SlideShare a Scribd company logo
วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 6
ครูผู้สอน
นายพิสุทธิ์ บุญเย็น
บทที่ 4 ระบบเครือข่ายและการสื่อสาร
บทที่ 4 ระบบเครือข่ายและการสื่อสาร
4.1 บทบาทแนวโน้มของการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ในปัจุบันบทบาทของการสื่อสารข้อมูลจะเป็นการให้บริการข้อมูลต่างๆ จานวน
มากและรวดเร็ว ในลักษณะฐานข้อมูล เช่น
ฐานข้อมูลงานวิจัย
ฐานข้อมูลทางเศรษฐกิจ
ฐานข้อมูลของสินค้าเครื่องอุปโภคบริโภค เป็นต้น
ประโยชน์ของการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
• สะดวกและรวดเร็วในการรับส่งข้อมูล
• ความถูกต้องของข้อมูล
• ประหยัดค่าใช้จ่ายในการสื่อสารข้อมูล
• ความสะดวกในการแบ่งปันทรัพยากร
• ความสะดวกในการประสานงาน
• สร้างบริการรูปแบบใหม่บนเครือข่าย
4.2 การสื่อสารข้อมูล
1. ข้อมูลข่าวสาร ( message ) คือ ข้อมูลหรือสารสนเทศต่างๆ ที่ส่ง อาจอยู่
ในรูปแบบตัวอักษร ตัวเลข รูปภาพ เสียง หรือ วีดิทัศน์
2. ผู้ส่ง ( Sender ) คือ อุปกรณ์ที่ใช้สาหรับส่งข้อมูลข่าวสารไปยังผู้รับ เช่น
คอมฯ โทรศัพท์
3. ผู้รับ ( Receiver ) คือ อุปกรณ์ที่ใช้สาหรับรับข้อมูลข่าวสารจากผู้ส่ง
เช่น เครื่องคอมฯ โทรศัพท์
4. สื่อกลางในการส่งข้อมูล ( media ) คือ สื่อกลางที่ทาหน้าที่เป็นตัวเชื่อม
ระหว่างผู้ส่ง กับผู้รับ เช่น สื่อกลางแบบมีสาย กับ สื่อกลางแบบไร้สาย
5. โพรโทคอล ( Protocol) คือ ข้อตกลงที่ใช้เป็นมาตรฐานในการสื่อสาร
ข้อมูลในเครือข่าย
1) สัญญาณที่ใช้ในระบบสื่อสาร
แบ่งออกเป็น 2 ประเภท
1. สัญญาณแอนะล็อก( analog signal ) เป็นสัญญาณแบบต่อเนื่องเกิดขึ้นตามธรรมชาติ มีลักษณะ
เป็นคลื่น เช่น เสียงพูด เสียงดนตรี เสียงฟ้ าผ่า ฟ้ าร้อง เป็นต้น
2. สัญญาณดิจิทัล ( digital signal ) เป็นสัญญาณแบบไม่ต่อเนื่องซึ่งไม่มีในธรรมชาติ ถูกสร้างขึ้น
เพื่อใช้รับส่งข้อมูลในระบบคอมพิวเตอร์ ซึ่งแทนค่าแรงดันไฟฟ้ าสองระดับ คือ 0 กับ 1 ซึ่งตรง
กับเลขฐานสอง
เราสามารถแปลงสัญญาณดิจิทัล เป็น สัญญาณอนาล็อกหรือ สัญญาณอนาล็อกเป็น สัญญาณดิจิทัล ได้
โดยใช้อุปกรณ์ที่เรียกว่าโมเด็ม ( Modem )
2) รูปแบบการรับ - ส่งข้อมูล
สามารถแบ่งได้ 3 รูปแบบ คือ
1. การสื่อสารทางเดียว ( Simple) ส่งข้อมูลไปยังเครื่องพิมพ์ หรือ การกระจายเสียงของสถานีวิทยุ
2. การสื่อสารสองทางครึ่งอัตรา ( half duplex ) ส่งได้ทั้งสองสถานี แต่ จะต้องผลัดกันส่ง ผลัดกันรับ
เช่น วิทยุสื่อสารของตารวจ
3. การสื่อสารสองทางเต็มอัตรา ( Full duplex ) ทั้งสองสถานีสามารรับส่งได้ในเวลาเดียวกัน เช่น
การสนทนาทางโทรศัพท์
สื่อกลางแบบใช้สาย
1) สายตีเกลียวคู่ หรือ สายคู่บิดเกลียว( twisted pair cable ) ประกอบด้วยเส้นลวดทองแดง 2 เส้น ที่หุ้มฉนวนพลาสติก พัน
บิดกันเป็นเกลียว เพื่อลดการรบกวนจากคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ า จากภายนอก สามารถส่งข้อมูลได้ถึง100 เมกะบิตต่อวินาที
( Mb/s )
4.3 สื่อกลางในการสื่อสาร
มีสองแบบคือ แบบที่ใช้สาย กับ แบบไร้สาย
แบบใช้สาย
2) สายโคแอคซ์ ( coaxial cable ) มีลักษณะเช่นเดียวกันกับสายที่ต่อมาจากเสาอากาศประกอบด้วยลวดทองแดงที่เป็น
แกนหลัก หุ้มด้วยตัวนาซึ่งเป็นลวดทองแดงถักเป็นเปียเพื่อป้ องกันการรบกวนของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ า ก่อนจะหุ้มด้วย
พลาสติก นิยมใช้เป็นช่องสื่อสารเชื่อมโยงผ่านใต้ทะเล และใต้ดิน
แบบใช้สาย
3) สายใยแก้วนาแสง ( Fiber optic cable ) แกนกลางของสายประกอบด้วยเส้นใยแก้ว หรือเส้น
พลาสติกขนาดเล็กภายในกลวง หลายๆ เส้น อยู่รวมกัน เส้นแต่ละเส้นมีขนาดเล็กเท่าเส้นผมมนุษย์ การ
ส่งข้อมูลจะใช้เลเซอร์วิ่งผ่านช่องกลวงในแต่ละเส้น และอาศัยการหักเหของแสง ส่งถ่ายข้อมูลได้
