SlideShare a Scribd company logo
Determinants and outcomes of dual distribution
(ปัจจัยและผลลัพธ์ของการกระจายสินค้าแบบควบคู่)
โดย Christian Rosen Marjaana Gunkel Christopher Schlaegel
"Determinants and outcomes of dual distribution: an international study",
Management Research Review, Vol. 37 Iss 11 pp. 944 - 969, 2014 , EMERALD
1.กรอบแนวความคิด
วัตถุประสงค์ของงานวิจัยนี้ คือ การวิเคราะห์ปัจจัยระหว่างการดําเนินการจัดจําหน่ายสินค้าด้วยตนเอง
(Make/ขายตรง) หรือ จะใช้ตัวกลางเพื่อจัดจําหน่ายสินค้าให้ (buy /outsourcing) ภายใต้เงื่อนไขระบบการจัด
จําหน่ายเดียวกัน ว่าจะส่งผลต่อประสิทธิผลของการกระจายสินค้าโดยตรงหรือเศรษฐกิจอย่างไร
Key word:
Dual Distribution คือ การกระจายสินค้าควบคู่ ทั้งแบบทําด้วยผู้ผลิตเองและให้ผู้อื่นดําเนินการ(Make and Buy)
ประสิทธิผลของการกระจายสินค้าโดยตรงหรือเศรษฐกิจ คือ ความพึงพอใจของลูกค้า และ ผลกําไรของบริษัท
2.Model
ใช้กรณีศึกษาโดยการสัมภาษณ์ผู้เชี่ยวชาญที่เกี่ยวข้องกับอุตสาหกรรมยานยนต์ในแขนงต่างๆและ
หลากหลายยี่ห้อ ในประเทศ เยอรมัน สวีเดน และ สเปน จํานวน 24 คน
3.วิเคราะห์ปัญหา และสรุป
ผลการวิจัย พบว่า ปัจจัยที่มีความสําคัญต่อ Dual distribution ได้แก่ ความจํากัดของทรัพยากร,
ความสามารถในการลงทุน, สถานที่ , ผลตอบแทน และ กลยุทธ์ในการตลาดของแต่ละบริษัท ทั้งนี้
ผลการวิจัยยังสรุปได้อีกว่า ความสัมพันธ์ของการกระจายสินค้าแบบควบคู่(Dual distribution) กับ
ประสิทธิผลของการกระจายสินค้าโดยตรงหรือเศรษฐกิจเป็นไปในทิศทางเดียวกัน คือ ถ้าใช้การกระจาย
สินค้าแบบควบคู่เพิ่มขึ้น ประสิทธิผลในทางเศรษฐกิจโดยรวมจะเพิ่มขึ้นเช่นเดียวกัน ทั้งนี้
ข้อจํากัดของงานวิจัยนี้ คือ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้และจํานวนผู้ให้สัมภาษณ์มีจํานวนไม่มากนัก
An empirical study of Chinese SME grocery retailers’ distribution capabilities
(การศึกษาขีดความสามารถในการกระจายสินค้าของธุรกิจค้าปลีก SME จีน)
โดย Teck-Yong Eng
"An empirical study of Chinese SME grocery retailers’ distribution capabilities", Supply Chain Management:
An International Journal, Vol. 21 Iss 1 pp. 63 – 77 , 2016 , EMERALD
1.กรอบแนวความคิด
วัตถุประสงค์ของงานวิจัยนี้ คือ การวิเคราะห์ขีดความสามารถในการกระจายสินค้าของธุรกิจค้าปลีก
Sme ของจีน ที่มีข้อจํากัดในเรื่องคลังสินค้าและการกระจายสินค้าภายในองค์กร(การบริหารจัดการ
กระบวนการจัดจําหน่ายสินค้า) ซึ่งมีผลต่อประสิทธิภาพขององค์กรฯ เนื่องจากความต้องการสินค้าในตลาดที่
เปลี่ยนแปลงตลอดเวลา
2.Model
ใช้การรวบรวมข้อมูลโดยใช้การสัมภาษณ์ผู้ประกอบการจํานวน 247 คน จากธุรกิจ SME ใน
3 เมืองใหญ่ของจีน (Chongqung(east), Wuhan(central) and Tianjin(west))
ปัจจัยนําเข้า ได้แก่ 1. External resources (ใช้ทรัพยากรภายนอก/จ้าง) 2. Interfirm market
orientation ใช้วิธีควบรวมบริษัท 3. Network relationships (ใช้ความสัมพันธ์ในทางธุรกิจ)
ผลลัพธ์ คือ ประสิทธิภาพและประสิทธิผล/ผลกําไร ของธุรกิจ SME
3.วิเคราะห์ปัญหา และสรุป
ผลการวิจัย พบว่า ความสัมพันธ์ระหว่างขีดความสามารถในการจัดจําหน่ายสินค้ากับการ
บริหารผลตอบแทนเมื่อสถานการณ์ไม่แน่นอนเกิดขึ้นมีความสัมพันธ์กัน แต่การควบรวมบริษัท
ไม่ได้ทําให้ความสามารถในจัดจําหน่ายสินค้ามากขึ้น ทั้งนี้ การใช้ความสัมพันธ์ในทางธุรกิจ
(เจรจา) มีนัยสําคัญต่อการบริหารผลตอบแทนเมื่อสถานการณ์ไม่แน่นอนมากกว่า
Structural mapping of public distribution system using multi-agent systems
โดย Sudhir Ambekar and Rohit Kapoor
Business Process Management Journal, Vol. 21 Iss 5 pp. 1066 1090 , 2016 , EMERALD
1.กรอบแนวความคิด
- วัตถุประสงค์ของการวิจัยนี้คือการพัฒนากรอบแนวคิดสําหรับการร่างแผนระบบการ
กระจายสินค้าสาธารณะของอินเดีย (PDS) โดยใช้ระบบหลายตัวแทน (MAS) ห่วงโซ่อุปทาน PDS
ทั้งหมด ตั้งแต่การซื้อจนถึงการขนส่งได้ถูกออกแบบในรายละเอียด โดยคํานึงถึงห่วงโซ่อุปทาน
PDS ในแต่ละระดับ
2.Model
รูปที่ 1 แสดงการจัดซื้อและการจัดเก็บ ซึ่งประกอบด้วยตัวแทนได้แก่ ชาวนา รัฐบาล ศูนย์รับซื้อ ผู้
ขนส่ง และคลังสินค้า
- ชาวนา หมายถึงผู้ผลิตข้าว ที่ต้องการขายให้ศูนย์รับซื้อของรัฐบาล ชาวนาเป็นผู้ตัดสินใจปริมาณ
ที่จะขาย ซึ่งขึ้นกับราคาและกําไร ชาวนาต้องลงทะเบียนข้อมูล ปริมาณข้าวที่มี เวลาที่สินค้า
พร้อม ตําแหน่งที่ตั้ง ขนาดพื้นที่นา ระบบชลประทาน ชาวนาเป็นผู้ขนส่งสินค้าไปที่ศูนย์รับซื้อ
- รัฐบาล หมายถึงตัวแทนรัฐบาลที่ทําหน้าที่รับซื้อในแต่ละรัฐ ซึ่งราคารับซื้อจะขึ้นอยู่กับราคา
ช่วยเหลือที่ตํ่าที่สุด (Minimum Support Price (MSP)) จากข้อมูลที่ชาวนาลงทะเบียน รัฐบาลจะ
ทราบข้อมูลของชาวนา และจัดสรร ปริมาณรับซื้อ นอกจากนั้นรัฐบาลยังเป็นผู้จัดการการขนส่ง
