SlideShare a Scribd company logo
1
2
เครื่องสร้างภาพลักษณะพื้นผิวเชิงโครงสร้างอะตอม
• ความพยายามของนักวิทยาศาสตร์ที่จะมองให้เห็น
ลักษณะเชิงโครงสร้างของอะตอม จึงได้มีการพัฒนา
เครื่องมือที่เรียกว่า atomic force microscope
(AFM) หรือ scanning force microscopy
(SFM) ซึ่งมีความละเอียดในระดับ นาโน (10-9 m)
3
AFM
I SSN 1 4 3 0 - 4 1 7 1
THE C H EMICAL EDUCATOR h t t p : / / j o u r n a l s . s p r i n g e r - n y . c o m / c h e d r
© 1 9 9 6 SPRI NGER- VERLAG NEW YORK, I NC. S 1 4 3 0 - 4 1 7 1 ( 9 6 ) 0 5 0 5 9 - 5
รูป เครื่อง AFM
4
nano.tm.agilent.com/blog/page/3/?s
ภาพจาลองการทางานของเครื่อง AFM
5
ภาพจาลองอะตอมที่สร้างขึ้นจากเครื่องมือ AFM
6
จากภาพจาลองอะตอมจะเห็นเพียง
ลักษณะภายนอกของอะตอมเท่านั้น
การศึกษาเรื่องราว
เกี่ยวกับโครงสร้างของ
อะตอมจึงเป็นการแปล
ผลจากข้อมูลที่ได้จาก
การทดลองและนามา
สร้างเป็นมโนภาพหรือ
แบบจาลองอะตอม
7
เสนอทฤษฎีอะตอมเพื่อใช้อธิบายเกี่ยวกับ
การเปลี่ยนแปลงมวลของสารก่อนและ
หลังทาปฏิกิริยา รวมทั้งอัตราส่วนโดย
มวลที่รวมกันเป็นสารประกอบหนึ่งๆ
8
• 1. ธาตุประกอบด้วยอนุภาคขนาดเล็กจานวนมากเรียกว่า
“อะตอม” ที่ไม่สามารถแบ่งแยกย่อยลงไปได้อีกและ
ทาให้เกิดขึ้นใหม่หรือสูญหายไม่ได้
2. อะตอมของธาตุชนิดเดียวกันจะมีสมบัติเหมือนกัน
เช่น มวล และมีสมบัติต่างจากอะตอมของธาตุอื่น
3. สารประกอบเกิดจาก อะตอมของธาตุมากกว่า 1 ชนิด
ทาปฏิกิริยาเคมีรวมตัวกันในอัตราส่วนที่เป็นเลข
จานวนเต็มลงตัวน้อยๆ เช่น อะตอมของธาตุ C กับ O
รวมกันเป็น CO , CO2 9
Dalton atomic theory
• 1) each element made up of atoms
• 2) which cannot be created, destroyed, divided or
converted
• 3) all atoms of each type have the same properties
• 4) atoms of different types have different
properties
• 5) “reactions” involve reorganizing atoms: joining,
separating or rearranging them
• 6) these combine in small, whole-number ratios to
form compounds; multiple combinations are possible
10
12
16
12
32
ถ้าธาตุสองธาตุรวมตัวกันเกิดเป็นสารประกอบ อัตราส่วน
โดยมวลหรืออะตอมของธาตุชนิดหนึ่งที่รวมกับธาตุอีกชนิด
หนึ่ง จะมี สัดส่วนคงที่ เช่น O : C ใน
อัตราส่วนโดยมวล
= 4 : 3
= 8 : 3
11
• การที่ธาตุรวมตัวเป็นสารประกอบด้วย
อัตราส่วนโดยมวลที่คงที่ ทาให้ ดอลตัน
เชื่อว่าอัตราส่วนโดยมวลของธาตุที่เกิดเป็น
สารประกอบนั้น ขึ้นอยู่กับมวลของธาตุแต่
ละอะตอม
12
จากทฤษฎีอะตอมของดาลตันสามารถ
