SlideShare a Scribd company logo
โดย อรณี หัสเสม : เรียบเรียง 1 
บททีÉ Ş อัตราการเกิดปฏิกิริยา (Rate of chemical reaction) มีเนืÊอหาทีÉนักเรียนจะต้องเรียนดังนีÊ 
Ş.ř แนวคิดเกีÉยวกับการเกิดปฏิกิริยา 
Ş.Ś ความหมายของอัตราการเกิดปฏิกิริยา 
Ş.ś พลังงานกับการดำเนินไปของปฏิกิริยา 
Ş.Ŝ ปัจจัยทีÉมีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยา 
หมายเหตุ : ถ้าโมเลกุลมีพลังงานจลน์ตํÉา ชนกัน และพลังงานไม่สูงพอ จะไม่มีปฏิกิริยาเกิดขึÊน 
 ปฏิกิริยาเคมี (Chemical reaction) คือ กระบวนการทÉีเกิดจากสารเคมี Ś ชนิดขึÊนไป เกิดการรวมกัน เกิดเป็นสารใหม่ 
เช่น 
 เมืÉอเกิดปฏิกิริยาเคมี ปริมาณสารในระบบจะเปลีÉยนไป โดย 
 อัตราการเกิดปฏิกิริยา 
เปรียบเทียบกับ อัตราเร็วรถ = ระยะทางทีÉรถเคลืÉอนทีÉได้ 
ระยะเวลาทีÉใช้ในการเคลืÉอนทีÉ 
ซึÉงการหาอัตราการเกิดปฏิกิริยา คือ 
ปริมาณสารตัÊงต้นลดลง 
อัตราการเกิดปฏิกิริยา = ปริมาณสารตัÊงต้นทÉีเปลÉียนไป หรือ ปริมาณสารผลิตภัณฑ์ทÉีเปลÉียนไป 
ระยะเวลาทีÉเกิดปฏิกิริยาเคมี ระยะเวลาทีÉเกิดปฏิกิริยาเคมี 
ดังนัÊน อัตราการเกิดปฏิกิริยา = A1 - A0 หรือ A 
t1 - t0 t 
Ş.Ś ความหมายของอัตราการเกิดปฏิกิริยา 
A + B C 
สารตัÊงต้น ผลิตภัณฑ์ 
(Substrate) (Product) 
2 H + O H2O 
สารตัÊงต้น ผลิตภัณฑ์ 
(Substrate) (Product) 
ปริมาณสารผลิตภัณฑ์เพิÉมขึÊน 
Ş.ř แนวคิดเกีÉยวกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี 
โมเลกุล (สารตัÊงต้น) ทÉีมีพลังงานจลน์สูง หรือ มีอัตราเร็วสูง ชนกัน 
ชนกันแรง ทำให้เกิดพลังงานสูงขึÊนด้วย 
พลังงานสูงนีÊ จะสลายพันธะในสารตัÊงต้น 
พันธะในสารตัÊงต้นทÉีถูกสลาย จะไปสร้างพันธะกันใหม่ เกิดเป็นสารใหม่ เรียกว่า ผลิตภัณฑ์
ตัวอย่าง สาร A ทำปฏิกิริยากับสาร B ได้สาร C เมÉือวัดความเข้มข้นของสาร A ขณะเกิดปฏิกิริยาได้ผลดังตาราง 
เวลา (วินาที) ความเข้มข้นสาร A (mol/dm3) 
0 ř.ŘŘŘ 
20 Ř.ŠřŠ 
40 Ř.ŞŞš 
60 Ř.ŝŜŠ 
ŠŘ Ř.ŜŜŠ 
řŘŘ Ř.śŞş 
ในช่วงเวลา Ř-ŚŘ ŜŘ -ŞŘ และ ŠŘ-řŘŘ วินาที 
ช่วงเวลาใดมีอัตราการเกิดปฏิกิริยามากทีÉสุด และอัตรา 
การเกิดปฏิกิริยาเฉลีÉยมีค่าเท่าใด 
A + B C 
จากสมการเคมี 
 ถ้าต้องการหาอัตราการการลดลง หรือ อัตราการเพิÉมขึÊนของสารในปฏิกิริยาเคมี ทำได้โดย 
อัตราการลดลงของสาร A = ความเข้มข้นของสาร A ทีÉเปลีÉยนไป = [A2] - [A1 ] = [A] 
(สารตัÊงต้น) ระยะเวลาทÉีเกิดการเปลÉียนแปลง t2 - t1 t 
อัตราการเพิÉมขึÊนของสาร C = ความเข้มข้นของสาร C ทÉีเปลÉียนไป = [C2] - [C1 ] = [C] 
(สารผลิตภัณฑ์) ระยะเวลาทีÉเกิดการเปลีÉยนแปลง t2 - t1 t 
อัตราการเปลีÉยนแปลงของสาร B เขียนแสดงได้อย่างไร 
โดย อรณี หัสเสม : เรียบเรียง 2
ตัวอย่าง ความเข้มข้นของสารตัÊงต้นและผลิตภัณฑ์ ณ เวลาต่าง ๆ ทÉีอุณหภูมิ ŝŘŘ องศาเซลเซียส ของปฏิกิริยา 
2N2O5 (g) 4NO2 (g) + O2 (g) 
เวลา (s) ความเข้มข้น (mol/dm3) 
N2O5 NO2 O2 
Ř Ř.ŘŚŘŘ Ř.ŘŘŘŘ Ř.ŘŘŘŘ 
řŘŘ Ř.ŘřŞš Ř.ŘŘŞś Ř.ŘŘřŞ 
ŚŘŘ Ř.ŘřŜŚ Ř.Řřřŝ Ř.ŘŘŚš 
śŘŘ Ř.ŘřŚŘ Ř.ŘřŞŘ Ř.ŘŘŜŘ 
ŜŘŘ Ř.ŘřŘř Ř.Řřšş 0.0049 
ŝŘŘ Ř.ŘŘŠŞ Ř.ŘŚŚš Ř.ŘŘŝş 
ŞŘŘ Ř.ŘŘşŚ Ř.ŘŚŝŞ Ř.ŘŘŞŜ 
1. ช่วงเวลา 500 -600 อัตราการสลายตัวของแก๊ส N2O5 
มีค่าเท่าใด 
2. ช่วงเวลา 0-100 อัตราการเกิดแก๊ส NO2 มีค่าเท่าใด 
ให้นักเรียนใช้ข้อมูลในตารางนีÊ หา (คะแนน ŝ คะแนน) 
1. ช่วงเวลา 200 -300 อัตราการเกิดแก๊ส O2 มีค่าเท่าใด 
2. ช่วงเวลา 300-400 อัตราการเกิดแก๊ส NO2 มีค่าเท่าใด 
3. ช่วงเวลา 400-500 อัตราการสลายตัวแก๊ส N2O5 มีค่าเท่าใด 
โดย อรณี หัสเสม : เรียบเรียง 3
Ş.ś พลังงานกับการดำเนินไปของปฏิกิริยา 
- การเกิดปฏิกิริยาเคมีจะมีพลังงานเข้ามาเกีÉยวข้องด้วย เนืÉองจากมีการสลายและสร้างพันธะระหว่างอะตอมของสารในระบบ 
อาจเขียนแสดงด้วยกราฟ ดังรูป 
จากกราฟ อธิบายได้ว่า 
- สารตัÊงต้นมีพลังงาน Eř โดยโมเลกุลของสารตัÊงต้นนัÊนจะชนกัน ทำให้มีพลังงานเป็น EŚ ซึÉงจะไปสลายพันธะของสารตัÊงต้น 
- หลังจากนัÊนจะเกิดการสร้างพันธะใหม่เกิดเป็นผลิตภัณฑ์ ซึÉงมีพลังงานเป็น Eś 
- ผลต่างระหว่างพลังงาน EŚ กับ Eř คือ พลังงานก่อกัมมันต์ของปฏิกิริยา (Ea) 
เนืÉองจากผลิตภัณฑ์ทีÉเกิดขึÊนมีพลังงานเท่ากับ Eś ซึÉงมีค่าน้อยกว่า Eř 
ระบบจึงคายพลังงานออกมามีค่าเท่ากับ Eś - Eř = - E ปฏิกิริยานีÊจึง “ปฏิกิริยาคายพลังงาน” 
จากกราฟ อธิบายได้ว่า 
- สารตัÊงต้นมีพลังงาน Eř พลังงานก่อกัมมันต์ของปฏิกิริยาเท่ากับ Ea และผลิตภัณฑ์ทÉีเกิดขึÊนมีพลังงาน Eś 
- เนืÉองจากในปฏิกิริยานีÊ Eś มีค่าสูงกว่า Eř ระบบจึงดูดพลังงานเข้าไปมีค่าเท่ากับ Eś - Eř = E 
ปฏิกิริยานีÊจึงเป็น “ปฏิกิริยาดูดพลังงาน” 
จากคำอธิบายทีÉกล่าวมาแล้วช่วยให้สรุปได้ 
 ว่าปฏิกิริยาเคมีใด ๆ ทÉีเป็นปฏิกิริยาคายพลังงาน ผลิตภัณฑ์จะมีพลังงานตÉำกว่าสารตัÊงต้น 
 ในทางตรงกันข้ามถ้าเป็นปฏิกิริยาดูดพลังงาน ผลิตภัณฑ์จะมีพลังงานสูงกว่าสารตัÊงต้น 
โดย อรณี หัสเสม : เรียบเรียง 4
6.4 ปัจจัยทีÉมีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยา 
 อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีสามารถถูกควบคุมให้มีค่ามากหรือน้อยโดยปัจจัยต่อไปนีÊ 
1. ธรรมชาติของสารตัÊงต้น (Nature of reactant) 
2. ความเข้มข้นของสารตัÊงต้น (Concentration of reactant) 
3. ความดันของสารตัÊงต้น (Pressure of reaction) 
4. พืÊนทÉีผิวของสารตัÊงต้น (Surface area) 
5. อุณหภูมิ (Temperature) 
6. ตัวเร่งปฏิกิริยา (Catalyst) และ ตัวหน่วงปฏิกิริยา (Inhibitor) 
6.4.1 ธรรมชาติของสารตัÊงต้น 
โดย อรณี หัสเสม : เรียบเรียง 5 
Reaction แปลว่า ปฏิกิริยา 
Reactant แปลว่า สารทÉีเข้าทำปฏิกิริยา 
 สารต่างชนิดกัน จะทำปฏิกิริยาเคมีได้ เร็ว หรือ ช้า ต่างกัน ขึÊนอยกูั่บสมบัติของสารแต่ละชนิด เช่น 
- โลหะโซเดียม ( ) ทำปฏิกิริยากับนÊำเย็นได้เร็วมาก 
- โลหะแมกนีเซียม ( ) ทำปฏิกิริยากับนÊำร้อนได้เร็วมาก 
ทÉีเป็นเช่นนีÊเพราะ โลหะโซเดียม มีความว่องไวในการเกิดปฏิกิริยา เร็วกว่า โลหะแมกนีเซียม 
6.4.2 ความเข้มข้นของสารตัÊงต้น 
 ในปฏิกิริยาเคมีส่วนใหญ่ อัตราการเกิดปฏิกิริยาขึÊนอยกูั่บความเข้มข้นของสารตัÊงต้นทÉีเข้าทำปฏิกิริยา สามารถอธิบายได้ ดังนีÊ 
- เมÉือสารตัÊงต้นมีความเข้มข้นมาก จะเกิดผลิตภัณฑ์มาก เพราะอัตราการเกิดปฏิกิริยามาก 
สารผลิตภัณฑ์ 
สารตัÊงต้น 
เวลา 
ความเข้มข้น 
ทำไมยิÉงความเข้มข้นมาก 
ยิÉงเกิดปฏิกิริยาได้ดี มาดูกันจ้า…!!! 
- จากกราฟจะเห็นว่า ระยะเริÉมต้น ความเข้มข้นจะลดลงอย่างรวดเร็ว ในขณะทÉีผลิตภัณฑ์เพิÉมขึÊน 
- เมืÉอเวลาผ่านไป การเปลีÉยนแปลงดังกล่าวจะลดลง จนอัตราการเปลีÉยนแปลงเท่ากับศูนย์ 
โดยสารตัÊงต้นหมด ส่วนสารผลิตภัณฑ์จะมีค่าคงทÉี 
- สรุปจากกราฟ อัตราการเกิดปฏิกิริยามีค่ามาก ในระยะเรÉิมต้น เพราะ ความเข้มข้นของสารตัÊงต้นมาก 