ระหว่าง ศูนย์รับซื้อและคลังสินค้า
- ศูนย์รับซื้อ หมายถึงศูนย์ที่ขับเคลื่อนโดยรัฐบาล จากข้อมูลการรับซื้อและความจุของศูนย์ศูนย์ฯ
จะเตรียมตารางการรับซื้อ และแจ้งชาวนา ศูนย์ฯมีหน้าที่ตรวจและรับรองคุณภาพของสินค้า
บรรจุหีบห่อ และออกใบเสร็จให้ชาวนา
- ผู้ขนส่ง หมายถึงผู้รับจ้างขนส่งสินค้าจากศูนย์รับซื้อไปที่คลังสินค้า
- คลังสินค้า เจ้าของคลังสินค้าได้แก่ สมาคมอาหารอินเดีย สมาคมคลังสินค้ากลาง สมาคม
คลังสินค้ารัฐ หรือ คลังสินค้าเอกชน คลังสินค้าเหล่านี้จะรายงานปริมาณสินค้าที่ตนมีไปที่รัฐบาล
ก่อนจะเริ่มกระบวนการจัดซื้อ คลังสินค้าจะเก็บสินค้าเป็นระบบเพื่อรอการกระจายสินค้าต่อไป
รูปที่2. Structure of the optimization framework for distribution
รูปที่ 3 แสดงปฏิสัมพันธ์ระหว่างตัวแทนและสภาพแวดล้อม ตัวแทนจะมีปฏิสัมพันธ์โดยคํานึงถึง
วัตถุประสงค์เป็นหลัก ซึ่งจะมีการแลกเปลี่ยนข้อมูลและสินค้า กิจกรรมของตัวแทนต่างๆเป็นไป
ตามวงรอบการซื้อขาย ซึ่งมีข้อกําหนดตามแต่ละรัฐกําหนด
Figure 3. Interaction between agents during purchase
Figure 4. Interaction between agents during distribution
รูปที่ 4 แสดงปฏิสัมพันธ์ระหว่างตัวแทน
โครงสร้างของการกระจายสินค้า ซึ่งประกอบด้วยตัวแทนได้แก่ Ministry of Consumer Affairs, Food
and Public Distribution (MCAFPD) - กรมกระจายสินค้าและอาหารสาธารณะ กระทรวงกิจการ
ผู้บริโภค หน่วยงานนี้จะแจ้งปริมาณการจัดสรรโควต้าการสั่งสินค้าทุกเดือน ซึ่งมาจากข้อมูลการ
ลงทะเบียน และความต้องการของแต่ละรัฐ
State Government Food and Civil Supply Department (SFACSD) เป็นหน่วยงานระดับรัฐรับผิดชอบให้
การทํางานของแต่ละรัฐเป็นไปด้วยความเรียบร้อยSFACSD จะส่งข้อมูลความต้องการรายเดือนไปที่
MCAFPD นอกจากนั้นยังวางแผนการจัดสรรโควต้าในรัฐ
District Food and Civil Supply Department (DFACSD) รับผิดชอบการการกระจายสินค้าไปที่ร้านราคา
ยุติธรรม(Fair Price Shops (FPS))
Food Coporation of India Head office (FCIHO) เป็นหน่วยงานกลางทําหน้าที่จัดสรรโควต้าสําหรับแต่ละ
รัฐ
FCI Regional Office/sales office (FCIRO) มีหน้าที่ประสานงานกับ SFACSD สําหรับการกระจายสินค้า
ในรัฐ
FCI Division/District office (FCIDO) มีหน้าที่ควบคุมปริมาณสินค้าในคลัง
Storage Depots เป็นตัวเชื่อมระหว่างการซื้อและการกระจายสินค้า
Fair Price Shops (FPS) รับผิดชอบในการกระจายสินค้าไปที่ผู้รับซื้อ
Cardholders (ผู้รับซื้อ)
3.วิเคราะห์ปัญหา
- จากวรรณกรรมที่เกี่ยวข้องกับ PDS ห่วงโซ่อุปทานอาหาร (FGSC) และ MAS ซึ่งได้รับ
การตรวจสอบและประเมิน เราได้นําเสนอกรอบแนวคิด ซึ่งจะช่วยพัฒนาระบบ PDS
ผลการวิจัย
- PDS มีข้อบกพร่องหลายอย่างที่เกิดจากโครงสร้างและการนําไปใช้ ที่ซับซ้อน ผู้เขียน
นําเสนอสองขั้นตอนของห่วงโซ่อุปทาน ขั้นตอนแรกเป็นการจําลองตั้งแต่การจัดซื้อจนถึงการ
จัดเก็บ ขั้นตอนสอนเป็นการจําลองระบบการกระจายสินค้า
4.บทสรุปและการวิจัยในอนาคต
งานวิจัยฉบับนี้เสนอแบบจําลองแบบสองขั้นตอน ขั้นตอนแรกวางแผนการซื้อและการจัดเก็บของ
ระบบกระจายสินค้า ขั้นตอนสองวางระบบการกระจายสินค้า
แบบจําลอง PDS จะช่วยหน่วยงานรัฐในการปรับปรุงประสิทธิภาพของตนเอง เพื่อที่ตัวแสดงใน
ระบบห่วงโซ่อุปทานจะสามารถพัฒนากลยุทธ์เพื่อปรับปรุงสถานการณ์ความปลอดภัยในอาหาร
โครงสร้างของแบบจําลองแบบสองขั้นตอน สามารถแสดงได้ตามภาพ 1 และ ภาพ 2 ระบบหลาย
ตัวแทน (MAS) จะสร้างผลการทดลอง และประเมินประสิทธิภาพ จากตัวชี้วัด ขั้นตอนนี้จะถูกทําซํ้า
จนกว่าได้คําตอบที่ใกล้เคียงที่สุด
The mediating role of job satisfaction in the relationship of vertical trust and distributed
leadership in health care context
(บทบาทของความพึงพอใจในงานกับความสัมพันธ์ของความเชื่อใจในองค์กรและความเป็นผู้นํา)
โดย Ajay K. Jain
"The mediating role of job satisfaction in the relationship of vertical trust and distributed leadership in health
care context", Journal of Modelling in Management, Vol. 11 Iss 2 pp. 722 – 738 , 2016 , EMERALD
1.กรอบแนวความคิด
วัตถุประสงค์ของงานวิจัยนี้ คือ วิเคราะห์ความสัมพันธ์ของความเชื่อใจในองค์กรกับความเป็นผู้นํา(ที่
กระจายอํานาจ) โดยมีความพึงพอใจในงานเป็นสื่อกลาง
2.Model
ใช้การรวบรวมข้อมูลโดยใช้การสัมภาษณ์และส่งแบบสอบถามจากพนักงานโรงพยาบาล
ในประเทศ Denmark จํานวน 1,439 คน
ปัจจัยนําเข้า ได้แก่ 1. ความเชื่อถือ/เชื่อใจในองค์กร Trust
สื่อกลาง คือ ความพึงพอใจในงานของพนักงาน
ผลลัพธ์ คือ ความเป็นผู้นํา(กระจายอํานาจ) และ ประสิทธิภาพในการงาน
3.วิเคราะห์ปัญหา และสรุป
ผลการวิจัย พบว่า ความสัมพันธ์ของความเชื่อใจในองค์กรกับความเป็นผู้นํา(ที่กระจายอํานาจ) มี
ความสัมพันธ์กัน ซึ่งมีผลต่อประสิทธิภาพในงานอย่างมีนัยสําคัญ