ทาให้สร้างแบบจาลองอะตอมของดอล
ตันได้ว่า อะตอมมีลักษณะทรงกลมตัน
เหมือนลูกบิลเลียด
13
จากทฤษฎีอะตอมของดาลตันช่วยนักวิทยาศาสตร์
สามารถอธิบายสมบัติของอะตอมได้ในระดับหนึ่ง
โจเซฟ เพราสต์ (Joseph Proust)
"อัตราส่วนโดยมวลของธาตุที่รวมกันเป็ นสารประกอบ
ชนิดหนึ่ง ๆ จะมีค่าคงที่ ไม่ว่าจะเตรียมสารประกอบนั้น
กี่ครั้ง หรือ โดยวิธีการต่างกันอย่างไรก็ตาม"
14
ลาวัวร์ซิเยร์ (Anton Laurent Lavoisier)
“การเปลี่ยนแปลงมวลของสารก่อนและ
หลังทาปฏิกิริยาจะมีค่าเท่าเดิม”
2C + O2  2CO
12 32 28
12 28 15
ข้อบกพร่องของทฤษฎีอะตอมดอลตัน
อะตอมของธาตุชนิดเดียวกันจะมีสมบัติเหมือนกัน
และมีสมบัติต่างจากอะตอมของธาตุอื่น
ธาตุชนิดเดียวกัน มีมวลต่างกันได้
12C , 13C , 14C
16
ยุคใหม่การพัฒนาทฤษฎีอะตอม
ตั้งแต่สมัยของดิมอคริตุส จนถึงดอลตัน อะตอม คือ
องค์ประกอบของสารที่มีขนาดเล็กที่สุดที่แบ่งแยกต่อไปไม่ได้อีก
ในปลายคริสตศตวรรษที่ 19 ทฤษฎีใหม่ของ
อะตอมได้เริ่มมีการพัฒนาขึ้นเมื่อ เจ เจ ทอมสัน
ค้นพบอิเล็กตรอน ในปี ค.ศ.1897
17
เซอร์โจเซฟ จอน ทอมสัน ( Sir Joseph John
Thomson) ค.ศ. 1856 – 1940 , อังกฤษ
18
ในปี ค.ศ. 1833 ไมเคิล ฟาราเดย์ ได้เสนอผลงานเกี่ยวกับ
การนาไฟฟ้ าของสารละลาย คือเรื่องอิเล็กโทรลิซิส ซึ่งเป็ น
แนวทางในการนาไปสู่ส่วนประกอบทางไฟฟ้ าของอะตอม
การประดิษฐ์เครื่องมือทางวิทยาศาสตร์ที่สาคัญ
ต่อการค้นพบอิเล็กตรอน คือ หลอดรังสีแคโทด
19
William Crooks ค.ศ.1897 สร้างหลอดรังสีแคโทด
( cathode rays tube) ซึ่งเป็นหลอดแก้ว ภายในสูบอากาศ
ออกหมดแล้วบรรจุแก๊สไว้เพียงเล็กน้อยเพื่อให้แก๊สมีความ
ดันต่ามาก เมื่อใช้อิเล็กโทรดและให้ความต่างศักย์สูง(high
voltage) 10,000 โวลต์ แก๊สจะนาไฟฟ้ าได้ และเกิดรังสีพุ่ง
ออกจากแคโทดหรือขั้วลบ ซึ่งเรียกว่า รังสีแคโทด ( cathode
rays )
20
https://reich-chemistry.wikispaces.com/Fall.2008.MMA.Cushman.Hutchinson.Timeline
อิเล็กโทรด
แคโทด
อิเล็กโทรด
แอโนด
21
-
+
ออยเกน โกลด์ชไตน์ (Eugen Goldstein) พ.ศ.2429 ,เยอรมัน
หลอดรังสีแคโทดกับอนุภาคบวก
http://www.uwec.edu/boulteje/Boulter103Notes/11September.htm
แคโทด
แอโนด
22
พบลาแสงที่มีประจุเป็ นบวก(canal rays) ด้านหลังแคโทด
ประจุบวกนี้เกิดขึ้นจากอะตอมของแก๊สซึ่งเป็ นกลาง ถ้าใช้
แก๊สต่างกัน อัตราส่วนประจุต่อมวล(e/m) จะไม่เท่ากัน
23
และถ้าบรรจุแก๊สไฮโดรเจนไว้ในหลอดรังสีแคโทด จะ
ได้อนุภาคที่มีประจุไฟฟ้ าบวกเท่ากับประจุไฟฟ้ าลบ
ซึ่งต่อมาเรียกอนุภาค
บวกที่เกิดจากแก๊ส
ไฮโดรเจนนี้ว่า
โปรตอน(proton)