เมÉือเวลาผ่านไป ความเข้มข้นของสารตัÊงต้นลดลง อัตราการเกิดปฏิกิริยาก็ลดลง 
และเมÉือสารตัÊงต้นหมด อัตราการเกิดปฏิกิริยาจะเท่ากับศูนย์ 
 การอธิบายผลของความเข้มข้นต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยา สามารถใช้ทฤษฎีการชนกัน สามารถอธิบายได้ดังนีÊ 
เมÉือความเข้มข้นของสารตัÊงต้นมาก (อนุภาคก็มาก) ก็สามารถเข้าทำปฏิกิริยากันได้มาก 
อนุภาคทÉีมีมาก ก็จะมีโอกาสวิÉงชนกันมาก (ความถÉีในการชนสูง,ชนกันบ่อย) ทำให้มีพลังงานสูงมากด้วย 
เมÉือพลังงานสูง ทำให้อนุภาคกันและเกิดการเข้าทำปฏิกิริยาได้มาก อัตราการเกิดปฏิกิริยาก็มากด้วย 
 ดังนัÊน เมÉือเพÉิมความเข้มข้นของสารตัÊงต้นมาก ปฏกิิริยาจะเกิดได้เร็ว เพราะความถÉีในการชนกันของอนุภาคมาก 
 แต่เมÉือความเข้มข้นของสารตัÊงต้นลดลง ปฏิกิริยาจะเกิดได้ช้า เพราะ ความถÉีในการชนน้อย 
 ถ้าเกิดปฏิกิริยามาก ก็เกิดผลิตภัณฑ์มาก แต่เมÉือปฏิกิริยาหยุดลง เพราะสารตัÊงต้นหมด ผลิตภัณฑ์จะคงทÉี
6.4.3 ความดันของสารตัÊงต้น 
 การอธิบายผลของความดันของสารตัÊงต้นต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี สามารถอธิบายได้ ดังนีÊ 
โดย อรณี หัสเสม : เรียบเรียง 6 
- ความดันแปรผันตรงกับความเข้มข้น กล่าวคือ เมÉือความเข้มข้นเพิÉมมากขึÊน ความดันก็เพิÉมมากขึÊนด้วย 
- ดังนัÊน เมÉือความดันเพิÉมขึÊน (ความเข้มข้นก็เพิÉมขึÊน) ทำให้อนุภาคมีโอกาสชนกันมากขึÊน (ความถÉีในการชนมาก) ทำให้มี 
พลังงานสูงขึÊน การเกิดปฏิกิริยาเคมีก็มากด้วย อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีจึงมาก 
6.4.4 พÊืนทÉีผิวของสารตัÊงต้น 
 การอธิบายผลของพืÊนทÉีผิวของสารตัÊงต้น (ของแข็ง) ต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี สามารถอธิบายได้ ดังนีÊ 
- เมÉือพืÊนทÉีผิวของสารตัÊงต้นทÉีเป็นของแข็งมาก จะทำให้มีเนืÊอทÉีทÉีจะให้อนุภาคของสารตัÊงต้นเข้าไปชนกันมาก และมีความถÉีใน 
การชนมาก การเกิดปฏิกิริยาก็จะมาก อัตราการเกิดปฏิกิริยาจึงมาก 
- แต่ในทางตรงกันข้าม ถ้าพืÊนทÉีผิวของสารตัÊงต้นทÉีเป็นของแข็งน้อย การเกิดปฏิกิริยาก็น้อยลงไปด้วย 
- เช่น การเคีÊยวอาหาร 
6.4.5 อุณหภูมิของสารตัÊงต้น 
 การอธิบายผลของอุณหภูมิ ต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี สามารถอธิบายได้ ดังนีÊ 
เมÉืออุณหภูมิสูงขึÊน ทำให้อนุภาคมีการชนกันมากขึÊน 
เพราะ การเพิÉมอุณหภูมิ หรือให้ความร้อนแก่สารในปฏิกริิยาทำให้อนุภาคมีพลังงานสูงขึÊน 
เมÉืออนุภาคมีพลังงานสูง ก็จะเคลÉือนทÉีได้เร็ว และชนกันมากขึÊน 
โอกาสทÉีจะชนกันแล้วเข้าไปทำปฏิกิริยาก็มีมากขึÊนด้วย 
ปฏิกิริยาก็เกิดได้มาก อัตราการเกิดปฏิกิริยาก็มากด้วย 
6.4.6 ตัวเร่งปฏิกิริยา แล ะ ตัวหน่วงปฏิกิริยา การเพิÉมความเข้มข้น 
การเพิÉมความดัน 
การเพิÉมพืÊนทÉีผิว 
การเพิÉมอุณหภูมิ 
- การเพิÉมอัตราการเกิดปฏิกิริยา นอกจากจะทำได้โดย 
- ยังสามารถทำได้โดย การเติมสารบางชนิดลงไป 
- เรียกสารทÉีเติมลงไปแล้วทำให้ปฏิกิริยาเคมีเกิดเร็วขึÊน ว่า ตัวเร่งปฏิกิริยา หรือ คะตะลิสต์ (Catalyst) 
ตัวเร่งปฏิกิริยา คือ สารทÉีเติมลงไปในปฏิกิริยาแล้วทำให้อัตราการเกิดปฏิกิริยาเร็วขึÊน โดย 
ในขณะเกิดปฏิกิริยา ตัวเร่งปฏิกิริยา (คะตะลิสต์) ไม่เกิดการเปลีÉยนแปลง 
แต่ เมืÉอสิÊนสุดปฏิกิริยา จะได้ตัวคะตะลิสต์กลับมาในขนาดและปริมาณเท่าเดิม เช่น เอนไซม์ (Enzyme) 
เอนไซม์ - เป็นสารประกอบอินทรีย์จำพวกโปรตีน ทำหน้าทÉีเป็นตัวเร่งปฏิกิริยาเคมีทÉีสำคัญต่อร่างกายของสิÉงมีชีวิต 
ปฏิกิริยาต่างๆ ในร่างกายเกิดขึÊนได้ในอุณหภูมิปกติ เพราะ มีเอนไซม์เป็นตัวเร่งปฏิกิริยา 
คุณสมบัติของเอนไซม์ทีÉสำคัญ ได้แก่ 
ทำหน้าทÉีเร่งปฏิกิริยาเฉพาะอย่างเท่านัÊน เช่น เอนไซม์ซูเครส ย่อยนÊำตาลซูโคส , เอนไซม์แลกเตส ย่อย แลกโตส เป็นต้น 
E + S ES P + E 
เอนไซม์ สับเสตรต สารเชิงซ้อน ผลิตภัณฑ์ เอนไซม์
- การอธิบายผลของตัวเร่งปฏิกิริยาทีÉมีต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี 
ผลิตภัณฑ์ E1 
E3 
การดำเนินไปของปฏิกิริยา 
พลังงาน 
สารตัÊงต้น 
E1 
สารตัÊงต้น 
พลังงาน 
ก่อกมัมันต์ 
Ea 
พลังงาน 
ก่อกมัมันต์ 
Ea 
โดย อรณี หัสเสม : เรียบเรียง 7 
ปฏิกิริยาดูดพลังงาน ปฏิกิริยาคายพลังงาน 
พลังงาน 
ผลิตภัณฑ์ 
E3 
การดำเนินไปของปฏิกิริยา 
- ตัวเร่งปฏิกิริยา (คะตะลิสต์) ทำให้ปฏิกิริยาเกิดเร็วขึÊน เนÉืองจากตัวเร่งปฏิกิริยานีÊไปช่วยทำให้พลังงานก่อกัมมันต์ลดลง 
(พลังงานก่อกัมมันต์แสดงในกราฟทัÊง Ś นีÊ) เมÉือพลังงานก่อกัมมันต์ลดลง ทำให้ปฏิกิริยาเกิดได้ง่ายและเร็วขึÊน 
- เปรียบกับการโยนลูกบอลข้ามเนินเขา , ลูกบอล = ปฏิกิริยา เนินเขา = พลังงานก่อกัมมันต์ 
ถ้าเนินเขาสูง การโยนลูกบอลข้ามไปก็ยาก แต่ถ้าลดให้เนินเขาตํÉาลง การโยนลูกบอลข้ามไปก็ทำได้ง่ายขึÊน 
ตัวหน่วงปฏิกิริยา 
- ตัวหน่วงปฏิกิริยา (Inhibitor) คือ สารทÉีเติมลงไปแล้วทำให้ปฏิกิริยาเกิดได้ช้าลง หรือทำให้อัตราการเกิดปฏิกิริยาตํÉาลง 
เมÉือสิÊนสุดปฏิกิริยา ตัวหน่วงปฏิกิริยาจะกลับเป็นเหมือนเดิม และมีปริมาณเท่าเดิม 
- การอธิบายผลของตัวหน่วงปฏิกิริยาทีÉมีต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยา 
ตัวหน่วงปฏิกิริยา (อินฮิบิเตอร์) ทำให้ปฏิกิริยาเกิดขึÊนช้าลง เนÉืองจากตัวหน่วงปฏิกิริยาไปช่วยทำให้พลังงานก่อกัมมันต์เพิÉมขึÊน 
เมÉือพลังงานก่อกัมมันต์เพิÉมขึÊน ทำให้ปฏิกิริยาเกิดได้ยากขึÊน อัตราการเกิดปฏิกิริยาก็ตํÉา 
- แม้ตัวหน่วงจะทำให้ปฏิกิริยาเกิดได้ช้าลง แต่ก็ยังมีการนำมาใช้ประโยชน์ได้ เช่น การเติมโซเดียมเบนโซเอต ( C6H5COONa ) 
ลงในอาหารสำเร็จรูป เพืÉอป้องกันการบูดเน่าของอาหาร (โซเดียมโซเดียมเบนโซเอต เป็นตัวหน่วง ปฏิกิริยาการเกิดปฏิกิริยาของ 
จุลินทรีย์ในอาหารทÉีทำให้อาหารบูด) 
- สรุป เกีÉยวกับปัจจัยมีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยา 
1. อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีขึÊนอยกูั่บธรรมชาติสารตัÊงต้น คือ ถ้าสารตัÊงต้นมีสมบัติต่างกัน 
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีจะมีค่าไม่เท่ากัน 
2. ปฏิกิริยาเคมีส่วนใหญ่ เมÉือเพิÉมความเข้มข้นของสารตัÊงต้น จะทำให้ปฏิกิริยาเกิดเร็วขึÊน ในทางตรงกันขา้ม 
ถ้าลดความเข้มข้นของสารตัÊงต้นปฏิกิริยาจะเกิดช้าลง 
3. ปฏิกิริยาเคมีทÉีมีสารตัÊงต้นอยใู่นสถานะแก๊ส เมÉือเพิÉมความเข้มข้น ความดันจะเพิมÉขึÊน ปฏิกิริยาจะเกิดได้เร็วขึÊน 
4. ในปฏิกิริยาเนืÊอผสม ถ้าสารตัÊงต้นมีของแข็งอยดู่้วย การเพิÉมพืÊนทÉีผิวของสารทÉีเป็นของแข็ง ทำให้ปฏิกิริยาเกิดได้เร็วขึÊน 
5. การเพิÉมอุณหภูมิ ทำให้ปฏิกิริยาเกิดเร็วขึÊน ในทางตรงกันข้ามการลดอุณหภูมิทำให้ปฏิกิริยาเกิดช้าลง 
6. ตัวเร่งปฏิกิริยาหรือคะตะลิสต์ ทำให้ปฏิกิริยาเกิดได้เร็วขึÊน ในทางตรงกันข้าม ตัวหน่วงปฏิกิริยาหรืออินฮิบิเตอร์ 
ทำให้ปฏิกิริยาเกิดได้ช้าลง

