SlideShare a Scribd company logo
1
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
รหัสวิชา ง33201-33202 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 6
ปีการศึกษา 2560
ชื่อโครงงาน 6 จังหวัดน่าเที่ยวในภาคเหนือ
ชื่อผู้ทาโครงงาน
นาย มงคล คาโพธิ์ เลขที่ 38 ชั้น ม.6 ห้อง 11
นาย ณัฐดนัย อินทรจักร เลขที่ 39 ชั้น ม.6 ห้อง 11
ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2560
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
2
ใบงาน
การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้
ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย)
6 จังหวัดน่าเที่ยวในภาคเหนือเมืองไทย
ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ)
6 provinces in the northern Thailand
ประเภทโครงงาน โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา (Educational Media)
ชื่อผู้ทาโครงงาน 1.นาย มงคล คาโพธิ์ เลขที่ 38 ชั้น ม.6 ห้อง 11
2.นาย ณัฐดนัย อินทรจักร เลขที่ 39 ชั้น ม.6 ห้อง 11
ชื่อที่ปรึกษา ชื่อที่ปรึกษาร่วม ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2560
ที่มาและความสาคัญของโครงงาน (อธิบายถึงที่มา แนวคิด และเหตุผล ของการทาโครงงาน)
เมืองไทยมีความเป็นมาอันยาวนานมากกว่า 700 ปี ด้วยประวัติศาสตร์ และทรัพย์สิน
ทางความรู้อันมีค่ามากมายที่เราต่างสืบทอดต่อๆกันมาจากบรรพบุรุษ เอกสารเล่มนี้จะพาท่าน
ไปสู่การไขความรู้และทาความรู้จักกับส่วนหนึ่งของเมืองไทยในถิ่นล้านนาว่ามีอะไรน่าสนใจบ้างในท้องถิ่นที่เราอาศัย
อยู่
ทั้ง 6 จังหวัดในภาคเหนือของไทยนั้น มีประวัติศาสตร์อันยาวนานควบคู่มากับ
ประวัติศาสตร์ชาติไทยมาโดยตลอด เรียกได้ว่ามีความเก่าแก่ที่มากล้น ทุกจังหวัดที่จะได้กล่าวถึงนี้
ล้วนแล้วแต่เคยเป็นนครรัฐอันเป็นอิสระมาก่อนทาให้มีเรื่องราวที่เป็นเอกลักษณ์ของตนเองในแต่ละ
จังหวัดบอกเล่าเรื่องราวออกมาผ่านประวัติศาสตร์อันยาวนาน
วัตถุประสงค์ (สิ่งที่ต้องการในการทาโครงงาน ระบุเป็นข้อ)
1. นาเสนอข้อมูลเรื่องราวและประวัติของแต่ละจังหวัดทั้ง 6 จังหวัด
2. ได้รู้ข้อมูลการแบ่งเขตการปกครอง การบริหารส่วนท้องถิ่น
3. ชี้ชวนให้เกิดการท่องเที่ยวภายในจังหวัดต่างๆด้วยสถานที่ และแหล่งท่องเที่ยวต่างๆที่น่าสนใจ
มากมาย
3
ขอบเขตโครงงาน (คุณลักษณะ ขอบเขต เงื่อนไขและข้อจากัดของการทาโครงงาน)
1. จ.เชียงใหม่ - ประวัติ - การแบ่งการปกครอง - แหล่งท่องเที่ยว
2. จ.เชียงราย- ประวัติ - การแบ่งการปกครอง - แหล่งท่องเที่ยว
3. จ.ลาพูน- ประวัติ - การแบ่งการปกครอง - แหล่งท่องเที่ยว
4. จ.ลาปาง- ประวัติ - การแบ่งการปกครอง - แหล่งท่องเที่ยว
5. จ.แม่ฮ่องสอน- ประวัติ - การแบ่งการปกครอง - แหล่งท่องเที่ยว
6. จ.อุตรดิตถ์- ประวัติ - การแบ่งการปกครอง - แหล่งท่องเที่ยว
หลักการและทฤษฎี (ความรู้ หลักการ หรือทฤษฎีที่สนับสนุนการทาโครงงาน)
จ.เชียงใหม่
ประวัติและความเป็นมา
เมืองเชียงใหม่ มีชื่อปรากฏในตานานว่า "นพบุรีศรีนครพิงค์เชียงใหม่" ซึ่งเป็นราชธานีของอาณาจักรล้านนาสร้างขึ้นใน
ปี พ.ศ. 1839 โดยพญามังรายในอดีตเชียงใหม่มีฐานะเป็นเมืองหลวงของราชอาณาจักรนครรัฐอิสระ ชื่อว่า อาณาจักร
ล้านนา ซึ่งปกครองโดยกษัตริย์ราชวงศ์มังราย ประมาณ 261 ปี (ระหว่าง พ.ศ. 1839-พ.ศ. 2101) แต่ต่อมาในปี
พ.ศ.2101 เชียงใหม่ได้ เสียเมืองให้ แก่พระเจ้าบุเรงนองพระมหากษัตริย์พม่า และได้ ถูกปกครองโดยพม่ามานานกว่า
สองร้อยปี จนถึงสมัยสมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี จึงได้ มีการทาสงครามเพื่อขับไล่พม่าออกจากเมืองเชียงใหม่และเชียง
แสนได้สาเร็จโดยการนาของเจ้ากาวิละและพระยาจ่าบ้านหลังจากนั้นพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก
มหาราช ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ สถาปนาเจ้ากาวิละขึ้นเป็นพระเจ้าบรมราชาธิบดีกาวิละ โดยให้ปกครองหัวเมือง
ฝ่ายเหนือในฐานะประเทศราชของกรุงรัตนโกสินทร์ และราชวงศ์ทิพย์จักราธิวงศ์ (ราชวงศ์เจ้าเจ็ดตน) ซึ่งเป็นเชื้อสาย
ของพระเจ้าบรมราชาธิบดีกาวิละ ก็ได้ ปกครองเมืองเชียงใหม่และหัวเมืองต่าง ๆ สืบต่อมา และเปลี่ยนชื่อเมืองเป็น
“รัตนติงสาอภินวบุรี”
จังหวัดเชียงใหม่แบ่งเขตการปกครองออกเป็น 25 อาเภอ 204 ตาบล 2,066 หมู่บ้า น ซึ่งอาเภอทั้ง 25 อาเภอ
ประเพณีของเชียงใหม่
นับจากอดีต ชีวิตของชาวล้านนาผูกพันอยู่กับพุทธศาสนาซึ่งจะเห็นได้จากการดาเนินชีวิต และสถาบันทางศาสนา
ในชุมชน รวมทั้งระบบหัววัด ซึ่งมีการรวมกลุ่มของวัดต่าง ๆ ไม่ว่าใกล้ หรือไกลกัน และคนในชุมชนหนึ่งชักชวน
คนอีกชุมชนหนึ่งมาทาบุญที่วัดของตนเป็นการเชื่อมความสัมพันธ์กัน
ขณะที่พุทธศาสนามีส่วนสัมพันธ์กับ ชีวิตของคนเมืองอย่างลึกซึ้ง แต่ความเชื่อดั้งเดิมเรื่องผีปู่ย่าและผีเสื้อเมือง ผี
เจ้าเมืองก็มีปะปนอยู่ จนแยกกันไม่ออก ชาวล้านนาสามารถนาทั้งสองอย่างมาผสมผสานกันได้ อย่างกลมกลืน ใน
งานพิธีและประเพณีต่าง ๆ ซึ่งจะพบได้ ในปัจจุบัน
ประเพณีและงานพิธีที่สาคัญในรอบปี ของชาวเชียงใหม่มีอยู่มากมาย อาทิ ประเพณีสงกรานต์ ประเพณีเข้าอินทขีล
ประเพณีลอยโคมลอยโขมด ประเพณีสรงน้าพระธาตุจอมทอง และพิธีเลี้ยงผีปู่และย่า เป็นต้น
4
ประเพณีสงกรานต์
ประเพณีสงกรานต์เป็นงานที่ยิ่งใหญ่ของชาวล้านนา เนื่องจากเป็นช่วงเวลาเปลี่ยนศักราชใหม่ และขอสิ่งศักดิ์สิทธิ์
ทั้งหลายให้ปัดเป่าทุกข์โศกโรคภัยให้ล่วงไปในปีเก่าพร้อมทั้งเตรียมร่างกายและจิตใจให้สดใสรับปีใหม่ โดยจะเริ่มจัด
ขึ้นตั้งแต่วันที่ 13 ถึงวันที่ 18 เม.ย. ของทุกปี แต่ชาวล้านนาถือวันที่ 15 เม.ย. เป็นวันเปลี่ยนศักราชใหม่
ต่างจากภาคกลาง และในระยะเวลา 6 วันนี้จะประกอบพิธีหลายอย่าง
วันที่ 13 เม.ย. ถือเป็นวันสังขารล่อง (วันสิ้นสุดปี เก่า) ส่วนใหญ่ชาวบ้านจะยิงปืน จุดประทัด ก่อนสว่าง เพื่อขับไล่
เสนียดจัญไร แล้วเก็บกวาดบ้านเรือน หิ้งพระ
วันที่ 14 เม.ย. เป็นวันที่เรียกกันว่า "วันเนา" หรือ "วันเน่า" วันนี้ชาวเชียงใหม่จะทาแต่สิ่งที่เป็นสิริมงคล พร้อมทั้ง
ตระเตรียมอาหาร คาวหวาน เครื่องไทยทาน เพื่อทางานบุญในวันสงกรานต์ และไปขนทรายเข้าวัด
วันที่ 15 เรียกว่า "วันพญาวัน" ถือเป็นวันเริ่มศักราชใหม่ ชาวเชียงใหม่จะไปทาบุญตักบาตรที่วัดและถวายอาหาร
พระที่เรียกว่า "ทานขันข้าว" เพื่ออุทิศแก่ผู้ล่วงลับ และสรงน้าพระหลังจากนั้นจึงนาขันข้าวตอก ดอกไม้ ธูปเทียน
น้าขมิ้น ส้มป่อย หมากพลู เมี่ยง หรืออาจมีเครื่องนุ่งห่ม ไปรดน้าดาหัวผู้ใหญ่
ส่วนวันที่ 16-18 เม.ย. เรียกว่า "วันปากปี ปากเดือน ปากวัน" จะเป็นวันประกอบพิธีกรรมสักการะต่อวิญญาณ
ศักดิ์สิทธิ์ทั่วไป
ประเพณีเข้าอินทขีล
อินทขีล เป็นชื่อของเสาหลักเมืองของชาวเชียงใหม่ เดิมประดิษฐานอยู่ ณ วัดสะดือเมือง หรือวัดอินทขีล กลางเมือง
เชียงใหม่ แต่ปัจจุบันย้ายไปไว้ที่วัดเจดีย์หลวงในสมัยของพระยากาวิละ และได้ บูรณปฏิสังขรณ์ใหม่เป็นเสาปูน
การจัดงานประเพณีเข้าอินทขีล จัดขึ้นในปลายเดือน 8 ต่อต้นเดือน 9 (พฤษภาคม-มิถุนายน) ซึ่งชาวบ้านเรียกว่า
วันเดือน 8 เข้า เดือน 9 ออก
เดิมประเพณีนี้เจ้าผู้ครองนครจะจัดขึ้นเพื่อสังเวยเทพยดาอารักษ์ บูชากุมภัณฑ์ และมีพิธีเข้าทรงผีเจ้านาย เพื่อ
สอบถามว่า ฝนฟ้าจะอุดมสมบูรณ์และชะตาบ้านเมืองจะดีหรือไม่ หากชะตาของบ้านเมืองไม่ดี ก็จะจัดพิธีสืบ
ชะตาเมืองเพิ่มขึ้นด้วยและปัจจุบันได้เพิ่มการทาพิธีทางพุทธศาสนาเข้ามาอีกอย่างหนึ่ง โดยการแห่พระพุทธรูป
คันธารราษฎร์ (พระเจ้าฝนแสนห่า) รอบเมือง และจะนามาประดิษฐาน ณ วัดเจดีย์หลวง เพื่อให้ชาวเมืองสรงน้า
จากนั้นพระสงฆ์ 9 รูป จะเจริญพระพุทธมนต์บูชาเสาอินทขีล ซึ่งฝังอยู่ใต้ดินการประกอบพิธีนี้ เพื่อมุ่งเสริมสร้าง
ขวัญและกาลังใจของชาวเมืองก่อนที่จะเริ่มต้นฤดูกาลเพาะปลูก
ประเพณีสรงน้าพระธาตุจอมทอง
วัดพระธาตุจอมทองวรวิหาร เป็นศาสนสถานเก่าแก่ที่สาคัญตั้งอยู่บนเนินสูงราว 10 เมตร ที่เรียกว่า
"ดอยจอมทอง" และมีเจดีย์ซึ่งเป็นที่ประดิษฐานพระทักษิณโมลีธาตุ (ส่วนที่เป็นพระเศียรด้านขวาของ
สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า)
พระบรมสารีริกธาตุจอมทองนั้นประดิษฐานอยู่ในพระโกศ 5 ชั้น มีจานวน 1 องค์ ขนาดเท่าเมล็ดถั่ว เขียว
มีสีขาวนวลและออกน้าตาลคล้ายสีดอกพิกุลแห้งบรรจุไว้ในเจดีย์ซึ่ง จะมีการอัญเชิญออกมาให้
ประชาชนได้ สักการะและสรงน้า 2 ครั้ง ในทุกปี คือวันที่พระบรมสารีริกธาตุเข้าพรรษาและออกพรรษา
วันขึ้น 15 ค่า เดือน 9 ของแต่ละปีจะเป็นวันที่พระบรมสารีริกธาตุเข้าพรรษา พระภิกษุจะอัญเชิญพระ
บรมสารีริกธาตุออกจากพระโกศ 5 ชั้นมาประดิษฐานในพระโกศแก้วใส แล้วแห่ไปทาพิธีที่โบสถ์ ใน
ระหว่างทางชาวบ้านจะโยนข้าวตอกดอกไม้ไปยังพระโกศ เพื่อถวายเป็นสักการะ เมื่อทาพิธีเสร็จก็จะแห่
5
จากโบสถ์ไปยังหอสรงข้างวิหาร หอสรงนี้จะมีรางน้าเป็นรูปตัวนาคสาหรับใช้สรงน้าและเดิมจะใช้ น้าแม่
กลางผสมด้วยดอกคาฝอยเป็นน้าสาหรับสรงแต่ปัจจุบัน ใช้ น้าสะอาดธรรมดา เสร็จแล้วจึงอัญเชิญเข้า
จาพรรษาในพระโกศ 5 ชั้น ตามเดิม และกลางคืนพระภิกษุจะสวดเจริญพระพุทธมนต์เป็นอันเสร็จพิธี
วันขึ้น 15 ค่า เดือน 5 ของแต่ละปี จะเป็นวันที่พระบรมสารี ริกธาตุออกพรรษา จะมีประเพณีพิธีการ
เช่นเดียวกับวันที่พระบรมสาริกธาตุเข้าพรรษา แต่จะเป็นพิธีเล็กกว่าชาวบ้านไม่ค่อยมาร่วมสรงน้ามากนัก
ประเพณีลอยโคมและลอยโขมด
เป็นประเพณีการทาบุญและสนุกสนานร่าเริง หลังจากเหน็ดเหนื่อยกับงานในท้องไร่ท้องนาของชาวล้านนา โดยจะจัด
ให้มีขึ้นในวันขึ้น 15 ค่า เดือนยี่ หรือเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า "วันยี่เป็ง" โดยการลอยโคมในเวลากลางวันและกลางคืน
และลอยโขมดหรือลอยกระทงเวลา
กลางคืน
วันขึ้น 14 ค่า เดือนยี่ ตามวัดวาอารามและบ้านเรือน จะประดับตกแต่งด้วยต้นกล้วย อ้อย โคมไฟ และดอกไม้ นานา
ชนิด โดยสร้างขึ้นเป็นประตูป่า เพื่อเตรียมในการตั้งธรรมหลวง (เทศน์มหาชาติ) ในวันขึ้น 15 ค่า
วันขึ้น 15 ค่า เดือนยี่ ชาวบ้านจะไปทาบุญตักบาตรและฟังเทศมหาชาติโดยเป็นการเทศน์แบบพื้นเมือง ที่พระสงฆ์จะ
ขึ้นไปเทศน์บนธรรมมาสน์บุษบกและในตอนค่าชาวบ้านจะนาผางผะติ๊ด (ถ้วยประทีป) มาที่วัดเพื่อบูชาพระรัตนตรัย
และฟังเทศน์และการจุดผางผะติ้ดนี้คนล้านนาถือว่าได้ บุญมาก เมื่อเสร็จจากการบูชาผางผะติ้ดก็จะเป็นการจุดโคมไฟ
หรือลอยโคม และลอยโขมดหรือลอยกระทงพร้อมกับเล่นดอกไม้ ไฟ
การปล่อยโคมลอยมี 2 ลักษณะ
1. ปล่อยโคมลอยในตอนกลางวัน เรียกว่า ว่าว โดยทาโคมด้วยกระดาษสีแล้วให้ลอยสู่ท้องฟ้าด้วยความร้อนคล้าย
บอลลูนเพื่อปล่อยทุกข์โศกและสิ่งไม่ดีต่าง ๆ ไป
2. ปล่อยโคมลอยในเวลากลางคืน เรียกว่า โคมไฟ โดยใช้ไม้พันด้ายเป็นก้อนกลม ชุบน้า มันยางหรือน้ามันขี้โล้ แขวน
ปากโคมแล้วจุดไฟ ปล่อยขึ้นสู่ท้องฟ้า เพื่อเป็นการบูชาพระเกศแก้วจุฬามณีบนสวรรค์
สาหรับการลอยโขมดหรือการลอยกระทงของล้านนา จัดขึ้นในวันขึ้น 15 ค่า เดือนยี่ เช่นเดียวกัน ที่เรียกว่า ลอยโขมด
นั้น เนื่องจากกระทงเมื่อจุดเทียนแล้วปล่อยลงน้า จะมีแสงสะท้อนกับเงาน้าวับแวมดูคล้ายแสงของผีโขมด
ชาวล้านนาจะลอยกระทงเล็ก ๆ กับครอบครัว เพื่อนฝูง ในวันขึ้น 15 ค่า ส่วนกระทงใหญ่ที่รวมกันจัดทานิยมลอยใน
วันแรม 1 ค่า
กระทงเล็กของชาวเชียงใหม่แต่เดิมใช้กาบมะพร้าวที่มีลักษณะโค้งงอเหมือนเรือเป็นกระทงแล้วนากระดาษแก้วมา
ตกแต่งเป็นรูปนก วางดอกไม้ และประทีปไว้ ภายใน
พิธีเลี้ยงผีปู่แสะย่าแสะ
เป็นพิธีที่ชาวเชียงใหม่ทามาแต่ในอดีตเพื่อสังเวยเครื่องเซ่นแก่ผีปู่แสะย่าแสะ ซึ่งเชื่อกันว่าเป็นยักษ์ชอบกินเนื้อคน
และจะทาพิธีขึ้นในวันขึ้นหรือแรม 14 ค่า เดือน 9 ที่เชิงป่าดอยคาด้านตะวันออกของตาบลแม่เหียะเป็นประจาทุกปี
และชาวบ้านจะต้องร่วมกันทาพิธีฆ่าควายเซ่นสังเวยหากไม่ทาพิธีนี้จะทาให้บ้านเมืองไม่สงบสุขเกิดภัยพิบัติและในพิธี
เลี้ยงจะมีการเข้าทรงเจ้านายเพื่อพยากรณ์ถึงความเป็นอยู่และความอุดมสมบูรณ์ของบ้านเมืองด้วย พิธีนี้ได้เลิกไปเมื่อ
เชียงใหม่ตกเป็นของพม่าจนถึงสมัยสงครามมหาเอเชียบูรพา จึงได้รื้อฟื้นขึ้นอีก
6
ประเพณีการทาบุญสลากภัตต์
การทาบุญนี้เดิมชาวบ้านเรียกว่า "กิ๋น สะลากฮากไม้ " ปัจจุบันเรียก "ทานสลาก" หรือ "ทาบุญสลาก" ทาขึ้นที่วัดเชียง
มั่นในวัน ขึ้น 15 ค่า เดือน 12 เหนือ วัดเจดีย์หลวง ในวันแรม 8 ค่า เดือน 12 เหนือ และวัดพระสิงห์ ในวันแรม 15
ค่า เดือน 12 เหนือ
สมัยก่อนไม่มีการเลี้ยงข้าวปลาอาหารเช่นปัจจุบัน คือ เมื่อพระสงฆ์หรือสามเณรจับสลากมากน้อยเพียงใด ก็ขบฉัน
เฉพาะอาหารเท่าที่บอกในสลากเท่านั้น
การจับสลากภัตต์มี 2 วิธี คือ จับเส้นและจับเบอร์ การจับเส้นเป็นวิธีเก่าคือเขียนข้อความการทาบุญสลากและชื่อผู้
ศรัทธา ลงในแผ่นกระดาษแข็ง ใบตาล ใบลาน หรือวัตถุอื่น ใดเท่ากับจานวนของไทยทานเป็นการอุทิศส่วนกุศลแก่ผู้
ล่วงลับและเพื่อเป็นบุญกุศลต่อตนเอง โดยการนาไปกองรวมกันในโบสถ์หรือวิหารที่จัดไว้แล้วให้พระเณรมาจับตาม
จานวนที่กาหนด ส่วนสลากที่เหลือก็ถวายแก่พระพุทธ จากนั้นชาวบ้านจึงถวายของตามชื่อเส้นของตน หลังจากพระ
ให้ ศีลให้พรแล้วจึงรับเส้นของตนไปเผาพร้อมทั้งกรวดน้าอุทิศ ส่วนกุศลให้ผู้ตายเป็นอันเสร็จพิธีส่วนวิธีจับเบอร์นั้น
เป็นที่นิยมกันมากกว่าวิธีจับเส้น มีวิธีการคือ ทาเบอร์ของไทยทานเท่ากับจานวนพระเณร แล้วมีวิธีจับเช่นเดียวกับการ
จับเส้น
ประเพณีการเลี้ยงขันโตก
ขันโตกเป็นภาชนะสาหรับใส่อาหารของชาวเหนือทาด้วยไม้สักทาด้วยหางสีแดง สูง 8-10 นิ้ว มีขาไม้สักกลึงเป็นรูป
กลมตังบนวงล้อรับอีกอันหนึ่งขันโตกจะกว้างประมาณ 10-30 นิ้วสมัยโบราณคนพื้นเมืองนิยมใช้ขันโตกสาหรับใส่
อาหารรับประทานในครัวเรือน แต่ความนิยมใช้ค่อยเสื่อมลงเมื่อบ้านเมืองเจริญขึ้นและคนหันไปนิยมของใช้ จาก
ต่างประเทศแทนขันโตกจึงใช้เฉพาะเป็นธรรมเนียมในการต้อนรับแขกเมือง และบุคคลสาคัญเท่านั้น
แหล่งท่องเที่ยว
อุทยานแห่งชาติดอยอินทนนท์
อุทยานแห่งชาติดอยอินทนนท์ ประกาศเป็นอุทยานฯ เมื่อ พ.ศ.2515 ประกาศเป็นอุทยานฯ เป็นลาดับที่ 6 ของ
ประเทศไทย มีพื้นที่ 482.4 ตารางกิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ในเขตอาเภอจอมทอง อาเภอแม่แจ่มอาเภอแม่วาง และ
กิ่งอาเภอดอยหล่อ จังหวัดเชียงใหม่ ดอยอินทนนท์แต่เดิมดอยนี้มีชื่อว่า "ดอยหลวง" หรือ "ดอยอ่างกา" ดอยหลวง มา
จากขนาดของดอยที่ใหญ่มาก ชาวบ้านจึงเรียกกันว่า "ดอยหลวง" (หลวง: เป็นภาษาเหนือ แปลว่า ใหญ่) ดอยอ่างกา
มีเรื่องเล่าว่า ห่างจากยอดดอยไปทางทิศตะวันตกประมาณ 300 เมตร มีหนองน้าแห่งหนึ่งลักษณะเหมือนอ่าง ฝูงกา
จานวนมากมายมักพากันไปเล่นน้าที่หนองน้าแห่งนี้ จึงพากันเรียกว่า "อ่างกา" และภูเขาขนาดใหญ่แห่งนั้นก็เลยเรียก
กันว่า "ดอยอ่างกา" แต่ก็มีบางกระแสกล่าวว่า คาว่า "อ่างกา" นั้น
แท้จริงแล้วมาจากภาษาปกาเกอญอ (กะเหรี่ยง) แปลว่า "ใหญ่" เพราะฉะนั้นคาว่า "ดอยอ่างกา" จึงแปลว่าดอยที่มี