More Related Content

Viewers also liked

Appunti java 1
Appunti java 1Appunti java 1
Appunti java 1
Antonio Lepore ✔ ✈
 
Maths formula
Maths formulaMaths formula
Maths formula
Bhalakrishnan G S
 
Sullivant - Chapter 2.1pptx
Sullivant - Chapter 2.1pptxSullivant - Chapter 2.1pptx
Sullivant - Chapter 2.1pptx
Intan Al Azhar
 
Come il software hr può aiutarti a coniugare approccio globale e peculiarità ...
Come il software hr può aiutarti a coniugare approccio globale e peculiarità ...Come il software hr può aiutarti a coniugare approccio globale e peculiarità ...
Come il software hr può aiutarti a coniugare approccio globale e peculiarità ...
Cezanne HR Italia
 
Marketing fundamentals 3
Marketing fundamentals 3Marketing fundamentals 3
Marketing fundamentals 3
Riccardo Antonelli
 
Stabilisation of Black cotton Soils by Using Groundnut Shell Ash
Stabilisation of Black cotton Soils by Using Groundnut Shell AshStabilisation of Black cotton Soils by Using Groundnut Shell Ash
Stabilisation of Black cotton Soils by Using Groundnut Shell Ash
IJSRD
 
Marketing fundamentals 4
Marketing fundamentals 4Marketing fundamentals 4
Marketing fundamentals 4
Riccardo Antonelli
 
Appunti di Organizzazione aziendale: le forme organizzative
Appunti di Organizzazione aziendale: le forme organizzativeAppunti di Organizzazione aziendale: le forme organizzative
Appunti di Organizzazione aziendale: le forme organizzative
profman
 
Neuro Critical Care
Neuro Critical CareNeuro Critical Care
Neuro Critical Care
James A Gensch
 
Fundamentals Of Software Architecture
Fundamentals Of Software ArchitectureFundamentals Of Software Architecture
Fundamentals Of Software Architecture
Markus Voelter
 
Thesis rice husk_ash
Thesis rice husk_ashThesis rice husk_ash
Thesis rice husk_ash
khieuconbp
 

Viewers also liked (12)

Appunti java 1
Appunti java 1Appunti java 1
Appunti java 1
 
Maths formula
Maths formulaMaths formula
Maths formula
 
Sullivant - Chapter 2.1pptx
Sullivant - Chapter 2.1pptxSullivant - Chapter 2.1pptx
Sullivant - Chapter 2.1pptx
 
Come il software hr può aiutarti a coniugare approccio globale e peculiarità ...
Come il software hr può aiutarti a coniugare approccio globale e peculiarità ...Come il software hr può aiutarti a coniugare approccio globale e peculiarità ...
Come il software hr può aiutarti a coniugare approccio globale e peculiarità ...
 