รวดเร็วมาก แต่ราคาค่อนข้างสูง และห้ามมีการบิดงอของสายสัญญาณ
สื่อกลางแบบไร้สาย
1. อินฟาเรด ( Infrared ) ส่งข้อมูลได้ในระยะใกล้ๆในช่วงความถี่ที่แคบมาก ใช้กับการสื่อสารที่ไม่มีสิ่งกีดขวาง
ระหว่างตัวรับสัญญาณ กับตัวส่งสัญญาณ เป็นแนวเส้นตรง ระยะไม่เกิน 1-2 เมตร เช่น
การส่งสัญญาณรีโมตคอนโทรลไปยังโทรทัศน์ เป็นต้น
2. คลื่นวิทยุ (RadioFrequency) ใช้ส่งสัญญาณไปในอากาศโดยมีตัวกระจายสัญญาณส่งไปยังตัวรับสัญญาณเช่น
• การสื่อสารในระบบวิทยุเอฟเอ็ม ( Frequency Modulation : FM )
• Am
• Wi-fi
• bluetooth
3. ไมโครเวฟ ( Microwave ) ใช้คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ าไปในอากาศพร้อมกับข้อมูลที่ต้องการส่งต้องมีสถานีที่ทาหน้าที่ส่งและ
รับข้อมูล มีการตั้งสถานี รับ-ส่งข้อมูลเป็นระยะๆ และส่งข้อมูลเป็นทอดๆ สถานีต้องตั้งบนที่สูง ยอดเขา ดาดฟ้ าของตึก
เช่น การสื่อสารข้อมูลผ่านดาวเทียม
 เป็นสถานีรับส่งสัญญาณไมโครเวฟบนท้องฟ้ า สร้างขึ้นเพื่อหลีกเลี่ยงข้อจากัดสถานีรับ – ส่งไมโครเวฟ
บนผิวโลก เพื่อใช้เป็นสถานี รับ-ส่ง สัญญาณไมโครเวฟบนอวกาศ
4. ดาวเทียม ( Satellite )
4.4. เครือข่ายคอมพิวเตอร์
 เครือข่ายคอมพิวเตอร์ (Computer Network ) เป็นการเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์และ
อุปกรณ์ต่อพ่วงเข้าด้วยกัน เพื่อให้สามารถสื่อสาร และใช้ข้อมูลร่วมกันได้ แบ่งออกตาม
สภาพการเชื่อมโยงได้เป็น 4 ชนิด ดังนี้
 1. เครือข่ายส่วนบุคคล ( Personal Area Network : PAN ) เป็นเครือข่ายที่ใช้ส่วนบุคคล เป็น
การเชื่อมต่อไร้สายระยะใกล้ๆ เช่น การเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์กับโทรศัพท์มือถือ
 2. เครือข่ายเฉพาะที่ ( Local Area Network : LAN ) เป็นเครือข่ายขนาดเล็ก เชื่อมโยงกัน
ภายในห้อง ภายในอาคาร
4.4. เครือข่ายคอมพิวเตอร์ ( ต่อ )
 3. เครือข่ายนครหลวง ( Metropolitan Area Network : MAN ) เป็นเครือข่ายที่เชื่อมโยงแลนที่
อยู่ห่างกัน เช่น ระหว่างสานักงานที่อยู่คนละอาคาร โดยมีลักษณะการเชื่อมโยงคอมพิวเตอร์ที่มี
ระยะไกลกันในช่วง 5-40 กิโลเมตร ผ่านสายสื่อสารประเภทสายใยแก้วนาแสง สายโอแอกเชียล
หรืออาจใช้คลื่นไมโครเวฟ
 4. เครือข่ายวงกว้าง ( Wide Area Network : WAN ) เป็นเครือข่ายขนาดใหญ่ที่เชื่อมโยงระบบ
คอมพิวเตอร์ในระยะไกล เช่น เชื่อมต่อระหว่างจังหวัด ระหว่างประเทศ หรือ เป็นต้น
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
1) ลักษณะของเครือข่าย
แบ่งตามบทบาทหน้าที่ของเครื่องคอมพิวเตอร์ในการสื่อสาร ดังนี้
• เครือข่ายแบบ รับ – ให้บริการ ( Client – server network ) แบ่ง
ออกเป็น 2 ส่วน คือ
• ส่วนผู้ให้บริการ หรือ เซิร์ฟเวอร์ ( Server ) หรือ เครื่อง แม่ข่าย มีหน้าที่
จัดเก็บและให้บริการไฟล์ข้อมูลและทรัพยากรอื่นๆ แก่คอมพิวเตอร์เครื่อง
อื่นๆ ในเครือข่ายเดียวกัน ต้องมีสมรรถนะสูง
• ส่วนของผู้ใช้บริการ หรือรับบริการ หรือไคลเอนต์ ( Client ) หรือเครื่องลูก
ข่าย เป็นเครื่องที่ร้องขอรับบริการ โดยสามารถเข้าถึงไฟล์ข้อมูลที่จัดเก็บบน
เครื่องเซิร์ฟเวอร์ได้
1) ลักษณะของเครือข่าย
• เครือข่ายระดับเดียวกัน ( Peer-to-peer network: P2P network)
เป็นเครือข่ายที่คอมพิวเตอร์ทุกเครื่องอยู่ในระดับเดียวกัน ทุกเครื่อง
สามารถแบ่งปันและเข้าถึงข้อมูลของเครื่องอื่นๆ ได้ ข้อดีคือ ราคาถูก
ง่ายต่อการใช้งาน แต่มีข้อเสียคือไม่มีการควบคุมความปลอดภัย
2) รูปร่างเครือข่าย ( NETWORK TOPOLOGY )
เป็นลักษณะของคอมพิวเตอร์ หรืออุปกรณ์รับ-ส่งข้อมูลที่ประกอบกันเป็นเครือข่าย
โดยเชื่อมโยงถึงกันในรูปแบบต่างๆ แบ่งออกเป็น4 รูปแบบ คือ
• เครือข่ายแบบบัส ( bus topology ) โดยทุกเครื่องจะเชื่อมต่อกับสายหลักเพียงสาย