More Related Content

What's hot

เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีเอกสารประกอบการเรียน เรื่อง อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
พัน พัน
 
แบบฝึกหัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
แบบฝึกหัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีแบบฝึกหัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
แบบฝึกหัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
ืkanya pinyo
 
ทฤษฎีและพลังงานกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี
ทฤษฎีและพลังงานกับการเกิดปฏิกิริยาเคมีทฤษฎีและพลังงานกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี
ทฤษฎีและพลังงานกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี
พัน พัน
 
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2dnavaroj
 
พันธะไอออนิก57
พันธะไอออนิก57 พันธะไอออนิก57
พันธะไอออนิก57
Saipanya school
 
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 1
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 1เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 1
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 1Tanchanok Pps
 
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีJariya Jaiyot
 
4 chem formular
4 chem formular4 chem formular
4 chem formular
Saipanya school
 
แนวคิดเกี่ยวกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี เล่ม3
แนวคิดเกี่ยวกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี เล่ม3แนวคิดเกี่ยวกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี เล่ม3
แนวคิดเกี่ยวกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี เล่ม3
ธิชารัศมิ์ ศรีบุญเรือง
 
บทที่ 11 เคมีอินทรีย์
บทที่ 11 เคมีอินทรีย์บทที่ 11 เคมีอินทรีย์
บทที่ 11 เคมีอินทรีย์
oraneehussem
 
แบบฝึกหัดเคมีอินทรีย์
แบบฝึกหัดเคมีอินทรีย์แบบฝึกหัดเคมีอินทรีย์
แบบฝึกหัดเคมีอินทรีย์
Kapom K.S.
 