ความใหญ่นั่นเอง ดอยอินทนนท์ อดีตกาลก่อนป่าไม้ทางภาคเหนืออยู่ในความควบคุมของเจ้าผู้ครองนครต่าง ๆ สมัย
พระเจ้าอินทวิชยานนท์ เจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่ (องค์สุดท้าย) พระองค์ให้ความสาคัญกับป่าไม้อย่างมาก โดยเฉพาะ
ป่าในบริเวณดอยหลวง ทรงรับสั่งว่า หากสิ้นพระชนม์ลงให้นาอัฐิบางส่วนขึ้นไปสร้างสถูปบรรจุไว้บนดอย ดอยนี้จึงมี
นามเรียกขานว่า "ดอยอินทนนท์" แต่มีข้อมูลบางกระแสกล่าวว่า ที่ดอยหลวงเรียกว่า ดอยอินทนนท์ นั้น เป็นเพราะ
เนื่องจากว่าเป็นการให้เกียรติ เจ้าผู้ครองนคร จึงตั้งชื่อจากคาว่า "ดอยหลวง" ซึ่งเป็นชื่อที่มีความซ้ากับดอยหลวง ของ
อาเภอเชียงดาว แต่ภายหลังมีชาวเยอรมัน มาทาการสารวจและวัด ซึ่งปรากฏผลว่า ดอยหลวง หรือดอยอ่างกา ที่
7
อาเภอแม่แจ่มมีความสูงกว่า ดอยหลวง ของอาเภอเชียงดาว จึงเปลี่ยนชื่อใหม่ เพื่อไม่ให้มีความซ้าซ้อนกัน และเรียก
ดอยแห่งนี้ว่า "ดอยอินทนนท์" อุทยานแห่งชาติดอยอินทนนท์ เดิมเป็นส่วนหนึ่งของ "ป่าสงวนแห่งชาติดอยอินทนนท์"
ต่อมาได้ถูกสารวจและจัดตั้งเป็นหนึ่งในสิบสี่ ป่าที่ทางรัฐบาลให้ดาเนินการเป็นอุทยานแห่งชาติ ซึ่งครั้งแรกกรมป่าไม้
เสนอให้กระทรวงเกษตรและสหกรณ์กาหนดพื้นที่อุทยานแห่งชาติดอยอินทนนท์ให้มีพื้นที่ 1,000 ตร.กม. หรือ
ประมาณ 625,000 ไร่ แต่เนื่องจากพื้นที่ชุมชนต่าง ๆ อาศัยอยู่ก่อนหลายชุมชน จึงทาการสารวจใหม่ และกันพื้นที่ที่
ราษฎร อยู่มาก่อน และคาดว่าจะมีปัญหาในอนาคตออก จึงเหลือพื้นที่ที่จะประกาศเป็นอุทยานแห่งชาติดอยอิน
ทนนท์ 270 ตร.กม. หรือประมาณ 168,750 ไร่ ประกาศลงวันที่ 2 ตุลาคม 2515 และในวันที่ 13 มิถุนายน 2521
รัฐบาลประกาศพื้นที่เพิ่มอีกเป็น 482.4 ตร.กม. อาเภอจอมทอง อาเภอแม่แจ่ม อาเภอแม่วาง และกิ่งอาเภอดอยหล่อ
มีความสูงจากระดับน้าทะเลปานกลาง 400-2,565.3341 เมตร เป็นภูเขาที่สูงที่สุดในประเทศไทย สาหรับ
วัตถุประสงค์ในการกาหนดที่ดินให้เป็นอุทยานแห่งชาติ ตาม พ.ร.บ. อุทยานแห่งชาติ พ.ศ. 2504 หมวด 1 มาตรา 6
ดังนี้ "เมื่อรัฐบาลเห็นสมควรกาหนดบริเวณที่ดินแห่งใดมีสภาพธรรมชาติเป็นที่น่าสนใจ ให้คงอยู่ในสภาพธรรมชาติเดิม
เพื่อสงวนไว้เป็นประโยชน์แก่การศึกษาและรื่นรมย์ของประชาชน ก็ให้มีอานาจกระทาโดยประกาศพระราชกฤษฎีกา
ด้วยบริเวณที่กาหนดนี้เรียกว่า อุทยานแห่งชาติ"
จ.เชียงราย
ประวัติ
เชียงราย ดินแดนแห่งขุนเขา เป็นจังหวัดที่อยู่เหนือสุดของประเทศไทย เป็นเมืองเก่าแก่ที่มีประวัติศาสตร์ยาวนาน
ตั้งแต่สมัยเชียงแสนของพญามังราย ผู้ก่อตั้งเมืองเชียงรายบนพื้นที่ราบลุ่มแม่น้ากก อุดมสมบูรณ์ไปด้วยป่าไม้บนดอย
สูงที่สลับซับซ้อน เป็นแหล่งกาเนิดต้นน้าและน้าตกอันงดงามหลายแห่ง และมีเทือกเขาผีปันน้าที่เป็นพรมแดนกั้น
ประเทศสหภาพพม่าจนถึงด้านทิศเหนือ อีกทั้งเป็นจุดแรกที่แม่น้าโขงไหลผ่านประเทศไทย เป็นพรมแดนกั้นกลาง
ระหว่างประเทศไทยกับประเทศสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว
เชียงรายมีประชากรหลายเชื้อชาติ ทั้งชาวไทยพื้นราบ ชาวไทยภูเขา และชาวจีนฮ่อที่อพยพเข้ามาอาศัยอยู่บนดอยสูง
แต่ละชนชาติจะมีประเพณี วัฒนธรรม และวิถีชีวิตที่มีเอกลักษณ์ เป็นเสน่ห์อีกอย่างที่ทาให้เชียงรายได้รับความสนใจ
จากนักท่องเที่ยวทั้งชาวไทยและชาวต่างประเทศ
ทิศเหนือ ติดต่อกับสหภาพพม่า
ทิศใต้ ติดต่อกับจังหวัดพะเยา
ทิศตะวันออก ติดต่อกับสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว
ทิศตะวันตก ติดต่อกับจังหวัดเชียงใหม่
จังหวัดเชียงราย (คาเมือง: ;พม่า: ) เป็นจังหวัดที่ตั้งอยู่ในภาคเหนือของประเทศไทย เป็นที่ตั้งของ
เมืองที่มีความสาคัญทางประวัติศาสตร์ตั้งแต่ยุคก่อตั้งอาณาจักรล้านนา เช่น เมืองเชียงแสน เมืองเชียงราย เมืองเชียง
ของ เมืองเธริง หรือ เมืองเทิง [3] เชียงรายเดิมก่อน"ยุคเก็บผักใส่ซ้า เก็บข้าใส่" สมัยพระเจ้ากาวิละ ชนชาติที่เป็นต้น
กาเนิดของคนเชียงรายดั้งเดิม (อาจรวมถึงคนในภาคเหนือทั้งหมด) ก่อนมีแคว้นโยนกซึ่งเป็นรัฐของชาวไทยวน หรือที่
เรียกว่าคนเมือง กลุ่มชาติพันธุ์ไท-กะได หรือ ตระกูลภาษาไท-กะได ก็คือชนชาติจีนแถบมณฑลยูนนาน ที่อพยพลงมา
ตั้งรกรากนั่นเอง ได้แตกเป็นกลุ่มหลายกลุ่มชนเผ่า จึงไม่แปลกที่คนเมืองจะมีพื้นฐานรากเหง้าเป็นคนจีนยูนนาน
ปัจจุบันจังหวัดเชียงรายแบ่งการปกครองออกเป็น 18 อาเภอ มีแม่น้ากก แม่น้าอิง และแม่น้าโขง เป็นแม่น้าสายสาคัญ
8
ทาเลที่ตั้งของจังหวัดเชียงรายอยู่บริเวณรอยต่อระหว่าง 3 ประเทศ คือ ประเทศไทย ประเทศลาว และประเทศพม่า
หรือรู้จักกันในนามของดินแดนสามเหลี่ยมทองคาที่เป็นแหล่งผลิตฝิ่นที่สาคัญของโลก ปัจจุบัน จังหวัดเชียงรายได้รับ
ความสนใจในฐานะประตูสู่พม่า ลาว และจีนตอนใต้[4] ผ่านทางหลวงเอเชียสาย 2 และทางหลวงเอเชียสาย 3
จังหวัดเชียงราย เป็นจังหวัดมีประวัติศาสตร์อันยาวนาน เคยเป็นเมืองหลวงของอาณาจักรล้านนาแต่โบราณกาล
ประมาณ 750 ปีที่ผ่านมา มีอายุเก่าแก่กว่าจังหวัดเชียงใหม่ไปโดยประมาณ 50 กว่าปี มี"คาเมือง" เป็นภาษาท้องถิ่น
มีเอกลักษณ์เฉพาะตัวทั้งด้านศิลปะ ประเพณีวัฒนธรรมที่มีความหลากหลายทางชาติพันธุ์ในรูปแบบล้านนา ไทลื้อ ไท
ใหญ่ ไทเขิน จากสิบสอบปันนาผสมผสาน เข้าด้วยกัน และมีแหล่งท่องเที่ยวทั้งทางธรรมชาติ ประวัติศาสตร์และ
วัฒนธรรมเป็นจานวนมาก ซึ่งในอนาคต จังหวัดเชียงราย กาลังพิจารณาวางแผนโครงการวางผังเมืองเป็นนคร
สร้างสรรค์ และ ถ้าเป็นไปได้ จังหวัดเชียงรายอาจจะกาลังพิจารณาสมัครเข้าเป็นนครสร้างสรรค์ของยูเนสโก รองถัด
มาจากจังหวัดเชียงใหม่ และจังหวัดลาปาง ด้วยเช่นกัน
การปกครองแบ่งเป็น 18 อาเภอ 124 ตาบล 1,510 หมู่บ้าน
แหล่งท่องเที่ยว
1. สิงห์ ปาร์ค
สิงห์ ปาร์ค (Singha Park) หรือที่หลาย ๆ คนเรียกว่า ไร่บุญรอด ตั้งอยู่ริมถนนสายเด่นห้า-ดงมะดะ อาเภอ
เมือง ห่างจากเขตชุมชนเมืองเชียงราย ประมาณ 9 กิโลเมตร ในพื้นที่ประมาณ 8,000 ไร่ ครอบคลุม 4 ตาบล ได้แก่
ตาบลดอยฮาง ตาบลรอบเวียง ตาบลป่าอ้อดอนชัย และตาบลแม่กรณ์ ความสูงของพื้นที่เฉลี่ย 450 เมตร เหนือจาก
ระดับน้าทะเล ในฤดูหนาวอากาศค่อนข้างเย็นสบาย
สภาพของพื้นที่โดยทั่ว ๆ ไปเป็นที่ลาด-เนินเขา มีภูเขาเล็ก ๆ พื้นที่มีความลาดเทปานกลาง เป็นพื้นที่
เพาะปลูกพื้นหลากหลายชนิด เช่น ชาอู่หลงสายพันธุ์จินซวน (Jin Xuan) หรือที่คนไทยรู้จักในชื่อ ชาอู่หลงเบอร์ 12
เป็นชาสายพันธุ์ไต้หวัน ปลูกบนพื้นที่กว่า 600 ไร่ จานวนกว่า 761,000 ต้น พื้นที่ปลูกยางพารากว่า 2,700 ไร่ พุทรา
พันธุ์ซื่อหมี่ กว่า 100 ไร่, สตรอว์เบอร์รี อีกหนึ่งสุดยอดที่มาพร้อมลมหนาว ซึ่งที่ไร่บุญรอดจะปลูกสตรอว์เบอร์รีใน
พื้นที่ 4 ไร่ สายพันธุ์พระราชทาน 80 เป็นเกษตรกรรมผสมผสาน หมดฤดูกาลจะปลูกแคนตาลูปและมะเขือเทศพันธุ์
เลื้อย โดยสตรอว์เบอร์รีจะให้ผลผลิตมกราคม-กุมภาพันธ์ และพืชผักผลไม้เมืองหนาวอีกหลากหลายชนิด
ทั้งนี้สิงห์ ปาร์ค เปิดบริการให้ชมทุกวัน ตั้งแต่เวลา 10.00–16.00 น. สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ 08
0900 2686 หรือเว็บไซต์ boonrawdfarm.com และ เฟซบุ๊ก Boon Rawd Farm
2. พระธาตุดอยตุง
พระธาตุดอยตุง ตั้งอยู่บริเวณกิโลเมตรที่ 17.5 บนทางหลวงหมายเลข 1149 เป็นที่บรรจุพระรากขวัญเบื้อง
ซ้าย (กระดูกไหปลาร้า) ของพระพุทธเจ้า นามาจากมัธยมประเทศ นับเป็นครั้งแรกที่พระพุทธศาสนาลัทธิลังกาวงศ์
ได้มาประดิษฐานที่ล้านนาไทย เมื่อก่อสร้างพระสถูปบรรจุพระบรมสารีริกธาตุนี้ ได้ทาธงตะขาบ (ภาษาพื้นเมือง
เรียกว่า ตุง) ใหญ่ยาวถึงพันวา ปักไว้บนยอดดอย ถ้าหากปลายธงปลิวไปไกลถึงเมืองไหน ก็จะกาหนดเป็นฐานพระ
สถูป เหตุนี้ดอยซึ่งเป็นที่ประดิษฐานปฐมเจดีย์แห่งล้านนาไทย จึงปรากฏนามว่า ดอยตุง
ทั้งนี้พระธาตุดอยตุงเป็นปูชนียสถานที่สาคัญ เมื่อถึงเทศกาลนมัสการพระธาตุดอยตุงจะมีพุทธศาสนิกชนทั้ง
ชาวไทยและเพื่อนบ้านจากประเทศใกล้เคียง เช่น ชาวเชียงตุงในรัฐฉาน สหภาพพม่า ชาวหลวงพระบาง เวียงจันทน์
เดินทางเข้ามานมัสการทุกปี
9
3. พระตาหนักดอยตุงและสวนแม่ฟ้าหลวง
พระตาหนักดอยตุง ตั้งอยู่ในเขตอาเภอแม่ฟ้าหลวง ห่างจากตัวเมืองเชียงรายประมาณ 60 กิโลเมตร พระ
ตาหนักดอยตุงเคยเป็นที่ประทับแปรพระราชฐานเพื่อทรงงานของสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี มีรูปทรง
ผสมผสานระหว่างศิลปะล้านนากับชาเลย์ของประเทศสวิตเซอร์แลนด์ มีการแกะสลักไม้ตามกาแล เชิงชายและขอบ
หน้าต่างเป็นลวดลายต่าง ๆ โดยฝีมือช่างชาวเหนือ รอบ ๆ พระตาหนักมีสวนดอกไม้หลากพันธุ์ หลายสี ให้ความ
สวยงามสดชื่น โดยเฉพาะในฤดูหนาวจะเห็นหมอกจาง ๆ บริเวณยอดเขารอบพระตาหนัก มีเจ้าหน้าที่นาชมเป็นรอบ
ๆ ละ 20 นาที เปิดให้เข้าชมทุกวัน เวลา 07.00-17.00 น. ค่าเข้าชม 90 บาท สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติม โทรศัพท์
0 5376 7015-7 หรือ www.doitung.org
ส่วน สวนแม่ฟ้าหลวง อยู่ด้านหน้าพระตาหนักดอยตุง มีเนื้อที่ประมาณ 10 ไร่ เป็นสวนดอกไม้เมืองหนาว
อาทิ ดอกซัลเวีย, พิทูเนีย, บีโกเนีย, กุหลาบ, ดอกลาโพง, ไม้มงคลต่าง ๆ, ไม้ยืนต้น และซุ้มไม้เลื้อยอีกมากกว่า 70
ชนิด รูปปั้นต่อเนื่องฝีมือของ มีเซียม ยิบอินซอย (Misiem Yipintsoi) เปิดให้เข้าชมทุกวัน เวลา 06.30-18.00 น. ค่า
เข้าชม 90 บาท
หอแห่งแรงบันดาลใจ เป็นอาคารแสดงพระราชประวัติสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนีและพระ
ราชวงศ์ มีห้องจัดแสดงนิทรรศการ 8 ห้อง เปิดให้เข้าชมทุกวัน เวลา 08.00-17.00 น. ค่าเข้าชม 50 บาท
นอกจากนั้นยังมีร้านขายของที่ระลึก เสื้อผ้าไหม ผลิตภัณฑ์จากโครงการหลวงทั้งผักผลไม้ ดอกไม้ พรรณไม้ต่าง ๆ ให้
ซื้อกลับไปเป็นของฝาก
นักท่องเที่ยวที่ต้องการเข้าชมทั้งพระตาหนักดอยตุง สวนแม่ฟ้าหลวง และหอแห่งแรงบันดาลใจ โดยมี
จาหน่ายบัตรรวม ราคา 190 บาท ซุ้มจาหน่ายบัตรเปิดเวลา 06.30-18.00 น. หลังเวลา 17.00 น. จาหน่ายเฉพาะ
บัตรชมพระตาหนักและสวนแม่ฟ้าหลวง (หมายเหตุ : ราคาอาจมีการเปลี่ยนแปลง สามารถเช็กราคาได้ที่
www.doitung.org)
4. วัดร่องขุ่น
วัดร่องขุ่น อยู่ในท้องที่ตาบลป่าอ้อดอนชัย อาเภอเมือง ออกแบบและก่อสร้างโดย อาจารย์เฉลิมชัย โฆษิต
พิพัฒน์ เมื่อ พ.ศ. 2540 โดยบนพื้นที่เดิมของวัด 3 ไร่ และขยายออกเป็น 12 ไร่ พระอุโบสถสีขาวตกแต่งด้วยลวดลาย
กระจกสีเงินแวววาว เป็นเชิงชั้นลดหลั่นกันไป หน้าบันประดับด้วยพญานาค ภาพจิตรกรรมฝาผนังภายในพระอุโบสถ
และห้องแสดงภาพวาดน่าสนใจมาก เปิดให้เข้าชมทุกวัน เวลา 08.00-17.00 น. โทรศัพท์ 0 5367 3579 หรือดู
รายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ วัดร่องขุ่น.com
การเดินทาง : วัดอยู่ห่างจากตัวเมืองเชียงราย 12 กิโลเมตร บนเส้นทางไปจังหวัดพะเยา เลี้ยวขวาที่สามแยก
ทางไปน้าตกขุนกรณ์ ประมาณ 100 เมตร วัดอยู่ซ้ายมือ
5. ดอยแม่สลอง
ดอยแม่สลอง เป็นที่ตั้งของหมู่บ้านสันติคิรี เดิมชื่อ บ้านแม่สลองนอก เป็นชุมชนผู้อพยพจากกองพล 93 จาก
สหภาพพม่าเข้ามาในเขตไทย จานวนสองกองพัน คือ กองพันที่ 3 เข้ามาอยู่ที่อาเภอฝาง จังหวัดเชียงใหม่ และกองพัน
ที่ 5 อยู่ที่บ้านแม่สลองนอก ตั้งแต่ พ.ศ. 2504 ในเดือนธันวาคมถึงกุมภาพันธ์ดอกนางพญาเสือโคร่ง ซึ่งเป็นซากุระ
พันธุ์ที่เล็กที่สุด สีชมพูอมขาวจะบานสะพรั่งตลอดแนวทางขึ้นดอยแม่สลอง เป็นพันธุ์ไม้ที่หาชมได้ยากในเมืองไทย
เพราะเจริญเติบโตอยู่แต่เฉพาะในภูมิอากาศหนาวจัดเท่านั้น
10
จุดน่าสนใจบนดอยแม่สลอง เช่น ชมไร่ชาและศึกษาวิธีการผลิตชา ขี่ม้าชมทิวทัศน์รอบหมู่บ้านเจียงจาใส
และอนุสรณ์สถานอดีตทหารจีนคณะชาติภาคเหนือ ประเทศไทย ลองไปศึกษาเรื่องราวและประวัติของชาวดอยแม่สล
อง โดยจะมีไกด์คอยนาชม เปิดบริการทุกวัน เวลา 08.00-17.00 น. ค่าเข้าชม 30 บาท สอบถามเพิ่มเติมได้ที่ อบต.
แม่สลองนอก โทรศัพท์ 0 5376 5129
การเดินทางใช้เส้นทางเชียงราย-แม่จัน 28 กิโลเมตร เลยจากอาเภอแม่จันไป 1 กิโลเมตร มีทางแยกซ้ายไป
23 กิโลเมตร ผ่านหมู่บ้านผาเดื่อ ซึ่งเป็นจุดแวะชมและซื้อหัตถกรรมชาวเขา จากนั้นเดินทางจากบ้านอีก้อสามแยก
ตรงไปดอยแม่สลอง ระยะทาง 10 กิโลเมตร รวมระยะทางจากเชียงราย 64 กิโลเมตร เป็นทางลาดยางตลอดสาย
และจากดอยแม่สลองมีถนนเชื่อมต่อไปถึงบ้านท่าตอน อาเภอฝาง จังหวัดเชียงใหม่ ระยะทาง 45 กิโลเมตร ในกรณี
ไม่ได้ขับรถมาเองให้ขึ้นรถประจาทางจากตัวเมืองเชียงรายไปต่อรถสองแถวที่ปากทางขึ้นดอยแม่สลอง
6. ดอยวาวี
ดอยวาวี เป็นชุมชนขนใหญ่ของชาวจีนฮ่อ กองพล 93 ซึ่งอพยพเข้ามาตั้งหลักปักฐานราว 50 ปีมาแล้ว ยึด
อาชีพปลูกชาและผลไม้ท่ามกลางบรรยากาศอันสงบเงียบและทิวทัศน์งามของดอยสูงเช่นเดียวกับชุมชนดอยแม่สลอง
แม้หมู่บ้านจะมีขนาดเล็ก แต่ผู้มาเยือนจะได้สัมผัสกลิ่นอายชุมชนชาวจีนอันเรียบง่าย ราวกับอยู่ทางแถบยูนนานตอน
ใต้ของจีน ขณะที่พ้นหมู่บ้านออกไปบนดอยก็เขียวขจีด้วยไร่ชาที่ลดหลั่นตามลาดเขา ช่วยประดับทิวทัศน์ชุมชนและ
เทือกดอยให้งดงามชวนมอง ใกล้กับดอยวาวีมีจุดชมทะเลหมอกอยู่บน “ดอยกาดผี” ซึ่งเป็นแหล่งท่องเที่ยวยอดนิยม
ของอาเภอแม่สรวย เมื่อขึ้นไปยืนที่ชะง่อนผาสูง 1,500 เมตร จะสามารถมองเห็นทะเลหมอกหนาทึบเต็มหุบเขา
พร้อมกับภาพอลังการของขุนเขาสลับซับซ้อนตามแนวเทือกดอยช้าง ซึ่งดอยกาดผีอยู่ห่างจากดอยวาวีประมาณ 20
กิโลเมตร ตามเส้นทางค่อนข้างทุรกันดาร ระหว่างทางยังผ่านหมู่บ้านชาวอ่าข่าและเย้า
สถานที่น่าแวะ เช่น ดอยช้าง เป็นที่ตั้งสถานีวิจัยเกษตรที่สูงและหมู่บ้านขาวเขา มีแปลงปลูกผลไม้เมืองหนาว
ให้เที่ยวชม เช่น เกาลัด บ๊วย ท้อ พลับ พลัม ฯลฯ และไร่กาแฟอาราบิก้า โดยสามารถลองชิมกาแฟสดได้ด้วย ส่วน
สินค้าน่าซื้อก็มีทั้งชาอู่หลง ซึ่งชาวจีนฮ่อวาวีนาชาพันธุ์ชิงชิงและชาเบอร์ 12 มาปลูกเพื่อผลิตเป็นชาอู่หลงคุณภาพดีไม่
แพ้ต้นตารับจากไต้หวันจนได้รับความนิยม ลองชิมชากลิ่นหอมและซื้อเป็นของฝากได้
7. วนอุทยานภูชี้ฟ้า
วนอุทยานภูชี้ฟ้า เป็นจุดชมวิวทะเลหมอกและพระอาทิตย์ขึ้นสุดฮอตของจังหวัดเชียงราย อยู่ห่างจากดอยผา
ตั้ง 25 กิโลเมตร มีลักษณะเป็นยอดเขาที่แหลมชี้ขึ้นไปบนท้องฟ้า อยู่สูงจากระดับทะเลประมาณ 1,628 เมตร โดยมี
หน้าผาเป็นแนวยาวยื่นไปทางฝั่งประเทศลาว บนยอดภูชี้ฟ้าเป็นทุ่งหญ้ากว้าง ในฤดูหนาวจะมีทิวทัศน์สวยงามเป็น
พิเศษ นักท่องเที่ยวส่วนมากจะมาค้างแรมบริเวณบ้านร่มฟ้าทองทาง ซึ่งห่างจากจุดชมวิวประมาณ 1.5 กิโลเมตร แล้ว
จะเดินขึ้นภูชี้ฟ้าเพื่อไปชมวิวตอนเช้ามืด ระหว่างทางจะพบแปลงปลูกป่านางพญาเสือออกดอกบานสะพรั่งสวยงาม
(เดือนมกราคม-กุมภาพันธ์) และในช่วงเดือนกุมภาพันธ์ต้นเสี้ยวดอกขาวรอบภูชี้ฟ้าจะออกดอกบานเต็มเชิงเขา
การเดินทางใช้เส้นทางเชียงราย-เทิง ระยะทาง 64 กิโลเมตร และจากเทิง-บ้านปี้ ระยะทาง 6 กิโลเมตร
เลี้ยวซ้ายเข้าทางหลวงหมายเลข 1155 ผ่านบ้านปางค่า บ้านเชงเม้ง เป็นทางลาดยาง ถึงภูชี้ฟ้าระยะทาง 42
กิโลเมตร หรือใช้ทางหลวงหมายเลข 1021 สายเทิง-เชียงคา-บ้านฮวก ก่อนถึงเชียงคา 6 กิโลเมตร มีทางแยกไป