Cultura valutazione
Cultura valutazioneCultura valutazione
Cultura valutazione
 
Marketing fundamentals 3
Marketing fundamentals 3Marketing fundamentals 3
Marketing fundamentals 3
 
Stabilisation of Black cotton Soils by Using Groundnut Shell Ash
Stabilisation of Black cotton Soils by Using Groundnut Shell AshStabilisation of Black cotton Soils by Using Groundnut Shell Ash
Stabilisation of Black cotton Soils by Using Groundnut Shell Ash
 
Marketing fundamentals 4
Marketing fundamentals 4Marketing fundamentals 4
Marketing fundamentals 4
 
Appunti di Organizzazione aziendale: le forme organizzative
Appunti di Organizzazione aziendale: le forme organizzativeAppunti di Organizzazione aziendale: le forme organizzative
Appunti di Organizzazione aziendale: le forme organizzative
 
Neuro Critical Care
Neuro Critical CareNeuro Critical Care
Neuro Critical Care
 
Fundamentals Of Software Architecture
Fundamentals Of Software ArchitectureFundamentals Of Software Architecture
Fundamentals Of Software Architecture
 
Thesis rice husk_ash
Thesis rice husk_ashThesis rice husk_ash
Thesis rice husk_ash
 

Similar to Blogger (pdf)

การจัด Promotion มีผลต่อการตัดสินใจซื้อระยะสั้น และระยะยาวอย่างไร
การจัด Promotion มีผลต่อการตัดสินใจซื้อระยะสั้น และระยะยาวอย่างไรการจัด Promotion มีผลต่อการตัดสินใจซื้อระยะสั้น และระยะยาวอย่างไร
การจัด Promotion มีผลต่อการตัดสินใจซื้อระยะสั้น และระยะยาวอย่างไร
Ziwapohn Peecharoensap
 
เรื่องที่ 4 การตลาดสำหรับกิจการค้าปลีกสมัยใหม่
เรื่องที่ 4 การตลาดสำหรับกิจการค้าปลีกสมัยใหม่เรื่องที่ 4 การตลาดสำหรับกิจการค้าปลีกสมัยใหม่
เรื่องที่ 4 การตลาดสำหรับกิจการค้าปลีกสมัยใหม่arm_smiley
 
เรื่องที่4 การตลาดสำหรับกิจการค้าปลีกสมัยใหม่
เรื่องที่4 การตลาดสำหรับกิจการค้าปลีกสมัยใหม่เรื่องที่4 การตลาดสำหรับกิจการค้าปลีกสมัยใหม่
เรื่องที่4 การตลาดสำหรับกิจการค้าปลีกสมัยใหม่supatra39
 
เรื่องที่4 การตลาดสำหรับกิจการค้าปลีกสมัยใหม่
เรื่องที่4 การตลาดสำหรับกิจการค้าปลีกสมัยใหม่เรื่องที่4 การตลาดสำหรับกิจการค้าปลีกสมัยใหม่
เรื่องที่4 การตลาดสำหรับกิจการค้าปลีกสมัยใหม่supatra39
 
Pharmacy ayudya
Pharmacy ayudyaPharmacy ayudya
Pharmacy ayudya
Utai Sukviwatsirikul
 
การบริหารส่วนประสมการค้าปลีก ของร้านค้าแบบดั้งเดิม โดย อาจารย์ภาวิณี กาญจนาภา
การบริหารส่วนประสมการค้าปลีก ของร้านค้าแบบดั้งเดิม โดย อาจารย์ภาวิณี กาญจนาภาการบริหารส่วนประสมการค้าปลีก ของร้านค้าแบบดั้งเดิม โดย อาจารย์ภาวิณี กาญจนาภา
การบริหารส่วนประสมการค้าปลีก ของร้านค้าแบบดั้งเดิม โดย อาจารย์ภาวิณี กาญจนาภา
Utai Sukviwatsirikul
 
เรื่องที่ 3 การคัดเลือกแหล่งจัดซื้อสินค้า การจัดจำหน่าย การจัดการงานบุคคล
เรื่องที่ 3 การคัดเลือกแหล่งจัดซื้อสินค้า การจัดจำหน่าย  การจัดการงานบุคคลเรื่องที่ 3 การคัดเลือกแหล่งจัดซื้อสินค้า การจัดจำหน่าย  การจัดการงานบุคคล
เรื่องที่ 3 การคัดเลือกแหล่งจัดซื้อสินค้า การจัดจำหน่าย การจัดการงานบุคคลarm_smiley
 
Week6
Week6Week6
Mk212powerpoint
Mk212powerpointMk212powerpoint
Mk212powerpointthanaporn
 
การจัดการข้อมูลยา
การจัดการข้อมูลยาการจัดการข้อมูลยา
การจัดการข้อมูลยา
DMS Library
 
มาตรการการพัฒนาประสิทธิภาพระบบบริหารเวชภัณฑ์
มาตรการการพัฒนาประสิทธิภาพระบบบริหารเวชภัณฑ์ มาตรการการพัฒนาประสิทธิภาพระบบบริหารเวชภัณฑ์
มาตรการการพัฒนาประสิทธิภาพระบบบริหารเวชภัณฑ์
Utai Sukviwatsirikul
 