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์Jariya Jaiyot
 
ใบความรู้สนามแม่เหล็ก
ใบความรู้สนามแม่เหล็กใบความรู้สนามแม่เหล็ก
ใบความรู้สนามแม่เหล็ก
สุกัญญา นิ่มพันธุ์
 
แบบทดสอบตามตัวชี้วัด ม.1.doc.pdf
แบบทดสอบตามตัวชี้วัด ม.1.doc.pdfแบบทดสอบตามตัวชี้วัด ม.1.doc.pdf
แบบทดสอบตามตัวชี้วัด ม.1.doc.pdf
ssuser2feafc1
 
แม่เหล็กไฟฟ้า
แม่เหล็กไฟฟ้าแม่เหล็กไฟฟ้า
แม่เหล็กไฟฟ้าTheerawat Duangsin
 
ปริมาณสารสัมพันธ์ - Stoichiometry
ปริมาณสารสัมพันธ์ - Stoichiometryปริมาณสารสัมพันธ์ - Stoichiometry
ปริมาณสารสัมพันธ์ - Stoichiometry
Dr.Woravith Chansuvarn
 
การเขียนสูตรโครงสร้าง
การเขียนสูตรโครงสร้างการเขียนสูตรโครงสร้าง
การเขียนสูตรโครงสร้างMaruko Supertinger
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
กิตติธัช สืบสุนทร
 

What's hot (20)

เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีเอกสารประกอบการเรียน เรื่อง อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
 
แบบฝึกหัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
แบบฝึกหัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีแบบฝึกหัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
แบบฝึกหัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
 
ทฤษฎีและพลังงานกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี
ทฤษฎีและพลังงานกับการเกิดปฏิกิริยาเคมีทฤษฎีและพลังงานกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี
ทฤษฎีและพลังงานกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี
 
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2
 
พันธะไอออนิก57
พันธะไอออนิก57 พันธะไอออนิก57
พันธะไอออนิก57
 
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 1
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 1เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 1
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 1
 
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
 
Ex2
Ex2Ex2
Ex2
 
4 chem formular
4 chem formular4 chem formular
4 chem formular
 
แนวคิดเกี่ยวกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี เล่ม3
แนวคิดเกี่ยวกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี เล่ม3แนวคิดเกี่ยวกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี เล่ม3
แนวคิดเกี่ยวกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี เล่ม3
 
การนำไฟฟ้า (Conductivity)
การนำไฟฟ้า (Conductivity)การนำไฟฟ้า (Conductivity)
การนำไฟฟ้า (Conductivity)
 
บทที่ 11 เคมีอินทรีย์
บทที่ 11 เคมีอินทรีย์บทที่ 11 เคมีอินทรีย์
บทที่ 11 เคมีอินทรีย์
 
แบบฝึกหัดเคมีอินทรีย์
แบบฝึกหัดเคมีอินทรีย์แบบฝึกหัดเคมีอินทรีย์
แบบฝึกหัดเคมีอินทรีย์
 
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
 
ใบความรู้สนามแม่เหล็ก
ใบความรู้สนามแม่เหล็กใบความรู้สนามแม่เหล็ก
ใบความรู้สนามแม่เหล็ก
 
แบบทดสอบตามตัวชี้วัด ม.1.doc.pdf
แบบทดสอบตามตัวชี้วัด ม.1.doc.pdfแบบทดสอบตามตัวชี้วัด ม.1.doc.pdf
แบบทดสอบตามตัวชี้วัด ม.1.doc.pdf
 
แม่เหล็กไฟฟ้า
แม่เหล็กไฟฟ้าแม่เหล็กไฟฟ้า
แม่เหล็กไฟฟ้า
 
ปริมาณสารสัมพันธ์ - Stoichiometry
ปริมาณสารสัมพันธ์ - Stoichiometryปริมาณสารสัมพันธ์ - Stoichiometry
ปริมาณสารสัมพันธ์ - Stoichiometry
 
การเขียนสูตรโครงสร้าง
การเขียนสูตรโครงสร้างการเขียนสูตรโครงสร้าง
การเขียนสูตรโครงสร้าง
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
 

Similar to บทที่ 6 อัตราการเกิดปฏิกิริยา

จลนศาสตร์เคมี (Kinetics Chemistry)
จลนศาสตร์เคมี (Kinetics Chemistry)จลนศาสตร์เคมี (Kinetics Chemistry)
จลนศาสตร์เคมี (Kinetics Chemistry)
Dr.Woravith Chansuvarn
 
อัตราการเกิดปฏิกิริยา๘ มหิดล
อัตราการเกิดปฏิกิริยา๘ มหิดลอัตราการเกิดปฏิกิริยา๘ มหิดล
อัตราการเกิดปฏิกิริยา๘ มหิดลbuabun
 
ใบความแนวคิดการเกิดปฏิกิริยา
ใบความแนวคิดการเกิดปฏิกิริยาใบความแนวคิดการเกิดปฏิกิริยา
ใบความแนวคิดการเกิดปฏิกิริยาyaowaluk
 
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมีการเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
ครูเสกสรรค์ สุวรรณสุข
 
3210000000000000000
32100000000000000003210000000000000000
3210000000000000000Awirut619
 
16442806.ppt
16442806.ppt16442806.ppt
16442806.ppt
lohkako kaka
 
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีweerabong
 
Ch 03 nuclear chemistry
Ch 03 nuclear chemistryCh 03 nuclear chemistry
Ch 03 nuclear chemistrykruannchem
 
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีchemnpk
 
New เอกสาร microsoft word
New เอกสาร microsoft wordNew เอกสาร microsoft word
New เอกสาร microsoft wordOrathai Wongwan
 
จลนศาสตร์เคมีและสมดุลเคมี
จลนศาสตร์เคมีและสมดุลเคมีจลนศาสตร์เคมีและสมดุลเคมี
จลนศาสตร์เคมีและสมดุลเคมี
nn ning
 
กมลชนก
กมลชนกกมลชนก
กมลชนกBlovely123
 
สุปราณี ม.5
สุปราณี  ม.5สุปราณี  ม.5
สุปราณี ม.5bee255taiy
 
อดิศักดิ์
อดิศักดิ์อดิศักดิ์
อดิศักดิ์adiak11
 
กมลชนก
กมลชนกกมลชนก
กมลชนกkamon369
 
อดิศักดิ์
อดิศักดิ์อดิศักดิ์
อดิศักดิ์adiak11
 

Similar to บทที่ 6 อัตราการเกิดปฏิกิริยา (20)

จลนศาสตร์เคมี (Kinetics Chemistry)
จลนศาสตร์เคมี (Kinetics Chemistry)จลนศาสตร์เคมี (Kinetics Chemistry)
จลนศาสตร์เคมี (Kinetics Chemistry)
 
อัตราการเกิดปฏิกิริยา๘ มหิดล
อัตราการเกิดปฏิกิริยา๘ มหิดลอัตราการเกิดปฏิกิริยา๘ มหิดล
อัตราการเกิดปฏิกิริยา๘ มหิดล
 