อุทยานแห่งชาติน้าตกภูซาง อีก 19 กิโลเมตร แล้วเดินทางต่อไปยังภูชี้ฟ้าอีก 30 กิโลเมตร นักท่องเที่ยวสามารถนารถ
11
ไปจอดไว้ที่ลานจอดรถวนอุทยานภูชี้ฟ้าแล้วเดินเท้าไปจุดชมวิวประมาณ 700 เมตร สอบถามรายละเอียดติดต่อได้ที่
สถานีขนส่งเชียงราย โทรศัพท์ 0 5371 1224 อบต.ตับเต่า โทรศัพท์ 0 5318 9111 และศูนย์บริการนักท่องเที่ยว
โทรศัพท์ 0 5371 0195-6
8. ดอยผาตั้ง
ดอยผาตั้ง ตั้งอยู่ใกล้ทางหลวงหมายเลข 1093 กิโลเมตรที่ 89 เป็นจุดชมวิวไทย-ลาว มีความสูง 1,635 เมตร
และเที่ยวชมทะเลหมอกได้ตลอดปี ซึ่งในเดือนธันวาคมถึงมกราคมมีดอกซากุระบาน และเดือนกุมภาพันธ์ก็จะมีดอก
เสี้ยวบานสะพรั่งงดงาม นอกจากนี้ ยังเป็นที่ตั้งของหมู่บ้านชาวจีนฮ่อ ม้ง และเย้า โดยเฉพาะจีนฮ่อนั้น อดีตเคยเป็น
ส่วนหนึ่งของกองพล 93 ซึ่งอพยพเข้ามาตั้งถิ่นฐานอยู่ที่ดอยผาตั้งนี้ ปัจจุบันประกอบอาชีพทางการเกษตร ปลูกพืช
เมืองหนาว เช่น บ๊วย ท้อ สาลี่ แอปเปิล และชา
การเดินทางจากจังหวัดเชียงรายใช้เส้นทางเชียงราย-เวียงชัย-พญาเม็งราย-บ้านต้า ทางหลวงหมายเลข
1233, 1173 และ 1152 ระยะทาง 50 กิโลเมตร บ้านต้า-บ้านท่าเจริญ ทางหลวงหมายเลข 1020 ระยะทาง 45
กิโลเมตร บ้านท่าเจริญ-เวียงแก่น-ปางหัด ทางหลวงหมายเลข 1155 ระยะทาง 17 กิโลเมตร และปางหัด-ดอยผาตั้ง
อีก 15 กิโลเมตร จุดชมวิวช่องผาบ่อง สามารถมองเห็นแม่น้าโขงทอดตัวคดเคี้ยวในฝั่งลาว หากเดินเท้าต่อไปอีก
ประมาณ 1 กิโลเมตร จึงจะถึงจุดชมวิว 103 ทั้งนี้ สภาพเส้นทางบางช่วงสูงชัน สามารถสอบถามรายละเอียดเพิ่มเติม
ได้ที่ จุดบริการนักท่องเที่ยวดอยผาตั้ง โทรศัพท์ 0 5391 8301 หรือ องค์การบริหารส่วนตาบลปอ โทรศัพท์ 0 5371
0300, 0 5391 8265
9. ถนนคนเดินเชียงราย+ถนนคนม่วนเชียงราย
จังหวัดเชียงราย ร่วมกับ เทศบาลนครเชียงราย จัดโครงการถนนคนเดินเชียงราย “กาดเจียงฮายราลึก”เชิญ
ชวนนักท่องเที่ยวและประชาชนร่วมสัมผัสวิถีชีวิตแบบล้านนาในอดีต ที่แสดงออกถึงวิถีชีวิต ศิลปวัฒนธรรม ภูมิ
ปัญญา และสินค้าของดีของเชียงราย โดยจะจัดขึ้นทุกวันเสาร์ของเดือน ณ ถนนธนาลัย ตั้งแต่สี่แยกสานักงานยาสูบฯ
ไปจนถึงสี่แยกธนาคารออมสิน ขณะที่ทุกวันอาทิตย์ของเดือนจะมี “ถนนคนม่วนเชียงราย” ซึ่งอยู่บนถนนสันโค้งน้อย
บริเวณการจัดงานแบ่งเป็นหลาย ๆ ส่วน โดยมีกลุ่มกิจกรรมต่าง ๆ ที่เข้าร่วมเป็นเครือข่ายร่วมกันจัดแสดงกิจกรรม
มากมายตลอดเส้นทาง ทั้งนี้ดูรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ เฟซบุ๊ก ถนนคนเดินเชียงราย และchiangraitourism.org
10. วัดพระแก้ว
วัดพระแก้ว ตั้งอยู่บริเวณถนนไตรรัตน์ ตาบลเวียง อาเภอเมือง เป็นวัดที่ค้นพบ พระแก้วมรกต หรือ พระ
พุทธมหามณีรัตนปฏิมากร ที่ประดิษฐานอยู่ ณ วัดพระแก้ว กรุงเทพฯ ในปัจจุบัน ตามประวัติเล่าว่าเมื่อ พ.ศ. 1897
ในสมัยพระเจ้าสามฝั่งแกนเป็นเจ้าเมืองเชียงใหม่นั้น ฟ้าได้ผ่าเจดีย์ร้างองค์หนึ่งและได้พบพระพุทธรูปลงรักปิดทองอยู่
ภายในเจดีย์ จึงได้นาไปไว้ในวิหาร ต่อมาปูนบริเวณพระนาสิกเกิดกะเทาะออกมาจึงได้พบว่าเป็นพระพุทธรูปสีเขียว
สร้างด้วยหยก คือ พระแก้วมรกต นั่นเอง
ปัจจุบันชาวเชียงรายได้สร้างพระแก้วมรกตองค์ใหม่ขึ้นแทน เรียกว่า พระหยกเชียงราย หรือ พระพุทธรัตนา
กรนวุติวัสสานุสรณ์มงคล ซึ่งสร้างขึ้นในวโรกาสที่สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี มีพระชนมายุครบ 90 พรรษา
ภายในวัดซีกกาแพงด้านทิศใต้ มีพิพิธภัณฑ์โฮงหลวงแสนแก้ว ลักษณะเป็นอาคารทรงล้านนาประยุกต์สองชั้น เป็น
แหล่งเรียนรู้ด้านศาสนาและวัฒนธรรมล้านนา รวบรวมจัดแสดงศิลปวัตถุที่สาคัญของวัด และสิ่งของที่มีผู้นามาถวาย
เช่น พระพุทธรูป พระธาตุ เครื่องใช้เกี่ยวกับศาสนาของล้านนา เช่น เครื่องบูชา ฉัตร ตุง เครื่องเขิน เป็น
ต้น สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ โทรศัพท์ 0 5371 1385 หรือ watphrakaew-chiangrai.com
12
11. สวนรุกขชาติดอยช้างมูบ
ช้างมูบ เป็นชื่อดอยที่สูงที่สุดของเทือกเขานางนอน คือ ประมาณ 1,500 เมตรจากระดับน้าทะเล มีอากาศ
เย็นสดชื่นตลอดปี พื้นที่บริเวณนี้เคยเป็นดงฝิ่นที่ใหญ่ที่สุด และเป็นการเส้นทางลาเลียงยาเสพติดหลักในภูมิภาค
สภาพป่าจึงถูกทาลายจนหมดสิ้น ต่อมาสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี ทรงมีพระราชประสงค์ให้ฟื้นฟูผืนป่า
แถบนี้ให้อุดมสมบูรณ์อีกครั้ง โครงการพัฒนาดอยตุงฯ จึงพัฒนาพื้นที่ให้เป็นสวนรุกขชาติ รวบรวมพรรณไม้พื้นเมือง
และพรรณไม้ป่าหายาก กุหลาบพันปีจากหลายประเทศ ต้นนางพญาเสือโคร่ง กล้วยไม้พื้นเมือง รองเท้านารี ฯลฯ
ปลูกอยู่ในสวนอย่างเป็นธรรมชาติกลางป่าสน มีเส้นทางการเดินลัดเลาะตามไหล่เขา มีลานสาหรับพักผ่อน ชมทิวทัศน์
ได้รอบตัว แลเห็นได้ถึงประเทศเพื่อนบ้าน และลาน้าโขง
12. อนุสาวรีย์พ่อขุนเม็งรายมหาราช
ตั้งอยู่ที่ห้าแยกพ่อขุน อาเภอเมือง เส้นทางที่จะไปอาเภอแม่จันหรือแม่สาย สาหรับพ่อขุนเม็งรายเป็นกษัตริย์
องค์ที่ 25 แห่งราชวงศ์ลัวะจังคราช เป็นโอรสของพญาลาวเม็ง และพระนางเทพคาขยาย หรือพระนางอั้วมิ่งจอมเมือง
ประสูติเมื่อวันอาทิตย์ แรม 9 ค่า เดือนอ้าย ปีกุน พุทธศักราช 1782 เสด็จสวรรคตที่เมืองเชียงใหม่ใน พ.ศ.1854 พ่อ
ขุนเม็งรายได้สร้างเมืองเชียงรายขึ้นบนดอยทอง จากรากฐานเดิมที่เคยเป็นเมืองมาก่อน เมื่อ พ.ศ.1805 ทรงเป็นปฐม
กษัตริย์ แห่งราชวงศ์เม็งราย และรวบรวมบ้านเล็กเมืองน้อยเข้าเป็นอาณาจักรล้านนาไทยจนเจริญรุ่งเรืองถึงปัจจุบัน
โดยประชาชนชาวเชียงรายร่วมใจกันสร้างอนุสาวรีย์ เพื่อน้อมราลึกถึงพระเกียรติคุณของพ่อขุนเม็งราย ปั้น
โดย นายปกรณ์ เล็กฮอน และทาพิธีเปิดอนุสาวรีย์เมื่อวันที่ 31 มีนาคม พ.ศ. 2507 สาหรับลักษณะของอนุสาวรีย์ คือ
เป็นพระรูปของพระองค์หล่อด้วยทองสัมฤทธิ์ขนาดเท่าครึ่ง ทรงฉลองพระองค์ด้วยเครื่องทรงพระมหากษัตริย์ล้านนา
โบราณ ประทับยืนบนฐานสูงประมาณ 3 เมตร ทรงถือดาบด้วยพระหัตถ์ซ้ายแนบกับพระเพลา ทรงสวมมาลัยพระกร
ทรงสวมธามรงค์ที่พระหัตถ์ขวาตรงนิ้วนางและนิ้วก้อย ที่พระหัตถ์ซ้ายตรงนิ้วชี้ และทรงฉลองพระบาท ปัจจุบันมีตุง
หลวงเฉลิมพระเกียรติประดับอยู่ทางด้านหลังอนุสาวรีย์ด้วย และที่ตรงฐานใต้พระบรมรูปมีคาจารึกว่า"พ่อขุนเม็งราย
มหาราช พ.ศ. 1782-1860 ทรงสร้างเมืองเชียงรายขึ้นเป็นเมืองแรกเมื่อ พ.ศ. 1805 ทรงสถาปนาอาณาจักรล้านนา
ไทยให้เป็นปึกแผ่น และทรงสร้างความสามัคคีระหว่างชนชาติไทย"
ทั้งนี้ กู่พระเจ้าเม็งราย ตั้งอยู่หน้าวัดงาเมือง บนดอยงาเมือง กู่นี้เป็นอนุสาวรีย์สาคัญแห่งหนึ่ง เพราะเป็นที่
บรรจุอัฐิของพ่อขุนเม็งรายมหาราช ตามประวัติกล่าวว่า พระเจ้าไชยสงคราม ราชโอรสพระเจ้าเม็งราย เมื่อได้มอบราช
สมบัติให้พระเจ้าแสนภูราชโอรสขึ้นครองนครเชียงใหม่แล้ว พระองค์ได้นาอัฐิพระราชบิดามาประทับอยู่ที่เมือง
เชียงราย และได้โปรดเกล้าฯ สร้างกู่บรรจุอัฐิของพระราชบิดาไว้ ณ ดอยงาเมืองแห่งนี้
13. พิพิธภัณฑ์บ้านดา
พิพิธภัณฑ์บ้านดา ตั้งอยู่ที่ตาบลนางแล อาเภอเมือง สร้างขึ้นโดย อาจารย์ถวัลย์ ดัชนี นับเป็นแหล่งเรียนรู้
อันทรงคุณค่าทางศิลปวัฒนธรรมแบบร่วมสมัย ที่มีเอกลักษณ์โดดเด่น โดยภายในบ้านมีสิ่งก่อสร้าง ทั้งวิหาร บ้าน
ศาลา ห้องแสดงผลงาน ฯลฯ รวมทั้งสิ้น 43 สิ่งก่อสร้าง เช่น วิหารเล็ก, มหาวิหาร (อาคารพิพิธภัณฑ์ศิลปะ), บ้าน
สามเหลี่ยม (ที่พักรับรองนักเขียน ลูกศิษย์ และห้องทางาน), เรือนผกายแก้ว, เรือนเชียงทองทาทาบรุ้ง, อูปปรภพ
(ห้องจิตวิญญาณ) และบ้านดาแกลลอรี่ (ศูนย์ข้อมูลและร้านจาหน่ายของที่ระลึก) สอบถามเพื่อเข้าชม โทรศัพท์ 0
5370 5834, 0 5377 6333, 08 1673 1155 หรือ thawan-duchanee.com
13
14. ดอยหัวแม่คา
ดอยหัวแม่คา อยู่สูงจากระดับทะเล 1,850 เมตร เป็นที่ตั้งหมู่บ้านชาวเขาขนาดใหญ่ ประกอบด้วยเผ่าลีซอ
เป็นกลุ่มชนส่วนใหญ่ นอกจากนี้ยังมีอีก้อ ม้ง และมูเซอ ในช่วงเวลาซึ่งตรงกับตรุษจีนของทุกปี ชาวลีซอจะจัดงาน
ประเพณีกินวอ ซึ่งเปรียบเสมือนวันขึ้นปีใหม่ ในวันนั้นชาวลีซอแต่งกายสวยงาม มีการกินเลี้ยง เต้นระบา 7 วัน 7 คืน
และในเดือนพฤศจิกายนเป็นช่วงที่ดอยหัวแม่คางดงามไปด้วย “ดอกบัวตอง” สีเหลืองสดใสสะพรั่งอยู่ทั่วไปตามแนว
เขา เป็นจุดชมวิวพระอาทิตย์ขึ้นและทะเลหมอก
การเดินทางจากเชียงรายใช้เส้นทางเดียวกับทางขึ้นดอยแม่สลองสายเก่า ทางหลวงหมายเลข 1130 แล้ว
เลี้ยวขวาที่สามแยกอีก้อ ผ่านบ้านเทอดไทย ไปจนถึงบ้านแม่คา ห่างจากตัวเมืองเชียงราย 100 กิโลเมตร บ้านหัวแม่
คาอยู่เกือบสุดชายแดน เส้นทางเป็นทางลูกรังคดโค้งไปตามทิวเขา ใช้เวลาเดินทางราว 3 ชั่วโมง
15. ล่องแม่น้ากก
แม่น้ากก เป็นแม่น้าที่ไหลมาจากบ้านท่าตอนผ่านตัวเมืองเชียงราย มีความยาวรวมทั้งสิ้น 130 กิโลเมตร
นักท่องเที่ยวสามารถเช่าเรือจากท่าเรือริมแม่น้าในตัวเมือง (ท่าเรือซีอาร์) เพื่อเที่ยวชมทัศนียภาพของแม่น้ากก สอง
ฟากฝั่งเป็นป่าเขาที่สวยงามตามธรรมชาติ นอกจากนี้ ระหว่างทางยังสามารถแวะชมหมู่บ้านชาวเขาเผ่าต่าง ๆ เช่น
อีก้อ ลีซอ หรือจะแวะบ้านกะเหรี่ยงรวมมิตรเพื่อนั่งช้างเที่ยวป่ารอบบริเวณ
16. วัดร่องเสือเต้น
ตั้งอยู่ที่หมู่บ้านร่องเสือเต้น ตาบลริมกก อาเภอเมือง เป็นสถานที่ท่องเที่ยวแห่งศรัทธาที่ถูกพูดถึงในเรื่องของ
เอกลักษณ์ความงดงามทางสถาปัตยกรรม อันเกิดจากการสร้างสรรค์ศิลปินชาวบ้าน นายพุทธา กาบแก้ว หรือ สล่านก
ศิลปินท้องถิ่นชาวเชียงราย ที่ครั้งหนึ่งตนได้รับโอกาสเข้าไปเป็นลูกศิษย์ อาจารย์เฉลิมชัย โฆษิตพิพัฒน์ ในการสร้างวัด
ร่องขุ่น จนมีโอกาสได้มาสร้างวิหารวัดร่องเสือเต้น จึงได้นาวิชาที่ได้ร่าเรียนมารังสรรค์ความงดงามให้เกิดขึ้นที่วัดแห่ง
นี้
ไฮไลท์เด็ดคือ "วิหารร่องเสือเต้น" ซึ่งความโดดเด่นของวิหารแห่งนี้อยู่ที่ศิลปะของตัววิหารที่สวยงามและมี
เอกลักษณ์น่าจดจา โดยใช้โทนสีน้าเงินและสีฟ้าเป็นหลัก ที่ใช้เป็นสื่อแสดงถึงธรรมะขององค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธ
เจ้า อันเป็นหลักความจริงตามเหตุและผล เปรียบเสมือนเป็นท้องฟ้าที่สดใส ทั้งนี้ดูรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ เฟซบุ๊ก
วัดร่องเสือเต้น ตาบลริมกก อาเภอเมือง จังหวัดเชียงราย
17. DoiTung Tree Top Walk สวนแม่ฟ้าหลวง
เส้นทางศึกษาธรรมชาติบนเรือนยอดไม้ หรือ DoiTung Tree Top Walk ภายในสวนแม่ฟ้าหลวง พระ
ตาหนักดอยตุง สร้างขึ้นมาเหนือยอดไม้ใหญ่ภายในสวนอันเขียวขจี อากาศหนาวเย็น ได้สัมผัสกับธรรมชาติอย่าง
แท้จริง และยังท้าทายความกล้าของนักท่องเที่ยวที่ชอบความสูง โดยแบ่งออกเป็น 6 ช่วง บนระดับความสูง 10-20
เมตร ลดหลั่นไปตามจังหวะของต้นไม้และความลาดชัน สามารถสอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ โครงการพัฒนา
ดอยตุง โทรศัพท์ 0 5376 7015-7
14
18. ภูชี้ดาว
จุดชมวิวและที่เที่ยวแห่งใหม่ในจังหวัดเชียงราย ตั้งอยู่บนพื้นที่ในความดูแลของตาบลปอ อาเภอเวียงแก่น
ตั้งอยู่ตรงกลางระหว่างภูชี้ฟ้าและดอยผาตั้ง ที่ยังคงซึ่งความอุดมสมบูรณ์ทางธรรมชาติเอาไว้อย่างครบถ้วน ผู้คนไม่
พลุกพล่าน มีความเงียบสงบ สิ่งที่นักท่องเที่ยวจะได้เห็นจากจุดชมวิวภูชี้ดาว คือการได้มองเห็นวิวโค้งแม่น้าโขงอยู่ไกล
ๆ และมองเห็นภูชี้ฟ้าตั้งเด่นตระหง่านอยู่ลิบ ๆ เหล่านี้ถือเป็นองค์ประกอบทางทัศนียภาพที่สวยงามยากเกินจะ
บรรยาย
ทั้งนี้ทางเดินขึ้นไปยังภูชี้ดาวค่อนข้างมีความลาดชัน และต้องไต่ระดับขึ้นไปตามสันเขา สองด้านเป็นเหวลึก
ดังนั้นนักท่องเที่ยวจึงควรใช้ความระมัดระวังในการเดินค่อนข้างมาก เพราะไม่อย่างนั้นอาจเกิดอันตรายได้
19. ไร่ชาฉุยฟง
บนเนื้อที่ตามเนินเขาของตาบลป่าซาง อาเภอแม่จัน มากกว่า 1,000 ไร่ เต็มไปด้วยไร่ชาคุณภาพแห่งไร่ชา
ฉุยฟง ด้วยความที่ไร่ชาแห่งนี้อยู่เหนือกว่าระดับน้าทะเลมากถึง 1,200 เมตร พร้อมทั้งสภาพอากาศที่เอื้ออานวยต่อ
การเจริญเติบโตของชา จึงทาให้ชาที่นี่มีรสชาติอร่อยกลมกล่อม มีความหอมเป็นเอกลักษณ์ การันตีคุณภาพจากรางวัล
ต่าง ๆ ตลอดมา และเมื่อไม่นานมานี้ทางไร่ชาฉุยฟงได้เปิดให้นักท่องเที่ยวทั่วไปเข้าชมทัศนียภาพของไร่ชา พร้อมทั้ง
เลือกซื้อสินค้าและผลิตภัณฑ์อื่น ๆ จากทางไร่ได้ในราคาย่อมเยา ดูรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่
www.chouifongtea.com
20. ภูฟ้าไทย
จุดชมวิวทะเลหมอกแห่งใหม่ ที่เปิดโอกาสให้นักท่องเที่ยวได้สัมผัสอากาศหนาวเย็น ชมทะเลหมอก และชมวิว
ธรรมชาติได้รอบ 360 องศา ตั้งอยู่ที่บ้านร่มฟ้าไทย อาเภอเทิง ติดกับแนวชายแดน สปป.ลาว ฝั่งตรงข้ามบ้านเชียง
ของ ซึ่งนับเป็นจุดที่มองเห็นพระอาทิตย์ขึ้นยามเช้าตัดกับทะเลหมอกในหุบเขาได้อย่างงามตา ด้วยเพราะภูฟ้าไทยมี
ความสูงจากระดับน้าทะเล 1,515 เมตร จึงทาให้อากาศที่นี่หนาวเย็น
ลักษณะเด่นของภูฟ้าไทยอยู่ที่ทางเดินขึ้นที่ค่อนข้างสะดวก ซึ่งเป็นทางเดินระยะทางเพียงแค่ 300 เมตร
ข้างบนนักท่องเที่ยวจะได้ฟินกับจุดชมวิวทะเลหมอกในแบบ 360 องศา ขณะเดียวกันยังชื่นชมกับความสวยงามของ
พระอาทิตย์ขึ้นและตกดิน อีกทั้งยังมองเห็นภูชี้ฟ้าบริเวณจมูกสิงโตได้อย่างชัดเจน ทั้งนี้สามารถสอบถามข้อมูลเพิ่มเติม
ได้ที่ การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย สานักงานเชียงราย โทรศัพท์ 053 744 674-5 และ 053 717 433
จ.ลาพูน
จังหวัดลาพูน เดิมชื่อเมืองหริภุญไชย เป็นเมืองโบราณ มีอายุประมาณ 1,343 ปี ตามพงศาวดารโยนกเล่าสืบต่อกันถึง
การสร้างเมืองหริภุญไชย โดยฤาษีวาสุเทพ เป็นผู้เกณฑ์พวกเม็งคบุตร หรือ ชนเชื้อชาติมอญมาสร้างเมืองนี้ขึ้น ใน
พื้นที่ระหว่างแม่น้าสองสาย คือ แม่น้ากวง และแม่น้าปิง เมื่อมาสร้างเสร็จได้ส่งทูตไปเชิญ ราชธิดากษัตริย์เมืองละโว้
พระนาม “จามเทวี” มาเป็นปฐมกษัตริย์ปกครองเมืองหริภุญไชย สืบราชวงศ์กษัตริย์ ต่อมาหลายพระองค์ จนกระทั่ง
ถึงสมัยพระยายีบาจึงได้เสียการปกครองให้แก่พ่อขุนเม็งรายมหาราช ผู้รวบรวม แว่นแคว้นทางเหนือเข้าเป็น
อาณาจักรล้านนา เมืองลาพูน ถึงแม้ว่า จะตกอยู่ภายใต้การปกครองของอาณาจักรล้านนา แต่ก็ได้เป็นผู้ถ่ายทอด
มรดกทางศิลปและวัฒนธรรมให้แก่ผู้ที่เข้ามาปกครอง ดังปรากฏหลักฐานทั่วไปในเวียงกุมกาม เชียงใหม่และเชียงราย
6 จังหวัดน่าเที่ยว
6 จังหวัดน่าเที่ยว
6 จังหวัดน่าเที่ยว
6 จังหวัดน่าเที่ยว
6 จังหวัดน่าเที่ยว
6 จังหวัดน่าเที่ยว
6 จังหวัดน่าเที่ยว
6 จังหวัดน่าเที่ยว
6 จังหวัดน่าเที่ยว
6 จังหวัดน่าเที่ยว
6 จังหวัดน่าเที่ยว
6 จังหวัดน่าเที่ยว
6 จังหวัดน่าเที่ยว
6 จังหวัดน่าเที่ยว
6 จังหวัดน่าเที่ยว
6 จังหวัดน่าเที่ยว
6 จังหวัดน่าเที่ยว
6 จังหวัดน่าเที่ยว
6 จังหวัดน่าเที่ยว
6 จังหวัดน่าเที่ยว
6 จังหวัดน่าเที่ยว
6 จังหวัดน่าเที่ยว
6 จังหวัดน่าเที่ยว
6 จังหวัดน่าเที่ยว
6 จังหวัดน่าเที่ยว
6 จังหวัดน่าเที่ยว
6 จังหวัดน่าเที่ยว
6 จังหวัดน่าเที่ยว
6 จังหวัดน่าเที่ยว
6 จังหวัดน่าเที่ยว
6 จังหวัดน่าเที่ยว
6 จังหวัดน่าเที่ยว