Perceptions 040
Perceptions 040Perceptions 040
Perceptions 040
ssuser48e7b4
 
ระบบสารสนเทศโรงพยาบาล
ระบบสารสนเทศโรงพยาบาลระบบสารสนเทศโรงพยาบาล
ระบบสารสนเทศโรงพยาบาล
Nawanan Theera-Ampornpunt
 

Similar to Blogger (pdf) (13)

การจัด Promotion มีผลต่อการตัดสินใจซื้อระยะสั้น และระยะยาวอย่างไร
การจัด Promotion มีผลต่อการตัดสินใจซื้อระยะสั้น และระยะยาวอย่างไรการจัด Promotion มีผลต่อการตัดสินใจซื้อระยะสั้น และระยะยาวอย่างไร
การจัด Promotion มีผลต่อการตัดสินใจซื้อระยะสั้น และระยะยาวอย่างไร
 
เรื่องที่ 4 การตลาดสำหรับกิจการค้าปลีกสมัยใหม่
เรื่องที่ 4 การตลาดสำหรับกิจการค้าปลีกสมัยใหม่เรื่องที่ 4 การตลาดสำหรับกิจการค้าปลีกสมัยใหม่
เรื่องที่ 4 การตลาดสำหรับกิจการค้าปลีกสมัยใหม่
 
เรื่องที่4 การตลาดสำหรับกิจการค้าปลีกสมัยใหม่
เรื่องที่4 การตลาดสำหรับกิจการค้าปลีกสมัยใหม่เรื่องที่4 การตลาดสำหรับกิจการค้าปลีกสมัยใหม่
เรื่องที่4 การตลาดสำหรับกิจการค้าปลีกสมัยใหม่
 
เรื่องที่4 การตลาดสำหรับกิจการค้าปลีกสมัยใหม่
เรื่องที่4 การตลาดสำหรับกิจการค้าปลีกสมัยใหม่เรื่องที่4 การตลาดสำหรับกิจการค้าปลีกสมัยใหม่
เรื่องที่4 การตลาดสำหรับกิจการค้าปลีกสมัยใหม่
 
Pharmacy ayudya
Pharmacy ayudyaPharmacy ayudya
Pharmacy ayudya
 
การบริหารส่วนประสมการค้าปลีก ของร้านค้าแบบดั้งเดิม โดย อาจารย์ภาวิณี กาญจนาภา
การบริหารส่วนประสมการค้าปลีก ของร้านค้าแบบดั้งเดิม โดย อาจารย์ภาวิณี กาญจนาภาการบริหารส่วนประสมการค้าปลีก ของร้านค้าแบบดั้งเดิม โดย อาจารย์ภาวิณี กาญจนาภา
การบริหารส่วนประสมการค้าปลีก ของร้านค้าแบบดั้งเดิม โดย อาจารย์ภาวิณี กาญจนาภา
 
เรื่องที่ 3 การคัดเลือกแหล่งจัดซื้อสินค้า การจัดจำหน่าย การจัดการงานบุคคล
เรื่องที่ 3 การคัดเลือกแหล่งจัดซื้อสินค้า การจัดจำหน่าย  การจัดการงานบุคคลเรื่องที่ 3 การคัดเลือกแหล่งจัดซื้อสินค้า การจัดจำหน่าย  การจัดการงานบุคคล
เรื่องที่ 3 การคัดเลือกแหล่งจัดซื้อสินค้า การจัดจำหน่าย การจัดการงานบุคคล
 
Week6
Week6Week6
Week6
 
Mk212powerpoint
Mk212powerpointMk212powerpoint
Mk212powerpoint
 
การจัดการข้อมูลยา
การจัดการข้อมูลยาการจัดการข้อมูลยา
การจัดการข้อมูลยา
 
มาตรการการพัฒนาประสิทธิภาพระบบบริหารเวชภัณฑ์
มาตรการการพัฒนาประสิทธิภาพระบบบริหารเวชภัณฑ์ มาตรการการพัฒนาประสิทธิภาพระบบบริหารเวชภัณฑ์
มาตรการการพัฒนาประสิทธิภาพระบบบริหารเวชภัณฑ์
 
Perceptions 040
Perceptions 040Perceptions 040
Perceptions 040
 
ระบบสารสนเทศโรงพยาบาล
ระบบสารสนเทศโรงพยาบาลระบบสารสนเทศโรงพยาบาล
ระบบสารสนเทศโรงพยาบาล
 

Recently uploaded

Next.js web development.pdfNext.js web development.pdfNext.js web development...
Next.js web development.pdfNext.js web development.pdfNext.js web development...Next.js web development.pdfNext.js web development.pdfNext.js web development...
Next.js web development.pdfNext.js web development.pdfNext.js web development...
NuttavutThongjor1
 
bio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกัน
bio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกันbio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกัน
bio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกัน
CholapruekSangkamane1
 
กำหนดการ “การประชุมวิชาการวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยวแห่งชาติ ครั้งที่ 21”
กำหนดการ “การประชุมวิชาการวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยวแห่งชาติ ครั้งที่ 21”กำหนดการ “การประชุมวิชาการวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยวแห่งชาติ ครั้งที่ 21”
กำหนดการ “การประชุมวิชาการวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยวแห่งชาติ ครั้งที่ 21”
Postharvest Technology Innovation Center
 
โรคทางพันธุกรรมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมม.ppt
โรคทางพันธุกรรมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมม.pptโรคทางพันธุกรรมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมม.ppt
โรคทางพันธุกรรมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมม.ppt
pakpoomounhalekjit
 
Fullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack N...
Fullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack N...Fullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack N...
Fullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack N...
NuttavutThongjor1
 