เดียว หากเครื่องใดชารุดจะทาให้ไม่สามรถสื่อสารถึงกันได้
• เครือข่ายแบบวงแหวน ( Ring topology ) เป็นการเชื่อมต่อจุดต่อจุดเป็นวงรอบ
หรือวงแหวน โดยส่งข้อมูลในทิศทางเดียวไปให้เครื่องต่างๆจนถึงผู้รับ
2) รูปร่างเครือข่าย ( NETWORK TOPOLOGY )
• เครือข่ายแบบดาว ( Star topology ) เป็นการเชื่อมต่อแบบจุดต่อจุดที่ทุกเครื่องจะ
ต่อเข้ากับหน่วยสลับสายกลาง เช่น สวิตซ์ หรือ ฮับ ซึ่งทาหน้าที่เป็นศูนย์กลางการ
เชื่อมโยง หากเครื่องใดชารุดก็จะไม่กระทบกับการเชื่อมต่อกับเครื่องอื่น
• เครือข่ายแบบตาข่าย ( mesh topology ) เป็นการเชื่อมต่อของเครื่องแต่ละเครื่อง
ถึงกันทั้งหมด
4.5 โพรโทคอล
 โพรโทคอล ( Protocol) คือ ข้อตกลงที่ใช้เป็นมาตรฐานในการสื่อสารข้อมูลในเครือข่าย
ระหว่างผู้รับและผู้ส่ง ไม่ว่าจะเป็นวิธีการ อุปกรณ์ หรือ ความเร็วในการรับส่งข้อมูล ซึ่ง
จะต้องใช้โพรโทคอลชนิดเดียวกันเท่านั้น จึงจะสามารถติดต่อสื่อสารกันได้ เช่น
 ทีซีพี/ไอพี (Transmission Control Protocol/Internet Protocol : TCP/IP ) คือชุดของโพรโท
คอลที่ถูกใช้ในการสื่อสารผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต
 ไวไฟ ( Wireless Fidelity : Wi-Fi ) หรือระบบเครือข่ายไร้สาย ( Wireless LAN : WLAN )
เป็นเทคโนโลยีสื่อสารแบบไร้สายที่ช่วยให้คอมพิวเตอร์ หรือ อุปกรณ์ต่างๆ สามารถ
ติดต่อสื่อสารกันได้ ใช้คลื่นวิทยุเป็นหลัก โดยมาตรฐานของ Wi-fi ที่ใช้ปัจจุบันคือ 802.11
4.5 โพรโทคอล
 ไออาร์ดีเอ ( Infrared Data Association : IrDA ) เป็นโพรโทคอลที่ใช้แสงอินฟราเรดเชื่อต่อ
คอมพิวเตอร์ผ่านพอร์ต IrDA เป็นเส้นตรงและต้องไม่มีสิ่งกีดขวาง เป็นการสื่อสารระยะใกล้
 บลูทูท ( Bluetooth ) เป็นโพรโทคอลที่ใช้คลื่นวิทยุความถี่ 2.4 GHz รับส่งข้อมูลแบบไร้สาย
โดยคลื่นจะกระจายรอบทิศทางมีความยืดหยุ่น มีการทางานระยะสั้นมาก ประมาณ 30 ฟุต ในที่
โล่ง
4.6 อุปกรณ์สื่อสาร
 อุปกรณ์สื่อสาร ( Communication device ) ทาหน้าที่เชื่อมต่อกับเครือข่าย รับ และ ส่งข้อมูล
ผ่านสื่อกลางต่างๆ ซึ่งมีหลายประเภท เช่น
 โมเด็ม ( Modem ) ทาหน้าที่แปลงสัญญาณดิจิทัลให้เป็นสัญญาณแอนาล็อกเพื่อส่งข้อมูลผ่าน
สายโทรศัพท์ และ รับข้อมูลที่เป็นสัญญาณแอนาล็อก แล้วแปลงกลับมาเป็นสัญญาณดิจิทัลอีกครั้งหนึ่ง
4.6 อุปกรณ์สื่อสาร
 การ์ดแลน ( LAN card ) เป็นอุปกรณ์ที่ใช้สาหรับรับส่งข้อมูลระหว่างเครื่องคอมพิวเตอร์ หรืออุปกรณ์อื่นๆ
ในระบบเครือข่าย โดยใช้สายแลนในการเชื่อมต่อ
4.6 อุปกรณ์สื่อสาร
 ฮับ ( hub ) หรือ รีพีทเตอร์ ( repeater ) เป็นอุปกรณ์ที่ใช้รวมสัญญาณที่มาจากอุปกรณ์ รับ-ส่ง หลายๆ
สถานทีเข้าด้วยกันโดยส่งผ่านฮับจากเครื่องหนึ่งกระจายไปยังทุกสถานีที่ต่ออยู่บนฮับนั้น ดังนั้นทุกสถานี
จะรับสัญญาณข้อมูลที่กระจายมาได้ทั้งหมด แต่จะเลือกคัดเฉพาะข้อมูลที่ส่งมาถึงตนเท่านั้น
 สวิตซ์ ( switch ) ทาหน้าที่คล้ายกับฮับ แต่การทางานของสวิตช์ จะไม่กระจายไปทุกสถานีเหมือนฮับ แต่จะ
รับข้อมูลมาตรวจสอบหาสถานีปลายทางว่าอยู่ที่ใดแล้วจึงค่อยส่งต่อไปสถานีเป้ าหมายอย่างอัตโนมัติ
สวิตช์จึงลดปัญหาการชนกันของข้อมูล เพราะไม่ต้องกระจายข้อมูลไปทุกสถานี
4.6 อุปกรณ์สื่อสาร
 อุปกรณ์จัดเส้นทาง ( Router ) ทาหน้าที่เชื่อมโยงเครือข่ายหลายๆ เครือข่าย หรือ อุปกรณ์หลายๆ ชนิดเข้า
ด้วยกัน เพื่อให้การส่งข้อมูลมีประสิทธิภาพ ดังนั้น จึงมีเส้นทางเข้าออกของข้อมูลหลายเส้นทาง และแต่ละ
เส้นทางอาจใช้เทคโนโลยีเครือข่ายที่ต่างกัน
 จุดเชื่อมต่อแบบไร้สาย ( Wirelessaccess point ) ทาหน้าที่คล้ายกับฮับ แต่แตกต่างกันที่จุดเชื่อมต่อจะ
เชื่อมต่อแบบไร้สาย โดยข้อมูลจะส่งผ่านคลื่นวิทยุความถี่สูงและจะต้องใช้ร่วมกับการ์ดแลนแบบไร้สาย (
WirelessLAN card )

