรียนรู้ จากครูผู้สอนหรืออาจเรียกอีกอย่างว่า "ผู้ควบคุมการเรียนรู้" เรื่องการสืบพันธ์ของสิ่งมีชีวิต Seek Knowledge ( แสวงหาความรู้) เมื่อรับวัตถุประสงค์และกรอบประสบการณ์การเรียนรู้ จาก ครูผู้สอนแล้ว ผู้เรียนก็เริ่มแสวงหาความรู้จากเส้นทางความรู้ที่ครูวางเป็นไว้ให้เป็นแนวทาง เช่นสื่อ และแหล่งความรู้ภายใน Website ตนเอง(Internal Knowledge) หรือสื่อและแหล่งความรู้จาก ภายนอก Website ของตนโดยแบ่งเป็น Link จาก Website ต่างๆที่เกี่ยวข้อง (Relational Knowledge) หรือจาก Search Engine ตาม Keyword ที่กาหนด เช่น ศึกษา เรื่องการสืบพันธ์ของ สิ่งมีชีวิต ดังนี้
  • 17. 17 1. ศึกษาเรื่องการสืบพันธ์ของสิ่งมีชีวิตจาก http://www.myknowledge.com 2. สืบค้นข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับสิ่งมีชีวิตจาก http://www.yahoo.com Discussion Knowledge ( เสวนาความรู้) หลังจากที่เผชิญประสบการณ์และแสวงหาความรู้จาก internal และ External Knowledge ข้างตนแล้ว ให้ผู้เรียนสนทนาเพื่อถกเถียงและหาข้อสรุป ความรู้ที่ได้ดังนี้ 1. ให้ผู้เรียนสนทนาตามเวลาที่กาหนดกับ ครูผู้สอน และ ผู้เรียนในชั้นเรียน เรื่องการสืบ พันธ์ของสิ่งมีชีวิต 2. สนทนาสักถามความรู้จากผู้เชี่ยวชาญที่ครูผู้สอนกาหนด หรือ จากผู้ที่ต้องการร่วม แลกเปลี่ยนประสบการณ์ เรื่องการสืบพันธ์ของสิ่งมีชีวิต 3. หาขอสรุปของความรู้ที่ได้จากการสนทนาจากกลุ่มสนทนาทั้งหมด เรื่องการสืบพันธ์ของ สิ่งมีชีวิต Building Knowledge Based ( หลักฐานความรู้) เมื่อได้ข้อสรุปของความรู้แล้วเราจาเป็นที่ จะต้องทาการสร้างหลักฐานของความรู้เพื่อเป็นKnowledge Based สาหรับผู้เรียนกลุ่มต่อๆมา โดย สามารถจัดได้ดังนี้ 1. เมื่อสนทนาแลกเปลี่ยนความรู้จากChatroom จนได้ขอสรุปของความรู้เรื่องการสืบพันธ์ ของสิ่งมีชีวิต แล้วให้ผู้เรียนเขียนสรุปลงบนWeb board เช่น เรื่องการสืบพันธ์ของสิ่งมีชีวิต มีกี่ ประเภท 2. ให้ตั้งคาถามที่เกี่ยวข้องกับข้อสรุปความรู้ที่ได้มาเพื่อให้เกิดข้อสนับสนุนหรือโต้แย้งความรู้ ที่ได้มา เช่น เรื่องการสืบพันธ์ของสิ่งมีชีวิต เราอาจค้นพบว่ามีวิธีการที่มากกว่ากลุ่มเรียนกลุ่มแรก เช่นผสมพันธ์เทียมเป็นต้น 3. ให้ตอบคาถามของเพื่อนๆในกลุ่มเรียนเดียวกัน 4. ได้ข้อสรุปรวบยอดแล้วให้ 4.1 เขียนลงสมุดการบ้าน Electronic 4.2 หรือเขียนสรุปแล้วแนบ File ส่งมากับ E-mail ให้อาจารย์ผู้สอน 4.3 หรือสร้างเป็น Homepage ขึ้นมา 4.5 หรือจัดเป็นนิทรรศการ 4.6 หรือเขียนเป็น Report 4.7 หรือนามารายงานหน้าชั้นเรียน 4.8 หรือสร้างเป็นรายการVideo 4.9 หรือแสดงเป็นละคร ณ วันเวลา หรือเทศกาลที่กาหนด 4.10 ETC..... ที่ยืนยันได้ว่าได้รับประการณ์ความรู้ที่กาหนดไว้แล้ว Situation Classroom Number 2 เป็นการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน ต่อจากปีการศึกษาที่ แล้วของ Situation Classroom Number 1 เช่น ชั้น ม. 1 ภาคเรียนต้น ปีการศึกษา 2545 เรียน
