SlideShare a Scribd company logo
คือ การประกันภัยเพื่อคุ้มครองความสูญเสียหรือเสีย
หายอันเกิดจากการใช้รถยนต์ไม่ว่าจะเป็นรถเก๋งส่วน
บุคคล รถ บรรทุก รถโดยสาร และรถจักรยานยนต์ ซึ่ง
ได้แก่ ความสูญเสียหรือเสียหายที่เกิดแก่รถยนต์ได้แก่
ความเสียหาย บุบสลาย หรือสูญหายของตัวรถยนต์
นอกจากนี้ความสูญเสียหรือเสียหายที่รถยนต์ก่อให้เกิด
ขึ้นแก่ชีวิต ร่างกายละทรัพย์สินของบุคคลภายนอก รวม
ทั้งบุคคลที่โดยสารอยู่ในรถยนต์นั้นด้วยโดยบริษัทหรือ
ผู้รับประกันภัยจะ ออกหนังสือให้แก่ผู้เอาประกันภัย
แต่ละรายเรียกว่า
“ ”กรมธรรม์ประกันภัย หรือหลักฐานของสัญญาประกัน
ภัยซึ่งระบุว่าบริษัทจะชดใช้ค่าสินไหมทดแทนให้แก่ ผู้
สมัยรัชกาลที่ 5 สมัยนั้นบริษัทหรือห้างที่จะตั้ง
กิจการประกันภัยโดยตรงขึ้นในเมืองไทยยังไม่มี เว้น
แต่บริษัทเรือเมล์จีนสยาม ได้รับอำานาจพิเศษให้
ดำาเนินกิจการรับประกันอัคคีภัยและรับประกันภัยทาง
ทะเล อย่างไรก็ตาม การประกันภัยนับว่าได้มีมานาน
แล้ว โดยเฉพาะการประกันอัคคีภัย การประกันทาง
ทะเล ส่วน การประกันชีวิตและการประกันรถยนต์
ก็ได้มีมาในเวลาไล่เลี่ยกัน เช่น ห้างสยามอิมปอร์ต
เป็นตัวแทนของ Motor Union Insurance Company
การประกันภัยรถยนต์การประกันภัยรถยนต์
คือ การประกันความเสียหายอัน
เกิดจากการใช้รถยนต์
จำาแนกออกเป็น 2 ประเภท ดังนี้
1. การประกันภัยรถยนต์ภาค
บังคับ (Compulsory Third
Party Insurance)
2. การประกันภัยรถยนต์ภาค
สมัครใจ (Voluntary Motor
Insurance)
เป็นการประกันภัยรถยนต์ที่
ถูกบังคับโดยกฎหมาย เพื่อความ
คุ้มครองต่อความสูญเสียของ
ชีวิต ร่างกายบุคคล ผู้ประสบภัย
จากรถยนต์ ในปัจจุบัน
ประเทศไทยมีกฎหมายที่เรียก
ว่า"พระราชบัญญัติ" คุ้มครองผู้
ประสบภัยจากรถ พ.ศ.2535 ( พ
ร บ ) เพื่อให้ประชาชน ผู้ประสบ
ภัย ได้รับความคุ้มครอง และการ
การประกันภัยรถยนต์ภาคบังคับ (Compulsory Third
Party Insurance)
การประกันภัยรถยนต์ภาคบังคับ (Compulsory Third
Party Insurance)
1.ค่าเสียหายเบื้องต้นที่ได้รับบาดเจ็บ โดยไม่ต้อง
รอการพิสูจน์ความผิด
•ค่ารักษาพยาบาลจากการบาดเจ็บ 15,000
บาท ต่อคน
•ทุพลภาพอย่างถาวร 35,000 บาท
ต่อคน
•การเสียชีวิตภายหลังรักษา 35,000
บาท ต่อคน
หรือตามที่กฏหมายกำาหนด
2.ค่าเสียหายที่เกินกว่าค่าเสียหายเบื้องต้น ซึ่งผู้ประสบภัยได้
พิสูจน์แล้วว่าไม่ได้เป็นฝ่ายผิด โดยมีจำานวนเงินจำากัดต่อความ
รับผิดชอบ รวมกับค่าเสียหายเบื้องต้น ดังนี้
•ค่ารักษาพยาบาลจากการบาดเจ็บ 15,000 บาท ต่อ