More Related Content

What's hot

บทที่ 5 เทคโน ม.6 อินเทอร์เน็ต
บทที่ 5 เทคโน ม.6 อินเทอร์เน็ตบทที่ 5 เทคโน ม.6 อินเทอร์เน็ต
บทที่ 5 เทคโน ม.6 อินเทอร์เน็ต
Bhisut Boonyen
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 11
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 11แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 11
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 11
โรงเรียนชุมชนโนนแดง
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9
โรงเรียนชุมชนโนนแดง
 
บทที่ 2 ข้อมูล สารสนเทศ และการจัดการ เทคโน ม.6
บทที่ 2 ข้อมูล สารสนเทศ และการจัดการ เทคโน ม.6บทที่ 2 ข้อมูล สารสนเทศ และการจัดการ เทคโน ม.6
บทที่ 2 ข้อมูล สารสนเทศ และการจัดการ เทคโน ม.6
ครู อินดี้
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
โรงเรียนชุมชนโนนแดง
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 13
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 13แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 13
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 13
โรงเรียนชุมชนโนนแดง
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ บทที่ 4
เทคโนโลยีสารสนเทศ บทที่ 4เทคโนโลยีสารสนเทศ บทที่ 4
เทคโนโลยีสารสนเทศ บทที่ 4
Nuttapoom Tossanut
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 12
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 12แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 12
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 12
โรงเรียนชุมชนโนนแดง
 
ความหมายและพัฒนาการอินเทอร์เน็ต
ความหมายและพัฒนาการอินเทอร์เน็ตความหมายและพัฒนาการอินเทอร์เน็ต
ความหมายและพัฒนาการอินเทอร์เน็ตpatchu0625
 
ความหมายและพัฒนาการของอินเทอร์เน็ต
ความหมายและพัฒนาการของอินเทอร์เน็ตความหมายและพัฒนาการของอินเทอร์เน็ต
ความหมายและพัฒนาการของอินเทอร์เน็ต
Haprem HAprem
 
บทที่2เรื่องการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
บทที่2เรื่องการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์บทที่2เรื่องการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
บทที่2เรื่องการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์Piyanoot Ch
 
ใบความรู้ เรื่อง การสื่อสารข้อมูล
ใบความรู้ เรื่อง การสื่อสารข้อมูลใบความรู้ เรื่อง การสื่อสารข้อมูล
ใบความรู้ เรื่อง การสื่อสารข้อมูล
kruumawan
 
ใบความรู้เรื่อง การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ (1)
ใบความรู้เรื่อง การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ (1)ใบความรู้เรื่อง การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ (1)
ใบความรู้เรื่อง การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ (1)Puangkaew Kingkaew
 
การสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูลการสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูล
Aqilla Madaka
 
หน่วยที่ 3 อินเทอร์เน็ตและการใช้งาน
หน่วยที่  3 อินเทอร์เน็ตและการใช้งานหน่วยที่  3 อินเทอร์เน็ตและการใช้งาน
หน่วยที่ 3 อินเทอร์เน็ตและการใช้งาน
อรยา ม่วงมนตรี
 
หน่วยที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 2
หน่วยที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 2หน่วยที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 2
หน่วยที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 2
อรยา ม่วงมนตรี
 
การสื่อสารข้อมูล1
การสื่อสารข้อมูล1การสื่อสารข้อมูล1
การสื่อสารข้อมูล1Tharathep Chumchuen
 
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
Mind's Am'i
 

What's hot (20)

บทที่ 5 เทคโน ม.6 อินเทอร์เน็ต
บทที่ 5 เทคโน ม.6 อินเทอร์เน็ตบทที่ 5 เทคโน ม.6 อินเทอร์เน็ต
บทที่ 5 เทคโน ม.6 อินเทอร์เน็ต
 
อินเทอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ตอินเทอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ต
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 11
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 11แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 11
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 11
 
ใบความรู้ที่ 1
ใบความรู้ที่ 1ใบความรู้ที่ 1
ใบความรู้ที่ 1
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9
 
บทที่ 2 ข้อมูล สารสนเทศ และการจัดการ เทคโน ม.6
บทที่ 2 ข้อมูล สารสนเทศ และการจัดการ เทคโน ม.6บทที่ 2 ข้อมูล สารสนเทศ และการจัดการ เทคโน ม.6
บทที่ 2 ข้อมูล สารสนเทศ และการจัดการ เทคโน ม.6
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 13
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 13แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 13
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 13
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ บทที่ 4
เทคโนโลยีสารสนเทศ บทที่ 4เทคโนโลยีสารสนเทศ บทที่ 4
เทคโนโลยีสารสนเทศ บทที่ 4
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 12
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 12แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 12
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 12
 
ความหมายและพัฒนาการอินเทอร์เน็ต
ความหมายและพัฒนาการอินเทอร์เน็ตความหมายและพัฒนาการอินเทอร์เน็ต
ความหมายและพัฒนาการอินเทอร์เน็ต
 
ความหมายและพัฒนาการของอินเทอร์เน็ต
ความหมายและพัฒนาการของอินเทอร์เน็ตความหมายและพัฒนาการของอินเทอร์เน็ต
ความหมายและพัฒนาการของอินเทอร์เน็ต
 
บทที่2เรื่องการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
บทที่2เรื่องการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์บทที่2เรื่องการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
บทที่2เรื่องการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
ใบความรู้ เรื่อง การสื่อสารข้อมูล
ใบความรู้ เรื่อง การสื่อสารข้อมูลใบความรู้ เรื่อง การสื่อสารข้อมูล
ใบความรู้ เรื่อง การสื่อสารข้อมูล
 
ใบความรู้เรื่อง การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ (1)
ใบความรู้เรื่อง การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ (1)ใบความรู้เรื่อง การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ (1)
ใบความรู้เรื่อง การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ (1)
 
การสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูลการสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูล
 
หน่วยที่ 3 อินเทอร์เน็ตและการใช้งาน
หน่วยที่  3 อินเทอร์เน็ตและการใช้งานหน่วยที่  3 อินเทอร์เน็ตและการใช้งาน
หน่วยที่ 3 อินเทอร์เน็ตและการใช้งาน
 