เจ เจ ทอมสัน พ.ศ.2440 แสดงให้เห็นว่า รังสีแคโทด
เบี่ยงเบนภายใต้สนามแม่เหล็ก และสนามไฟฟ้ าโดย
ดัดแปลงหลอดรังสีแคโทด สรุปว่ารังสีแคโทดประกอบด้วย
อนุภาคที่มีประจุลบ
24
แอโนด
แคโทด
www.il.mahidol.ac.th
25
เจ เจ ทอมสัน ทาการทดลองต่อโดย
เปลี่ยนชนิดของแก๊สและโลหะที่ใช้เป็น
แคโทด พบว่ารังสีที่เกิดขึ้นยังคง
ประกอบด้วยอนุภาคที่มีประจุลบ
ทอมสัน สรุปว่า อะตอมทุกชนิดมีอนุภาคที่มีประจุลบเป็ น
องค์ประกอบ เรียกอนุภาคนี้ว่า อิเล็กตรอน
จากการที่อะตอมเป็นกลางทางไฟฟ้ า แสดงว่า อะตอมต้อง
ประกอบด้วยอนุภาคที่มีประจุบวก(โปรตอน)และอนุภาคที่มีประจุลบ
(อิเล็กตรอน) อยู่ในอะตอมเท่าๆกัน
เมื่อคานวณหาอัตราส่วนประจุต่อมวล(e/m)ของอนุภาคลบ พบว่าได้
ค่าคงที่เท่ากับ 1.76x108 คูลอมบ์ต่อกรัม ทุกครั้ง
26
Plum pudding
model of atom
27
รังสีแคโทด
เกิดขึ้นได้
อย่างไร ทาไมอัตราส่วนประจุ
ต่อมวล(e/m)ของ
อนุภาคบวกของแก๊สแต่
ละชนิดไม่เท่ากัน
28
รอเบิร์ต แอนดรูส์ มิลลิแกน (Robert
Andrews Millikan) ค.ศ. 1868 -1953
อเมริกัน
การทดลองหยด
น้ามันของมิลลิแกน
เพื่อหาค่าประจุของ
อิเล็กตรอน
http://millikan.nbaoh.com/1.htm
ค.ศ. 1909, “Oil Drop experiment”
29
http://millikan.nbaoh.com/1.htm
ค.ศ. 1909, “Oil Drop experiment”
รังสีเอกซ์ ทาให้อากาศ
ในกล่องแตกตัวเป็นให้
อิเล็กตรอน
หยดน้ามันรับ
อิเล็กตรอนมีประจุ ตก
ลงมาตามแรงโน้มถ่วง
ปรับขนาดความต่าง
ศักย์ของสนามไฟฟ้ า
ควบคุมอัตราเร็วการตก
ของหยดน้ามัน 30
http://millikan.nbaoh.com/1.htm
ค.ศ. 1909, “Oil Drop experiment”
ปรับให้หยดน้ามันหยุดนิ่ง
แรงจากสนามไฟฟ้ า = แรงโน้มถ่วง
qE = mg
ทราบความต่างศักย์ของ
สนามไฟฟ้ า , ทราบ
มวลของหยดน้ามัน
คานวณหาประจุบนหยด
น้ามันได้
31
ประจุของอิเล็กตรอนที่หาได้มีค่าเป็นจานวนเท่าของตัวเลขค่าหนึ่ง
ประจุบนหยดน้ามัน = n (1.66x10-19) คูลอมบ์
ตัวเลขประจุบนหยดน้ามันที่มีค่าน้อยที่สุด = 1.66x10-19 คูลอมบ์
จึงสรุปว่า อิเล็กตรอนมีประจุ = 1.66x10-19 คูลอมบ์
แสดงว่า n = 1
32
e/m ของอิเล็กตรอน = 1.76x108 คูลอมบ์ต่อกรัม
ประจุของอิเล็กตรอน = 1.60x10-19 คูลอมบ์
m ของอิเล็กตรอน =
1.76x108 คูลอมบ์ต่อกรัม
1.60x10-19 คูลอมบ์
m ของอิเล็กตรอน = 0.909 x10-27 กรัม
m ของอิเล็กตรอน = 9.09 x10-28 กรัม
มวลของอิเล็กตรอน = 9.1 x10-28 กรัม
33
เครื่องมือการทดลอง “Oil Drop
experiment” ของมิลลิแกน
34
1. อิเล็กตรอนมวล 1 กรัม จะมีจานวนอนุภาคอิเล็กตรอน
ทั้งหมดกี่อิเล็กตรอน ?
2. อิเล็กตรอนจานวน 12.04 x1023 อิเล็กตรอน จะมีมวลกี่กรัม
ลองคิดดู
35