คน
•การเสียชีวิตหรือสูญเสียอวัยวะ 200,000 บาท ต่อคน
•การชดเชยรายวันกรณีเข้ารักษาในสถานพยาบาลในฐานะ
คนไข้ใน 200 บาทต่อวัน รวมกันไม่เกิน 20 วัน
ทั้งนี้เงินจำานวนคุ้มครองสูงสุด รวมกัน ไม่เกิน 204,000 บาท
ต่อหนึ่งคน*
3. ความรับผิดชอบต่อผู้ประสบภัยจากรถ ต่อครั้ง
•รถนั่งไม่เกิน 7 คน 5,000,000 บาท ต่อ
คน
•รถบรรทุก 5,000,000 บาท ต่อ
คน
•รถโดยสารเกิน 7 คน 10,000,000
บาท ต่อคน
ประเภทรถและขนาดรถยนต์
ราคารวมภาษี และ
อากร (บาท)
รถยนต์นั่งไม่เกิน 7 คน ส่วนบุคคล 645.21 บาท
รถยนต์บรรทุก นำ้าหนักไม่เกิน 3 ตัน ส่วน
บุคคล
967.28 บาท
รถยนต์โดยสารเกิน 7 คน ขนาดที่นั่ง ไม่
เกิน 15 ที่นั่ง ส่วนบุคคล
1,182.35 บาท
เป็นการประกันภัยที่เกิดขึ้น โดยความสมัครใจ
ของ เจ้าของรถยนต์ ผู้ครอบครองรถยนต์หรือ ผู้
ขับขี่รถยนต์โดยไม่ได้เกิดจากการถูกบังคับโดย
กฎหมาย แต่อย่างใด การประกันภัยรถยนต์ ที่ใช้กัน
อย่างแพร่หลายในตลาดประกันภัยในปัจจุบันนี้
เป็นการ ประกันภัยในภาคสมัครใจ แบ่งเป็น 5
ประเภท ดังนี้
1. 1การประกันภัยประเภท (Comprehensive)
2. 2การประกันภัยประเภท (
Third Party Liability Fire and Theft )
3. 3การประกันภัยประเภท (Third Party Liability )
4. 4การประกันภัยประเภท
หรือการประกันภัยประเภทคุ้มครองรวม เป็น
ประกันภัยที่คุ้มครองครบทุกความเสี่ยงภัยได้
•ความรับผิดต่อชีวิต ร่างกาย หรืออนามัยของบุคคล
ภายนอก และ ผู้โดยสารในรถ
•ความรับผิดต่อทรัพย์สินบุคคลภายนอก
•ความเสียหายของรถยนต์คันที่เอาประกันภัย
•การสูญหาย และไฟไหม้ของรถยนต์คันที่เอา
ประกันภัย
หรือการประกันภัยประเภทคุ้มครองความรับผิด
ต่อบุคคลภายนอก และคุ้มครองรถยนต์หายและไฟ
ไหม้ เป็นการคุ้มครองในระดับที่น้อยกว่าประเภท 1
คือจะคุ้มครอง
•ความรับผิดต่อชีวิต ร่างกาย หรืออนามัยของบุคคล
ภายนอก และ ผู้โดยสารในรถ
•ความรับผิดต่อทรัพย์สินบุคคลภายนอก
•การสูญหาย และไฟไหม้ของรถยนต์คันที่เอา
ประกันภัย
หรือการประกันภัยประเภทคุ้มครองความเสีย
หายต่อชีวิตร่างกายและทรัพย์สินบุคคลภายนอก
โดยจะคุ้มครองเกี่ยวกับ
•ความรับผิดต่อชีวิต ร่างกาย หรืออนามัยของ
บุคคลภายนอก และ ผู้โดยสารในรถ
•ความรับผิดต่อทรัพย์สินบุคคลภายนอก
หรือคุ้มครองความเสียหายเฉพาะทรัพย์สิน
บุคคลภายนอกในวงเงินไม่เกิน 100,000.00
บาท เป็นการประกันภัยที่ระบุความคุ้มครอง
เฉพาะ ต้องทำาร่วมกับ พ.ร.บ. และ มีอัตราเฉพาะ
รถยนต์ส่วนบุคคลเท่านั้น
หรือการประกันภัยคุ้มครองความเสียหายต่อ