Sheet rate
Sheet rateSheet rate
Sheet rate
 
ใบความแนวคิดการเกิดปฏิกิริยา
ใบความแนวคิดการเกิดปฏิกิริยาใบความแนวคิดการเกิดปฏิกิริยา
ใบความแนวคิดการเกิดปฏิกิริยา
 
Rate3
Rate3Rate3
Rate3
 
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมีการเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
 
Rate
RateRate
Rate
 
2
22
2
 
3210000000000000000
32100000000000000003210000000000000000
3210000000000000000
 
16442806.ppt
16442806.ppt16442806.ppt
16442806.ppt
 
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
 
Ch 03 nuclear chemistry
Ch 03 nuclear chemistryCh 03 nuclear chemistry
Ch 03 nuclear chemistry
 
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
 
New เอกสาร microsoft word
New เอกสาร microsoft wordNew เอกสาร microsoft word
New เอกสาร microsoft word
 
จลนศาสตร์เคมีและสมดุลเคมี
จลนศาสตร์เคมีและสมดุลเคมีจลนศาสตร์เคมีและสมดุลเคมี
จลนศาสตร์เคมีและสมดุลเคมี
 
กมลชนก
กมลชนกกมลชนก
กมลชนก
 
สุปราณี ม.5
สุปราณี  ม.5สุปราณี  ม.5
สุปราณี ม.5
 
อดิศักดิ์
อดิศักดิ์อดิศักดิ์
อดิศักดิ์
 
กมลชนก
กมลชนกกมลชนก
กมลชนก
 
อดิศักดิ์
อดิศักดิ์อดิศักดิ์
อดิศักดิ์
 

More from oraneehussem

ใบงาน 17.1 17.3
ใบงาน 17.1 17.3ใบงาน 17.1 17.3
ใบงาน 17.1 17.3
oraneehussem
 
ใบงาน 15.1
ใบงาน 15.1ใบงาน 15.1
ใบงาน 15.1
oraneehussem
 
ใบงาน 14.1 14.3
ใบงาน 14.1 14.3ใบงาน 14.1 14.3
ใบงาน 14.1 14.3
oraneehussem
 
ใบงาน 12.1
ใบงาน 12.1ใบงาน 12.1
ใบงาน 12.1
oraneehussem
 
ใบงาน 11.1
ใบงาน 11.1ใบงาน 11.1
ใบงาน 11.1
oraneehussem
 
ใบงาน 10.1 10.2
ใบงาน 10.1 10.2ใบงาน 10.1 10.2
ใบงาน 10.1 10.2
oraneehussem
 
ใบงาน 9.1 9.3
ใบงาน 9.1 9.3ใบงาน 9.1 9.3
ใบงาน 9.1 9.3
oraneehussem
 
ใบงาน 8.1 8.2
ใบงาน 8.1 8.2ใบงาน 8.1 8.2
ใบงาน 8.1 8.2
oraneehussem
 
ใบงาน 7.1 7.3
ใบงาน 7.1 7.3ใบงาน 7.1 7.3
ใบงาน 7.1 7.3
oraneehussem
 
ใบงาน 6.1 6.4
ใบงาน 6.1 6.4ใบงาน 6.1 6.4
ใบงาน 6.1 6.4
oraneehussem
 
ใบงาน 2.1 2.3
ใบงาน 2.1 2.3ใบงาน 2.1 2.3
ใบงาน 2.1 2.3
oraneehussem
 
ใบงาน 4.1 4.3
ใบงาน 4.1 4.3ใบงาน 4.1 4.3
ใบงาน 4.1 4.3
oraneehussem
 
ใบงาน 3.1 3.2
ใบงาน 3.1 3.2ใบงาน 3.1 3.2
ใบงาน 3.1 3.2
oraneehussem
 
ใบงาน 2.1
ใบงาน 2.1ใบงาน 2.1
ใบงาน 2.1
oraneehussem
 
ใบงาน 1.1
ใบงาน 1.1ใบงาน 1.1
ใบงาน 1.1
oraneehussem
 
สารสนเทศ โรงเรียนบางสะพานน้อยวิทยาคม ปีการศึกษา 2557
สารสนเทศ โรงเรียนบางสะพานน้อยวิทยาคม ปีการศึกษา 2557สารสนเทศ โรงเรียนบางสะพานน้อยวิทยาคม ปีการศึกษา 2557
สารสนเทศ โรงเรียนบางสะพานน้อยวิทยาคม ปีการศึกษา 2557
oraneehussem
 
สารสนเทศ 2556
สารสนเทศ 2556สารสนเทศ 2556
สารสนเทศ 2556
oraneehussem
 
Onet เคมี M6
Onet เคมี M6Onet เคมี M6
Onet เคมี M6oraneehussem
 
บทที่1อะตอมและตารางธาตุ
บทที่1อะตอมและตารางธาตุบทที่1อะตอมและตารางธาตุ
บทที่1อะตอมและตารางธาตุ
oraneehussem
 
บทที่ 13 สารชีวโมเลกุล
บทที่ 13 สารชีวโมเลกุลบทที่ 13 สารชีวโมเลกุล
บทที่ 13 สารชีวโมเลกุล
oraneehussem
 

More from oraneehussem (20)

ใบงาน 17.1 17.3
ใบงาน 17.1 17.3ใบงาน 17.1 17.3
ใบงาน 17.1 17.3
 
ใบงาน 15.1
ใบงาน 15.1ใบงาน 15.1
ใบงาน 15.1
 
ใบงาน 14.1 14.3
ใบงาน 14.1 14.3ใบงาน 14.1 14.3
ใบงาน 14.1 14.3
 
ใบงาน 12.1
ใบงาน 12.1ใบงาน 12.1
ใบงาน 12.1
 
ใบงาน 11.1
ใบงาน 11.1ใบงาน 11.1
ใบงาน 11.1
 
ใบงาน 10.1 10.2
ใบงาน 10.1 10.2ใบงาน 10.1 10.2
ใบงาน 10.1 10.2
 
ใบงาน 9.1 9.3
ใบงาน 9.1 9.3ใบงาน 9.1 9.3
ใบงาน 9.1 9.3
 
ใบงาน 8.1 8.2
ใบงาน 8.1 8.2ใบงาน 8.1 8.2
ใบงาน 8.1 8.2
 
ใบงาน 7.1 7.3
ใบงาน 7.1 7.3ใบงาน 7.1 7.3
ใบงาน 7.1 7.3
 
ใบงาน 6.1 6.4
ใบงาน 6.1 6.4ใบงาน 6.1 6.4
ใบงาน 6.1 6.4
 
ใบงาน 2.1 2.3
ใบงาน 2.1 2.3ใบงาน 2.1 2.3
ใบงาน 2.1 2.3
 
ใบงาน 4.1 4.3
ใบงาน 4.1 4.3ใบงาน 4.1 4.3
ใบงาน 4.1 4.3
 
ใบงาน 3.1 3.2
ใบงาน 3.1 3.2ใบงาน 3.1 3.2
ใบงาน 3.1 3.2
 
ใบงาน 2.1
ใบงาน 2.1ใบงาน 2.1
ใบงาน 2.1
 
ใบงาน 1.1
ใบงาน 1.1ใบงาน 1.1
ใบงาน 1.1
 
สารสนเทศ โรงเรียนบางสะพานน้อยวิทยาคม ปีการศึกษา 2557
สารสนเทศ โรงเรียนบางสะพานน้อยวิทยาคม ปีการศึกษา 2557สารสนเทศ โรงเรียนบางสะพานน้อยวิทยาคม ปีการศึกษา 2557
สารสนเทศ โรงเรียนบางสะพานน้อยวิทยาคม ปีการศึกษา 2557
 
สารสนเทศ 2556
สารสนเทศ 2556สารสนเทศ 2556
สารสนเทศ 2556
 
Onet เคมี M6
Onet เคมี M6Onet เคมี M6
Onet เคมี M6
 
บทที่1อะตอมและตารางธาตุ
บทที่1อะตอมและตารางธาตุบทที่1อะตอมและตารางธาตุ
บทที่1อะตอมและตารางธาตุ
 
บทที่ 13 สารชีวโมเลกุล
บทที่ 13 สารชีวโมเลกุลบทที่ 13 สารชีวโมเลกุล
บทที่ 13 สารชีวโมเลกุล
 