หน่วยที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 2
หน่วยที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 2หน่วยที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 2
หน่วยที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 2
 
การสื่อสารข้อมูล1
การสื่อสารข้อมูล1การสื่อสารข้อมูล1
การสื่อสารข้อมูล1
 
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 

Similar to บทที่ 4 เทคโน ม.6 copy - copy

Ch4 communication and network
Ch4 communication and networkCh4 communication and network
Ch4 communication and networkNittaya Intarat
 
ใบความรู้ที่ 3
ใบความรู้ที่ 3ใบความรู้ที่ 3
ใบความรู้ที่ 3Nattapon
 
การสื่อสารแลกเปลี่ยนข้อมูล
การสื่อสารแลกเปลี่ยนข้อมูลการสื่อสารแลกเปลี่ยนข้อมูล
การสื่อสารแลกเปลี่ยนข้อมูลMareeyalosocity
 
ใบความรู้ที่ 1
ใบความรู้ที่ 1ใบความรู้ที่ 1
ใบความรู้ที่ 1Nattapon
 
Communication Concept 3
Communication Concept 3Communication Concept 3
Communication Concept 3
Jenchoke Tachagomain
 
2.2 เครือข่ายคอมพิวเตอร์
2.2 เครือข่ายคอมพิวเตอร์2.2 เครือข่ายคอมพิวเตอร์
2.2 เครือข่ายคอมพิวเตอร์Meaw Sukee
 
ใบงานหน่วยที่ 2 ทิศทางการส่งและชนิดของสัญญาณข้อมูล
ใบงานหน่วยที่ 2 ทิศทางการส่งและชนิดของสัญญาณข้อมูลใบงานหน่วยที่ 2 ทิศทางการส่งและชนิดของสัญญาณข้อมูล
ใบงานหน่วยที่ 2 ทิศทางการส่งและชนิดของสัญญาณข้อมูลwatnawong
 
Data communication and network
Data communication and networkData communication and network
Data communication and networkkamol
 
Data communication and network
Data communication and networkData communication and network
Data communication and networkNidzy Krajangpat
 
การสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูลการสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูลsawalee kongyuen
 
ใบความรุ้ 2 เรื่อง เครือข่ายคอมพิวเตอร์
ใบความรุ้ 2 เรื่อง เครือข่ายคอมพิวเตอร์ใบความรุ้ 2 เรื่อง เครือข่ายคอมพิวเตอร์
ใบความรุ้ 2 เรื่อง เครือข่ายคอมพิวเตอร์jansaowapa
 
บทที่ 6. การสื่อสารโทรคมนาคมและเครือข่าย
บทที่ 6. การสื่อสารโทรคมนาคมและเครือข่ายบทที่ 6. การสื่อสารโทรคมนาคมและเครือข่าย
บทที่ 6. การสื่อสารโทรคมนาคมและเครือข่ายPokypoky Leonardo
 
ระบบการสื่่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบการสื่่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบการสื่่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบการสื่่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
T'tle Tanwarat
 
หน่วยที่ 8 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 8 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์หน่วยที่ 8 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 8 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
jzturbo
 

Similar to บทที่ 4 เทคโน ม.6 copy - copy (20)

Ch4 communication and network
Ch4 communication and networkCh4 communication and network
Ch4 communication and network
 
ใบความรู้ที่ 3
ใบความรู้ที่ 3ใบความรู้ที่ 3
ใบความรู้ที่ 3
 
รายงาน 1
รายงาน  1 รายงาน  1
รายงาน 1
 
การสื่อสารแลกเปลี่ยนข้อมูล
การสื่อสารแลกเปลี่ยนข้อมูลการสื่อสารแลกเปลี่ยนข้อมูล
การสื่อสารแลกเปลี่ยนข้อมูล
 
ใบความรู้ที่ 1
ใบความรู้ที่ 1ใบความรู้ที่ 1
ใบความรู้ที่ 1
 
Datacom
DatacomDatacom
Datacom
 
รายงาน
รายงานรายงาน
รายงาน
 
Network
NetworkNetwork
Network
 
Communication Concept 3
Communication Concept 3Communication Concept 3
Communication Concept 3
 
2.2 เครือข่ายคอมพิวเตอร์
2.2 เครือข่ายคอมพิวเตอร์2.2 เครือข่ายคอมพิวเตอร์
2.2 เครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
ใบงานหน่วยที่ 2 ทิศทางการส่งและชนิดของสัญญาณข้อมูล
ใบงานหน่วยที่ 2 ทิศทางการส่งและชนิดของสัญญาณข้อมูลใบงานหน่วยที่ 2 ทิศทางการส่งและชนิดของสัญญาณข้อมูล
ใบงานหน่วยที่ 2 ทิศทางการส่งและชนิดของสัญญาณข้อมูล
 
รายงาน การสื่อสารข้อมูล
รายงาน การสื่อสารข้อมูลรายงาน การสื่อสารข้อมูล
รายงาน การสื่อสารข้อมูล
 
Data communication and network
Data communication and networkData communication and network
Data communication and network
 
Data communication and network
Data communication and networkData communication and network
Data communication and network
 
การสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูลการสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูล
 
ใบความรุ้ 2 เรื่อง เครือข่ายคอมพิวเตอร์
ใบความรุ้ 2 เรื่อง เครือข่ายคอมพิวเตอร์ใบความรุ้ 2 เรื่อง เครือข่ายคอมพิวเตอร์
ใบความรุ้ 2 เรื่อง เครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
บทที่ 6. การสื่อสารโทรคมนาคมและเครือข่าย
บทที่ 6. การสื่อสารโทรคมนาคมและเครือข่ายบทที่ 6. การสื่อสารโทรคมนาคมและเครือข่าย
บทที่ 6. การสื่อสารโทรคมนาคมและเครือข่าย
 
ระบบการสื่่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบการสื่่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบการสื่่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบการสื่่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
Network
NetworkNetwork
Network
 
หน่วยที่ 8 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 8 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์หน่วยที่ 8 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 8 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 