ชีวิตร่างกาย, ทรัพย์สินบุคคลภายนอกรวมทั้งการชน
ของรถยนต์ที่เอาประกันภัยกับยานพาหนะทางบก
เป็นการประกันภัยที่นำาเอาการประกันภัยประเภท 2
และ 3 มาเพิ่มความคุ้มครองความเสียหายที่เกิดจาก
การ
ชนกับยานพาหนะทางบก ยังอาจเลือก
ให้คุ้มครองไฟไหม้ ภัยธรรมชาติ
หรือโจรกรรม ซึ่งขึ้นอยู่กับข้อเสนอของ
 จำานวนเงินเอาประกันภัย
 เบี้ยประกันภัย
 การระบุผู้ขับขี่
 Excess หรือ Deductible
 ส่วนลดประวัติดี
 บริษัทประกันภัย
เนื่องจากประกันภัยรถยนต์ภาคสมัครใจนั้นมีให้เลือก
มากมายหลากหลายในท้องตลาดโดยขึ้นอยู่กับความ
ต้องการส่วนบุคคล ซึ่งการเลือกประเภทของประกันภัย
รถยนต์ที่กล่าวมาแล้วข้างต้น อาจดูได้จากพฤติกรรมการ
ขับขี่ของเราเอง การใช้งานของรถ อายุและสภาพรถ และ
ที่สำาคัญคืองบประมาณ และนอกจากการเราจะพิจารณา
การให้ความคุ้มครองตาม ประเภทของประกันภัยรถยนต์
แล้ว เราควรพิจารณารายละเอียดด้านอื่นๆ ดังนี้
รถที่ต้องทำาประกันภัยตาม พ.ร.บ. ได้แก่
รถทุกชนิดทุกประเภทตามกฎหมายว่าด้วยรถยนต์
กฎหมายว่าด้วยการขนส่งทางบก กฎหมายว่าด้วย
รถยนต์ทหาร เป็นรถที่เจ้าของมีไว้ใช้ ไม่ว่ารถดัง
กล่าวจะเดินด้วยกำาลังเครื่องยนต์ กำาลังไฟฟ้า หรือ
พลังงานอื่น เช่น รถยนต์ รถจักรยานยนต์ รถ
สามล้อเครื่อง รถยนต์โดยสาร รถบรรทุก หัวรถ
ลากจูง รถพ่วง รถบดถนน รถอีแต๋น ฯลฯ
ดังนั้น การที่มีรถบางประเภท กรมการ
ขนส่งทางบกไม่รับจดทะเบียน แต่หากเข้าข่ายว่า
รถนั้นเดินด้วยกำาลังเครื่องยนต์ กำาลังไฟฟ้า หรือ
พลังงานอื่นแล้วก็จัดเป็นรถที่ต้องทำาประกันภัยตาม
1. ความรับผิดต่อบุคคลภายนอก
ความเสียหายต่อชีวิต ร่างกาย หรืออนา
ความเสียหายต่อทรัพย์สิน
2. รถยนต์เสียหาย สูญหาย ไฟไหม้
ความเสียหายส่วนแรก
รถยนต์สูญหายไฟไหม้
3. ความคุ้มครองตามเอกสาร
แนบท้าย (อนุสัญญา)
อุบัติเหตุส่วนบุคคล
ค่ารักษาพยาบาล
การประกันตัวผู้ขับข
4. ส่วนลดระบุอายุผู้ขับขี่
ช่วงอายุ 18 – 24 ปี ส่วนลด
5%
ช่วงอายุ 25 – 35 ปี ส่วนลด
10%
5. ส่วนลดความเสียหายส่วนแรก
6. ส่วนลดกลุ่ม
7. ส่วนลดประวัติดี
เป็น ข้อตกลงระหว่างบริษัท
ประกันภัยกับผู้เอาประกันภัย
สำาหรับค่าความเสียหายส่วน
แรกของทรัพย์สินบุคคล
ภายนอก
กรณีที่ผู้เอาประกันภัยมีรถยนต์ที่เอา
ประกันภัยไว้กับบริษัทประกันภัยตั้งแต่
3 คันขึ้นไป จะได้รับส่วนลดเบี้ย
ประกันภัยกลุ่ม 10%
ส่วนลดตามหลักเกณฑ์ส่วนลดเบี้ย
ประกันภัยประวัติดี ซึ่งคำานวณจาก
ประวัติปีที่ผ่านมา
ยกตัวอย่าง บริษัท เอเชียประกันภัย 1950 จำากัด
Asia 3 Plus ให้ความคุ้มครองเหมือนกับกรมธรรม์