More Related Content

What's hot

เสนอโครงงานคอมพิวเตอร์ ปีการศึกษา 2558
เสนอโครงงานคอมพิวเตอร์ ปีการศึกษา 2558เสนอโครงงานคอมพิวเตอร์ ปีการศึกษา 2558
เสนอโครงงานคอมพิวเตอร์ ปีการศึกษา 2558
mintra_duangsamorn
 
ตัวอย่างการกระทำผิดวินัย เรื่อง อำนาจหน้าที่มาพร้อมความรับผิดชอบ
ตัวอย่างการกระทำผิดวินัย เรื่อง อำนาจหน้าที่มาพร้อมความรับผิดชอบตัวอย่างการกระทำผิดวินัย เรื่อง อำนาจหน้าที่มาพร้อมความรับผิดชอบ
ตัวอย่างการกระทำผิดวินัย เรื่อง อำนาจหน้าที่มาพร้อมความรับผิดชอบ
Nayada Siri-oin
 
เทคโนโลยีสารสนเทศที่ถูกนำมาใช้ในการจัดการความรู้
เทคโนโลยีสารสนเทศที่ถูกนำมาใช้ในการจัดการความรู้เทคโนโลยีสารสนเทศที่ถูกนำมาใช้ในการจัดการความรู้
เทคโนโลยีสารสนเทศที่ถูกนำมาใช้ในการจัดการความรู้
กันตนา ช่วงชน
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ http://travelinygd.blogspot.com/
โครงงานคอมพิวเตอร์ http://travelinygd.blogspot.com/โครงงานคอมพิวเตอร์ http://travelinygd.blogspot.com/
โครงงานคอมพิวเตอร์ http://travelinygd.blogspot.com/
pntcz
 
วรสารเดือนเม..ย. 59 สพป เขต 2
วรสารเดือนเม..ย. 59  สพป เขต 2วรสารเดือนเม..ย. 59  สพป เขต 2
วรสารเดือนเม..ย. 59 สพป เขต 2
สำเริง ยิ้มดี
 
จุดเน้นเชิงนโยบายกระทรวงศึกษาธิการ 2560
จุดเน้นเชิงนโยบายกระทรวงศึกษาธิการ 2560จุดเน้นเชิงนโยบายกระทรวงศึกษาธิการ 2560
จุดเน้นเชิงนโยบายกระทรวงศึกษาธิการ 2560
ประชาสัมพันธ์ สพป.สตูล
 

What's hot (6)

เสนอโครงงานคอมพิวเตอร์ ปีการศึกษา 2558
เสนอโครงงานคอมพิวเตอร์ ปีการศึกษา 2558เสนอโครงงานคอมพิวเตอร์ ปีการศึกษา 2558
เสนอโครงงานคอมพิวเตอร์ ปีการศึกษา 2558
 
ตัวอย่างการกระทำผิดวินัย เรื่อง อำนาจหน้าที่มาพร้อมความรับผิดชอบ
ตัวอย่างการกระทำผิดวินัย เรื่อง อำนาจหน้าที่มาพร้อมความรับผิดชอบตัวอย่างการกระทำผิดวินัย เรื่อง อำนาจหน้าที่มาพร้อมความรับผิดชอบ
ตัวอย่างการกระทำผิดวินัย เรื่อง อำนาจหน้าที่มาพร้อมความรับผิดชอบ
 
เทคโนโลยีสารสนเทศที่ถูกนำมาใช้ในการจัดการความรู้
เทคโนโลยีสารสนเทศที่ถูกนำมาใช้ในการจัดการความรู้เทคโนโลยีสารสนเทศที่ถูกนำมาใช้ในการจัดการความรู้
เทคโนโลยีสารสนเทศที่ถูกนำมาใช้ในการจัดการความรู้
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ http://travelinygd.blogspot.com/
โครงงานคอมพิวเตอร์ http://travelinygd.blogspot.com/โครงงานคอมพิวเตอร์ http://travelinygd.blogspot.com/
โครงงานคอมพิวเตอร์ http://travelinygd.blogspot.com/
 
วรสารเดือนเม..ย. 59 สพป เขต 2
วรสารเดือนเม..ย. 59  สพป เขต 2วรสารเดือนเม..ย. 59  สพป เขต 2
วรสารเดือนเม..ย. 59 สพป เขต 2
 
จุดเน้นเชิงนโยบายกระทรวงศึกษาธิการ 2560
จุดเน้นเชิงนโยบายกระทรวงศึกษาธิการ 2560จุดเน้นเชิงนโยบายกระทรวงศึกษาธิการ 2560
จุดเน้นเชิงนโยบายกระทรวงศึกษาธิการ 2560
 

Similar to 6 จังหวัดน่าเที่ยว

กิจกรรมที่ 5 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่ 5 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์กิจกรรมที่ 5 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่ 5 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
anmor aunttt
 
การงาน.Doc
การงาน.Docการงาน.Doc
การงาน.Doc
Nonow612
 
ใบงานที่ 5 โครงร่างโครงงาน
ใบงานที่ 5 โครงร่างโครงงานใบงานที่ 5 โครงร่างโครงงาน
ใบงานที่ 5 โครงร่างโครงงาน
PhuNn Kmpkwp
 
2559 project
2559 project 2559 project
2559 project
Chanika Panyana
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์(บ้านถวาย)
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์(บ้านถวาย)แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์(บ้านถวาย)
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์(บ้านถวาย)
Kritsanapong Manoreaung
 
Legendmooncakesเพิ่มนะ
Legendmooncakesเพิ่มนะLegendmooncakesเพิ่มนะ
Legendmooncakesเพิ่มนะ
Visaka Ruankaew
 
2559 project ผ้าปักม้ง
2559 project ผ้าปักม้ง2559 project ผ้าปักม้ง
2559 project ผ้าปักม้ง
arisanoodee
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
AtichaSW
 
ขนมไทยขนมหวานคู่คนไทย คอม
ขนมไทยขนมหวานคู่คนไทย คอมขนมไทยขนมหวานคู่คนไทย คอม
ขนมไทยขนมหวานคู่คนไทย คอม
Kanyarat606
 
2559 project
2559 project 2559 project
แบบเสนอโครงร างโครงงานคอมพ วเตอร_
แบบเสนอโครงร างโครงงานคอมพ วเตอร_แบบเสนอโครงร างโครงงานคอมพ วเตอร_
แบบเสนอโครงร างโครงงานคอมพ วเตอร_nnnsb
 
มาทำความรู้จักเครื่องสำอาง
มาทำความรู้จักเครื่องสำอางมาทำความรู้จักเครื่องสำอาง
มาทำความรู้จักเครื่องสำอาง
ป๊ะป่าน ป๊ะป่าน
 
ใบงานที่6 พชรพร
ใบงานที่6 พชรพรใบงานที่6 พชรพร
ใบงานที่6 พชรพร
ป๊ะป่าน ป๊ะป่าน
 
ใบงานที่6 พชรพร
ใบงานที่6 พชรพรใบงานที่6 พชรพร
ใบงานที่6 พชรพร
ป๊ะป่าน ป๊ะป่าน
 
2560 project ของ...
2560 project ของ...2560 project ของ...
2560 project ของ...
Tai MerLin
 
2557 โครงงาน
2557 โครงงาน 2557 โครงงาน
2557 โครงงาน
Jiraphong Praphun
 
2559 project
2559 project 2559 project
2559 project
idontwannabeyourfriend
 
สบู่สมุนไพร
สบู่สมุนไพรสบู่สมุนไพร
สบู่สมุนไพร
Chanya Sangsuwanlert
 

Similar to 6 จังหวัดน่าเที่ยว (20)

กิจกรรมที่ 5 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่ 5 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์กิจกรรมที่ 5 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่ 5 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
การงาน.Doc
การงาน.Docการงาน.Doc
การงาน.Doc
 
ใบงานที่ 5 โครงร่างโครงงาน
ใบงานที่ 5 โครงร่างโครงงานใบงานที่ 5 โครงร่างโครงงาน
ใบงานที่ 5 โครงร่างโครงงาน
 
2559 project
2559 project 2559 project
2559 project
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์(บ้านถวาย)
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์(บ้านถวาย)แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์(บ้านถวาย)
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์(บ้านถวาย)
 
Legendmooncakesเพิ่มนะ
Legendmooncakesเพิ่มนะLegendmooncakesเพิ่มนะ
Legendmooncakesเพิ่มนะ
 
2559 project ผ้าปักม้ง
2559 project ผ้าปักม้ง2559 project ผ้าปักม้ง
2559 project ผ้าปักม้ง
 
ร.ร.บ้านตระกวน
ร.ร.บ้านตระกวนร.ร.บ้านตระกวน
ร.ร.บ้านตระกวน
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
ขนมไทยขนมหวานคู่คนไทย คอม
ขนมไทยขนมหวานคู่คนไทย คอมขนมไทยขนมหวานคู่คนไทย คอม
ขนมไทยขนมหวานคู่คนไทย คอม
 
2559 project
2559 project 2559 project
2559 project
 
แบบเสนอโครงร างโครงงานคอมพ วเตอร_
แบบเสนอโครงร างโครงงานคอมพ วเตอร_แบบเสนอโครงร างโครงงานคอมพ วเตอร_
แบบเสนอโครงร างโครงงานคอมพ วเตอร_
 
มาทำความรู้จักเครื่องสำอาง
มาทำความรู้จักเครื่องสำอางมาทำความรู้จักเครื่องสำอาง
มาทำความรู้จักเครื่องสำอาง
 
ใบงานที่6 พชรพร
ใบงานที่6 พชรพรใบงานที่6 พชรพร
ใบงานที่6 พชรพร
 
ใบงานที่6 พชรพร
ใบงานที่6 พชรพรใบงานที่6 พชรพร
ใบงานที่6 พชรพร
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 
2560 project ของ...
2560 project ของ...2560 project ของ...
2560 project ของ...
 
