SlideShare a Scribd company logo
1 of 7
กรรมวิธีการเชื่อมโลหะด้วยลวดเชื่อมหุ้มฟลักซ์

    กรรมวิธีการเชื่อมโลหะด้วยลวดเชื่อมหุ้มฟลักซ์ (Shield Metal Arc
welding : SMAW) หรือที่เรียกอีกอย่างหนึ่งว่า การเชื่อมไฟฟ้าหรือการเชื่อม
โลหะด้วยธูปเชื่อม เป็นกรรมวิธีการเชื่อมแบบหลอมเหลววิธีหนึ่ง ซึ่งใช้ไฟฟ้า
เป็นแหล่งความร้อน โดยอาศัยหลักการอาร์กระหว่างปลายลวดเชื่อมหุ้มฟลักซ์กับ
โลหะงาน ความร้อนจากการอาร์กจะหลอมเหลวปลายลวดเชื่อมกับโลหะงาน
บริเวณอาร์กหลอมรวมกันและแข็งตัวเป็น แนวเชื่อม ส่วนฟลักซ์เมื่อหลอมละลาย
บางส่วนจะเกิดเป็นแก๊สเฉื่อยปกคลุมบ่อหลอมเหลว เพื่อป้องกันบรรยากาศจาก
ภายนอกเข้าทำาปฏิกิริยากับแนวเชื่อม เมื่อเย็นตัวลงจะกลายเป็นสแลกปกคลุม
แนวเชื่อมเพื่อลดอัตราการเย็นตัว ดังแสดงในรูปที่ 78




         รูปที่ 78 แสดงการเชื่อมโลหะด้วยลวดเชื่อมหุ้มฟลักซ์์

 1.1 การอาร์ก (Arc)

 การอาร์กคือการที่กระแสไฟฟ้าไหลระหว่างขั้ว โดยวิ่งผ่านลำาอิออนของแก๊ส ซึ่ง
เรียกว่า “ พลาสมา ” (PLASMA) ระยะห่างระหว่างขั้วทั้งสองสำาหรับงานเชื่อม
คือระยะห่างระหว่างปลายลวดเชื่อมกับชิ้นงาน บริเวณอาร์กสามารถแบ่งออกได้
เป็น 3 บริเวณ ตามลักษณะการกำาเนิดความร้อนได้แก่ ขั้วลบ (Cathode) ขั้ว
บวก (Anode) และลำาแสงอาร์ก (Plasma) ดังแสดงในรูปที่ 79
รูปที่ 79 แสดงบริเวณการอาร์ก

    การเชื่อมไฟฟ้าต้องการกระแสจำานวนมาก แต่แรงดันไฟฟ้าตำ่า เพื่อให้ได้
ความเข้มของอิเลคตรอนมากพอที่จะนำาพากระแส อิเลคตรอนประจุลบพร้อมกับอิ
ออนประจุลบของพลาสมาจะวิ่งเข้าสู่ขั้วบวก ขณะเดียวกันอิออนประจุบวกจะวิ่ง
กลับทางจากขั้วบวกเข้าหาขั้วลบ อิออนลบ คือ อะตอมที่ได้รับอิเลคตรอนเพิ่ม
มากกว่าสมดุลย์ จึงมีประจุลบ ส่วนอิออนบวก คืออะตอมที่สูญเสียอิเลค -
ตรอนไปจากสมดุลย์จึงมีประจุบวก
ความร้อนที่เกิดขึ้นที่ขั้วลบทั้งหมด เกิดจากอิออนบวกวิ่งกระแทกผิวหน้าของ
ขั้วลบสำาหรับความร้อนเกิดที่ขั้วบวกทั้งหมดเกิดจากอิเลคตรอนวิ่งกระแทกผิวหน้า
ขั้วบวก
พลาสมาหรือลำาแสงอาร์ก คือบริเวณที่เกิดการกระตุ้นของอะตอมแก๊ส โดย
เฉพาะศูนย์กลางลำาอาร์กจะเกิดการวิ่งปะทะกันของอิเลคตรอน อิออน และ
อะตอมของแก๊ส          ดังนันความร้อนสูงสุดจึงเกิดขึ้นที่ศูนย์กลางของลำาอาร์ก
                           ้
หรือบริเวณที่มีความเข้มในการเคลื่อนที่สูงบริเวณรอบนอกลำาอาร์กมีความร้อนตำ่า
และจะเกิดการรวมตัวของแก๊สเป็นโมเลกุล ถึงบริเวณรอบนอกอาร์กจะแยกตัว
ออกจากศูนย์กลางของลำาอาร์ก