ประเภท 3 แต่เพิ่มความคุ้มครองความเสียหายของตัวรถยนต์
คันที่เอาประกันภัย ในวงเงินไม่เกิน 100,000 บาท
Asia 2 Plus ให้ความคุ้มครองเหมือนกับกรมธรรม์
ประเภท 2 แต่เพิ่มความคุ้มครองความเสียหายของตัวรถยนต์ .
ความสูญหายและไฟไหม้ของตัวรถยนต์คันที่เอาประกันภัย ใน
วงเงินไม่เกิน 100,000 บาท
Asia 3 Plus Holiday ให้ความคุ้มครองเหมือนกับ
กรมธรรม์ กันชน ให้ความคุ้มครองรถคุณเมื่อ
ถูกรถคู่กรณีที่ไม่ประกันภัยเฉี่ยวชน ในวงเงิน
สูงสุด 100,000 บาทต่อครั้ง
สามารถซื้อเพื่อรับความคุ้มครองเพิ่มจากแบบ
ประกันภัยเดิมที่มี ได้ทั้ง พรบ หรือ ประเภท 3
สะดวกง่าย ทำาได้ทันที ไม่ตรวจสภาพรถ ไม่จำากัด
อายุรถ
Lady / Pick up แบบประกันรถยนต์เพื่อคุณ
ผู้หญิง
ให้ความคุ้มครอง ทรัพย์สิน / รถบุคคลภายนอก
วงเงิน 600,000 บาทต่อครั้ง
การระบุชื่อผู้ขับขี่ในกรมธรรม์ภาคสมัครใจ
กรมธรรม์ประเภท 1 , 2 และ 3 มีให้เลือก 2 แบบ คือแบบที่ 1
แบบไม่ระบุชื่อผู้ขับขี่ คุ้มครองผู้ขับขี่ทุกคนที่ผู้เอาประกัน
ยินยอมให้ขับขี่รถยนต์คันเอาประกันภัยเสมือนหนึ่งเป็นผู้
เอาประกันภัยเอง แบบที่ 2 แบบระบุชื่อผู้ขับขี่ สามารถระบุ
ชื่อผู้ขับขี่ได้ไม่เกิน 2 คน
นอกจากนี้ผู้เอาประกันภัยยังสามารถซื้อความ
คุ้มครองเพิ่มเติมจากกรมธรรม์ประเภท 1 , 2 และ 3
ได้อีก ดังนี้
- อุบัติเหตุส่วนบุคคล ( Personal Accident )
- ค่ารักษาพยาบาล ( Medical )
วิธีที่หนึ่ง บริษัทประกันภัยบอกเลิก ซึ่งบริษัท
ประกันภัยจะต้องบอกเลิกล่วงหน้าไม่น้อยกว่า 30
วัน โดยการบอกเลิกเป็นหนังสือทางไปรษณีย์ลง
ทะเบียนส่งถึงผู้เอาประกันภัยตามที่อยู่ครั้งสุดท้าย
ที่แจ้งกับบริษัทประกันภัย และบริษัทประกันภัยจะ
ต้องคืนเบี้ยประกันภัยให้แก่ผู้เอาประกันภัยตาม
ส่วนของระยะเวลาประกันภัย
ที่เหลือพร้อมกับคืนภาษีมูลค่าเพิ่ม
ตามประมวลรัษฎากรด้วย
วิธีที่สอง ผู้เอาประกันภัยบอกเลิก เมื่อผู้เอาประกัน
ภัยประสงค์จะบอกเลิกกรมธรรม์ ผู้เอาประกันภัยจะ
ต้องแจ้งให้บริษัทประกันภัยทราบเป็นลายลักษณ์
อักษร ซึ่งจะมีผลให้กรมธรรม์สิ้นผลบังคับเมื่อใด
ขึ้นอยู่กับเจตนาของผู้ประกันภัยเป็นหลัก กล่าวคือ
หากมีการแจ้งบอกเลิก โดยไม่มีการระบุวันที่มีผล
ให้กรมธรรม์สิ้นผลบังคับไว้แล้ว ให้กรมธรรม์สิ้นผล
บังคับ ณ วันที่บริษัทรับทราบการแสดงเจตนาของผู้
เอาประกันภัย แต่หากผู้เอาประกันภัยระบุวันที่ให้
กรมธรรม์สิ้นผลบังคับไว้อย่างชัดเจน ก็ให้เป็นไป
ตามที่ที่ผู้เอาประกันภัยกำาหนด
บทที่ 7 ประกันภัยรถยนต์