2557 โครงงาน
2557 โครงงาน 2557 โครงงาน
2557 โครงงาน
 
2559 project
2559 project 2559 project
2559 project
 
สบู่สมุนไพร
สบู่สมุนไพรสบู่สมุนไพร
สบู่สมุนไพร
 

More from Mongkon Khumpo

โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
Mongkon Khumpo
 
6 จังหวัดน่าเที่ยว
6 จังหวัดน่าเที่ยว6 จังหวัดน่าเที่ยว
6 จังหวัดน่าเที่ยว
Mongkon Khumpo
 
งานอาม
งานอามงานอาม
งานอาม
Mongkon Khumpo
 
กิจกรรมที่5 โครงร่างโครงงานเรื่อง 6 จังหวัดน่าเที่ยว
กิจกรรมที่5 โครงร่างโครงงานเรื่อง 6 จังหวัดน่าเที่ยวกิจกรรมที่5 โครงร่างโครงงานเรื่อง 6 จังหวัดน่าเที่ยว
กิจกรรมที่5 โครงร่างโครงงานเรื่อง 6 จังหวัดน่าเที่ยว
Mongkon Khumpo
 
กิจกรรมที่ 4
กิจกรรมที่ 4กิจกรรมที่ 4
กิจกรรมที่ 4
Mongkon Khumpo
 
ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์
ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์
ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์
Mongkon Khumpo
 
กิจกรรมที่2
กิจกรรมที่2กิจกรรมที่2
กิจกรรมที่2
Mongkon Khumpo
 
ความหมาย ความสำคัญและขอบข่ายของโครงงานคอมพิวเตอร์
ความหมาย ความสำคัญและขอบข่ายของโครงงานคอมพิวเตอร์ความหมาย ความสำคัญและขอบข่ายของโครงงานคอมพิวเตอร์
ความหมาย ความสำคัญและขอบข่ายของโครงงานคอมพิวเตอร์
Mongkon Khumpo
 
วิธีการสร้าง blog
วิธีการสร้าง blogวิธีการสร้าง blog
วิธีการสร้าง blog
Mongkon Khumpo
 
งาน พรบ คอมพิวเตอร์
งาน พรบ คอมพิวเตอร์งาน พรบ คอมพิวเตอร์
งาน พรบ คอมพิวเตอร์
Mongkon Khumpo
 
ใบงาน แบบสำรวจและประวัติของ-นายธนวัฒน์-สายสุดใจ
ใบงาน แบบสำรวจและประวัติของ-นายธนวัฒน์-สายสุดใจใบงาน แบบสำรวจและประวัติของ-นายธนวัฒน์-สายสุดใจ
ใบงาน แบบสำรวจและประวัติของ-นายธนวัฒน์-สายสุดใจ
Mongkon Khumpo
 
เราเองนะอิอิ
เราเองนะอิอิเราเองนะอิอิ
เราเองนะอิอิ
Mongkon Khumpo
 
แบบสำรวจนักเรีย
แบบสำรวจนักเรียแบบสำรวจนักเรีย
แบบสำรวจนักเรีย
Mongkon Khumpo
 
Work 03
Work 03Work 03

More from Mongkon Khumpo (14)

โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
6 จังหวัดน่าเที่ยว
6 จังหวัดน่าเที่ยว6 จังหวัดน่าเที่ยว
6 จังหวัดน่าเที่ยว
 
งานอาม
งานอามงานอาม
งานอาม
 
กิจกรรมที่5 โครงร่างโครงงานเรื่อง 6 จังหวัดน่าเที่ยว
กิจกรรมที่5 โครงร่างโครงงานเรื่อง 6 จังหวัดน่าเที่ยวกิจกรรมที่5 โครงร่างโครงงานเรื่อง 6 จังหวัดน่าเที่ยว
กิจกรรมที่5 โครงร่างโครงงานเรื่อง 6 จังหวัดน่าเที่ยว
 
กิจกรรมที่ 4
กิจกรรมที่ 4กิจกรรมที่ 4
กิจกรรมที่ 4
 
ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์
ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์
ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์
 
กิจกรรมที่2
กิจกรรมที่2กิจกรรมที่2
กิจกรรมที่2
 
ความหมาย ความสำคัญและขอบข่ายของโครงงานคอมพิวเตอร์
ความหมาย ความสำคัญและขอบข่ายของโครงงานคอมพิวเตอร์ความหมาย ความสำคัญและขอบข่ายของโครงงานคอมพิวเตอร์
ความหมาย ความสำคัญและขอบข่ายของโครงงานคอมพิวเตอร์
 
วิธีการสร้าง blog
วิธีการสร้าง blogวิธีการสร้าง blog
วิธีการสร้าง blog
 
งาน พรบ คอมพิวเตอร์
งาน พรบ คอมพิวเตอร์งาน พรบ คอมพิวเตอร์
งาน พรบ คอมพิวเตอร์
 
ใบงาน แบบสำรวจและประวัติของ-นายธนวัฒน์-สายสุดใจ
ใบงาน แบบสำรวจและประวัติของ-นายธนวัฒน์-สายสุดใจใบงาน แบบสำรวจและประวัติของ-นายธนวัฒน์-สายสุดใจ
ใบงาน แบบสำรวจและประวัติของ-นายธนวัฒน์-สายสุดใจ
 