  • 18. 18 เรื่องวิชาการสืบพันธ์ของสิ่งมีชีวิต ซึ่งได้รับความรู้ที่เหมือนกัน ขั้นตอนการจัดกิจกรรมจะเหมือนกับ Situation Classroom Number 1 ทุกอย่าง แต่แตกต่างกันตรงที่จะได้รับประสบการณ์ความรู้ที่สูง กว่า เช่น Classroom Number 1 สรุปประสบการณ์ความรู้ เรื่องการสืบพันธ์ของสิ่งมีชีวิต มี 2. คือการร่วมเพศ และการผสมเทียม แต่ใน Classroom Number 2 อาจค้นพบว่า การสืบพันธ์ของ สิ่งมีชีวิต มี มากกว่า 2. วิธีคือ มีการ โครนนิ่ง ด้วย เป็นต้น ดังภาพพีระมิดฐานความรู้ข้างล่างนี้ รูปที่ 6 พีระมิดฐานความรู้ จะเห็นได้ว่าการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนบนระบบเครือข่าย โดยใช้การเรียนการสอนผ่านเว็บ เป็นเครื่องมือนั้นมีเทคนิคไม่อยากเลย เพียงแต่รู้จักใช้ความสามารถการสื่อสารของเทคโนโลยีเว็บ (Web Technology) ให้ครบวงจรตามโมเดลที่ได้เสนอข้างต้น ก็สามารถจัดกิจกรรมบนระบบ เครือข่ายได้ไม่อยาก 1.4 Learning Root เป็นการกาหนดแหล่งความรู้ภายนอกที่เกี่ยวข้องกับบทเรียน โดยมีเงื่อนไข เช่น แหล่งความรู้ภายนอก ที่มีความยากเป็นลาดับ หรือ เกี่ยวข้องกับหัวข้อการเรียนเป็นลาดับ การ กาหนด Leaning Root โดยใช้ เทคนิคเฟรมจะช่วยให้ผู้เรียนไม่เกิดภาวะหลงทาง 2. การสร้างเนื้อหาบนสื่อการเรียนการสอนผ่านเว็บ การสร้างเนื้อหาบนการเรียนการสอนผ่านเว็บนั้นมิใช่เรื่องง่ายเท่าไรนัก โดยเฉพาะครูผู้สอนที่ยัง มือใหม่ ไม่ค่อยคุ้นเคยกับการเขียนเนื้อหาและผลิตสื่อการสอนด้วยตนเอง หรือแม้กระทั้งครูผู้สอนที่มี ความเชี่ยวชาญด้านเขียนเนื้อหาและผลิตสื่อก็ตามที มิได้หมายความว่าท่านจะเป็นผู้เชี่ยวชาญเขียน เนื้อหาได้ไปหมดทุกเรื่อง อินเทอร์เน็ตมีข้อมูลเนื้อหาและสื่อการเรียนการสอนมากมายที่สามารถ นามาใช้ร่วมกับวิชาเราได้บ้าง ไม่มากก็น้อย การสร้างความสัมพันธ์การฐานข้อมูลเนื้อหาเหล่านี้ จะ อานวยความสะดวกสบายต่อการสอนของวิชาเรามาก โดยที่ครูผู้สอนไม่จาเป็นต้องมีความรู้เชี่ยวชาญ ในการเขียนเนื้อหาทุกเรื่องไป ก่อนอื่นจะทาการสร้างความสัมพันธ์เนื้อหาหลักสูตร (Course Relation) จาเป็นที่จะต้องทาการ วิเคราะห์เนื้อหาของเราก่อน ( Course Analysis) เพื่อทาการแบ่งเนื้อหา ( Mapping) โดย แนว ทางการแบ่งเนื้อหาสามารถทาได้ตามภาพข้างล่างนี้
  • 19. 19 รูปที่ 7 ตัวอย่างการแบ่งเนื้อหารายวิชา การวิเคราะห์เนื้อหาเรามักจะเริ่มที่พิจารณาในคาอธิบายรายวิชา จากนั้นก็จัดแบ่งเป็น วัตถุประสงค์การเรียนตามทักษะของรายวิชาที่กาหนดไว้ โดยยึดตามหลักการกาหนดวัตถุประสงค์ ดังที่ได้กล่าวไปแล้วในเรื่องของวัตถุประสงค์การเรียน ซึ่งจะขอกล่าวพอสังเขป ดังนี้ 1. พุทธพิสัย (Cognitive Domain) หมายถึงความรู้ความเข้าใจการจดจาในเนื้อหา 2. จิตพิสัย (Effective Domain) หมายถึงความซาบซึ้งความรู้สึกผิดชอบชั่วดี 3. ทักษะพิสัย (Psychomotor