Recap JavaScript and TypeScript.pdf Recap JavaScript and TypeScript.pdf
Recap JavaScript and TypeScript.pdf Recap JavaScript and TypeScript.pdfRecap JavaScript and TypeScript.pdf Recap JavaScript and TypeScript.pdf
Recap JavaScript and TypeScript.pdf Recap JavaScript and TypeScript.pdf
NuttavutThongjor1
 
โครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิต...
โครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิต...โครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิต...
โครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิต...
SweetdelMelon
 

Recently uploaded (7)

Next.js web development.pdfNext.js web development.pdfNext.js web development...
Next.js web development.pdfNext.js web development.pdfNext.js web development...Next.js web development.pdfNext.js web development.pdfNext.js web development...
Next.js web development.pdfNext.js web development.pdfNext.js web development...
 
bio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกัน
bio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกันbio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกัน
bio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกัน
 
กำหนดการ “การประชุมวิชาการวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยวแห่งชาติ ครั้งที่ 21”
กำหนดการ “การประชุมวิชาการวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยวแห่งชาติ ครั้งที่ 21”กำหนดการ “การประชุมวิชาการวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยวแห่งชาติ ครั้งที่ 21”
กำหนดการ “การประชุมวิชาการวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยวแห่งชาติ ครั้งที่ 21”
 
โรคทางพันธุกรรมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมม.ppt
โรคทางพันธุกรรมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมม.pptโรคทางพันธุกรรมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมม.ppt
โรคทางพันธุกรรมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมม.ppt
 
Fullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack N...
Fullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack N...Fullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack N...
Fullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack N...
 
Recap JavaScript and TypeScript.pdf Recap JavaScript and TypeScript.pdf
Recap JavaScript and TypeScript.pdf Recap JavaScript and TypeScript.pdfRecap JavaScript and TypeScript.pdf Recap JavaScript and TypeScript.pdf
Recap JavaScript and TypeScript.pdf Recap JavaScript and TypeScript.pdf
 
โครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิต...
โครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิต...โครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิต...
โครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิต...
 

Blogger (pdf)