More Related Content

What's hot

ฟิสิกส์อะตอม
ฟิสิกส์อะตอมฟิสิกส์อะตอม
ฟิสิกส์อะตอม
Chanthawan Suwanhitathorn
 
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 1
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 1เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 1
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 1Tanchanok Pps
 
บทที่ 1 แรงและการเคลื่อนที่
บทที่ 1  แรงและการเคลื่อนที่บทที่ 1  แรงและการเคลื่อนที่
บทที่ 1 แรงและการเคลื่อนที่
Pinutchaya Nakchumroon
 
การเคลื่อนที่แบบ shm
การเคลื่อนที่แบบ shmการเคลื่อนที่แบบ shm
การเคลื่อนที่แบบ shm
Aey Usanee
 
3การแลกเปลี่ยนแก๊ส
3การแลกเปลี่ยนแก๊ส3การแลกเปลี่ยนแก๊ส
3การแลกเปลี่ยนแก๊สWan Ngamwongwan
 
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง โมเมนตัมและการชน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง โมเมนตัมและการชนเอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง โมเมนตัมและการชน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง โมเมนตัมและการชน
Wijitta DevilTeacher
 
ข้อสอบวิทย์
ข้อสอบวิทย์ข้อสอบวิทย์
ข้อสอบวิทย์weerawato
 
พันธะไอออนิก57
พันธะไอออนิก57 พันธะไอออนิก57
พันธะไอออนิก57
Saipanya school
 
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสAomiko Wipaporn
 
แรงดึงดูดระหว่างมวล2560
แรงดึงดูดระหว่างมวล2560แรงดึงดูดระหว่างมวล2560
แรงดึงดูดระหว่างมวล2560
krulef1805
 
ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์ พิร...
ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์  พิร...ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์  พิร...
ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์ พิร...Kobwit Piriyawat
 
บทที่ 6 โมเมนตัมและการชน
บทที่ 6 โมเมนตัมและการชนบทที่ 6 โมเมนตัมและการชน
บทที่ 6 โมเมนตัมและการชน
Thepsatri Rajabhat University
 
บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์
บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์
บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์
orasa1971
 
สมบัติของสารและการจำแนก
สมบัติของสารและการจำแนกสมบัติของสารและการจำแนก
สมบัติของสารและการจำแนกSupaluk Juntap
 
05แบบฝึกกำลัง
05แบบฝึกกำลัง05แบบฝึกกำลัง
05แบบฝึกกำลัง
Phanuwat Somvongs
 
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีJariya Jaiyot
 
บทที่ 2 พันธะเคมี
บทที่ 2 พันธะเคมีบทที่ 2 พันธะเคมี
บทที่ 2 พันธะเคมี
oraneehussem
 