Domain) หมายถึงทักษะการฝึกหัด ของร่างกาย เมื่อกาหนดวัตถุประสงค์แล้วเราก็มาทาการแบ่งเนื้อหากัน การแบ่งเนื้อหา เรามักจะยึดวัตถุประสงค์ การเรียนเป็นหลัก เช่นวัตถุประสงค์ข้อที่ 1 อาจครอบคลุมเนื้อหาได้ 2 -3 บทเรียน หรือมากกว่านั้นก็ ได้ เมื่อแบ่งเนื้อหาเป็นบทเรียนต่างๆแล้ว ในบทเรียนนั้นเรายังแบ่งเป็นตอนเรียนต่างๆอีก หากเรา พบว่าในตอนเรียนยังมีเนื้อหามากจนเกินไปเราก็สามารถ แบ่งเป็นเรื่องย่อยต่างๆได้ ดังภาพข้างบน จากที่เราได้ทาการวิเคราะห์จัดแบ่งเนื้อหาได้เรียบร้อยแล้วเราก็มาทาการสร้างความสัมพันธ์เนื้อหา (Course Relation) ดังตัวอย่าง แบบวิเคราะห์เพื่อสร้างความสัมพันธ์เนื้อหา (Course Relation) ข้างล่างนี้
  • 20. 20 ตารางที่ 1. ตัวอย่างแบบวิเคราะห์เพื่อสร้างความสัมพันธ์เนื้อหา ( Course Relation) บทเรียน ที่ 1 บทเรียน ที่ 2 บทเรียน ที่ n แหล่งความรู้ ตอน เรียน ที่ 1 ตอน เรียน ที่ 2 ตอน เรียน ที่ n ตอน เรียน ที่ 1 ตอน เรียน ที่ 2 ตอน เรียน ที่ n ตอน เรียน ที่ 1 ตอน เรียน ที่ 2 ตอน เรียน ที่ n URL x x x www.course1.com www.course2.com x x www.course3.com www.course4.com x www.course5.com x x www.course6.com แหล่งข้อมูล URL ต่าง ๆ ที่มีเนื้อหาสัมพันธ์เกี่ยวข้องกับบทเรียนวิชาของเรานั้นมีมากมาย แต่มิได้ หมายความว่าจะมีเนื้อหาตรงต่อความต้องการของเราไปหมดทุกเรื่อง เราจาเป็นจะต้องทาการ วิเคราะห์เพื่อสร้างความสัมพันธ์เนื้อหาว่า ข้อมูลที่เราได้มานั้นสามารถนาไปสัมพันธ์กับเนื้อหาใน บทเรียนใด ตอนเรียนใด หัวเรื่องใดได้บ้าง การวิเคราะห์ทาได้โดยไม่อยาก ดังตัวอย่างข้างบน โดย เราสามารถทาเครื่องหมายถูกลงบน บทเรียน ตอนเรียน ที่เกี่ยวข้องได้เลย อย่างไรก็ตามคงไม่มีแหล่งข้อมูล URL ที่มีความสัมพันธ์ตรงต่อความต้องการครบทั้งรายวิชาที่เป็น บทเรียนของเรา ฉะนั้นเรายังจาเป็นที่จะต้องสร้างเนื้อหาและสื่อการสอนของเราเอง อีกทั้งยังเป็น แหล่งข้อมูลสาหรับการเรียนการสอนอื่น ๆ ด้วย ราชบัณฑิตยสถาน [4] ได้บัญญัติความหมายของการเรียนการสอนผ่านเว็บ (Web based Instruction) คือ การสอนโดยใช้เว็บเป็นฐานเป็นการผนวกคุณสมบัติไฮเปอร์มีเดียเข้ากับคุณสมบัติ ของเครือข่าย เวิล์ดไวด์เว็บ เพื่อเสริมสร้างสิ่งแวดล้อมแห่งการเรียนในมิติที่ไม่มีขอบเขตจากัดด้วย ระยะทางและเวลาที่แตกต่างกันของผู้เรียน การใช้คุณสมบัติของไฮเปอร์มีเดียในการเรียนการสอนผ่านเครือข่ายนั้น หมายถึง การ สนับสนุนศักยภาพการเรียนด้วยตนเองตามลาพัง (One Alone ) กล่าวคือ ผู้เรียนสามารถเลือกสรร เนื้อหาบทเรียนที่เรียนอยู่ในรูปแบบไฮเปอร์มีเดีย ซึ่งเป็นเทคนิคการเชื่อมโยงเนื้อหาหลัก ด้วยเนื้อหา อื่นที่เกี่ยวข้องรูปแบบการเชื่อมโยงนี้เป็นได้ทั้งการเชื่อมโยงข้อความไปสู่เนื้อหาที่มีความเกี่ยวข้อง หรือสื่อภาพ และเสียง การเชื่อมโยงดังกล่าวจึงเป็นการเปิดโอกาสให้ผู้เรียนสามารถควบคุมการเรียน