บทที่ 4 เทคโน ม.6 copy - copy

  • 2. บทที่ 4 ระบบเครือข่ายและการสื่อสาร 4.1 บทบาทแนวโน้มของการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ในปัจุบันบทบาทของการสื่อสารข้อมูลจะเป็นการให้บริการข้อมูลต่างๆ จานวน มากและรวดเร็ว ในลักษณะฐานข้อมูล เช่น ฐานข้อมูลงานวิจัย ฐานข้อมูลทางเศรษฐกิจ ฐานข้อมูลของสินค้าเครื่องอุปโภคบริโภค เป็นต้น
  • 3. ประโยชน์ของการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ • สะดวกและรวดเร็วในการรับส่งข้อมูล • ความถูกต้องของข้อมูล • ประหยัดค่าใช้จ่ายในการสื่อสารข้อมูล • ความสะดวกในการแบ่งปันทรัพยากร • ความสะดวกในการประสานงาน • สร้างบริการรูปแบบใหม่บนเครือข่าย
  • 4. 4.2 การสื่อสารข้อมูล 1. ข้อมูลข่าวสาร ( message ) คือ ข้อมูลหรือสารสนเทศต่างๆ ที่ส่ง อาจอยู่ ในรูปแบบตัวอักษร ตัวเลข รูปภาพ เสียง หรือ วีดิทัศน์ 2. ผู้ส่ง ( Sender ) คือ อุปกรณ์ที่ใช้สาหรับส่งข้อมูลข่าวสารไปยังผู้รับ เช่น คอมฯ โทรศัพท์ 3. ผู้รับ ( Receiver ) คือ อุปกรณ์ที่ใช้สาหรับรับข้อมูลข่าวสารจากผู้ส่ง เช่น เครื่องคอมฯ โทรศัพท์ 4. สื่อกลางในการส่งข้อมูล ( media ) คือ สื่อกลางที่ทาหน้าที่เป็นตัวเชื่อม ระหว่างผู้ส่ง กับผู้รับ เช่น สื่อกลางแบบมีสาย กับ สื่อกลางแบบไร้สาย 5. โพรโทคอล ( Protocol) คือ ข้อตกลงที่ใช้เป็นมาตรฐานในการสื่อสาร ข้อมูลในเครือข่าย
  • 5.
  • 6. 1) สัญญาณที่ใช้ในระบบสื่อสาร แบ่งออกเป็น 2 ประเภท 1. สัญญาณแอนะล็อก( analog signal ) เป็นสัญญาณแบบต่อเนื่องเกิดขึ้นตามธรรมชาติ มีลักษณะ เป็นคลื่น เช่น เสียงพูด เสียงดนตรี เสียงฟ้ าผ่า ฟ้ าร้อง เป็นต้น 2. สัญญาณดิจิทัล ( digital signal ) เป็นสัญญาณแบบไม่ต่อเนื่องซึ่งไม่มีในธรรมชาติ ถูกสร้างขึ้น เพื่อใช้รับส่งข้อมูลในระบบคอมพิวเตอร์ ซึ่งแทนค่าแรงดันไฟฟ้ าสองระดับ คือ 0 กับ 1 ซึ่งตรง กับเลขฐานสอง เราสามารถแปลงสัญญาณดิจิทัล เป็น สัญญาณอนาล็อกหรือ สัญญาณอนาล็อกเป็น สัญญาณดิจิทัล ได้ โดยใช้อุปกรณ์ที่เรียกว่าโมเด็ม ( Modem )
  • 7. 2) รูปแบบการรับ - ส่งข้อมูล สามารถแบ่งได้ 3 รูปแบบ คือ 1. การสื่อสารทางเดียว ( Simple) ส่งข้อมูลไปยังเครื่องพิมพ์ หรือ การกระจายเสียงของสถานีวิทยุ 2. การสื่อสารสองทางครึ่งอัตรา ( half duplex ) ส่งได้ทั้งสองสถานี แต่ จะต้องผลัดกันส่ง ผลัดกันรับ เช่น วิทยุสื่อสารของตารวจ 3. การสื่อสารสองทางเต็มอัตรา ( Full duplex ) ทั้งสองสถานีสามารรับส่งได้ในเวลาเดียวกัน เช่น การสนทนาทางโทรศัพท์
  • 8. สื่อกลางแบบใช้สาย 1) สายตีเกลียวคู่ หรือ สายคู่บิดเกลียว( twisted pair cable ) ประกอบด้วยเส้นลวดทองแดง 2 เส้น ที่หุ้มฉนวนพลาสติก พัน บิดกันเป็นเกลียว เพื่อลดการรบกวนจากคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ า จากภายนอก สามารถส่งข้อมูลได้ถึง100 เมกะบิตต่อวินาที ( Mb/s ) 4.3 สื่อกลางในการสื่อสาร มีสองแบบคือ แบบที่ใช้สาย กับ แบบไร้สาย
  • 9. แบบใช้สาย 2) สายโคแอคซ์ ( coaxial cable ) มีลักษณะเช่นเดียวกันกับสายที่ต่อมาจากเสาอากาศประกอบด้วยลวดทองแดงที่เป็น แกนหลัก หุ้มด้วยตัวนาซึ่งเป็นลวดทองแดงถักเป็นเปียเพื่อป้ องกันการรบกวนของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ า ก่อนจะหุ้มด้วย พลาสติก นิยมใช้เป็นช่องสื่อสารเชื่อมโยงผ่านใต้ทะเล และใต้ดิน
  • 10. แบบใช้สาย 3) สายใยแก้วนาแสง ( Fiber optic cable ) แกนกลางของสายประกอบด้วยเส้นใยแก้ว หรือเส้น พลาสติกขนาดเล็กภายในกลวง หลายๆ เส้น อยู่รวมกัน เส้นแต่ละเส้นมีขนาดเล็กเท่าเส้นผมมนุษย์ การ ส่งข้อมูลจะใช้เลเซอร์วิ่งผ่านช่องกลวงในแต่ละเส้น และอาศัยการหักเหของแสง ส่งถ่ายข้อมูลได้ รวดเร็วมาก แต่ราคาค่อนข้างสูง และห้ามมีการบิดงอของสายสัญญาณ