 1.2 กระแสเชื่อม (Welding Current)กระแสเชื่อมเป็นกระแสไฟฟ้าที่ได้มา
จากเครื่องเชื่อม โดยจะมีคุณลักษณะเฉพาะ คือ     แรงเคลื่อนตำ่าและกระแสสูง
ซึ่งมี 2 ชนิด คือ
1.2.1 กระแสไฟสลับ (Alternating Current : AC)
การเชื่อมโลหะด้วยลวดเชื่อมหุ้มฟลักซ์ ในกรณีใช้กระแสไฟเชื่อมเป็นกระแส
สลับ (AC) ซึ่งเป็นกระแสไฟที่มีทิศทางการเคลื่อนที่สลับกันเป็นเส้นโค้งไซน์
  โดยใน 1 ไซเคิล จะมีกระแสผ่าน 0 จำานวน 2 ครั้ง ผ่านเคลื่อนบวกและคลื่น
ลบ อย่างละ 1 ครั้ง โดยใน 1 วินาที จะเกิดการสลับอย่างนี้ จำานวน 50 ครั้ง
หรือที่เรียกว่า 50 เฮิร์ต (Hertz ; Hz) จากการเคลื่อนที่ของกระแสสลับดังที่
กล่าวมาแล้วจะมีผลทำาให้เปลวอาร์กเปลี่ยนขนาดตลอดเวลา เปลวอาร์กจึงไม่นิ่ง
ขณะเชื่อม ดังนั้นช่างเชื่อมจึงต้องใช้ทักษะ
ฝีมือในการควบคุมอาร์ก เพื่อให้ได้คุณภาพของแนวเชื่อมตามมาตรฐานกำาหนด
ดังแสดงในรูปที่ 80




  รูปที่ 80 แสดงลักษณะเส้นโค้งไซน์ของไฟกระแสสลับใน 1 ไซเกิล

 1.2.1 กระแสไฟตรง (Dirrect Current ; DC)
การเชื่อมโลหะด้วยเชื่อมหุ้มฟลักซ์ ในกรณีใช้กระแสไฟเชื่อมเป็น
กระแสตรง (DC) ซึ่งเป็นกระแสไฟที่มีทิศทางการไหลทางเดียวจากขั้วหนึ่งไปยัง
อีกขั้วหนึ่ง ในกรณีที่ใช้กระแสเชื่อมเป็นกระแสตรงซึ่งเกิดจากการบังคับ
กระแสสลับให้ไหลได้ทางเดียว โดยใช้อุปกรณ์เรคติฟายเออร์ (Rectifier) ซึ่ง
จะทำาให้เรียงกระแสไฟสลับให้เป็นกระแสตรง ดังแสดงในรูปที่ 81 ตามลำาดับ การ
ปรับปรุงและพัฒนาจาก 1 – 4 เพื่อให้ได้กระแสเชื่อมที่ต่อเนื่องไม่เป็นคลื่น
ทำาให้กระแสเชื่อมเรียบ เปลวอาร์กมีเสถียรภาพและสมำ่าเสมอให้ความร้อนในการ
หลอมเหลวคงที่มากกว่ากระแสไฟสลับ
รูปที่ 81 แสดงลักษณะคลื่นของกระแสไฟตรงที่ได้จากเครื่องเรียงกระแส

 1.3 วงจรการเชื่อมโลหะด้วยลวดเชื่อมหุ้มฟลักซ์
     วงจรการเชื่อมโลหะด้วยลวดเชื่อมหุ้มฟลักซ์ ประกอบไปด้วยอุปกรณ์ที่สำาคัญ
คือ เครื่องเชื่อมซึ่งทำาหน้าที่ผลิตกระแสเชื่อมในวงจรและจ่ายไปตามสายเชื่อม
จนถึงชิ้นงานและลวดเชื่อม เพื่อให้เกิดการอาร์กระหว่างปลายลวดเชื่อมกับชิ้น
งาน ประกอบด้วยการต่อขั้วเชื่อม (Polarity) ตามชนิดของกระแสเชื่อม ดังนี้
 1.3.1 การต่อขั้วเชื่อมของกระแสสลับ การต่อขั้วเชื่อมของกระแสสลับนี้ไม่
ต้องคำานึงถึงระบบขั้ว (Polarity) เนื่องจากทิศทางการไหลของกระแสจะเป็น
ลักษณะเส้นโค้งไซน์กลับขั้วไปมาตลอดเวลา ดังนั้น การต่อขั้วเชื่อมเป็นสาย
เชื่อมหรือสายดินจะใช้ขั้วใดก็ได้ ซึ่งโดยปกติแล้วผู้ผลิตเครื่องเชื่อมจะกำาหนด
สัญลักษณ์รูปคีมจับลวดเชื่อมและคีมจับชิ้นงานไว้สำาหรับต่อขั้วเชื่อม เพื่อความ
สะดวกในการใช้งานและผลจากการอาร์กในการต่อแบบนี้จะเกิดความร้อนที่ลวด
เชื่อมและชิ้นงานในปริมาณที่เท่ากัน เนื่องจากอิเล็กตรอนจะวิ่งเข้าชนลวดเชื่อม
และชิ้นงานสลับกันตามทิศทางการวิ่งของอิเล็กตรอน ดังแสดงในรูปที่ 82
รูปที่ 82 แสดงการต่อเชื่อมของกระแสสลับ