สรุป วิชาโลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ
สรุป วิชาโลก ดาราศาสตร์ และอวกาศสรุป วิชาโลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ
สรุป วิชาโลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ
สิปป์แสง สุขผล
 

What's hot (20)

ฟิสิกส์อะตอม
ฟิสิกส์อะตอมฟิสิกส์อะตอม
ฟิสิกส์อะตอม
 
หน่วยที่ 1 ไฟฟ้าฟ้าสถิต
หน่วยที่ 1 ไฟฟ้าฟ้าสถิตหน่วยที่ 1 ไฟฟ้าฟ้าสถิต
หน่วยที่ 1 ไฟฟ้าฟ้าสถิต
 
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 1
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 1เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 1
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 1
 
บทที่ 1 แรงและการเคลื่อนที่
บทที่ 1  แรงและการเคลื่อนที่บทที่ 1  แรงและการเคลื่อนที่
บทที่ 1 แรงและการเคลื่อนที่
 
การเคลื่อนที่แบบ shm
การเคลื่อนที่แบบ shmการเคลื่อนที่แบบ shm
การเคลื่อนที่แบบ shm
 
3การแลกเปลี่ยนแก๊ส
3การแลกเปลี่ยนแก๊ส3การแลกเปลี่ยนแก๊ส
3การแลกเปลี่ยนแก๊ส
 
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง โมเมนตัมและการชน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง โมเมนตัมและการชนเอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง โมเมนตัมและการชน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง โมเมนตัมและการชน
 
ข้อสอบวิทย์
ข้อสอบวิทย์ข้อสอบวิทย์
ข้อสอบวิทย์
 
พันธะไอออนิก57
พันธะไอออนิก57 พันธะไอออนิก57
พันธะไอออนิก57
 
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
 
แรงดึงดูดระหว่างมวล2560
แรงดึงดูดระหว่างมวล2560แรงดึงดูดระหว่างมวล2560
แรงดึงดูดระหว่างมวล2560
 
ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์ พิร...
ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์  พิร...ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์  พิร...
ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์ พิร...
 
พันธะเคมี
พันธะเคมีพันธะเคมี
พันธะเคมี
 
บทที่ 6 โมเมนตัมและการชน
บทที่ 6 โมเมนตัมและการชนบทที่ 6 โมเมนตัมและการชน
บทที่ 6 โมเมนตัมและการชน
 
บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์
บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์
บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์
 
สมบัติของสารและการจำแนก
สมบัติของสารและการจำแนกสมบัติของสารและการจำแนก
สมบัติของสารและการจำแนก
 
05แบบฝึกกำลัง
05แบบฝึกกำลัง05แบบฝึกกำลัง
05แบบฝึกกำลัง
 
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
 
บทที่ 2 พันธะเคมี
บทที่ 2 พันธะเคมีบทที่ 2 พันธะเคมี
บทที่ 2 พันธะเคมี
 
สรุป วิชาโลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ
สรุป วิชาโลก ดาราศาสตร์ และอวกาศสรุป วิชาโลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ
สรุป วิชาโลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ
 

More from Saipanya school

Atomic model ruth & bohr
Atomic model ruth & bohrAtomic model ruth & bohr
Atomic model ruth & bohr
Saipanya school
 
Chem equation
Chem equation  Chem equation
Chem equation
Saipanya school
 
Echem 1 redox
Echem 1 redoxEchem 1 redox
Echem 1 redox
Saipanya school
 
Titration curve & buffer solution
Titration curve & buffer solutionTitration curve & buffer solution
Titration curve & buffer solution
Saipanya school
 
Echem 2 redox balance
Echem 2 redox balanceEchem 2 redox balance
Echem 2 redox balance
Saipanya school
 
Concentration ..2018
Concentration ..2018Concentration ..2018
Concentration ..2018
Saipanya school
 
Concentration 2018
Concentration 2018Concentration 2018
Concentration 2018
Saipanya school
 
4 chem formular
4 chem formular4 chem formular
4 chem formular
Saipanya school
 
Empirical exc. sp
Empirical exc. spEmpirical exc. sp
Empirical exc. sp
Saipanya school
 