More Related Content

What's hot

บทที่ 3 ระบบสุริยะ
บทที่ 3 ระบบสุริยะ บทที่ 3 ระบบสุริยะ
บทที่ 3 ระบบสุริยะ narongsakday
 
บทที่ 7 การสร้างเว็บไซต์อีคอมเมิร์ซ
บทที่ 7 การสร้างเว็บไซต์อีคอมเมิร์ซบทที่ 7 การสร้างเว็บไซต์อีคอมเมิร์ซ
บทที่ 7 การสร้างเว็บไซต์อีคอมเมิร์ซ
Teetut Tresirichod
 
แรงและการเคลื่อนที่
แรงและการเคลื่อนที่แรงและการเคลื่อนที่
แรงและการเคลื่อนที่Dew Thamita
 
บทที่10ประกันภัยอุตสาหกรรมฯ
บทที่10ประกันภัยอุตสาหกรรมฯ บทที่10ประกันภัยอุตสาหกรรมฯ
บทที่10ประกันภัยอุตสาหกรรมฯ
chakaew4524
 
บทที่4โลกของเราม 2
บทที่4โลกของเราม 2บทที่4โลกของเราม 2
บทที่4โลกของเราม 2
Wichai Likitponrak
 
บทที่ 6 การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภัย
บทที่ 6 การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภัยบทที่ 6 การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภัย
บทที่ 6 การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภัย
russana
 
ธรณีภิบัติภัย
ธรณีภิบัติภัยธรณีภิบัติภัย
ธรณีภิบัติภัย
Mark Pitchayut
 
หลักการและการจัดการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ
หลักการและการจัดการท่องเที่ยวเชิงนิเวศหลักการและการจัดการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ
หลักการและการจัดการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ
Somyot Ongkhluap
 
Wound care
Wound careWound care
มลพิษทางดิน
มลพิษทางดินมลพิษทางดิน
มลพิษทางดิน
Nittaya Jandang
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องสื่อการสอนภาษาไทย
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องสื่อการสอนภาษาไทยโครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องสื่อการสอนภาษาไทย
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องสื่อการสอนภาษาไทยNook Kanokwan
 
ความขัดแย้งและการประสานประโยชน์ระหว่างประเทศ
ความขัดแย้งและการประสานประโยชน์ระหว่างประเทศความขัดแย้งและการประสานประโยชน์ระหว่างประเทศ
ความขัดแย้งและการประสานประโยชน์ระหว่างประเทศjanejaneneee
 