Recently uploaded

การเคลื่อนที่ของคลื่น ปรากฎการคลื่นกล ความเร็วคลื่น ส่วนประกอบของคลื่น
การเคลื่อนที่ของคลื่น ปรากฎการคลื่นกล ความเร็วคลื่น ส่วนประกอบของคลื่นการเคลื่อนที่ของคลื่น ปรากฎการคลื่นกล ความเร็วคลื่น ส่วนประกอบของคลื่น
การเคลื่อนที่ของคลื่น ปรากฎการคลื่นกล ความเร็วคลื่น ส่วนประกอบของคลื่น
RSapeTuaprakhon
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 

Recently uploaded (6)

การเคลื่อนที่ของคลื่น ปรากฎการคลื่นกล ความเร็วคลื่น ส่วนประกอบของคลื่น
การเคลื่อนที่ของคลื่น ปรากฎการคลื่นกล ความเร็วคลื่น ส่วนประกอบของคลื่นการเคลื่อนที่ของคลื่น ปรากฎการคลื่นกล ความเร็วคลื่น ส่วนประกอบของคลื่น
การเคลื่อนที่ของคลื่น ปรากฎการคลื่นกล ความเร็วคลื่น ส่วนประกอบของคลื่น
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 

บทที่ 6 อัตราการเกิดปฏิกิริยา

  • 1. โดย อรณี หัสเสม : เรียบเรียง 1 บททีÉ Ş อัตราการเกิดปฏิกิริยา (Rate of chemical reaction) มีเนืÊอหาทีÉนักเรียนจะต้องเรียนดังนีÊ Ş.ř แนวคิดเกีÉยวกับการเกิดปฏิกิริยา Ş.Ś ความหมายของอัตราการเกิดปฏิกิริยา Ş.ś พลังงานกับการดำเนินไปของปฏิกิริยา Ş.Ŝ ปัจจัยทีÉมีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยา หมายเหตุ : ถ้าโมเลกุลมีพลังงานจลน์ตํÉา ชนกัน และพลังงานไม่สูงพอ จะไม่มีปฏิกิริยาเกิดขึÊน  ปฏิกิริยาเคมี (Chemical reaction) คือ กระบวนการทÉีเกิดจากสารเคมี Ś ชนิดขึÊนไป เกิดการรวมกัน เกิดเป็นสารใหม่ เช่น  เมืÉอเกิดปฏิกิริยาเคมี ปริมาณสารในระบบจะเปลีÉยนไป โดย  อัตราการเกิดปฏิกิริยา เปรียบเทียบกับ อัตราเร็วรถ = ระยะทางทีÉรถเคลืÉอนทีÉได้ ระยะเวลาทีÉใช้ในการเคลืÉอนทีÉ ซึÉงการหาอัตราการเกิดปฏิกิริยา คือ ปริมาณสารตัÊงต้นลดลง อัตราการเกิดปฏิกิริยา = ปริมาณสารตัÊงต้นทÉีเปลÉียนไป หรือ ปริมาณสารผลิตภัณฑ์ทÉีเปลÉียนไป ระยะเวลาทีÉเกิดปฏิกิริยาเคมี ระยะเวลาทีÉเกิดปฏิกิริยาเคมี ดังนัÊน อัตราการเกิดปฏิกิริยา = A1 - A0 หรือ A t1 - t0 t Ş.Ś ความหมายของอัตราการเกิดปฏิกิริยา A + B C สารตัÊงต้น ผลิตภัณฑ์ (Substrate) (Product) 2 H + O H2O สารตัÊงต้น ผลิตภัณฑ์ (Substrate) (Product) ปริมาณสารผลิตภัณฑ์เพิÉมขึÊน Ş.ř แนวคิดเกีÉยวกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี โมเลกุล (สารตัÊงต้น) ทÉีมีพลังงานจลน์สูง หรือ มีอัตราเร็วสูง ชนกัน ชนกันแรง ทำให้เกิดพลังงานสูงขึÊนด้วย พลังงานสูงนีÊ จะสลายพันธะในสารตัÊงต้น พันธะในสารตัÊงต้นทÉีถูกสลาย จะไปสร้างพันธะกันใหม่ เกิดเป็นสารใหม่ เรียกว่า ผลิตภัณฑ์
  • 2. ตัวอย่าง สาร A ทำปฏิกิริยากับสาร B ได้สาร C เมÉือวัดความเข้มข้นของสาร A ขณะเกิดปฏิกิริยาได้ผลดังตาราง เวลา (วินาที) ความเข้มข้นสาร A (mol/dm3) 0 ř.ŘŘŘ 20 Ř.ŠřŠ 40 Ř.ŞŞš 60 Ř.ŝŜŠ ŠŘ Ř.ŜŜŠ řŘŘ Ř.śŞş ในช่วงเวลา Ř-ŚŘ ŜŘ -ŞŘ และ ŠŘ-řŘŘ วินาที ช่วงเวลาใดมีอัตราการเกิดปฏิกิริยามากทีÉสุด และอัตรา การเกิดปฏิกิริยาเฉลีÉยมีค่าเท่าใด A + B C จากสมการเคมี  ถ้าต้องการหาอัตราการการลดลง หรือ อัตราการเพิÉมขึÊนของสารในปฏิกิริยาเคมี ทำได้โดย อัตราการลดลงของสาร A = ความเข้มข้นของสาร A ทีÉเปลีÉยนไป = [A2] - [A1 ] = [A] (สารตัÊงต้น) ระยะเวลาทÉีเกิดการเปลÉียนแปลง t2 - t1 t อัตราการเพิÉมขึÊนของสาร C = ความเข้มข้นของสาร C ทÉีเปลÉียนไป = [C2] - [C1 ] = [C] (สารผลิตภัณฑ์) ระยะเวลาทีÉเกิดการเปลีÉยนแปลง t2 - t1 t อัตราการเปลีÉยนแปลงของสาร B เขียนแสดงได้อย่างไร โดย อรณี หัสเสม : เรียบเรียง 2
  • 3. ตัวอย่าง ความเข้มข้นของสารตัÊงต้นและผลิตภัณฑ์ ณ เวลาต่าง ๆ ทÉีอุณหภูมิ ŝŘŘ องศาเซลเซียส ของปฏิกิริยา 2N2O5 (g) 4NO2 (g) + O2 (g) เวลา (s) ความเข้มข้น (mol/dm3) N2O5 NO2 O2 Ř Ř.ŘŚŘŘ Ř.ŘŘŘŘ Ř.ŘŘŘŘ řŘŘ Ř.ŘřŞš Ř.ŘŘŞś Ř.ŘŘřŞ ŚŘŘ Ř.ŘřŜŚ Ř.Řřřŝ Ř.ŘŘŚš śŘŘ Ř.ŘřŚŘ Ř.ŘřŞŘ Ř.ŘŘŜŘ ŜŘŘ Ř.ŘřŘř Ř.Řřšş 0.0049 ŝŘŘ Ř.ŘŘŠŞ Ř.ŘŚŚš Ř.ŘŘŝş ŞŘŘ Ř.ŘŘşŚ Ř.ŘŚŝŞ Ř.ŘŘŞŜ 1. ช่วงเวลา 500 -600 อัตราการสลายตัวของแก๊ส N2O5 มีค่าเท่าใด 2. ช่วงเวลา 0-100 อัตราการเกิดแก๊ส NO2 มีค่าเท่าใด ให้นักเรียนใช้ข้อมูลในตารางนีÊ หา (คะแนน ŝ คะแนน) 1. ช่วงเวลา 200 -300 อัตราการเกิดแก๊ส O2 มีค่าเท่าใด 2. ช่วงเวลา 300-400 อัตราการเกิดแก๊ส NO2 มีค่าเท่าใด 3. ช่วงเวลา 400-500 อัตราการสลายตัวแก๊ส N2O5 มีค่าเท่าใด โดย อรณี หัสเสม : เรียบเรียง 3