เราเองนะอิอิ
เราเองนะอิอิเราเองนะอิอิ
เราเองนะอิอิ
 
แบบสำรวจนักเรีย
แบบสำรวจนักเรียแบบสำรวจนักเรีย
แบบสำรวจนักเรีย
 
Work 03
Work 03Work 03
Work 03
 

6 จังหวัดน่าเที่ยว

  • 1. 1 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ รหัสวิชา ง33201-33202 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 6 ปีการศึกษา 2560 ชื่อโครงงาน 6 จังหวัดน่าเที่ยวในภาคเหนือ ชื่อผู้ทาโครงงาน นาย มงคล คาโพธิ์ เลขที่ 38 ชั้น ม.6 ห้อง 11 นาย ณัฐดนัย อินทรจักร เลขที่ 39 ชั้น ม.6 ห้อง 11 ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2560 โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
  • 2. 2 ใบงาน การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์ คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้ ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย) 6 จังหวัดน่าเที่ยวในภาคเหนือเมืองไทย ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ) 6 provinces in the northern Thailand ประเภทโครงงาน โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา (Educational Media) ชื่อผู้ทาโครงงาน 1.นาย มงคล คาโพธิ์ เลขที่ 38 ชั้น ม.6 ห้อง 11 2.นาย ณัฐดนัย อินทรจักร เลขที่ 39 ชั้น ม.6 ห้อง 11 ชื่อที่ปรึกษา ชื่อที่ปรึกษาร่วม ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2560 ที่มาและความสาคัญของโครงงาน (อธิบายถึงที่มา แนวคิด และเหตุผล ของการทาโครงงาน) เมืองไทยมีความเป็นมาอันยาวนานมากกว่า 700 ปี ด้วยประวัติศาสตร์ และทรัพย์สิน ทางความรู้อันมีค่ามากมายที่เราต่างสืบทอดต่อๆกันมาจากบรรพบุรุษ เอกสารเล่มนี้จะพาท่าน ไปสู่การไขความรู้และทาความรู้จักกับส่วนหนึ่งของเมืองไทยในถิ่นล้านนาว่ามีอะไรน่าสนใจบ้างในท้องถิ่นที่เราอาศัย อยู่ ทั้ง 6 จังหวัดในภาคเหนือของไทยนั้น มีประวัติศาสตร์อันยาวนานควบคู่มากับ ประวัติศาสตร์ชาติไทยมาโดยตลอด เรียกได้ว่ามีความเก่าแก่ที่มากล้น ทุกจังหวัดที่จะได้กล่าวถึงนี้ ล้วนแล้วแต่เคยเป็นนครรัฐอันเป็นอิสระมาก่อนทาให้มีเรื่องราวที่เป็นเอกลักษณ์ของตนเองในแต่ละ จังหวัดบอกเล่าเรื่องราวออกมาผ่านประวัติศาสตร์อันยาวนาน วัตถุประสงค์ (สิ่งที่ต้องการในการทาโครงงาน ระบุเป็นข้อ) 1. นาเสนอข้อมูลเรื่องราวและประวัติของแต่ละจังหวัดทั้ง 6 จังหวัด 2. ได้รู้ข้อมูลการแบ่งเขตการปกครอง การบริหารส่วนท้องถิ่น 3. ชี้ชวนให้เกิดการท่องเที่ยวภายในจังหวัดต่างๆด้วยสถานที่ และแหล่งท่องเที่ยวต่างๆที่น่าสนใจ มากมาย
  • 3. 3 ขอบเขตโครงงาน (คุณลักษณะ ขอบเขต เงื่อนไขและข้อจากัดของการทาโครงงาน) 1. จ.เชียงใหม่ - ประวัติ - การแบ่งการปกครอง - แหล่งท่องเที่ยว 2. จ.เชียงราย- ประวัติ - การแบ่งการปกครอง - แหล่งท่องเที่ยว 3. จ.ลาพูน- ประวัติ - การแบ่งการปกครอง - แหล่งท่องเที่ยว 4. จ.ลาปาง- ประวัติ - การแบ่งการปกครอง - แหล่งท่องเที่ยว 5. จ.แม่ฮ่องสอน- ประวัติ - การแบ่งการปกครอง - แหล่งท่องเที่ยว 6. จ.อุตรดิตถ์- ประวัติ - การแบ่งการปกครอง - แหล่งท่องเที่ยว หลักการและทฤษฎี (ความรู้ หลักการ หรือทฤษฎีที่สนับสนุนการทาโครงงาน) จ.เชียงใหม่ ประวัติและความเป็นมา เมืองเชียงใหม่ มีชื่อปรากฏในตานานว่า "นพบุรีศรีนครพิงค์เชียงใหม่" ซึ่งเป็นราชธานีของอาณาจักรล้านนาสร้างขึ้นใน ปี พ.ศ. 1839 โดยพญามังรายในอดีตเชียงใหม่มีฐานะเป็นเมืองหลวงของราชอาณาจักรนครรัฐอิสระ ชื่อว่า อาณาจักร ล้านนา ซึ่งปกครองโดยกษัตริย์ราชวงศ์มังราย ประมาณ 261 ปี (ระหว่าง พ.ศ. 1839-พ.ศ. 2101) แต่ต่อมาในปี พ.ศ.2101 เชียงใหม่ได้ เสียเมืองให้ แก่พระเจ้าบุเรงนองพระมหากษัตริย์พม่า และได้ ถูกปกครองโดยพม่ามานานกว่า สองร้อยปี จนถึงสมัยสมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี จึงได้ มีการทาสงครามเพื่อขับไล่พม่าออกจากเมืองเชียงใหม่และเชียง แสนได้สาเร็จโดยการนาของเจ้ากาวิละและพระยาจ่าบ้านหลังจากนั้นพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก มหาราช ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ สถาปนาเจ้ากาวิละขึ้นเป็นพระเจ้าบรมราชาธิบดีกาวิละ โดยให้ปกครองหัวเมือง ฝ่ายเหนือในฐานะประเทศราชของกรุงรัตนโกสินทร์ และราชวงศ์ทิพย์จักราธิวงศ์ (ราชวงศ์เจ้าเจ็ดตน) ซึ่งเป็นเชื้อสาย ของพระเจ้าบรมราชาธิบดีกาวิละ ก็ได้ ปกครองเมืองเชียงใหม่และหัวเมืองต่าง ๆ สืบต่อมา และเปลี่ยนชื่อเมืองเป็น “รัตนติงสาอภินวบุรี” จังหวัดเชียงใหม่แบ่งเขตการปกครองออกเป็น 25 อาเภอ 204 ตาบล 2,066 หมู่บ้า น ซึ่งอาเภอทั้ง 25 อาเภอ ประเพณีของเชียงใหม่ นับจากอดีต ชีวิตของชาวล้านนาผูกพันอยู่กับพุทธศาสนาซึ่งจะเห็นได้จากการดาเนินชีวิต และสถาบันทางศาสนา ในชุมชน รวมทั้งระบบหัววัด ซึ่งมีการรวมกลุ่มของวัดต่าง ๆ ไม่ว่าใกล้ หรือไกลกัน และคนในชุมชนหนึ่งชักชวน คนอีกชุมชนหนึ่งมาทาบุญที่วัดของตนเป็นการเชื่อมความสัมพันธ์กัน ขณะที่พุทธศาสนามีส่วนสัมพันธ์กับ ชีวิตของคนเมืองอย่างลึกซึ้ง แต่ความเชื่อดั้งเดิมเรื่องผีปู่ย่าและผีเสื้อเมือง ผี เจ้าเมืองก็มีปะปนอยู่ จนแยกกันไม่ออก ชาวล้านนาสามารถนาทั้งสองอย่างมาผสมผสานกันได้ อย่างกลมกลืน ใน งานพิธีและประเพณีต่าง ๆ ซึ่งจะพบได้ ในปัจจุบัน ประเพณีและงานพิธีที่สาคัญในรอบปี ของชาวเชียงใหม่มีอยู่มากมาย อาทิ ประเพณีสงกรานต์ ประเพณีเข้าอินทขีล ประเพณีลอยโคมลอยโขมด ประเพณีสรงน้าพระธาตุจอมทอง และพิธีเลี้ยงผีปู่และย่า เป็นต้น
  • 4. 4 ประเพณีสงกรานต์ ประเพณีสงกรานต์เป็นงานที่ยิ่งใหญ่ของชาวล้านนา เนื่องจากเป็นช่วงเวลาเปลี่ยนศักราชใหม่ และขอสิ่งศักดิ์สิทธิ์ ทั้งหลายให้ปัดเป่าทุกข์โศกโรคภัยให้ล่วงไปในปีเก่าพร้อมทั้งเตรียมร่างกายและจิตใจให้สดใสรับปีใหม่ โดยจะเริ่มจัด ขึ้นตั้งแต่วันที่ 13 ถึงวันที่ 18 เม.ย. ของทุกปี แต่ชาวล้านนาถือวันที่ 15 เม.ย. เป็นวันเปลี่ยนศักราชใหม่ ต่างจากภาคกลาง และในระยะเวลา 6 วันนี้จะประกอบพิธีหลายอย่าง วันที่ 13 เม.ย. ถือเป็นวันสังขารล่อง (วันสิ้นสุดปี เก่า) ส่วนใหญ่ชาวบ้านจะยิงปืน จุดประทัด ก่อนสว่าง เพื่อขับไล่ เสนียดจัญไร แล้วเก็บกวาดบ้านเรือน หิ้งพระ วันที่ 14 เม.ย. เป็นวันที่เรียกกันว่า "วันเนา" หรือ "วันเน่า" วันนี้ชาวเชียงใหม่จะทาแต่สิ่งที่เป็นสิริมงคล พร้อมทั้ง ตระเตรียมอาหาร คาวหวาน เครื่องไทยทาน เพื่อทางานบุญในวันสงกรานต์ และไปขนทรายเข้าวัด วันที่ 15 เรียกว่า "วันพญาวัน" ถือเป็นวันเริ่มศักราชใหม่ ชาวเชียงใหม่จะไปทาบุญตักบาตรที่วัดและถวายอาหาร พระที่เรียกว่า "ทานขันข้าว" เพื่ออุทิศแก่ผู้ล่วงลับ และสรงน้าพระหลังจากนั้นจึงนาขันข้าวตอก ดอกไม้ ธูปเทียน น้าขมิ้น ส้มป่อย หมากพลู เมี่ยง หรืออาจมีเครื่องนุ่งห่ม ไปรดน้าดาหัวผู้ใหญ่ ส่วนวันที่ 16-18 เม.ย. เรียกว่า "วันปากปี ปากเดือน ปากวัน" จะเป็นวันประกอบพิธีกรรมสักการะต่อวิญญาณ ศักดิ์สิทธิ์ทั่วไป ประเพณีเข้าอินทขีล อินทขีล เป็นชื่อของเสาหลักเมืองของชาวเชียงใหม่ เดิมประดิษฐานอยู่ ณ วัดสะดือเมือง หรือวัดอินทขีล กลางเมือง เชียงใหม่ แต่ปัจจุบันย้ายไปไว้ที่วัดเจดีย์หลวงในสมัยของพระยากาวิละ และได้ บูรณปฏิสังขรณ์ใหม่เป็นเสาปูน การจัดงานประเพณีเข้าอินทขีล จัดขึ้นในปลายเดือน 8 ต่อต้นเดือน 9 (พฤษภาคม-มิถุนายน) ซึ่งชาวบ้านเรียกว่า วันเดือน 8 เข้า เดือน 9 ออก เดิมประเพณีนี้เจ้าผู้ครองนครจะจัดขึ้นเพื่อสังเวยเทพยดาอารักษ์ บูชากุมภัณฑ์ และมีพิธีเข้าทรงผีเจ้านาย เพื่อ สอบถามว่า ฝนฟ้าจะอุดมสมบูรณ์และชะตาบ้านเมืองจะดีหรือไม่ หากชะตาของบ้านเมืองไม่ดี ก็จะจัดพิธีสืบ ชะตาเมืองเพิ่มขึ้นด้วยและปัจจุบันได้เพิ่มการทาพิธีทางพุทธศาสนาเข้ามาอีกอย่างหนึ่ง โดยการแห่พระพุทธรูป คันธารราษฎร์ (พระเจ้าฝนแสนห่า) รอบเมือง และจะนามาประดิษฐาน ณ วัดเจดีย์หลวง เพื่อให้ชาวเมืองสรงน้า จากนั้นพระสงฆ์ 9 รูป จะเจริญพระพุทธมนต์บูชาเสาอินทขีล ซึ่งฝังอยู่ใต้ดินการประกอบพิธีนี้ เพื่อมุ่งเสริมสร้าง ขวัญและกาลังใจของชาวเมืองก่อนที่จะเริ่มต้นฤดูกาลเพาะปลูก ประเพณีสรงน้าพระธาตุจอมทอง วัดพระธาตุจอมทองวรวิหาร เป็นศาสนสถานเก่าแก่ที่สาคัญตั้งอยู่บนเนินสูงราว 10 เมตร ที่เรียกว่า "ดอยจอมทอง" และมีเจดีย์ซึ่งเป็นที่ประดิษฐานพระทักษิณโมลีธาตุ (ส่วนที่เป็นพระเศียรด้านขวาของ สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า) พระบรมสารีริกธาตุจอมทองนั้นประดิษฐานอยู่ในพระโกศ 5 ชั้น มีจานวน 1 องค์ ขนาดเท่าเมล็ดถั่ว เขียว มีสีขาวนวลและออกน้าตาลคล้ายสีดอกพิกุลแห้งบรรจุไว้ในเจดีย์ซึ่ง จะมีการอัญเชิญออกมาให้ ประชาชนได้ สักการะและสรงน้า 2 ครั้ง ในทุกปี คือวันที่พระบรมสารีริกธาตุเข้าพรรษาและออกพรรษา วันขึ้น 15 ค่า เดือน 9 ของแต่ละปีจะเป็นวันที่พระบรมสารีริกธาตุเข้าพรรษา พระภิกษุจะอัญเชิญพระ บรมสารีริกธาตุออกจากพระโกศ 5 ชั้นมาประดิษฐานในพระโกศแก้วใส แล้วแห่ไปทาพิธีที่โบสถ์ ใน ระหว่างทางชาวบ้านจะโยนข้าวตอกดอกไม้ไปยังพระโกศ เพื่อถวายเป็นสักการะ เมื่อทาพิธีเสร็จก็จะแห่
  • 5. 5 จากโบสถ์ไปยังหอสรงข้างวิหาร หอสรงนี้จะมีรางน้าเป็นรูปตัวนาคสาหรับใช้สรงน้าและเดิมจะใช้ น้าแม่ กลางผสมด้วยดอกคาฝอยเป็นน้าสาหรับสรงแต่ปัจจุบัน ใช้ น้าสะอาดธรรมดา เสร็จแล้วจึงอัญเชิญเข้า จาพรรษาในพระโกศ 5 ชั้น ตามเดิม และกลางคืนพระภิกษุจะสวดเจริญพระพุทธมนต์เป็นอันเสร็จพิธี วันขึ้น 15 ค่า เดือน 5 ของแต่ละปี จะเป็นวันที่พระบรมสารี ริกธาตุออกพรรษา จะมีประเพณีพิธีการ เช่นเดียวกับวันที่พระบรมสาริกธาตุเข้าพรรษา แต่จะเป็นพิธีเล็กกว่าชาวบ้านไม่ค่อยมาร่วมสรงน้ามากนัก ประเพณีลอยโคมและลอยโขมด เป็นประเพณีการทาบุญและสนุกสนานร่าเริง หลังจากเหน็ดเหนื่อยกับงานในท้องไร่ท้องนาของชาวล้านนา โดยจะจัด ให้มีขึ้นในวันขึ้น 15 ค่า เดือนยี่ หรือเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า "วันยี่เป็ง" โดยการลอยโคมในเวลากลางวันและกลางคืน และลอยโขมดหรือลอยกระทงเวลา กลางคืน วันขึ้น 14 ค่า เดือนยี่ ตามวัดวาอารามและบ้านเรือน จะประดับตกแต่งด้วยต้นกล้วย อ้อย โคมไฟ และดอกไม้ นานา ชนิด โดยสร้างขึ้นเป็นประตูป่า เพื่อเตรียมในการตั้งธรรมหลวง (เทศน์มหาชาติ) ในวันขึ้น 15 ค่า วันขึ้น 15 ค่า เดือนยี่ ชาวบ้านจะไปทาบุญตักบาตรและฟังเทศมหาชาติโดยเป็นการเทศน์แบบพื้นเมือง ที่พระสงฆ์จะ ขึ้นไปเทศน์บนธรรมมาสน์บุษบกและในตอนค่าชาวบ้านจะนาผางผะติ๊ด (ถ้วยประทีป) มาที่วัดเพื่อบูชาพระรัตนตรัย และฟังเทศน์และการจุดผางผะติ้ดนี้คนล้านนาถือว่าได้ บุญมาก เมื่อเสร็จจากการบูชาผางผะติ้ดก็จะเป็นการจุดโคมไฟ หรือลอยโคม และลอยโขมดหรือลอยกระทงพร้อมกับเล่นดอกไม้ ไฟ การปล่อยโคมลอยมี 2 ลักษณะ 1. ปล่อยโคมลอยในตอนกลางวัน เรียกว่า ว่าว โดยทาโคมด้วยกระดาษสีแล้วให้ลอยสู่ท้องฟ้าด้วยความร้อนคล้าย บอลลูนเพื่อปล่อยทุกข์โศกและสิ่งไม่ดีต่าง ๆ ไป 2. ปล่อยโคมลอยในเวลากลางคืน เรียกว่า โคมไฟ โดยใช้ไม้พันด้ายเป็นก้อนกลม ชุบน้า มันยางหรือน้ามันขี้โล้ แขวน ปากโคมแล้วจุดไฟ ปล่อยขึ้นสู่ท้องฟ้า เพื่อเป็นการบูชาพระเกศแก้วจุฬามณีบนสวรรค์ สาหรับการลอยโขมดหรือการลอยกระทงของล้านนา จัดขึ้นในวันขึ้น 15 ค่า เดือนยี่ เช่นเดียวกัน ที่เรียกว่า ลอยโขมด นั้น เนื่องจากกระทงเมื่อจุดเทียนแล้วปล่อยลงน้า จะมีแสงสะท้อนกับเงาน้าวับแวมดูคล้ายแสงของผีโขมด ชาวล้านนาจะลอยกระทงเล็ก ๆ กับครอบครัว เพื่อนฝูง ในวันขึ้น 15 ค่า ส่วนกระทงใหญ่ที่รวมกันจัดทานิยมลอยใน วันแรม 1 ค่า กระทงเล็กของชาวเชียงใหม่แต่เดิมใช้กาบมะพร้าวที่มีลักษณะโค้งงอเหมือนเรือเป็นกระทงแล้วนากระดาษแก้วมา ตกแต่งเป็นรูปนก วางดอกไม้ และประทีปไว้ ภายใน พิธีเลี้ยงผีปู่แสะย่าแสะ เป็นพิธีที่ชาวเชียงใหม่ทามาแต่ในอดีตเพื่อสังเวยเครื่องเซ่นแก่ผีปู่แสะย่าแสะ ซึ่งเชื่อกันว่าเป็นยักษ์ชอบกินเนื้อคน และจะทาพิธีขึ้นในวันขึ้นหรือแรม 14 ค่า เดือน 9 ที่เชิงป่าดอยคาด้านตะวันออกของตาบลแม่เหียะเป็นประจาทุกปี และชาวบ้านจะต้องร่วมกันทาพิธีฆ่าควายเซ่นสังเวยหากไม่ทาพิธีนี้จะทาให้บ้านเมืองไม่สงบสุขเกิดภัยพิบัติและในพิธี เลี้ยงจะมีการเข้าทรงเจ้านายเพื่อพยากรณ์ถึงความเป็นอยู่และความอุดมสมบูรณ์ของบ้านเมืองด้วย พิธีนี้ได้เลิกไปเมื่อ เชียงใหม่ตกเป็นของพม่าจนถึงสมัยสงครามมหาเอเชียบูรพา จึงได้รื้อฟื้นขึ้นอีก
  • 6. 6 ประเพณีการทาบุญสลากภัตต์ การทาบุญนี้เดิมชาวบ้านเรียกว่า "กิ๋น สะลากฮากไม้ " ปัจจุบันเรียก "ทานสลาก" หรือ "ทาบุญสลาก" ทาขึ้นที่วัดเชียง มั่นในวัน ขึ้น 15 ค่า เดือน 12 เหนือ วัดเจดีย์หลวง ในวันแรม 8 ค่า เดือน 12 เหนือ และวัดพระสิงห์ ในวันแรม 15 ค่า เดือน 12 เหนือ สมัยก่อนไม่มีการเลี้ยงข้าวปลาอาหารเช่นปัจจุบัน คือ เมื่อพระสงฆ์หรือสามเณรจับสลากมากน้อยเพียงใด ก็ขบฉัน เฉพาะอาหารเท่าที่บอกในสลากเท่านั้น การจับสลากภัตต์มี 2 วิธี คือ จับเส้นและจับเบอร์ การจับเส้นเป็นวิธีเก่าคือเขียนข้อความการทาบุญสลากและชื่อผู้ ศรัทธา ลงในแผ่นกระดาษแข็ง ใบตาล ใบลาน หรือวัตถุอื่น ใดเท่ากับจานวนของไทยทานเป็นการอุทิศส่วนกุศลแก่ผู้ ล่วงลับและเพื่อเป็นบุญกุศลต่อตนเอง โดยการนาไปกองรวมกันในโบสถ์หรือวิหารที่จัดไว้แล้วให้พระเณรมาจับตาม จานวนที่กาหนด ส่วนสลากที่เหลือก็ถวายแก่พระพุทธ จากนั้นชาวบ้านจึงถวายของตามชื่อเส้นของตน หลังจากพระ ให้ ศีลให้พรแล้วจึงรับเส้นของตนไปเผาพร้อมทั้งกรวดน้าอุทิศ ส่วนกุศลให้ผู้ตายเป็นอันเสร็จพิธีส่วนวิธีจับเบอร์นั้น เป็นที่นิยมกันมากกว่าวิธีจับเส้น มีวิธีการคือ ทาเบอร์ของไทยทานเท่ากับจานวนพระเณร แล้วมีวิธีจับเช่นเดียวกับการ จับเส้น ประเพณีการเลี้ยงขันโตก ขันโตกเป็นภาชนะสาหรับใส่อาหารของชาวเหนือทาด้วยไม้สักทาด้วยหางสีแดง สูง 8-10 นิ้ว มีขาไม้สักกลึงเป็นรูป กลมตังบนวงล้อรับอีกอันหนึ่งขันโตกจะกว้างประมาณ 10-30 นิ้วสมัยโบราณคนพื้นเมืองนิยมใช้ขันโตกสาหรับใส่ อาหารรับประทานในครัวเรือน แต่ความนิยมใช้ค่อยเสื่อมลงเมื่อบ้านเมืองเจริญขึ้นและคนหันไปนิยมของใช้ จาก ต่างประเทศแทนขันโตกจึงใช้เฉพาะเป็นธรรมเนียมในการต้อนรับแขกเมือง และบุคคลสาคัญเท่านั้น แหล่งท่องเที่ยว อุทยานแห่งชาติดอยอินทนนท์ อุทยานแห่งชาติดอยอินทนนท์ ประกาศเป็นอุทยานฯ เมื่อ พ.ศ.2515 ประกาศเป็นอุทยานฯ เป็นลาดับที่ 6 ของ ประเทศไทย มีพื้นที่ 482.4 ตารางกิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ในเขตอาเภอจอมทอง อาเภอแม่แจ่มอาเภอแม่วาง และ กิ่งอาเภอดอยหล่อ จังหวัดเชียงใหม่ ดอยอินทนนท์แต่เดิมดอยนี้มีชื่อว่า "ดอยหลวง" หรือ "ดอยอ่างกา" ดอยหลวง มา จากขนาดของดอยที่ใหญ่มาก ชาวบ้านจึงเรียกกันว่า "ดอยหลวง" (หลวง: เป็นภาษาเหนือ แปลว่า ใหญ่) ดอยอ่างกา มีเรื่องเล่าว่า ห่างจากยอดดอยไปทางทิศตะวันตกประมาณ 300 เมตร มีหนองน้าแห่งหนึ่งลักษณะเหมือนอ่าง ฝูงกา จานวนมากมายมักพากันไปเล่นน้าที่หนองน้าแห่งนี้ จึงพากันเรียกว่า "อ่างกา" และภูเขาขนาดใหญ่แห่งนั้นก็เลยเรียก กันว่า "ดอยอ่างกา" แต่ก็มีบางกระแสกล่าวว่า คาว่า "อ่างกา" นั้น แท้จริงแล้วมาจากภาษาปกาเกอญอ (กะเหรี่ยง) แปลว่า "ใหญ่" เพราะฉะนั้นคาว่า "ดอยอ่างกา" จึงแปลว่าดอยที่มี ความใหญ่นั่นเอง ดอยอินทนนท์ อดีตกาลก่อนป่าไม้ทางภาคเหนืออยู่ในความควบคุมของเจ้าผู้ครองนครต่าง ๆ สมัย พระเจ้าอินทวิชยานนท์ เจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่ (องค์สุดท้าย) พระองค์ให้ความสาคัญกับป่าไม้อย่างมาก โดยเฉพาะ ป่าในบริเวณดอยหลวง ทรงรับสั่งว่า หากสิ้นพระชนม์ลงให้นาอัฐิบางส่วนขึ้นไปสร้างสถูปบรรจุไว้บนดอย ดอยนี้จึงมี นามเรียกขานว่า "ดอยอินทนนท์" แต่มีข้อมูลบางกระแสกล่าวว่า ที่ดอยหลวงเรียกว่า ดอยอินทนนท์ นั้น เป็นเพราะ เนื่องจากว่าเป็นการให้เกียรติ เจ้าผู้ครองนคร จึงตั้งชื่อจากคาว่า "ดอยหลวง" ซึ่งเป็นชื่อที่มีความซ้ากับดอยหลวง ของ อาเภอเชียงดาว แต่ภายหลังมีชาวเยอรมัน มาทาการสารวจและวัด ซึ่งปรากฏผลว่า ดอยหลวง หรือดอยอ่างกา ที่