การบริหารลูกหนี้ การบริหารสินค้า
การบริหารลูกหนี้ การบริหารสินค้าการบริหารลูกหนี้ การบริหารสินค้า
การบริหารลูกหนี้ การบริหารสินค้า
tumetr1
 
ศาสนายิว
ศาสนายิวศาสนายิว
ศาสนายิว
Padvee Academy
 
ระบบไหลเวียนเลือด (Circulatory System)
ระบบไหลเวียนเลือด (Circulatory System)ระบบไหลเวียนเลือด (Circulatory System)
ระบบไหลเวียนเลือด (Circulatory System)
ครูเสกสรรค์ สุวรรณสุข
 
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตการเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
พัน พัน
 

What's hot (20)

บทที่ 3 ระบบสุริยะ
บทที่ 3 ระบบสุริยะ บทที่ 3 ระบบสุริยะ
บทที่ 3 ระบบสุริยะ
 
บทที่ 7 การสร้างเว็บไซต์อีคอมเมิร์ซ
บทที่ 7 การสร้างเว็บไซต์อีคอมเมิร์ซบทที่ 7 การสร้างเว็บไซต์อีคอมเมิร์ซ
บทที่ 7 การสร้างเว็บไซต์อีคอมเมิร์ซ
 
บทที่ ๑๐ พฤติกรรม
บทที่ ๑๐ พฤติกรรมบทที่ ๑๐ พฤติกรรม
บทที่ ๑๐ พฤติกรรม
 
แรงและการเคลื่อนที่
แรงและการเคลื่อนที่แรงและการเคลื่อนที่
แรงและการเคลื่อนที่
 
บทที่10ประกันภัยอุตสาหกรรมฯ
บทที่10ประกันภัยอุตสาหกรรมฯ บทที่10ประกันภัยอุตสาหกรรมฯ
บทที่10ประกันภัยอุตสาหกรรมฯ
 
การสำรวจทางทะเล
การสำรวจทางทะเลการสำรวจทางทะเล
การสำรวจทางทะเล
 
บทที่4โลกของเราม 2
บทที่4โลกของเราม 2บทที่4โลกของเราม 2
บทที่4โลกของเราม 2
 
บทที่ 6 การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภัย
บทที่ 6 การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภัยบทที่ 6 การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภัย
บทที่ 6 การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภัย
 
ธรณีภิบัติภัย
ธรณีภิบัติภัยธรณีภิบัติภัย
ธรณีภิบัติภัย
 
หลักการและการจัดการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ
หลักการและการจัดการท่องเที่ยวเชิงนิเวศหลักการและการจัดการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ
หลักการและการจัดการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ
 
Wound care
Wound careWound care
Wound care
 
มลพิษทางดิน
มลพิษทางดินมลพิษทางดิน
มลพิษทางดิน
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องสื่อการสอนภาษาไทย
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องสื่อการสอนภาษาไทยโครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องสื่อการสอนภาษาไทย
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องสื่อการสอนภาษาไทย
 
ความขัดแย้งและการประสานประโยชน์ระหว่างประเทศ
ความขัดแย้งและการประสานประโยชน์ระหว่างประเทศความขัดแย้งและการประสานประโยชน์ระหว่างประเทศ
ความขัดแย้งและการประสานประโยชน์ระหว่างประเทศ
 
การบริหารลูกหนี้ การบริหารสินค้า
การบริหารลูกหนี้ การบริหารสินค้าการบริหารลูกหนี้ การบริหารสินค้า
การบริหารลูกหนี้ การบริหารสินค้า
 
ย่อยอาหาร
ย่อยอาหารย่อยอาหาร
ย่อยอาหาร
 
ศาสนายิว
ศาสนายิวศาสนายิว
ศาสนายิว
 
11.ลม
11.ลม11.ลม
11.ลม
 
ระบบไหลเวียนเลือด (Circulatory System)
ระบบไหลเวียนเลือด (Circulatory System)ระบบไหลเวียนเลือด (Circulatory System)
ระบบไหลเวียนเลือด (Circulatory System)
 