  • 4. Ş.ś พลังงานกับการดำเนินไปของปฏิกิริยา - การเกิดปฏิกิริยาเคมีจะมีพลังงานเข้ามาเกีÉยวข้องด้วย เนืÉองจากมีการสลายและสร้างพันธะระหว่างอะตอมของสารในระบบ อาจเขียนแสดงด้วยกราฟ ดังรูป จากกราฟ อธิบายได้ว่า - สารตัÊงต้นมีพลังงาน Eř โดยโมเลกุลของสารตัÊงต้นนัÊนจะชนกัน ทำให้มีพลังงานเป็น EŚ ซึÉงจะไปสลายพันธะของสารตัÊงต้น - หลังจากนัÊนจะเกิดการสร้างพันธะใหม่เกิดเป็นผลิตภัณฑ์ ซึÉงมีพลังงานเป็น Eś - ผลต่างระหว่างพลังงาน EŚ กับ Eř คือ พลังงานก่อกัมมันต์ของปฏิกิริยา (Ea) เนืÉองจากผลิตภัณฑ์ทีÉเกิดขึÊนมีพลังงานเท่ากับ Eś ซึÉงมีค่าน้อยกว่า Eř ระบบจึงคายพลังงานออกมามีค่าเท่ากับ Eś - Eř = - E ปฏิกิริยานีÊจึง “ปฏิกิริยาคายพลังงาน” จากกราฟ อธิบายได้ว่า - สารตัÊงต้นมีพลังงาน Eř พลังงานก่อกัมมันต์ของปฏิกิริยาเท่ากับ Ea และผลิตภัณฑ์ทÉีเกิดขึÊนมีพลังงาน Eś - เนืÉองจากในปฏิกิริยานีÊ Eś มีค่าสูงกว่า Eř ระบบจึงดูดพลังงานเข้าไปมีค่าเท่ากับ Eś - Eř = E ปฏิกิริยานีÊจึงเป็น “ปฏิกิริยาดูดพลังงาน” จากคำอธิบายทีÉกล่าวมาแล้วช่วยให้สรุปได้  ว่าปฏิกิริยาเคมีใด ๆ ทÉีเป็นปฏิกิริยาคายพลังงาน ผลิตภัณฑ์จะมีพลังงานตÉำกว่าสารตัÊงต้น  ในทางตรงกันข้ามถ้าเป็นปฏิกิริยาดูดพลังงาน ผลิตภัณฑ์จะมีพลังงานสูงกว่าสารตัÊงต้น โดย อรณี หัสเสม : เรียบเรียง 4
  • 5. 6.4 ปัจจัยทีÉมีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยา  อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีสามารถถูกควบคุมให้มีค่ามากหรือน้อยโดยปัจจัยต่อไปนีÊ 1. ธรรมชาติของสารตัÊงต้น (Nature of reactant) 2. ความเข้มข้นของสารตัÊงต้น (Concentration of reactant) 3. ความดันของสารตัÊงต้น (Pressure of reaction) 4. พืÊนทÉีผิวของสารตัÊงต้น (Surface area) 5. อุณหภูมิ (Temperature) 6. ตัวเร่งปฏิกิริยา (Catalyst) และ ตัวหน่วงปฏิกิริยา (Inhibitor) 6.4.1 ธรรมชาติของสารตัÊงต้น โดย อรณี หัสเสม : เรียบเรียง 5 Reaction แปลว่า ปฏิกิริยา Reactant แปลว่า สารทÉีเข้าทำปฏิกิริยา  สารต่างชนิดกัน จะทำปฏิกิริยาเคมีได้ เร็ว หรือ ช้า ต่างกัน ขึÊนอยกูั่บสมบัติของสารแต่ละชนิด เช่น - โลหะโซเดียม ( ) ทำปฏิกิริยากับนÊำเย็นได้เร็วมาก - โลหะแมกนีเซียม ( ) ทำปฏิกิริยากับนÊำร้อนได้เร็วมาก ทÉีเป็นเช่นนีÊเพราะ โลหะโซเดียม มีความว่องไวในการเกิดปฏิกิริยา เร็วกว่า โลหะแมกนีเซียม 6.4.2 ความเข้มข้นของสารตัÊงต้น  ในปฏิกิริยาเคมีส่วนใหญ่ อัตราการเกิดปฏิกิริยาขึÊนอยกูั่บความเข้มข้นของสารตัÊงต้นทÉีเข้าทำปฏิกิริยา สามารถอธิบายได้ ดังนีÊ - เมÉือสารตัÊงต้นมีความเข้มข้นมาก จะเกิดผลิตภัณฑ์มาก เพราะอัตราการเกิดปฏิกิริยามาก สารผลิตภัณฑ์ สารตัÊงต้น เวลา ความเข้มข้น ทำไมยิÉงความเข้มข้นมาก ยิÉงเกิดปฏิกิริยาได้ดี มาดูกันจ้า…!!! - จากกราฟจะเห็นว่า ระยะเริÉมต้น ความเข้มข้นจะลดลงอย่างรวดเร็ว ในขณะทÉีผลิตภัณฑ์เพิÉมขึÊน - เมืÉอเวลาผ่านไป การเปลีÉยนแปลงดังกล่าวจะลดลง จนอัตราการเปลีÉยนแปลงเท่ากับศูนย์ โดยสารตัÊงต้นหมด ส่วนสารผลิตภัณฑ์จะมีค่าคงทÉี - สรุปจากกราฟ อัตราการเกิดปฏิกิริยามีค่ามาก ในระยะเรÉิมต้น เพราะ ความเข้มข้นของสารตัÊงต้นมาก เมÉือเวลาผ่านไป ความเข้มข้นของสารตัÊงต้นลดลง อัตราการเกิดปฏิกิริยาก็ลดลง และเมÉือสารตัÊงต้นหมด อัตราการเกิดปฏิกิริยาจะเท่ากับศูนย์  การอธิบายผลของความเข้มข้นต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยา สามารถใช้ทฤษฎีการชนกัน สามารถอธิบายได้ดังนีÊ เมÉือความเข้มข้นของสารตัÊงต้นมาก (อนุภาคก็มาก) ก็สามารถเข้าทำปฏิกิริยากันได้มาก อนุภาคทÉีมีมาก ก็จะมีโอกาสวิÉงชนกันมาก (ความถÉีในการชนสูง,ชนกันบ่อย) ทำให้มีพลังงานสูงมากด้วย เมÉือพลังงานสูง ทำให้อนุภาคกันและเกิดการเข้าทำปฏิกิริยาได้มาก อัตราการเกิดปฏิกิริยาก็มากด้วย  ดังนัÊน เมÉือเพÉิมความเข้มข้นของสารตัÊงต้นมาก ปฏกิิริยาจะเกิดได้เร็ว เพราะความถÉีในการชนกันของอนุภาคมาก  แต่เมÉือความเข้มข้นของสารตัÊงต้นลดลง ปฏิกิริยาจะเกิดได้ช้า เพราะ ความถÉีในการชนน้อย  ถ้าเกิดปฏิกิริยามาก ก็เกิดผลิตภัณฑ์มาก แต่เมÉือปฏิกิริยาหยุดลง เพราะสารตัÊงต้นหมด ผลิตภัณฑ์จะคงทÉี
  • 6. 6.4.3 ความดันของสารตัÊงต้น  การอธิบายผลของความดันของสารตัÊงต้นต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี สามารถอธิบายได้ ดังนีÊ โดย อรณี หัสเสม : เรียบเรียง 6 - ความดันแปรผันตรงกับความเข้มข้น กล่าวคือ เมÉือความเข้มข้นเพิÉมมากขึÊน ความดันก็เพิÉมมากขึÊนด้วย - ดังนัÊน เมÉือความดันเพิÉมขึÊน (ความเข้มข้นก็เพิÉมขึÊน) ทำให้อนุภาคมีโอกาสชนกันมากขึÊน (ความถÉีในการชนมาก) ทำให้มี พลังงานสูงขึÊน การเกิดปฏิกิริยาเคมีก็มากด้วย อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีจึงมาก 6.4.4 พÊืนทÉีผิวของสารตัÊงต้น  การอธิบายผลของพืÊนทÉีผิวของสารตัÊงต้น (ของแข็ง) ต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี สามารถอธิบายได้ ดังนีÊ - เมÉือพืÊนทÉีผิวของสารตัÊงต้นทÉีเป็นของแข็งมาก จะทำให้มีเนืÊอทÉีทÉีจะให้อนุภาคของสารตัÊงต้นเข้าไปชนกันมาก และมีความถÉีใน การชนมาก การเกิดปฏิกิริยาก็จะมาก