  • 11. สื่อกลางแบบไร้สาย 1. อินฟาเรด ( Infrared ) ส่งข้อมูลได้ในระยะใกล้ๆในช่วงความถี่ที่แคบมาก ใช้กับการสื่อสารที่ไม่มีสิ่งกีดขวาง ระหว่างตัวรับสัญญาณ กับตัวส่งสัญญาณ เป็นแนวเส้นตรง ระยะไม่เกิน 1-2 เมตร เช่น การส่งสัญญาณรีโมตคอนโทรลไปยังโทรทัศน์ เป็นต้น 2. คลื่นวิทยุ (RadioFrequency) ใช้ส่งสัญญาณไปในอากาศโดยมีตัวกระจายสัญญาณส่งไปยังตัวรับสัญญาณเช่น • การสื่อสารในระบบวิทยุเอฟเอ็ม ( Frequency Modulation : FM ) • Am • Wi-fi • bluetooth
  • 12. 3. ไมโครเวฟ ( Microwave ) ใช้คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ าไปในอากาศพร้อมกับข้อมูลที่ต้องการส่งต้องมีสถานีที่ทาหน้าที่ส่งและ รับข้อมูล มีการตั้งสถานี รับ-ส่งข้อมูลเป็นระยะๆ และส่งข้อมูลเป็นทอดๆ สถานีต้องตั้งบนที่สูง ยอดเขา ดาดฟ้ าของตึก เช่น การสื่อสารข้อมูลผ่านดาวเทียม
  • 13.  เป็นสถานีรับส่งสัญญาณไมโครเวฟบนท้องฟ้ า สร้างขึ้นเพื่อหลีกเลี่ยงข้อจากัดสถานีรับ – ส่งไมโครเวฟ บนผิวโลก เพื่อใช้เป็นสถานี รับ-ส่ง สัญญาณไมโครเวฟบนอวกาศ 4. ดาวเทียม ( Satellite )
  • 14. 4.4. เครือข่ายคอมพิวเตอร์  เครือข่ายคอมพิวเตอร์ (Computer Network ) เป็นการเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์และ อุปกรณ์ต่อพ่วงเข้าด้วยกัน เพื่อให้สามารถสื่อสาร และใช้ข้อมูลร่วมกันได้ แบ่งออกตาม สภาพการเชื่อมโยงได้เป็น 4 ชนิด ดังนี้  1. เครือข่ายส่วนบุคคล ( Personal Area Network : PAN ) เป็นเครือข่ายที่ใช้ส่วนบุคคล เป็น การเชื่อมต่อไร้สายระยะใกล้ๆ เช่น การเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์กับโทรศัพท์มือถือ  2. เครือข่ายเฉพาะที่ ( Local Area Network : LAN ) เป็นเครือข่ายขนาดเล็ก เชื่อมโยงกัน ภายในห้อง ภายในอาคาร
  • 15. 4.4. เครือข่ายคอมพิวเตอร์ ( ต่อ )  3. เครือข่ายนครหลวง ( Metropolitan Area Network : MAN ) เป็นเครือข่ายที่เชื่อมโยงแลนที่ อยู่ห่างกัน เช่น ระหว่างสานักงานที่อยู่คนละอาคาร โดยมีลักษณะการเชื่อมโยงคอมพิวเตอร์ที่มี ระยะไกลกันในช่วง 5-40 กิโลเมตร ผ่านสายสื่อสารประเภทสายใยแก้วนาแสง สายโอแอกเชียล หรืออาจใช้คลื่นไมโครเวฟ  4. เครือข่ายวงกว้าง ( Wide Area Network : WAN ) เป็นเครือข่ายขนาดใหญ่ที่เชื่อมโยงระบบ คอมพิวเตอร์ในระยะไกล เช่น เชื่อมต่อระหว่างจังหวัด ระหว่างประเทศ หรือ เป็นต้น
  • 17. 1) ลักษณะของเครือข่าย แบ่งตามบทบาทหน้าที่ของเครื่องคอมพิวเตอร์ในการสื่อสาร ดังนี้ • เครือข่ายแบบ รับ – ให้บริการ ( Client – server network ) แบ่ง ออกเป็น 2 ส่วน คือ • ส่วนผู้ให้บริการ หรือ เซิร์ฟเวอร์ ( Server ) หรือ เครื่อง แม่ข่าย มีหน้าที่ จัดเก็บและให้บริการไฟล์ข้อมูลและทรัพยากรอื่นๆ แก่คอมพิวเตอร์เครื่อง อื่นๆ ในเครือข่ายเดียวกัน ต้องมีสมรรถนะสูง • ส่วนของผู้ใช้บริการ หรือรับบริการ หรือไคลเอนต์ ( Client ) หรือเครื่องลูก ข่าย เป็นเครื่องที่ร้องขอรับบริการ โดยสามารถเข้าถึงไฟล์ข้อมูลที่จัดเก็บบน เครื่องเซิร์ฟเวอร์ได้
  • 18. 1) ลักษณะของเครือข่าย • เครือข่ายระดับเดียวกัน ( Peer-to-peer network: P2P network) เป็นเครือข่ายที่คอมพิวเตอร์ทุกเครื่องอยู่ในระดับเดียวกัน ทุกเครื่อง สามารถแบ่งปันและเข้าถึงข้อมูลของเครื่องอื่นๆ ได้ ข้อดีคือ ราคาถูก ง่ายต่อการใช้งาน แต่มีข้อเสียคือไม่มีการควบคุมความปลอดภัย
  • 19. 2) รูปร่างเครือข่าย ( NETWORK TOPOLOGY ) เป็นลักษณะของคอมพิวเตอร์ หรืออุปกรณ์รับ-ส่งข้อมูลที่ประกอบกันเป็นเครือข่าย โดยเชื่อมโยงถึงกันในรูปแบบต่างๆ แบ่งออกเป็น4 รูปแบบ คือ • เครือข่ายแบบบัส ( bus topology ) โดยทุกเครื่องจะเชื่อมต่อกับสายหลักเพียงสาย เดียว หากเครื่องใดชารุดจะทาให้ไม่สามรถสื่อสารถึงกันได้ • เครือข่ายแบบวงแหวน ( Ring topology ) เป็นการเชื่อมต่อจุดต่อจุดเป็นวงรอบ หรือวงแหวน โดยส่งข้อมูลในทิศทางเดียวไปให้เครื่องต่างๆจนถึงผู้รับ