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตการเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
 

Viewers also liked

บทที่ 5 วินาศภัย
บทที่ 5 วินาศภัยบทที่ 5 วินาศภัย
บทที่ 5 วินาศภัย
chakaew4524
 
บทที่ 6 การประกันอัคคีภัย
บทที่ 6 การประกันอัคคีภัยบทที่ 6 การประกันอัคคีภัย
บทที่ 6 การประกันอัคคีภัย
chakaew4524
 
บทที่6การประกันอัคคีภัย
บทที่6การประกันอัคคีภัยบทที่6การประกันอัคคีภัย
บทที่6การประกันอัคคีภัย
chakaew4524
 
บทที่9ประกันภัยเบ็ตเตล็ด
บทที่9ประกันภัยเบ็ตเตล็ดบทที่9ประกันภัยเบ็ตเตล็ด
บทที่9ประกันภัยเบ็ตเตล็ด
chakaew4524
 
บทที่5การประกันวินาศภัย
บทที่5การประกันวินาศภัยบทที่5การประกันวินาศภัย
บทที่5การประกันวินาศภัย
chakaew4524
 
บทที่ 9 การประกันภัยเบ็ดเตล็ด
บทที่ 9  การประกันภัยเบ็ดเตล็ดบทที่ 9  การประกันภัยเบ็ดเตล็ด
บทที่ 9 การประกันภัยเบ็ดเตล็ด
chakaew4524
 
~$วข้อที่ ๗ กรุงศรีอยุธยา
~$วข้อที่ ๗ กรุงศรีอยุธยา~$วข้อที่ ๗ กรุงศรีอยุธยา
~$วข้อที่ ๗ กรุงศรีอยุธยา
chakaew4524
 
หัวข้อที่ ๖ อาณาจักรสุโขทัย
หัวข้อที่ ๖  อาณาจักรสุโขทัยหัวข้อที่ ๖  อาณาจักรสุโขทัย
หัวข้อที่ ๖ อาณาจักรสุโขทัย
chakaew4524
 
บทที่7การประกันภัยรถยนต์
บทที่7การประกันภัยรถยนต์บทที่7การประกันภัยรถยนต์
บทที่7การประกันภัยรถยนต์
chakaew4524
 
บทที่8แ
บทที่8แบทที่8แ
บทที่8แ
chakaew4524
 
หัวข้อที่ ๓ แหล่งกำเนิดของชนชาติไทย
หัวข้อที่  ๓  แหล่งกำเนิดของชนชาติไทยหัวข้อที่  ๓  แหล่งกำเนิดของชนชาติไทย
หัวข้อที่ ๓ แหล่งกำเนิดของชนชาติไทย
chakaew4524
 
หัวข้อที่ ๕ ประวัติศาสตร์ไทยก่อนสมัยสุโขทัย
หัวข้อที่ ๕  ประวัติศาสตร์ไทยก่อนสมัยสุโขทัยหัวข้อที่ ๕  ประวัติศาสตร์ไทยก่อนสมัยสุโขทัย
หัวข้อที่ ๕ ประวัติศาสตร์ไทยก่อนสมัยสุโขทัย
chakaew4524
 
บทที่3แนวความคิดพื้นฐาน
บทที่3แนวความคิดพื้นฐานบทที่3แนวความคิดพื้นฐาน
บทที่3แนวความคิดพื้นฐาน
chakaew4524
 
บทที่4การประกันชีวิต
บทที่4การประกันชีวิตบทที่4การประกันชีวิต
บทที่4การประกันชีวิต
chakaew4524
 
บทที่2ความเสี่ยงภัยและการจัดการความเสี่ยง
บทที่2ความเสี่ยงภัยและการจัดการความเสี่ยง บทที่2ความเสี่ยงภัยและการจัดการความเสี่ยง
บทที่2ความเสี่ยงภัยและการจัดการความเสี่ยง
Rungnapa Rungnapa
 