  • 7. 7 อาเภอแม่แจ่มมีความสูงกว่า ดอยหลวง ของอาเภอเชียงดาว จึงเปลี่ยนชื่อใหม่ เพื่อไม่ให้มีความซ้าซ้อนกัน และเรียก ดอยแห่งนี้ว่า "ดอยอินทนนท์" อุทยานแห่งชาติดอยอินทนนท์ เดิมเป็นส่วนหนึ่งของ "ป่าสงวนแห่งชาติดอยอินทนนท์" ต่อมาได้ถูกสารวจและจัดตั้งเป็นหนึ่งในสิบสี่ ป่าที่ทางรัฐบาลให้ดาเนินการเป็นอุทยานแห่งชาติ ซึ่งครั้งแรกกรมป่าไม้ เสนอให้กระทรวงเกษตรและสหกรณ์กาหนดพื้นที่อุทยานแห่งชาติดอยอินทนนท์ให้มีพื้นที่ 1,000 ตร.กม. หรือ ประมาณ 625,000 ไร่ แต่เนื่องจากพื้นที่ชุมชนต่าง ๆ อาศัยอยู่ก่อนหลายชุมชน จึงทาการสารวจใหม่ และกันพื้นที่ที่ ราษฎร อยู่มาก่อน และคาดว่าจะมีปัญหาในอนาคตออก จึงเหลือพื้นที่ที่จะประกาศเป็นอุทยานแห่งชาติดอยอิน ทนนท์ 270 ตร.กม. หรือประมาณ 168,750 ไร่ ประกาศลงวันที่ 2 ตุลาคม 2515 และในวันที่ 13 มิถุนายน 2521 รัฐบาลประกาศพื้นที่เพิ่มอีกเป็น 482.4 ตร.กม. อาเภอจอมทอง อาเภอแม่แจ่ม อาเภอแม่วาง และกิ่งอาเภอดอยหล่อ มีความสูงจากระดับน้าทะเลปานกลาง 400-2,565.3341 เมตร เป็นภูเขาที่สูงที่สุดในประเทศไทย สาหรับ วัตถุประสงค์ในการกาหนดที่ดินให้เป็นอุทยานแห่งชาติ ตาม พ.ร.บ. อุทยานแห่งชาติ พ.ศ. 2504 หมวด 1 มาตรา 6 ดังนี้ "เมื่อรัฐบาลเห็นสมควรกาหนดบริเวณที่ดินแห่งใดมีสภาพธรรมชาติเป็นที่น่าสนใจ ให้คงอยู่ในสภาพธรรมชาติเดิม เพื่อสงวนไว้เป็นประโยชน์แก่การศึกษาและรื่นรมย์ของประชาชน ก็ให้มีอานาจกระทาโดยประกาศพระราชกฤษฎีกา ด้วยบริเวณที่กาหนดนี้เรียกว่า อุทยานแห่งชาติ" จ.เชียงราย ประวัติ เชียงราย ดินแดนแห่งขุนเขา เป็นจังหวัดที่อยู่เหนือสุดของประเทศไทย เป็นเมืองเก่าแก่ที่มีประวัติศาสตร์ยาวนาน ตั้งแต่สมัยเชียงแสนของพญามังราย ผู้ก่อตั้งเมืองเชียงรายบนพื้นที่ราบลุ่มแม่น้ากก อุดมสมบูรณ์ไปด้วยป่าไม้บนดอย สูงที่สลับซับซ้อน เป็นแหล่งกาเนิดต้นน้าและน้าตกอันงดงามหลายแห่ง และมีเทือกเขาผีปันน้าที่เป็นพรมแดนกั้น ประเทศสหภาพพม่าจนถึงด้านทิศเหนือ อีกทั้งเป็นจุดแรกที่แม่น้าโขงไหลผ่านประเทศไทย เป็นพรมแดนกั้นกลาง ระหว่างประเทศไทยกับประเทศสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว เชียงรายมีประชากรหลายเชื้อชาติ ทั้งชาวไทยพื้นราบ ชาวไทยภูเขา และชาวจีนฮ่อที่อพยพเข้ามาอาศัยอยู่บนดอยสูง แต่ละชนชาติจะมีประเพณี วัฒนธรรม และวิถีชีวิตที่มีเอกลักษณ์ เป็นเสน่ห์อีกอย่างที่ทาให้เชียงรายได้รับความสนใจ จากนักท่องเที่ยวทั้งชาวไทยและชาวต่างประเทศ ทิศเหนือ ติดต่อกับสหภาพพม่า ทิศใต้ ติดต่อกับจังหวัดพะเยา ทิศตะวันออก ติดต่อกับสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว ทิศตะวันตก ติดต่อกับจังหวัดเชียงใหม่ จังหวัดเชียงราย (คาเมือง: ;พม่า: ) เป็นจังหวัดที่ตั้งอยู่ในภาคเหนือของประเทศไทย เป็นที่ตั้งของ เมืองที่มีความสาคัญทางประวัติศาสตร์ตั้งแต่ยุคก่อตั้งอาณาจักรล้านนา เช่น เมืองเชียงแสน เมืองเชียงราย เมืองเชียง ของ เมืองเธริง หรือ เมืองเทิง [3] เชียงรายเดิมก่อน"ยุคเก็บผักใส่ซ้า เก็บข้าใส่" สมัยพระเจ้ากาวิละ ชนชาติที่เป็นต้น กาเนิดของคนเชียงรายดั้งเดิม (อาจรวมถึงคนในภาคเหนือทั้งหมด) ก่อนมีแคว้นโยนกซึ่งเป็นรัฐของชาวไทยวน หรือที่ เรียกว่าคนเมือง กลุ่มชาติพันธุ์ไท-กะได หรือ ตระกูลภาษาไท-กะได ก็คือชนชาติจีนแถบมณฑลยูนนาน ที่อพยพลงมา ตั้งรกรากนั่นเอง ได้แตกเป็นกลุ่มหลายกลุ่มชนเผ่า จึงไม่แปลกที่คนเมืองจะมีพื้นฐานรากเหง้าเป็นคนจีนยูนนาน ปัจจุบันจังหวัดเชียงรายแบ่งการปกครองออกเป็น 18 อาเภอ มีแม่น้ากก แม่น้าอิง และแม่น้าโขง เป็นแม่น้าสายสาคัญ
  • 8. 8 ทาเลที่ตั้งของจังหวัดเชียงรายอยู่บริเวณรอยต่อระหว่าง 3 ประเทศ คือ ประเทศไทย ประเทศลาว และประเทศพม่า หรือรู้จักกันในนามของดินแดนสามเหลี่ยมทองคาที่เป็นแหล่งผลิตฝิ่นที่สาคัญของโลก ปัจจุบัน จังหวัดเชียงรายได้รับ ความสนใจในฐานะประตูสู่พม่า ลาว และจีนตอนใต้[4] ผ่านทางหลวงเอเชียสาย 2 และทางหลวงเอเชียสาย 3 จังหวัดเชียงราย เป็นจังหวัดมีประวัติศาสตร์อันยาวนาน เคยเป็นเมืองหลวงของอาณาจักรล้านนาแต่โบราณกาล ประมาณ 750 ปีที่ผ่านมา มีอายุเก่าแก่กว่าจังหวัดเชียงใหม่ไปโดยประมาณ 50 กว่าปี มี"คาเมือง" เป็นภาษาท้องถิ่น มีเอกลักษณ์เฉพาะตัวทั้งด้านศิลปะ ประเพณีวัฒนธรรมที่มีความหลากหลายทางชาติพันธุ์ในรูปแบบล้านนา ไทลื้อ ไท ใหญ่ ไทเขิน จากสิบสอบปันนาผสมผสาน เข้าด้วยกัน และมีแหล่งท่องเที่ยวทั้งทางธรรมชาติ ประวัติศาสตร์และ วัฒนธรรมเป็นจานวนมาก ซึ่งในอนาคต จังหวัดเชียงราย กาลังพิจารณาวางแผนโครงการวางผังเมืองเป็นนคร สร้างสรรค์ และ ถ้าเป็นไปได้ จังหวัดเชียงรายอาจจะกาลังพิจารณาสมัครเข้าเป็นนครสร้างสรรค์ของยูเนสโก รองถัด มาจากจังหวัดเชียงใหม่ และจังหวัดลาปาง ด้วยเช่นกัน การปกครองแบ่งเป็น 18 อาเภอ 124 ตาบล 1,510 หมู่บ้าน แหล่งท่องเที่ยว 1. สิงห์ ปาร์ค สิงห์ ปาร์ค (Singha Park) หรือที่หลาย ๆ คนเรียกว่า ไร่บุญรอด ตั้งอยู่ริมถนนสายเด่นห้า-ดงมะดะ อาเภอ เมือง ห่างจากเขตชุมชนเมืองเชียงราย ประมาณ 9 กิโลเมตร ในพื้นที่ประมาณ 8,000 ไร่ ครอบคลุม 4 ตาบล ได้แก่ ตาบลดอยฮาง ตาบลรอบเวียง ตาบลป่าอ้อดอนชัย และตาบลแม่กรณ์ ความสูงของพื้นที่เฉลี่ย 450 เมตร เหนือจาก ระดับน้าทะเล ในฤดูหนาวอากาศค่อนข้างเย็นสบาย สภาพของพื้นที่โดยทั่ว ๆ ไปเป็นที่ลาด-เนินเขา มีภูเขาเล็ก ๆ พื้นที่มีความลาดเทปานกลาง เป็นพื้นที่ เพาะปลูกพื้นหลากหลายชนิด เช่น ชาอู่หลงสายพันธุ์จินซวน (Jin Xuan) หรือที่คนไทยรู้จักในชื่อ ชาอู่หลงเบอร์ 12 เป็นชาสายพันธุ์ไต้หวัน ปลูกบนพื้นที่กว่า 600 ไร่ จานวนกว่า 761,000 ต้น พื้นที่ปลูกยางพารากว่า 2,700 ไร่ พุทรา พันธุ์ซื่อหมี่ กว่า 100 ไร่, สตรอว์เบอร์รี อีกหนึ่งสุดยอดที่มาพร้อมลมหนาว ซึ่งที่ไร่บุญรอดจะปลูกสตรอว์เบอร์รีใน พื้นที่ 4 ไร่ สายพันธุ์พระราชทาน 80 เป็นเกษตรกรรมผสมผสาน หมดฤดูกาลจะปลูกแคนตาลูปและมะเขือเทศพันธุ์ เลื้อย โดยสตรอว์เบอร์รีจะให้ผลผลิตมกราคม-กุมภาพันธ์ และพืชผักผลไม้เมืองหนาวอีกหลากหลายชนิด ทั้งนี้สิงห์ ปาร์ค เปิดบริการให้ชมทุกวัน ตั้งแต่เวลา 10.00–16.00 น. สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ 08 0900 2686 หรือเว็บไซต์ boonrawdfarm.com และ เฟซบุ๊ก Boon Rawd Farm 2. พระธาตุดอยตุง พระธาตุดอยตุง ตั้งอยู่บริเวณกิโลเมตรที่ 17.5 บนทางหลวงหมายเลข 1149 เป็นที่บรรจุพระรากขวัญเบื้อง ซ้าย (กระดูกไหปลาร้า) ของพระพุทธเจ้า นามาจากมัธยมประเทศ นับเป็นครั้งแรกที่พระพุทธศาสนาลัทธิลังกาวงศ์ ได้มาประดิษฐานที่ล้านนาไทย เมื่อก่อสร้างพระสถูปบรรจุพระบรมสารีริกธาตุนี้ ได้ทาธงตะขาบ (ภาษาพื้นเมือง เรียกว่า ตุง) ใหญ่ยาวถึงพันวา ปักไว้บนยอดดอย ถ้าหากปลายธงปลิวไปไกลถึงเมืองไหน ก็จะกาหนดเป็นฐานพระ สถูป เหตุนี้ดอยซึ่งเป็นที่ประดิษฐานปฐมเจดีย์แห่งล้านนาไทย จึงปรากฏนามว่า ดอยตุง ทั้งนี้พระธาตุดอยตุงเป็นปูชนียสถานที่สาคัญ เมื่อถึงเทศกาลนมัสการพระธาตุดอยตุงจะมีพุทธศาสนิกชนทั้ง ชาวไทยและเพื่อนบ้านจากประเทศใกล้เคียง เช่น ชาวเชียงตุงในรัฐฉาน สหภาพพม่า ชาวหลวงพระบาง เวียงจันทน์ เดินทางเข้ามานมัสการทุกปี
  • 9. 9 3. พระตาหนักดอยตุงและสวนแม่ฟ้าหลวง พระตาหนักดอยตุง ตั้งอยู่ในเขตอาเภอแม่ฟ้าหลวง ห่างจากตัวเมืองเชียงรายประมาณ 60 กิโลเมตร พระ ตาหนักดอยตุงเคยเป็นที่ประทับแปรพระราชฐานเพื่อทรงงานของสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี มีรูปทรง ผสมผสานระหว่างศิลปะล้านนากับชาเลย์ของประเทศสวิตเซอร์แลนด์ มีการแกะสลักไม้ตามกาแล เชิงชายและขอบ หน้าต่างเป็นลวดลายต่าง ๆ โดยฝีมือช่างชาวเหนือ รอบ ๆ พระตาหนักมีสวนดอกไม้หลากพันธุ์ หลายสี ให้ความ สวยงามสดชื่น โดยเฉพาะในฤดูหนาวจะเห็นหมอกจาง ๆ บริเวณยอดเขารอบพระตาหนัก มีเจ้าหน้าที่นาชมเป็นรอบ ๆ ละ 20 นาที เปิดให้เข้าชมทุกวัน เวลา 07.00-17.00 น. ค่าเข้าชม 90 บาท สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติม โทรศัพท์ 0 5376 7015-7 หรือ www.doitung.org ส่วน สวนแม่ฟ้าหลวง อยู่ด้านหน้าพระตาหนักดอยตุง มีเนื้อที่ประมาณ 10 ไร่ เป็นสวนดอกไม้เมืองหนาว อาทิ ดอกซัลเวีย, พิทูเนีย, บีโกเนีย, กุหลาบ, ดอกลาโพง, ไม้มงคลต่าง ๆ, ไม้ยืนต้น และซุ้มไม้เลื้อยอีกมากกว่า 70 ชนิด รูปปั้นต่อเนื่องฝีมือของ มีเซียม ยิบอินซอย (Misiem Yipintsoi) เปิดให้เข้าชมทุกวัน เวลา 06.30-18.00 น. ค่า เข้าชม 90 บาท หอแห่งแรงบันดาลใจ เป็นอาคารแสดงพระราชประวัติสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนีและพระ ราชวงศ์ มีห้องจัดแสดงนิทรรศการ 8 ห้อง เปิดให้เข้าชมทุกวัน เวลา 08.00-17.00 น. ค่าเข้าชม 50 บาท นอกจากนั้นยังมีร้านขายของที่ระลึก เสื้อผ้าไหม ผลิตภัณฑ์จากโครงการหลวงทั้งผักผลไม้ ดอกไม้ พรรณไม้ต่าง ๆ ให้ ซื้อกลับไปเป็นของฝาก นักท่องเที่ยวที่ต้องการเข้าชมทั้งพระตาหนักดอยตุง สวนแม่ฟ้าหลวง และหอแห่งแรงบันดาลใจ โดยมี จาหน่ายบัตรรวม ราคา 190 บาท ซุ้มจาหน่ายบัตรเปิดเวลา 06.30-18.00 น. หลังเวลา 17.00 น. จาหน่ายเฉพาะ บัตรชมพระตาหนักและสวนแม่ฟ้าหลวง (หมายเหตุ : ราคาอาจมีการเปลี่ยนแปลง สามารถเช็กราคาได้ที่ www.doitung.org) 4. วัดร่องขุ่น วัดร่องขุ่น อยู่ในท้องที่ตาบลป่าอ้อดอนชัย อาเภอเมือง ออกแบบและก่อสร้างโดย อาจารย์เฉลิมชัย โฆษิต พิพัฒน์ เมื่อ พ.ศ. 2540 โดยบนพื้นที่เดิมของวัด 3 ไร่ และขยายออกเป็น 12 ไร่ พระอุโบสถสีขาวตกแต่งด้วยลวดลาย กระจกสีเงินแวววาว เป็นเชิงชั้นลดหลั่นกันไป หน้าบันประดับด้วยพญานาค ภาพจิตรกรรมฝาผนังภายในพระอุโบสถ และห้องแสดงภาพวาดน่าสนใจมาก เปิดให้เข้าชมทุกวัน เวลา 08.00-17.00 น. โทรศัพท์ 0 5367 3579 หรือดู รายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ วัดร่องขุ่น.com การเดินทาง : วัดอยู่ห่างจากตัวเมืองเชียงราย 12 กิโลเมตร บนเส้นทางไปจังหวัดพะเยา เลี้ยวขวาที่สามแยก ทางไปน้าตกขุนกรณ์ ประมาณ 100 เมตร วัดอยู่ซ้ายมือ 5. ดอยแม่สลอง ดอยแม่สลอง เป็นที่ตั้งของหมู่บ้านสันติคิรี เดิมชื่อ บ้านแม่สลองนอก เป็นชุมชนผู้อพยพจากกองพล 93 จาก สหภาพพม่าเข้ามาในเขตไทย จานวนสองกองพัน คือ กองพันที่ 3 เข้ามาอยู่ที่อาเภอฝาง จังหวัดเชียงใหม่ และกองพัน ที่ 5 อยู่ที่บ้านแม่สลองนอก ตั้งแต่ พ.ศ. 2504 ในเดือนธันวาคมถึงกุมภาพันธ์ดอกนางพญาเสือโคร่ง ซึ่งเป็นซากุระ พันธุ์ที่เล็กที่สุด สีชมพูอมขาวจะบานสะพรั่งตลอดแนวทางขึ้นดอยแม่สลอง เป็นพันธุ์ไม้ที่หาชมได้ยากในเมืองไทย เพราะเจริญเติบโตอยู่แต่เฉพาะในภูมิอากาศหนาวจัดเท่านั้น
  • 10. 10 จุดน่าสนใจบนดอยแม่สลอง เช่น ชมไร่ชาและศึกษาวิธีการผลิตชา ขี่ม้าชมทิวทัศน์รอบหมู่บ้านเจียงจาใส และอนุสรณ์สถานอดีตทหารจีนคณะชาติภาคเหนือ ประเทศไทย ลองไปศึกษาเรื่องราวและประวัติของชาวดอยแม่สล อง โดยจะมีไกด์คอยนาชม เปิดบริการทุกวัน เวลา 08.00-17.00 น. ค่าเข้าชม 30 บาท สอบถามเพิ่มเติมได้ที่ อบต. แม่สลองนอก โทรศัพท์ 0 5376 5129 การเดินทางใช้เส้นทางเชียงราย-แม่จัน 28 กิโลเมตร เลยจากอาเภอแม่จันไป 1 กิโลเมตร มีทางแยกซ้ายไป 23 กิโลเมตร ผ่านหมู่บ้านผาเดื่อ ซึ่งเป็นจุดแวะชมและซื้อหัตถกรรมชาวเขา จากนั้นเดินทางจากบ้านอีก้อสามแยก ตรงไปดอยแม่สลอง ระยะทาง 10 กิโลเมตร รวมระยะทางจากเชียงราย 64 กิโลเมตร เป็นทางลาดยางตลอดสาย และจากดอยแม่สลองมีถนนเชื่อมต่อไปถึงบ้านท่าตอน อาเภอฝาง จังหวัดเชียงใหม่ ระยะทาง 45 กิโลเมตร ในกรณี ไม่ได้ขับรถมาเองให้ขึ้นรถประจาทางจากตัวเมืองเชียงรายไปต่อรถสองแถวที่ปากทางขึ้นดอยแม่สลอง 6. ดอยวาวี ดอยวาวี เป็นชุมชนขนใหญ่ของชาวจีนฮ่อ กองพล 93 ซึ่งอพยพเข้ามาตั้งหลักปักฐานราว 50 ปีมาแล้ว ยึด อาชีพปลูกชาและผลไม้ท่ามกลางบรรยากาศอันสงบเงียบและทิวทัศน์งามของดอยสูงเช่นเดียวกับชุมชนดอยแม่สลอง แม้หมู่บ้านจะมีขนาดเล็ก แต่ผู้มาเยือนจะได้สัมผัสกลิ่นอายชุมชนชาวจีนอันเรียบง่าย ราวกับอยู่ทางแถบยูนนานตอน ใต้ของจีน ขณะที่พ้นหมู่บ้านออกไปบนดอยก็เขียวขจีด้วยไร่ชาที่ลดหลั่นตามลาดเขา ช่วยประดับทิวทัศน์ชุมชนและ เทือกดอยให้งดงามชวนมอง ใกล้กับดอยวาวีมีจุดชมทะเลหมอกอยู่บน “ดอยกาดผี” ซึ่งเป็นแหล่งท่องเที่ยวยอดนิยม ของอาเภอแม่สรวย เมื่อขึ้นไปยืนที่ชะง่อนผาสูง 1,500 เมตร จะสามารถมองเห็นทะเลหมอกหนาทึบเต็มหุบเขา พร้อมกับภาพอลังการของขุนเขาสลับซับซ้อนตามแนวเทือกดอยช้าง ซึ่งดอยกาดผีอยู่ห่างจากดอยวาวีประมาณ 20 กิโลเมตร ตามเส้นทางค่อนข้างทุรกันดาร ระหว่างทางยังผ่านหมู่บ้านชาวอ่าข่าและเย้า สถานที่น่าแวะ เช่น ดอยช้าง เป็นที่ตั้งสถานีวิจัยเกษตรที่สูงและหมู่บ้านขาวเขา มีแปลงปลูกผลไม้เมืองหนาว ให้เที่ยวชม เช่น เกาลัด บ๊วย ท้อ พลับ พลัม ฯลฯ และไร่กาแฟอาราบิก้า โดยสามารถลองชิมกาแฟสดได้ด้วย ส่วน สินค้าน่าซื้อก็มีทั้งชาอู่หลง ซึ่งชาวจีนฮ่อวาวีนาชาพันธุ์ชิงชิงและชาเบอร์ 12 มาปลูกเพื่อผลิตเป็นชาอู่หลงคุณภาพดีไม่ แพ้ต้นตารับจากไต้หวันจนได้รับความนิยม ลองชิมชากลิ่นหอมและซื้อเป็นของฝากได้ 7. วนอุทยานภูชี้ฟ้า วนอุทยานภูชี้ฟ้า เป็นจุดชมวิวทะเลหมอกและพระอาทิตย์ขึ้นสุดฮอตของจังหวัดเชียงราย อยู่ห่างจากดอยผา ตั้ง 25 กิโลเมตร มีลักษณะเป็นยอดเขาที่แหลมชี้ขึ้นไปบนท้องฟ้า อยู่สูงจากระดับทะเลประมาณ 1,628 เมตร โดยมี หน้าผาเป็นแนวยาวยื่นไปทางฝั่งประเทศลาว บนยอดภูชี้ฟ้าเป็นทุ่งหญ้ากว้าง ในฤดูหนาวจะมีทิวทัศน์สวยงามเป็น พิเศษ นักท่องเที่ยวส่วนมากจะมาค้างแรมบริเวณบ้านร่มฟ้าทองทาง ซึ่งห่างจากจุดชมวิวประมาณ 1.5 กิโลเมตร แล้ว จะเดินขึ้นภูชี้ฟ้าเพื่อไปชมวิวตอนเช้ามืด ระหว่างทางจะพบแปลงปลูกป่านางพญาเสือออกดอกบานสะพรั่งสวยงาม (เดือนมกราคม-กุมภาพันธ์) และในช่วงเดือนกุมภาพันธ์ต้นเสี้ยวดอกขาวรอบภูชี้ฟ้าจะออกดอกบานเต็มเชิงเขา การเดินทางใช้เส้นทางเชียงราย-เทิง ระยะทาง 64 กิโลเมตร และจากเทิง-บ้านปี้ ระยะทาง 6 กิโลเมตร เลี้ยวซ้ายเข้าทางหลวงหมายเลข 1155 ผ่านบ้านปางค่า บ้านเชงเม้ง เป็นทางลาดยาง ถึงภูชี้ฟ้าระยะทาง 42 กิโลเมตร หรือใช้ทางหลวงหมายเลข 1021 สายเทิง-เชียงคา-บ้านฮวก ก่อนถึงเชียงคา 6 กิโลเมตร มีทางแยกไป อุทยานแห่งชาติน้าตกภูซาง อีก 19 กิโลเมตร แล้วเดินทางต่อไปยังภูชี้ฟ้าอีก 30 กิโลเมตร นักท่องเที่ยวสามารถนารถ