3 the mole 2018
3 the  mole 20183 the  mole 2018
3 the mole 2018
Saipanya school
 
Stoichem 002
Stoichem 002 Stoichem 002
Stoichem 002
Saipanya school
 
Stoichem 001
Stoichem 001Stoichem 001
Stoichem 001
Saipanya school
 
Mole review
Mole review Mole review
Mole review
Saipanya school
 
การคำนวณพลังงานของปฏิกิริยา
การคำนวณพลังงานของปฏิกิริยาการคำนวณพลังงานของปฏิกิริยา
การคำนวณพลังงานของปฏิกิริยา
Saipanya school
 
พันธะโลหะ
พันธะโลหะพันธะโลหะ
พันธะโลหะ
Saipanya school
 
พันธะโคเวเลนต์ Covalent Bond
พันธะโคเวเลนต์ Covalent Bondพันธะโคเวเลนต์ Covalent Bond
พันธะโคเวเลนต์ Covalent Bond
Saipanya school
 
สุ่มนักเรียนนำเสนอชุด A
สุ่มนักเรียนนำเสนอชุด Aสุ่มนักเรียนนำเสนอชุด A
สุ่มนักเรียนนำเสนอชุด A
Saipanya school
 
เฉลย โมล
เฉลย โมลเฉลย โมล
เฉลย โมล
Saipanya school
 
ว 30222 ม.5
ว 30222 ม.5ว 30222 ม.5
ว 30222 ม.5
Saipanya school
 
4 การเตรียมสารละลาย
4 การเตรียมสารละลาย4 การเตรียมสารละลาย
4 การเตรียมสารละลาย
Saipanya school
 

More from Saipanya school (20)

Atomic model ruth & bohr
Atomic model ruth & bohrAtomic model ruth & bohr
Atomic model ruth & bohr
 
Chem equation
Chem equation  Chem equation
Chem equation
 
Echem 1 redox
Echem 1 redoxEchem 1 redox
Echem 1 redox
 
Titration curve & buffer solution
Titration curve & buffer solutionTitration curve & buffer solution
Titration curve & buffer solution
 
Echem 2 redox balance
Echem 2 redox balanceEchem 2 redox balance
Echem 2 redox balance
 
Concentration ..2018
Concentration ..2018Concentration ..2018
Concentration ..2018
 
Concentration 2018
Concentration 2018Concentration 2018
Concentration 2018
 
4 chem formular
4 chem formular4 chem formular
4 chem formular
 
Empirical exc. sp
Empirical exc. spEmpirical exc. sp
Empirical exc. sp
 
3 the mole 2018
3 the  mole 20183 the  mole 2018
3 the mole 2018
 
Stoichem 002
Stoichem 002 Stoichem 002
Stoichem 002
 
Stoichem 001
Stoichem 001Stoichem 001
Stoichem 001
 
Mole review
Mole review Mole review
Mole review
 
การคำนวณพลังงานของปฏิกิริยา
การคำนวณพลังงานของปฏิกิริยาการคำนวณพลังงานของปฏิกิริยา
การคำนวณพลังงานของปฏิกิริยา
 
พันธะโลหะ
พันธะโลหะพันธะโลหะ
พันธะโลหะ
 
พันธะโคเวเลนต์ Covalent Bond
พันธะโคเวเลนต์ Covalent Bondพันธะโคเวเลนต์ Covalent Bond
พันธะโคเวเลนต์ Covalent Bond
 
สุ่มนักเรียนนำเสนอชุด A
สุ่มนักเรียนนำเสนอชุด Aสุ่มนักเรียนนำเสนอชุด A
สุ่มนักเรียนนำเสนอชุด A
 
เฉลย โมล
เฉลย โมลเฉลย โมล
เฉลย โมล
 
ว 30222 ม.5
ว 30222 ม.5ว 30222 ม.5
ว 30222 ม.5
 
4 การเตรียมสารละลาย
4 การเตรียมสารละลาย4 การเตรียมสารละลาย
4 การเตรียมสารละลาย
 

atom 1