  • 20. 2) รูปร่างเครือข่าย ( NETWORK TOPOLOGY ) • เครือข่ายแบบดาว ( Star topology ) เป็นการเชื่อมต่อแบบจุดต่อจุดที่ทุกเครื่องจะ ต่อเข้ากับหน่วยสลับสายกลาง เช่น สวิตซ์ หรือ ฮับ ซึ่งทาหน้าที่เป็นศูนย์กลางการ เชื่อมโยง หากเครื่องใดชารุดก็จะไม่กระทบกับการเชื่อมต่อกับเครื่องอื่น • เครือข่ายแบบตาข่าย ( mesh topology ) เป็นการเชื่อมต่อของเครื่องแต่ละเครื่อง ถึงกันทั้งหมด
  • 21. 4.5 โพรโทคอล  โพรโทคอล ( Protocol) คือ ข้อตกลงที่ใช้เป็นมาตรฐานในการสื่อสารข้อมูลในเครือข่าย ระหว่างผู้รับและผู้ส่ง ไม่ว่าจะเป็นวิธีการ อุปกรณ์ หรือ ความเร็วในการรับส่งข้อมูล ซึ่ง จะต้องใช้โพรโทคอลชนิดเดียวกันเท่านั้น จึงจะสามารถติดต่อสื่อสารกันได้ เช่น  ทีซีพี/ไอพี (Transmission Control Protocol/Internet Protocol : TCP/IP ) คือชุดของโพรโท คอลที่ถูกใช้ในการสื่อสารผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต  ไวไฟ ( Wireless Fidelity : Wi-Fi ) หรือระบบเครือข่ายไร้สาย ( Wireless LAN : WLAN ) เป็นเทคโนโลยีสื่อสารแบบไร้สายที่ช่วยให้คอมพิวเตอร์ หรือ อุปกรณ์ต่างๆ สามารถ ติดต่อสื่อสารกันได้ ใช้คลื่นวิทยุเป็นหลัก โดยมาตรฐานของ Wi-fi ที่ใช้ปัจจุบันคือ 802.11
  • 22. 4.5 โพรโทคอล  ไออาร์ดีเอ ( Infrared Data Association : IrDA ) เป็นโพรโทคอลที่ใช้แสงอินฟราเรดเชื่อต่อ คอมพิวเตอร์ผ่านพอร์ต IrDA เป็นเส้นตรงและต้องไม่มีสิ่งกีดขวาง เป็นการสื่อสารระยะใกล้  บลูทูท ( Bluetooth ) เป็นโพรโทคอลที่ใช้คลื่นวิทยุความถี่ 2.4 GHz รับส่งข้อมูลแบบไร้สาย โดยคลื่นจะกระจายรอบทิศทางมีความยืดหยุ่น มีการทางานระยะสั้นมาก ประมาณ 30 ฟุต ในที่ โล่ง
  • 23. 4.6 อุปกรณ์สื่อสาร  อุปกรณ์สื่อสาร ( Communication device ) ทาหน้าที่เชื่อมต่อกับเครือข่าย รับ และ ส่งข้อมูล ผ่านสื่อกลางต่างๆ ซึ่งมีหลายประเภท เช่น  โมเด็ม ( Modem ) ทาหน้าที่แปลงสัญญาณดิจิทัลให้เป็นสัญญาณแอนาล็อกเพื่อส่งข้อมูลผ่าน สายโทรศัพท์ และ รับข้อมูลที่เป็นสัญญาณแอนาล็อก แล้วแปลงกลับมาเป็นสัญญาณดิจิทัลอีกครั้งหนึ่ง
  • 24. 4.6 อุปกรณ์สื่อสาร  การ์ดแลน ( LAN card ) เป็นอุปกรณ์ที่ใช้สาหรับรับส่งข้อมูลระหว่างเครื่องคอมพิวเตอร์ หรืออุปกรณ์อื่นๆ ในระบบเครือข่าย โดยใช้สายแลนในการเชื่อมต่อ
  • 25. 4.6 อุปกรณ์สื่อสาร  ฮับ ( hub ) หรือ รีพีทเตอร์ ( repeater ) เป็นอุปกรณ์ที่ใช้รวมสัญญาณที่มาจากอุปกรณ์ รับ-ส่ง หลายๆ สถานทีเข้าด้วยกันโดยส่งผ่านฮับจากเครื่องหนึ่งกระจายไปยังทุกสถานีที่ต่ออยู่บนฮับนั้น ดังนั้นทุกสถานี จะรับสัญญาณข้อมูลที่กระจายมาได้ทั้งหมด แต่จะเลือกคัดเฉพาะข้อมูลที่ส่งมาถึงตนเท่านั้น  สวิตซ์ ( switch ) ทาหน้าที่คล้ายกับฮับ แต่การทางานของสวิตช์ จะไม่กระจายไปทุกสถานีเหมือนฮับ แต่จะ รับข้อมูลมาตรวจสอบหาสถานีปลายทางว่าอยู่ที่ใดแล้วจึงค่อยส่งต่อไปสถานีเป้ าหมายอย่างอัตโนมัติ สวิตช์จึงลดปัญหาการชนกันของข้อมูล เพราะไม่ต้องกระจายข้อมูลไปทุกสถานี
  • 26. 4.6 อุปกรณ์สื่อสาร  อุปกรณ์จัดเส้นทาง ( Router ) ทาหน้าที่เชื่อมโยงเครือข่ายหลายๆ เครือข่าย หรือ อุปกรณ์หลายๆ ชนิดเข้า ด้วยกัน เพื่อให้การส่งข้อมูลมีประสิทธิภาพ ดังนั้น จึงมีเส้นทางเข้าออกของข้อมูลหลายเส้นทาง และแต่ละ เส้นทางอาจใช้เทคโนโลยีเครือข่ายที่ต่างกัน  จุดเชื่อมต่อแบบไร้สาย ( Wirelessaccess point ) ทาหน้าที่คล้ายกับฮับ แต่แตกต่างกันที่จุดเชื่อมต่อจะ เชื่อมต่อแบบไร้สาย โดยข้อมูลจะส่งผ่านคลื่นวิทยุความถี่สูงและจะต้องใช้ร่วมกับการ์ดแลนแบบไร้สาย ( WirelessLAN card )