อัตราการเกิดปฏิกิริยาจึงมาก - แต่ในทางตรงกันข้าม ถ้าพืÊนทÉีผิวของสารตัÊงต้นทÉีเป็นของแข็งน้อย การเกิดปฏิกิริยาก็น้อยลงไปด้วย - เช่น การเคีÊยวอาหาร 6.4.5 อุณหภูมิของสารตัÊงต้น  การอธิบายผลของอุณหภูมิ ต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี สามารถอธิบายได้ ดังนีÊ เมÉืออุณหภูมิสูงขึÊน ทำให้อนุภาคมีการชนกันมากขึÊน เพราะ การเพิÉมอุณหภูมิ หรือให้ความร้อนแก่สารในปฏิกริิยาทำให้อนุภาคมีพลังงานสูงขึÊน เมÉืออนุภาคมีพลังงานสูง ก็จะเคลÉือนทÉีได้เร็ว และชนกันมากขึÊน โอกาสทÉีจะชนกันแล้วเข้าไปทำปฏิกิริยาก็มีมากขึÊนด้วย ปฏิกิริยาก็เกิดได้มาก อัตราการเกิดปฏิกิริยาก็มากด้วย 6.4.6 ตัวเร่งปฏิกิริยา แล ะ ตัวหน่วงปฏิกิริยา การเพิÉมความเข้มข้น การเพิÉมความดัน การเพิÉมพืÊนทÉีผิว การเพิÉมอุณหภูมิ - การเพิÉมอัตราการเกิดปฏิกิริยา นอกจากจะทำได้โดย - ยังสามารถทำได้โดย การเติมสารบางชนิดลงไป - เรียกสารทÉีเติมลงไปแล้วทำให้ปฏิกิริยาเคมีเกิดเร็วขึÊน ว่า ตัวเร่งปฏิกิริยา หรือ คะตะลิสต์ (Catalyst) ตัวเร่งปฏิกิริยา คือ สารทÉีเติมลงไปในปฏิกิริยาแล้วทำให้อัตราการเกิดปฏิกิริยาเร็วขึÊน โดย ในขณะเกิดปฏิกิริยา ตัวเร่งปฏิกิริยา (คะตะลิสต์) ไม่เกิดการเปลีÉยนแปลง แต่ เมืÉอสิÊนสุดปฏิกิริยา จะได้ตัวคะตะลิสต์กลับมาในขนาดและปริมาณเท่าเดิม เช่น เอนไซม์ (Enzyme) เอนไซม์ - เป็นสารประกอบอินทรีย์จำพวกโปรตีน ทำหน้าทÉีเป็นตัวเร่งปฏิกิริยาเคมีทÉีสำคัญต่อร่างกายของสิÉงมีชีวิต ปฏิกิริยาต่างๆ ในร่างกายเกิดขึÊนได้ในอุณหภูมิปกติ เพราะ มีเอนไซม์เป็นตัวเร่งปฏิกิริยา คุณสมบัติของเอนไซม์ทีÉสำคัญ ได้แก่ ทำหน้าทÉีเร่งปฏิกิริยาเฉพาะอย่างเท่านัÊน เช่น เอนไซม์ซูเครส ย่อยนÊำตาลซูโคส , เอนไซม์แลกเตส ย่อย แลกโตส เป็นต้น E + S ES P + E เอนไซม์ สับเสตรต สารเชิงซ้อน ผลิตภัณฑ์ เอนไซม์
  • 7. - การอธิบายผลของตัวเร่งปฏิกิริยาทีÉมีต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี ผลิตภัณฑ์ E1 E3 การดำเนินไปของปฏิกิริยา พลังงาน สารตัÊงต้น E1 สารตัÊงต้น พลังงาน ก่อกมัมันต์ Ea พลังงาน ก่อกมัมันต์ Ea โดย อรณี หัสเสม : เรียบเรียง 7 ปฏิกิริยาดูดพลังงาน ปฏิกิริยาคายพลังงาน พลังงาน ผลิตภัณฑ์ E3 การดำเนินไปของปฏิกิริยา - ตัวเร่งปฏิกิริยา (คะตะลิสต์) ทำให้ปฏิกิริยาเกิดเร็วขึÊน เนÉืองจากตัวเร่งปฏิกิริยานีÊไปช่วยทำให้พลังงานก่อกัมมันต์ลดลง (พลังงานก่อกัมมันต์แสดงในกราฟทัÊง Ś นีÊ) เมÉือพลังงานก่อกัมมันต์ลดลง ทำให้ปฏิกิริยาเกิดได้ง่ายและเร็วขึÊน - เปรียบกับการโยนลูกบอลข้ามเนินเขา , ลูกบอล = ปฏิกิริยา เนินเขา = พลังงานก่อกัมมันต์ ถ้าเนินเขาสูง การโยนลูกบอลข้ามไปก็ยาก แต่ถ้าลดให้เนินเขาตํÉาลง การโยนลูกบอลข้ามไปก็ทำได้ง่ายขึÊน ตัวหน่วงปฏิกิริยา - ตัวหน่วงปฏิกิริยา (Inhibitor) คือ สารทÉีเติมลงไปแล้วทำให้ปฏิกิริยาเกิดได้ช้าลง หรือทำให้อัตราการเกิดปฏิกิริยาตํÉาลง เมÉือสิÊนสุดปฏิกิริยา ตัวหน่วงปฏิกิริยาจะกลับเป็นเหมือนเดิม และมีปริมาณเท่าเดิม - การอธิบายผลของตัวหน่วงปฏิกิริยาทีÉมีต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยา ตัวหน่วงปฏิกิริยา (อินฮิบิเตอร์) ทำให้ปฏิกิริยาเกิดขึÊนช้าลง เนÉืองจากตัวหน่วงปฏิกิริยาไปช่วยทำให้พลังงานก่อกัมมันต์เพิÉมขึÊน เมÉือพลังงานก่อกัมมันต์เพิÉมขึÊน ทำให้ปฏิกิริยาเกิดได้ยากขึÊน อัตราการเกิดปฏิกิริยาก็ตํÉา - แม้ตัวหน่วงจะทำให้ปฏิกิริยาเกิดได้ช้าลง แต่ก็ยังมีการนำมาใช้ประโยชน์ได้ เช่น การเติมโซเดียมเบนโซเอต ( C6H5COONa ) ลงในอาหารสำเร็จรูป เพืÉอป้องกันการบูดเน่าของอาหาร (โซเดียมโซเดียมเบนโซเอต เป็นตัวหน่วง ปฏิกิริยาการเกิดปฏิกิริยาของ จุลินทรีย์ในอาหารทÉีทำให้อาหารบูด) - สรุป เกีÉยวกับปัจจัยมีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยา 1. อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีขึÊนอยกูั่บธรรมชาติสารตัÊงต้น คือ ถ้าสารตัÊงต้นมีสมบัติต่างกัน อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีจะมีค่าไม่เท่ากัน 2. ปฏิกิริยาเคมีส่วนใหญ่ เมÉือเพิÉมความเข้มข้นของสารตัÊงต้น จะทำให้ปฏิกิริยาเกิดเร็วขึÊน ในทางตรงกันขา้ม ถ้าลดความเข้มข้นของสารตัÊงต้นปฏิกิริยาจะเกิดช้าลง 3. ปฏิกิริยาเคมีทÉีมีสารตัÊงต้นอยใู่นสถานะแก๊ส เมÉือเพิÉมความเข้มข้น ความดันจะเพิมÉขึÊน ปฏิกิริยาจะเกิดได้เร็วขึÊน 4. ในปฏิกิริยาเนืÊอผสม ถ้าสารตัÊงต้นมีของแข็งอยดู่้วย การเพิÉมพืÊนทÉีผิวของสารทÉีเป็นของแข็ง ทำให้ปฏิกิริยาเกิดได้เร็วขึÊน 5. การเพิÉมอุณหภูมิ ทำให้ปฏิกิริยาเกิดเร็วขึÊน ในทางตรงกันข้ามการลดอุณหภูมิทำให้ปฏิกิริยาเกิดช้าลง 6. ตัวเร่งปฏิกิริยาหรือคะตะลิสต์ ทำให้ปฏิกิริยาเกิดได้เร็วขึÊน ในทางตรงกันข้าม ตัวหน่วงปฏิกิริยาหรืออินฮิบิเตอร์ ทำให้ปฏิกิริยาเกิดได้ช้าลง