  • 1. Determinants and outcomes of dual distribution (ปัจจัยและผลลัพธ์ของการกระจายสินค้าแบบควบคู่) โดย Christian Rosen Marjaana Gunkel Christopher Schlaegel "Determinants and outcomes of dual distribution: an international study", Management Research Review, Vol. 37 Iss 11 pp. 944 - 969, 2014 , EMERALD 1.กรอบแนวความคิด วัตถุประสงค์ของงานวิจัยนี้ คือ การวิเคราะห์ปัจจัยระหว่างการดําเนินการจัดจําหน่ายสินค้าด้วยตนเอง (Make/ขายตรง) หรือ จะใช้ตัวกลางเพื่อจัดจําหน่ายสินค้าให้ (buy /outsourcing) ภายใต้เงื่อนไขระบบการจัด จําหน่ายเดียวกัน ว่าจะส่งผลต่อประสิทธิผลของการกระจายสินค้าโดยตรงหรือเศรษฐกิจอย่างไร Key word: Dual Distribution คือ การกระจายสินค้าควบคู่ ทั้งแบบทําด้วยผู้ผลิตเองและให้ผู้อื่นดําเนินการ(Make and Buy) ประสิทธิผลของการกระจายสินค้าโดยตรงหรือเศรษฐกิจ คือ ความพึงพอใจของลูกค้า และ ผลกําไรของบริษัท 2.Model
  • 2.
  • 3. ใช้กรณีศึกษาโดยการสัมภาษณ์ผู้เชี่ยวชาญที่เกี่ยวข้องกับอุตสาหกรรมยานยนต์ในแขนงต่างๆและ หลากหลายยี่ห้อ ในประเทศ เยอรมัน สวีเดน และ สเปน จํานวน 24 คน 3.วิเคราะห์ปัญหา และสรุป ผลการวิจัย พบว่า ปัจจัยที่มีความสําคัญต่อ Dual distribution ได้แก่ ความจํากัดของทรัพยากร, ความสามารถในการลงทุน, สถานที่ , ผลตอบแทน และ กลยุทธ์ในการตลาดของแต่ละบริษัท ทั้งนี้ ผลการวิจัยยังสรุปได้อีกว่า ความสัมพันธ์ของการกระจายสินค้าแบบควบคู่(Dual distribution) กับ ประสิทธิผลของการกระจายสินค้าโดยตรงหรือเศรษฐกิจเป็นไปในทิศทางเดียวกัน คือ ถ้าใช้การกระจาย สินค้าแบบควบคู่เพิ่มขึ้น ประสิทธิผลในทางเศรษฐกิจโดยรวมจะเพิ่มขึ้นเช่นเดียวกัน ทั้งนี้ ข้อจํากัดของงานวิจัยนี้ คือ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้และจํานวนผู้ให้สัมภาษณ์มีจํานวนไม่มากนัก
  • 4. An empirical study of Chinese SME grocery retailers’ distribution capabilities (การศึกษาขีดความสามารถในการกระจายสินค้าของธุรกิจค้าปลีก SME จีน) โดย Teck-Yong Eng "An empirical study of Chinese SME grocery retailers’ distribution capabilities", Supply Chain Management: An International Journal, Vol. 21 Iss 1 pp. 63 – 77 , 2016 , EMERALD 1.กรอบแนวความคิด วัตถุประสงค์ของงานวิจัยนี้ คือ การวิเคราะห์ขีดความสามารถในการกระจายสินค้าของธุรกิจค้าปลีก Sme ของจีน ที่มีข้อจํากัดในเรื่องคลังสินค้าและการกระจายสินค้าภายในองค์กร(การบริหารจัดการ กระบวนการจัดจําหน่ายสินค้า) ซึ่งมีผลต่อประสิทธิภาพขององค์กรฯ เนื่องจากความต้องการสินค้าในตลาดที่ เปลี่ยนแปลงตลอดเวลา 2.Model
  • 5.
  • 6. ใช้การรวบรวมข้อมูลโดยใช้การสัมภาษณ์ผู้ประกอบการจํานวน 247 คน จากธุรกิจ SME ใน 3 เมืองใหญ่ของจีน (Chongqung(east), Wuhan(central) and Tianjin(west)) ปัจจัยนําเข้า ได้แก่ 1. External resources (ใช้ทรัพยากรภายนอก/จ้าง) 2. Interfirm market orientation ใช้วิธีควบรวมบริษัท 3. Network relationships (ใช้ความสัมพันธ์ในทางธุรกิจ) ผลลัพธ์ คือ ประสิทธิภาพและประสิทธิผล/ผลกําไร ของธุรกิจ SME 3.วิเคราะห์ปัญหา และสรุป ผลการวิจัย พบว่า ความสัมพันธ์ระหว่างขีดความสามารถในการจัดจําหน่ายสินค้ากับการ บริหารผลตอบแทนเมื่อสถานการณ์ไม่แน่นอนเกิดขึ้นมีความสัมพันธ์กัน แต่การควบรวมบริษัท ไม่ได้ทําให้ความสามารถในจัดจําหน่ายสินค้ามากขึ้น ทั้งนี้ การใช้ความสัมพันธ์ในทางธุรกิจ (เจรจา) มีนัยสําคัญต่อการบริหารผลตอบแทนเมื่อสถานการณ์ไม่แน่นอนมากกว่า
  • 7. Structural mapping of public distribution system using multi-agent systems โดย Sudhir Ambekar and Rohit Kapoor Business Process Management Journal, Vol. 21 Iss 5 pp. 1066 1090 , 2016 , EMERALD 1.กรอบแนวความคิด - วัตถุประสงค์ของการวิจัยนี้คือการพัฒนากรอบแนวคิดสําหรับการร่างแผนระบบการ กระจายสินค้าสาธารณะของอินเดีย (PDS) โดยใช้ระบบหลายตัวแทน (MAS) ห่วงโซ่อุปทาน PDS ทั้งหมด ตั้งแต่การซื้อจนถึงการขนส่งได้ถูกออกแบบในรายละเอียด โดยคํานึงถึงห่วงโซ่อุปทาน PDS ในแต่ละระดับ 2.Model
  • 8. รูปที่ 1 แสดงการจัดซื้อและการจัดเก็บ ซึ่งประกอบด้วยตัวแทนได้แก่ ชาวนา รัฐบาล ศูนย์รับซื้อ ผู้ ขนส่ง และคลังสินค้า - ชาวนา หมายถึงผู้ผลิตข้าว ที่ต้องการขายให้ศูนย์รับซื้อของรัฐบาล ชาวนาเป็นผู้ตัดสินใจปริมาณ ที่จะขาย ซึ่งขึ้นกับราคาและกําไร ชาวนาต้องลงทะเบียนข้อมูล ปริมาณข้าวที่มี เวลาที่สินค้า พร้อม ตําแหน่งที่ตั้ง ขนาดพื้นที่นา ระบบชลประทาน ชาวนาเป็นผู้ขนส่งสินค้าไปที่ศูนย์รับซื้อ - รัฐบาล หมายถึงตัวแทนรัฐบาลที่ทําหน้าที่รับซื้อในแต่ละรัฐ ซึ่งราคารับซื้อจะขึ้นอยู่กับราคา ช่วยเหลือที่ตํ่าที่สุด (Minimum Support Price (MSP)) จากข้อมูลที่ชาวนาลงทะเบียน รัฐบาลจะ ทราบข้อมูลของชาวนา และจัดสรร ปริมาณรับซื้อ นอกจากนั้นรัฐบาลยังเป็นผู้จัดการการขนส่ง ระหว่าง ศูนย์รับซื้อและคลังสินค้า - ศูนย์รับซื้อ หมายถึงศูนย์ที่ขับเคลื่อนโดยรัฐบาล จากข้อมูลการรับซื้อและความจุของศูนย์ศูนย์ฯ จะเตรียมตารางการรับซื้อ และแจ้งชาวนา ศูนย์ฯมีหน้าที่ตรวจและรับรองคุณภาพของสินค้า บรรจุหีบห่อ และออกใบเสร็จให้ชาวนา - ผู้ขนส่ง หมายถึงผู้รับจ้างขนส่งสินค้าจากศูนย์รับซื้อไปที่คลังสินค้า