  • 11. 11 ไปจอดไว้ที่ลานจอดรถวนอุทยานภูชี้ฟ้าแล้วเดินเท้าไปจุดชมวิวประมาณ 700 เมตร สอบถามรายละเอียดติดต่อได้ที่ สถานีขนส่งเชียงราย โทรศัพท์ 0 5371 1224 อบต.ตับเต่า โทรศัพท์ 0 5318 9111 และศูนย์บริการนักท่องเที่ยว โทรศัพท์ 0 5371 0195-6 8. ดอยผาตั้ง ดอยผาตั้ง ตั้งอยู่ใกล้ทางหลวงหมายเลข 1093 กิโลเมตรที่ 89 เป็นจุดชมวิวไทย-ลาว มีความสูง 1,635 เมตร และเที่ยวชมทะเลหมอกได้ตลอดปี ซึ่งในเดือนธันวาคมถึงมกราคมมีดอกซากุระบาน และเดือนกุมภาพันธ์ก็จะมีดอก เสี้ยวบานสะพรั่งงดงาม นอกจากนี้ ยังเป็นที่ตั้งของหมู่บ้านชาวจีนฮ่อ ม้ง และเย้า โดยเฉพาะจีนฮ่อนั้น อดีตเคยเป็น ส่วนหนึ่งของกองพล 93 ซึ่งอพยพเข้ามาตั้งถิ่นฐานอยู่ที่ดอยผาตั้งนี้ ปัจจุบันประกอบอาชีพทางการเกษตร ปลูกพืช เมืองหนาว เช่น บ๊วย ท้อ สาลี่ แอปเปิล และชา การเดินทางจากจังหวัดเชียงรายใช้เส้นทางเชียงราย-เวียงชัย-พญาเม็งราย-บ้านต้า ทางหลวงหมายเลข 1233, 1173 และ 1152 ระยะทาง 50 กิโลเมตร บ้านต้า-บ้านท่าเจริญ ทางหลวงหมายเลข 1020 ระยะทาง 45 กิโลเมตร บ้านท่าเจริญ-เวียงแก่น-ปางหัด ทางหลวงหมายเลข 1155 ระยะทาง 17 กิโลเมตร และปางหัด-ดอยผาตั้ง อีก 15 กิโลเมตร จุดชมวิวช่องผาบ่อง สามารถมองเห็นแม่น้าโขงทอดตัวคดเคี้ยวในฝั่งลาว หากเดินเท้าต่อไปอีก ประมาณ 1 กิโลเมตร จึงจะถึงจุดชมวิว 103 ทั้งนี้ สภาพเส้นทางบางช่วงสูงชัน สามารถสอบถามรายละเอียดเพิ่มเติม ได้ที่ จุดบริการนักท่องเที่ยวดอยผาตั้ง โทรศัพท์ 0 5391 8301 หรือ องค์การบริหารส่วนตาบลปอ โทรศัพท์ 0 5371 0300, 0 5391 8265 9. ถนนคนเดินเชียงราย+ถนนคนม่วนเชียงราย จังหวัดเชียงราย ร่วมกับ เทศบาลนครเชียงราย จัดโครงการถนนคนเดินเชียงราย “กาดเจียงฮายราลึก”เชิญ ชวนนักท่องเที่ยวและประชาชนร่วมสัมผัสวิถีชีวิตแบบล้านนาในอดีต ที่แสดงออกถึงวิถีชีวิต ศิลปวัฒนธรรม ภูมิ ปัญญา และสินค้าของดีของเชียงราย โดยจะจัดขึ้นทุกวันเสาร์ของเดือน ณ ถนนธนาลัย ตั้งแต่สี่แยกสานักงานยาสูบฯ ไปจนถึงสี่แยกธนาคารออมสิน ขณะที่ทุกวันอาทิตย์ของเดือนจะมี “ถนนคนม่วนเชียงราย” ซึ่งอยู่บนถนนสันโค้งน้อย บริเวณการจัดงานแบ่งเป็นหลาย ๆ ส่วน โดยมีกลุ่มกิจกรรมต่าง ๆ ที่เข้าร่วมเป็นเครือข่ายร่วมกันจัดแสดงกิจกรรม มากมายตลอดเส้นทาง ทั้งนี้ดูรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ เฟซบุ๊ก ถนนคนเดินเชียงราย และchiangraitourism.org 10. วัดพระแก้ว วัดพระแก้ว ตั้งอยู่บริเวณถนนไตรรัตน์ ตาบลเวียง อาเภอเมือง เป็นวัดที่ค้นพบ พระแก้วมรกต หรือ พระ พุทธมหามณีรัตนปฏิมากร ที่ประดิษฐานอยู่ ณ วัดพระแก้ว กรุงเทพฯ ในปัจจุบัน ตามประวัติเล่าว่าเมื่อ พ.ศ. 1897 ในสมัยพระเจ้าสามฝั่งแกนเป็นเจ้าเมืองเชียงใหม่นั้น ฟ้าได้ผ่าเจดีย์ร้างองค์หนึ่งและได้พบพระพุทธรูปลงรักปิดทองอยู่ ภายในเจดีย์ จึงได้นาไปไว้ในวิหาร ต่อมาปูนบริเวณพระนาสิกเกิดกะเทาะออกมาจึงได้พบว่าเป็นพระพุทธรูปสีเขียว สร้างด้วยหยก คือ พระแก้วมรกต นั่นเอง ปัจจุบันชาวเชียงรายได้สร้างพระแก้วมรกตองค์ใหม่ขึ้นแทน เรียกว่า พระหยกเชียงราย หรือ พระพุทธรัตนา กรนวุติวัสสานุสรณ์มงคล ซึ่งสร้างขึ้นในวโรกาสที่สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี มีพระชนมายุครบ 90 พรรษา ภายในวัดซีกกาแพงด้านทิศใต้ มีพิพิธภัณฑ์โฮงหลวงแสนแก้ว ลักษณะเป็นอาคารทรงล้านนาประยุกต์สองชั้น เป็น แหล่งเรียนรู้ด้านศาสนาและวัฒนธรรมล้านนา รวบรวมจัดแสดงศิลปวัตถุที่สาคัญของวัด และสิ่งของที่มีผู้นามาถวาย เช่น พระพุทธรูป พระธาตุ เครื่องใช้เกี่ยวกับศาสนาของล้านนา เช่น เครื่องบูชา ฉัตร ตุง เครื่องเขิน เป็น ต้น สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ โทรศัพท์ 0 5371 1385 หรือ watphrakaew-chiangrai.com
  • 12. 12 11. สวนรุกขชาติดอยช้างมูบ ช้างมูบ เป็นชื่อดอยที่สูงที่สุดของเทือกเขานางนอน คือ ประมาณ 1,500 เมตรจากระดับน้าทะเล มีอากาศ เย็นสดชื่นตลอดปี พื้นที่บริเวณนี้เคยเป็นดงฝิ่นที่ใหญ่ที่สุด และเป็นการเส้นทางลาเลียงยาเสพติดหลักในภูมิภาค สภาพป่าจึงถูกทาลายจนหมดสิ้น ต่อมาสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี ทรงมีพระราชประสงค์ให้ฟื้นฟูผืนป่า แถบนี้ให้อุดมสมบูรณ์อีกครั้ง โครงการพัฒนาดอยตุงฯ จึงพัฒนาพื้นที่ให้เป็นสวนรุกขชาติ รวบรวมพรรณไม้พื้นเมือง และพรรณไม้ป่าหายาก กุหลาบพันปีจากหลายประเทศ ต้นนางพญาเสือโคร่ง กล้วยไม้พื้นเมือง รองเท้านารี ฯลฯ ปลูกอยู่ในสวนอย่างเป็นธรรมชาติกลางป่าสน มีเส้นทางการเดินลัดเลาะตามไหล่เขา มีลานสาหรับพักผ่อน ชมทิวทัศน์ ได้รอบตัว แลเห็นได้ถึงประเทศเพื่อนบ้าน และลาน้าโขง 12. อนุสาวรีย์พ่อขุนเม็งรายมหาราช ตั้งอยู่ที่ห้าแยกพ่อขุน อาเภอเมือง เส้นทางที่จะไปอาเภอแม่จันหรือแม่สาย สาหรับพ่อขุนเม็งรายเป็นกษัตริย์ องค์ที่ 25 แห่งราชวงศ์ลัวะจังคราช เป็นโอรสของพญาลาวเม็ง และพระนางเทพคาขยาย หรือพระนางอั้วมิ่งจอมเมือง ประสูติเมื่อวันอาทิตย์ แรม 9 ค่า เดือนอ้าย ปีกุน พุทธศักราช 1782 เสด็จสวรรคตที่เมืองเชียงใหม่ใน พ.ศ.1854 พ่อ ขุนเม็งรายได้สร้างเมืองเชียงรายขึ้นบนดอยทอง จากรากฐานเดิมที่เคยเป็นเมืองมาก่อน เมื่อ พ.ศ.1805 ทรงเป็นปฐม กษัตริย์ แห่งราชวงศ์เม็งราย และรวบรวมบ้านเล็กเมืองน้อยเข้าเป็นอาณาจักรล้านนาไทยจนเจริญรุ่งเรืองถึงปัจจุบัน โดยประชาชนชาวเชียงรายร่วมใจกันสร้างอนุสาวรีย์ เพื่อน้อมราลึกถึงพระเกียรติคุณของพ่อขุนเม็งราย ปั้น โดย นายปกรณ์ เล็กฮอน และทาพิธีเปิดอนุสาวรีย์เมื่อวันที่ 31 มีนาคม พ.ศ. 2507 สาหรับลักษณะของอนุสาวรีย์ คือ เป็นพระรูปของพระองค์หล่อด้วยทองสัมฤทธิ์ขนาดเท่าครึ่ง ทรงฉลองพระองค์ด้วยเครื่องทรงพระมหากษัตริย์ล้านนา โบราณ ประทับยืนบนฐานสูงประมาณ 3 เมตร ทรงถือดาบด้วยพระหัตถ์ซ้ายแนบกับพระเพลา ทรงสวมมาลัยพระกร ทรงสวมธามรงค์ที่พระหัตถ์ขวาตรงนิ้วนางและนิ้วก้อย ที่พระหัตถ์ซ้ายตรงนิ้วชี้ และทรงฉลองพระบาท ปัจจุบันมีตุง หลวงเฉลิมพระเกียรติประดับอยู่ทางด้านหลังอนุสาวรีย์ด้วย และที่ตรงฐานใต้พระบรมรูปมีคาจารึกว่า"พ่อขุนเม็งราย มหาราช พ.ศ. 1782-1860 ทรงสร้างเมืองเชียงรายขึ้นเป็นเมืองแรกเมื่อ พ.ศ. 1805 ทรงสถาปนาอาณาจักรล้านนา ไทยให้เป็นปึกแผ่น และทรงสร้างความสามัคคีระหว่างชนชาติไทย" ทั้งนี้ กู่พระเจ้าเม็งราย ตั้งอยู่หน้าวัดงาเมือง บนดอยงาเมือง กู่นี้เป็นอนุสาวรีย์สาคัญแห่งหนึ่ง เพราะเป็นที่ บรรจุอัฐิของพ่อขุนเม็งรายมหาราช ตามประวัติกล่าวว่า พระเจ้าไชยสงคราม ราชโอรสพระเจ้าเม็งราย เมื่อได้มอบราช สมบัติให้พระเจ้าแสนภูราชโอรสขึ้นครองนครเชียงใหม่แล้ว พระองค์ได้นาอัฐิพระราชบิดามาประทับอยู่ที่เมือง เชียงราย และได้โปรดเกล้าฯ สร้างกู่บรรจุอัฐิของพระราชบิดาไว้ ณ ดอยงาเมืองแห่งนี้ 13. พิพิธภัณฑ์บ้านดา พิพิธภัณฑ์บ้านดา ตั้งอยู่ที่ตาบลนางแล อาเภอเมือง สร้างขึ้นโดย อาจารย์ถวัลย์ ดัชนี นับเป็นแหล่งเรียนรู้ อันทรงคุณค่าทางศิลปวัฒนธรรมแบบร่วมสมัย ที่มีเอกลักษณ์โดดเด่น โดยภายในบ้านมีสิ่งก่อสร้าง ทั้งวิหาร บ้าน ศาลา ห้องแสดงผลงาน ฯลฯ รวมทั้งสิ้น 43 สิ่งก่อสร้าง เช่น วิหารเล็ก, มหาวิหาร (อาคารพิพิธภัณฑ์ศิลปะ), บ้าน สามเหลี่ยม (ที่พักรับรองนักเขียน ลูกศิษย์ และห้องทางาน), เรือนผกายแก้ว, เรือนเชียงทองทาทาบรุ้ง, อูปปรภพ (ห้องจิตวิญญาณ) และบ้านดาแกลลอรี่ (ศูนย์ข้อมูลและร้านจาหน่ายของที่ระลึก) สอบถามเพื่อเข้าชม โทรศัพท์ 0 5370 5834, 0 5377 6333, 08 1673 1155 หรือ thawan-duchanee.com
  • 13. 13 14. ดอยหัวแม่คา ดอยหัวแม่คา อยู่สูงจากระดับทะเล 1,850 เมตร เป็นที่ตั้งหมู่บ้านชาวเขาขนาดใหญ่ ประกอบด้วยเผ่าลีซอ เป็นกลุ่มชนส่วนใหญ่ นอกจากนี้ยังมีอีก้อ ม้ง และมูเซอ ในช่วงเวลาซึ่งตรงกับตรุษจีนของทุกปี ชาวลีซอจะจัดงาน ประเพณีกินวอ ซึ่งเปรียบเสมือนวันขึ้นปีใหม่ ในวันนั้นชาวลีซอแต่งกายสวยงาม มีการกินเลี้ยง เต้นระบา 7 วัน 7 คืน และในเดือนพฤศจิกายนเป็นช่วงที่ดอยหัวแม่คางดงามไปด้วย “ดอกบัวตอง” สีเหลืองสดใสสะพรั่งอยู่ทั่วไปตามแนว เขา เป็นจุดชมวิวพระอาทิตย์ขึ้นและทะเลหมอก การเดินทางจากเชียงรายใช้เส้นทางเดียวกับทางขึ้นดอยแม่สลองสายเก่า ทางหลวงหมายเลข 1130 แล้ว เลี้ยวขวาที่สามแยกอีก้อ ผ่านบ้านเทอดไทย ไปจนถึงบ้านแม่คา ห่างจากตัวเมืองเชียงราย 100 กิโลเมตร บ้านหัวแม่ คาอยู่เกือบสุดชายแดน เส้นทางเป็นทางลูกรังคดโค้งไปตามทิวเขา ใช้เวลาเดินทางราว 3 ชั่วโมง 15. ล่องแม่น้ากก แม่น้ากก เป็นแม่น้าที่ไหลมาจากบ้านท่าตอนผ่านตัวเมืองเชียงราย มีความยาวรวมทั้งสิ้น 130 กิโลเมตร นักท่องเที่ยวสามารถเช่าเรือจากท่าเรือริมแม่น้าในตัวเมือง (ท่าเรือซีอาร์) เพื่อเที่ยวชมทัศนียภาพของแม่น้ากก สอง ฟากฝั่งเป็นป่าเขาที่สวยงามตามธรรมชาติ นอกจากนี้ ระหว่างทางยังสามารถแวะชมหมู่บ้านชาวเขาเผ่าต่าง ๆ เช่น อีก้อ ลีซอ หรือจะแวะบ้านกะเหรี่ยงรวมมิตรเพื่อนั่งช้างเที่ยวป่ารอบบริเวณ 16. วัดร่องเสือเต้น ตั้งอยู่ที่หมู่บ้านร่องเสือเต้น ตาบลริมกก อาเภอเมือง เป็นสถานที่ท่องเที่ยวแห่งศรัทธาที่ถูกพูดถึงในเรื่องของ เอกลักษณ์ความงดงามทางสถาปัตยกรรม อันเกิดจากการสร้างสรรค์ศิลปินชาวบ้าน นายพุทธา กาบแก้ว หรือ สล่านก ศิลปินท้องถิ่นชาวเชียงราย ที่ครั้งหนึ่งตนได้รับโอกาสเข้าไปเป็นลูกศิษย์ อาจารย์เฉลิมชัย โฆษิตพิพัฒน์ ในการสร้างวัด ร่องขุ่น จนมีโอกาสได้มาสร้างวิหารวัดร่องเสือเต้น จึงได้นาวิชาที่ได้ร่าเรียนมารังสรรค์ความงดงามให้เกิดขึ้นที่วัดแห่ง นี้ ไฮไลท์เด็ดคือ "วิหารร่องเสือเต้น" ซึ่งความโดดเด่นของวิหารแห่งนี้อยู่ที่ศิลปะของตัววิหารที่สวยงามและมี เอกลักษณ์น่าจดจา โดยใช้โทนสีน้าเงินและสีฟ้าเป็นหลัก ที่ใช้เป็นสื่อแสดงถึงธรรมะขององค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธ เจ้า อันเป็นหลักความจริงตามเหตุและผล เปรียบเสมือนเป็นท้องฟ้าที่สดใส ทั้งนี้ดูรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ เฟซบุ๊ก วัดร่องเสือเต้น ตาบลริมกก อาเภอเมือง จังหวัดเชียงราย 17. DoiTung Tree Top Walk สวนแม่ฟ้าหลวง เส้นทางศึกษาธรรมชาติบนเรือนยอดไม้ หรือ DoiTung Tree Top Walk ภายในสวนแม่ฟ้าหลวง พระ ตาหนักดอยตุง สร้างขึ้นมาเหนือยอดไม้ใหญ่ภายในสวนอันเขียวขจี อากาศหนาวเย็น ได้สัมผัสกับธรรมชาติอย่าง แท้จริง และยังท้าทายความกล้าของนักท่องเที่ยวที่ชอบความสูง โดยแบ่งออกเป็น 6 ช่วง บนระดับความสูง 10-20 เมตร ลดหลั่นไปตามจังหวะของต้นไม้และความลาดชัน สามารถสอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ โครงการพัฒนา ดอยตุง โทรศัพท์ 0 5376 7015-7
  • 14. 14 18. ภูชี้ดาว จุดชมวิวและที่เที่ยวแห่งใหม่ในจังหวัดเชียงราย ตั้งอยู่บนพื้นที่ในความดูแลของตาบลปอ อาเภอเวียงแก่น ตั้งอยู่ตรงกลางระหว่างภูชี้ฟ้าและดอยผาตั้ง ที่ยังคงซึ่งความอุดมสมบูรณ์ทางธรรมชาติเอาไว้อย่างครบถ้วน ผู้คนไม่ พลุกพล่าน มีความเงียบสงบ สิ่งที่นักท่องเที่ยวจะได้เห็นจากจุดชมวิวภูชี้ดาว คือการได้มองเห็นวิวโค้งแม่น้าโขงอยู่ไกล ๆ และมองเห็นภูชี้ฟ้าตั้งเด่นตระหง่านอยู่ลิบ ๆ เหล่านี้ถือเป็นองค์ประกอบทางทัศนียภาพที่สวยงามยากเกินจะ บรรยาย ทั้งนี้ทางเดินขึ้นไปยังภูชี้ดาวค่อนข้างมีความลาดชัน และต้องไต่ระดับขึ้นไปตามสันเขา สองด้านเป็นเหวลึก ดังนั้นนักท่องเที่ยวจึงควรใช้ความระมัดระวังในการเดินค่อนข้างมาก เพราะไม่อย่างนั้นอาจเกิดอันตรายได้ 19. ไร่ชาฉุยฟง บนเนื้อที่ตามเนินเขาของตาบลป่าซาง อาเภอแม่จัน มากกว่า 1,000 ไร่ เต็มไปด้วยไร่ชาคุณภาพแห่งไร่ชา ฉุยฟง ด้วยความที่ไร่ชาแห่งนี้อยู่เหนือกว่าระดับน้าทะเลมากถึง 1,200 เมตร พร้อมทั้งสภาพอากาศที่เอื้ออานวยต่อ การเจริญเติบโตของชา จึงทาให้ชาที่นี่มีรสชาติอร่อยกลมกล่อม มีความหอมเป็นเอกลักษณ์ การันตีคุณภาพจากรางวัล ต่าง ๆ ตลอดมา และเมื่อไม่นานมานี้ทางไร่ชาฉุยฟงได้เปิดให้นักท่องเที่ยวทั่วไปเข้าชมทัศนียภาพของไร่ชา พร้อมทั้ง เลือกซื้อสินค้าและผลิตภัณฑ์อื่น ๆ จากทางไร่ได้ในราคาย่อมเยา ดูรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ www.chouifongtea.com 20. ภูฟ้าไทย จุดชมวิวทะเลหมอกแห่งใหม่ ที่เปิดโอกาสให้นักท่องเที่ยวได้สัมผัสอากาศหนาวเย็น ชมทะเลหมอก และชมวิว ธรรมชาติได้รอบ 360 องศา ตั้งอยู่ที่บ้านร่มฟ้าไทย อาเภอเทิง ติดกับแนวชายแดน สปป.ลาว ฝั่งตรงข้ามบ้านเชียง ของ ซึ่งนับเป็นจุดที่มองเห็นพระอาทิตย์ขึ้นยามเช้าตัดกับทะเลหมอกในหุบเขาได้อย่างงามตา ด้วยเพราะภูฟ้าไทยมี ความสูงจากระดับน้าทะเล 1,515 เมตร จึงทาให้อากาศที่นี่หนาวเย็น ลักษณะเด่นของภูฟ้าไทยอยู่ที่ทางเดินขึ้นที่ค่อนข้างสะดวก ซึ่งเป็นทางเดินระยะทางเพียงแค่ 300 เมตร ข้างบนนักท่องเที่ยวจะได้ฟินกับจุดชมวิวทะเลหมอกในแบบ 360 องศา ขณะเดียวกันยังชื่นชมกับความสวยงามของ พระอาทิตย์ขึ้นและตกดิน อีกทั้งยังมองเห็นภูชี้ฟ้าบริเวณจมูกสิงโตได้อย่างชัดเจน ทั้งนี้สามารถสอบถามข้อมูลเพิ่มเติม ได้ที่ การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย สานักงานเชียงราย โทรศัพท์ 053 744 674-5 และ 053 717 433 จ.ลาพูน จังหวัดลาพูน เดิมชื่อเมืองหริภุญไชย เป็นเมืองโบราณ มีอายุประมาณ 1,343 ปี ตามพงศาวดารโยนกเล่าสืบต่อกันถึง การสร้างเมืองหริภุญไชย โดยฤาษีวาสุเทพ เป็นผู้เกณฑ์พวกเม็งคบุตร หรือ ชนเชื้อชาติมอญมาสร้างเมืองนี้ขึ้น ใน พื้นที่ระหว่างแม่น้าสองสาย คือ แม่น้ากวง และแม่น้าปิง เมื่อมาสร้างเสร็จได้ส่งทูตไปเชิญ ราชธิดากษัตริย์เมืองละโว้ พระนาม “จามเทวี” มาเป็นปฐมกษัตริย์ปกครองเมืองหริภุญไชย สืบราชวงศ์กษัตริย์ ต่อมาหลายพระองค์ จนกระทั่ง ถึงสมัยพระยายีบาจึงได้เสียการปกครองให้แก่พ่อขุนเม็งรายมหาราช ผู้รวบรวม แว่นแคว้นทางเหนือเข้าเป็น อาณาจักรล้านนา เมืองลาพูน ถึงแม้ว่า จะตกอยู่ภายใต้การปกครองของอาณาจักรล้านนา แต่ก็ได้เป็นผู้ถ่ายทอด มรดกทางศิลปและวัฒนธรรมให้แก่ผู้ที่เข้ามาปกครอง ดังปรากฏหลักฐานทั่วไปในเวียงกุมกาม เชียงใหม่และเชียงราย