Exim12การศุลกากร
Exim12การศุลกากรExim12การศุลกากร
Exim12การศุลกากร
Wannarat Wattananimitkul
 

Viewers also liked (16)

บทที่ 5 วินาศภัย
บทที่ 5 วินาศภัยบทที่ 5 วินาศภัย
บทที่ 5 วินาศภัย
 
บทที่ 6 การประกันอัคคีภัย
บทที่ 6 การประกันอัคคีภัยบทที่ 6 การประกันอัคคีภัย
บทที่ 6 การประกันอัคคีภัย
 
บทที่6การประกันอัคคีภัย
บทที่6การประกันอัคคีภัยบทที่6การประกันอัคคีภัย
บทที่6การประกันอัคคีภัย
 
บทที่9ประกันภัยเบ็ตเตล็ด
บทที่9ประกันภัยเบ็ตเตล็ดบทที่9ประกันภัยเบ็ตเตล็ด
บทที่9ประกันภัยเบ็ตเตล็ด
 
บทที่5การประกันวินาศภัย
บทที่5การประกันวินาศภัยบทที่5การประกันวินาศภัย
บทที่5การประกันวินาศภัย
 
บทที่ 9 การประกันภัยเบ็ดเตล็ด
บทที่ 9  การประกันภัยเบ็ดเตล็ดบทที่ 9  การประกันภัยเบ็ดเตล็ด
บทที่ 9 การประกันภัยเบ็ดเตล็ด
 
~$วข้อที่ ๗ กรุงศรีอยุธยา
~$วข้อที่ ๗ กรุงศรีอยุธยา~$วข้อที่ ๗ กรุงศรีอยุธยา
~$วข้อที่ ๗ กรุงศรีอยุธยา
 
หัวข้อที่ ๖ อาณาจักรสุโขทัย
หัวข้อที่ ๖  อาณาจักรสุโขทัยหัวข้อที่ ๖  อาณาจักรสุโขทัย
หัวข้อที่ ๖ อาณาจักรสุโขทัย
 
บทที่7การประกันภัยรถยนต์
บทที่7การประกันภัยรถยนต์บทที่7การประกันภัยรถยนต์
บทที่7การประกันภัยรถยนต์
 
บทที่8แ
บทที่8แบทที่8แ
บทที่8แ
 
หัวข้อที่ ๓ แหล่งกำเนิดของชนชาติไทย
หัวข้อที่  ๓  แหล่งกำเนิดของชนชาติไทยหัวข้อที่  ๓  แหล่งกำเนิดของชนชาติไทย
หัวข้อที่ ๓ แหล่งกำเนิดของชนชาติไทย
 
หัวข้อที่ ๕ ประวัติศาสตร์ไทยก่อนสมัยสุโขทัย
หัวข้อที่ ๕  ประวัติศาสตร์ไทยก่อนสมัยสุโขทัยหัวข้อที่ ๕  ประวัติศาสตร์ไทยก่อนสมัยสุโขทัย
หัวข้อที่ ๕ ประวัติศาสตร์ไทยก่อนสมัยสุโขทัย
 
บทที่3แนวความคิดพื้นฐาน
บทที่3แนวความคิดพื้นฐานบทที่3แนวความคิดพื้นฐาน
บทที่3แนวความคิดพื้นฐาน
 
บทที่4การประกันชีวิต
บทที่4การประกันชีวิตบทที่4การประกันชีวิต
บทที่4การประกันชีวิต
 
บทที่2ความเสี่ยงภัยและการจัดการความเสี่ยง
บทที่2ความเสี่ยงภัยและการจัดการความเสี่ยง บทที่2ความเสี่ยงภัยและการจัดการความเสี่ยง
บทที่2ความเสี่ยงภัยและการจัดการความเสี่ยง
 
Exim12การศุลกากร
Exim12การศุลกากรExim12การศุลกากร
Exim12การศุลกากร
 

บทที่ 7 ประกันภัยรถยนต์