  • 9. - คลังสินค้า เจ้าของคลังสินค้าได้แก่ สมาคมอาหารอินเดีย สมาคมคลังสินค้ากลาง สมาคม คลังสินค้ารัฐ หรือ คลังสินค้าเอกชน คลังสินค้าเหล่านี้จะรายงานปริมาณสินค้าที่ตนมีไปที่รัฐบาล ก่อนจะเริ่มกระบวนการจัดซื้อ คลังสินค้าจะเก็บสินค้าเป็นระบบเพื่อรอการกระจายสินค้าต่อไป รูปที่2. Structure of the optimization framework for distribution
  • 10. รูปที่ 3 แสดงปฏิสัมพันธ์ระหว่างตัวแทนและสภาพแวดล้อม ตัวแทนจะมีปฏิสัมพันธ์โดยคํานึงถึง วัตถุประสงค์เป็นหลัก ซึ่งจะมีการแลกเปลี่ยนข้อมูลและสินค้า กิจกรรมของตัวแทนต่างๆเป็นไป ตามวงรอบการซื้อขาย ซึ่งมีข้อกําหนดตามแต่ละรัฐกําหนด Figure 3. Interaction between agents during purchase
  • 11. Figure 4. Interaction between agents during distribution รูปที่ 4 แสดงปฏิสัมพันธ์ระหว่างตัวแทน โครงสร้างของการกระจายสินค้า ซึ่งประกอบด้วยตัวแทนได้แก่ Ministry of Consumer Affairs, Food and Public Distribution (MCAFPD) - กรมกระจายสินค้าและอาหารสาธารณะ กระทรวงกิจการ ผู้บริโภค หน่วยงานนี้จะแจ้งปริมาณการจัดสรรโควต้าการสั่งสินค้าทุกเดือน ซึ่งมาจากข้อมูลการ ลงทะเบียน และความต้องการของแต่ละรัฐ State Government Food and Civil Supply Department (SFACSD) เป็นหน่วยงานระดับรัฐรับผิดชอบให้ การทํางานของแต่ละรัฐเป็นไปด้วยความเรียบร้อยSFACSD จะส่งข้อมูลความต้องการรายเดือนไปที่ MCAFPD นอกจากนั้นยังวางแผนการจัดสรรโควต้าในรัฐ
  • 12. District Food and Civil Supply Department (DFACSD) รับผิดชอบการการกระจายสินค้าไปที่ร้านราคา ยุติธรรม(Fair Price Shops (FPS)) Food Coporation of India Head office (FCIHO) เป็นหน่วยงานกลางทําหน้าที่จัดสรรโควต้าสําหรับแต่ละ รัฐ FCI Regional Office/sales office (FCIRO) มีหน้าที่ประสานงานกับ SFACSD สําหรับการกระจายสินค้า ในรัฐ FCI Division/District office (FCIDO) มีหน้าที่ควบคุมปริมาณสินค้าในคลัง Storage Depots เป็นตัวเชื่อมระหว่างการซื้อและการกระจายสินค้า Fair Price Shops (FPS) รับผิดชอบในการกระจายสินค้าไปที่ผู้รับซื้อ Cardholders (ผู้รับซื้อ) 3.วิเคราะห์ปัญหา - จากวรรณกรรมที่เกี่ยวข้องกับ PDS ห่วงโซ่อุปทานอาหาร (FGSC) และ MAS ซึ่งได้รับ การตรวจสอบและประเมิน เราได้นําเสนอกรอบแนวคิด ซึ่งจะช่วยพัฒนาระบบ PDS ผลการวิจัย - PDS มีข้อบกพร่องหลายอย่างที่เกิดจากโครงสร้างและการนําไปใช้ ที่ซับซ้อน ผู้เขียน นําเสนอสองขั้นตอนของห่วงโซ่อุปทาน ขั้นตอนแรกเป็นการจําลองตั้งแต่การจัดซื้อจนถึงการ จัดเก็บ ขั้นตอนสอนเป็นการจําลองระบบการกระจายสินค้า 4.บทสรุปและการวิจัยในอนาคต งานวิจัยฉบับนี้เสนอแบบจําลองแบบสองขั้นตอน ขั้นตอนแรกวางแผนการซื้อและการจัดเก็บของ ระบบกระจายสินค้า ขั้นตอนสองวางระบบการกระจายสินค้า แบบจําลอง PDS จะช่วยหน่วยงานรัฐในการปรับปรุงประสิทธิภาพของตนเอง เพื่อที่ตัวแสดงใน ระบบห่วงโซ่อุปทานจะสามารถพัฒนากลยุทธ์เพื่อปรับปรุงสถานการณ์ความปลอดภัยในอาหาร
  • 13. โครงสร้างของแบบจําลองแบบสองขั้นตอน สามารถแสดงได้ตามภาพ 1 และ ภาพ 2 ระบบหลาย ตัวแทน (MAS) จะสร้างผลการทดลอง และประเมินประสิทธิภาพ จากตัวชี้วัด ขั้นตอนนี้จะถูกทําซํ้า จนกว่าได้คําตอบที่ใกล้เคียงที่สุด
  • 14. The mediating role of job satisfaction in the relationship of vertical trust and distributed leadership in health care context (บทบาทของความพึงพอใจในงานกับความสัมพันธ์ของความเชื่อใจในองค์กรและความเป็นผู้นํา) โดย Ajay K. Jain "The mediating role of job satisfaction in the relationship of vertical trust and distributed leadership in health care context", Journal of Modelling in Management, Vol. 11 Iss 2 pp. 722 – 738 , 2016 , EMERALD 1.กรอบแนวความคิด วัตถุประสงค์ของงานวิจัยนี้ คือ วิเคราะห์ความสัมพันธ์ของความเชื่อใจในองค์กรกับความเป็นผู้นํา(ที่ กระจายอํานาจ) โดยมีความพึงพอใจในงานเป็นสื่อกลาง 2.Model
  • 15. ใช้การรวบรวมข้อมูลโดยใช้การสัมภาษณ์และส่งแบบสอบถามจากพนักงานโรงพยาบาล ในประเทศ Denmark จํานวน 1,439 คน ปัจจัยนําเข้า ได้แก่ 1. ความเชื่อถือ/เชื่อใจในองค์กร Trust สื่อกลาง คือ ความพึงพอใจในงานของพนักงาน ผลลัพธ์ คือ ความเป็นผู้นํา(กระจายอํานาจ) และ ประสิทธิภาพในการงาน 3.วิเคราะห์ปัญหา และสรุป
  • 16. ผลการวิจัย พบว่า ความสัมพันธ์ของความเชื่อใจในองค์กรกับความเป็นผู้นํา(ที่กระจายอํานาจ) มี ความสัมพันธ์กัน ซึ่งมีผลต่อประสิทธิภาพในงานอย่างมีนัยสําคัญ