 1.3.2 การต่อขั้วเชื่อมของกระแสตรง การต่อขั้วเชื่อมของกระแสตรงนี้จะ
ต้องคำานึงถึงระบบขั้ว (Polarity) เนื่องจากทิศทางการไหลของกระแสจะเป็น
ทิศทางเดี่ยวตลอดคือจากขั้วลบไปขั้วบวก ซึ่งจะมีผลต่อการอาร์กที่ทำาให้เกิด
ความร้อนแตกต่างกัน เมื่อต่อขั้วเชื่อมสลับกันดังนี้
 1.3.2.1 การต่อขั้วเชื่อม โดยให้ลวดเชื่อมเป็นขั้วลบ (Direct Current
Electrode Negative ; DCEN)
การต่อแบบนี้เป็นการเชื่อมด้วยกระแสตรงขั้วตรง (Direct Current Straight
Polarity ; DCSP) ซึ่งสายเชื่อมจะต่อเป็นขั้วลบ (Negative) และสายดินจะ
ต่อเป็นขั้วบวก (Positive) ผลจากการอาร์กจะทำาให้เกิดความร้อนที่ชิ้นงาน
2/3 (70%) และเกิดที่ลวดเชื่อม 1/3 (30%) เนื่องจากอิเล็กตรอนจะวิ่ง
จากลวดเชื่อมเข้าชน (Impact) กับชิ้นงานตามทิศทางการไหลของกระแส ดัง
แสดงในรูปที่ 83
รูปที่ 83 แสดงการต่อลวดเชื่อมเป็นขั้วลบ (DCEN)

 1.3.2.2 การต่อขั้วเชื่อมโดยให้ลวดเชื่อมเป็นขั้วบวก (Direct Current
Electrode Positive ; DCEP)
     การต่อแบบนี้เป็นการเชื่อมด้วยกระแสตรงขั้วกลับ (Direct Current
Reverse Polarity ; DCRP) ซึ่งสายเชื่อมจะต่อเป็นขั้วบวก (Positive)
และสายดินจะต่อเป็นขั้วลบ (Negative) ผลจากการอาร์กจะเกิดความร้อนที่ชิ้น
งาน 1/3 (30%) และเกิดความร้อนที่ลวดเชื่อม 2/3 (70%) เนื่องจาก
อิเล็กตรอนจะวิ่งจากชิ้นงานเข้าชน (Impact) กับ
ลวดเชื่อมตามทิศทางการไหลของกระแส ดังแสดงในรูปที่ 84
รูปที่ 84 แสดงการต่อลวดเชื่อมเป็นขั้วบวก (DCEP)

More Related Content

What's hot

โครงสร้างและหน้าที่ของลำต้น
โครงสร้างและหน้าที่ของลำต้นโครงสร้างและหน้าที่ของลำต้น
โครงสร้างและหน้าที่ของลำต้นnokbiology
 
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย
อารยธรรมเมโสโปเตเมียอารยธรรมเมโสโปเตเมีย
อารยธรรมเมโสโปเตเมียKran Sirikran
 
องค์ประกอบของลมฟ้าอากาศ
องค์ประกอบของลมฟ้าอากาศองค์ประกอบของลมฟ้าอากาศ
องค์ประกอบของลมฟ้าอากาศkrupornpana55
 
ความสัมพันธ์กับต่างประเทศในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
ความสัมพันธ์กับต่างประเทศในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้นความสัมพันธ์กับต่างประเทศในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
ความสัมพันธ์กับต่างประเทศในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้นNattha Namm
 
บทที่ 6 การจัดองค์การ
บทที่ 6 การจัดองค์การบทที่ 6 การจัดองค์การ
บทที่ 6 การจัดองค์การPrapaporn Boonplord
 
งานนำเสนอ มหาเวสสันดรชาดก กันฑ์กุมาร
งานนำเสนอ มหาเวสสันดรชาดก กันฑ์กุมารงานนำเสนอ มหาเวสสันดรชาดก กันฑ์กุมาร
งานนำเสนอ มหาเวสสันดรชาดก กันฑ์กุมารSantichon Islamic School
 
ลม ฟ้า อากาศ
ลม ฟ้า อากาศลม ฟ้า อากาศ
ลม ฟ้า อากาศPatzuri Orz
 
สถานะของสาร ม.1
สถานะของสาร ม.1สถานะของสาร ม.1
สถานะของสาร ม.1Wuttipong Tubkrathok
 
ศาสนาเปรียบเทียบ (Comparative Religion) สังคมศึกษา ม.ปลาย
ศาสนาเปรียบเทียบ (Comparative Religion) สังคมศึกษา ม.ปลาย  ศาสนาเปรียบเทียบ (Comparative Religion) สังคมศึกษา ม.ปลาย
ศาสนาเปรียบเทียบ (Comparative Religion) สังคมศึกษา ม.ปลาย Bom Anuchit
 
8 บทที่ 3 อุปกรณ์และวิธีดำเนินการ
8 บทที่  3  อุปกรณ์และวิธีดำเนินการ8 บทที่  3  อุปกรณ์และวิธีดำเนินการ
8 บทที่ 3 อุปกรณ์และวิธีดำเนินการAugusts Programmer
 
บทที่ 10 การประชุม
บทที่ 10 การประชุมบทที่ 10 การประชุม
บทที่ 10 การประชุมAj.Mallika Phongphaew
 
เพาเวอพ้อยภัยพิบัติ
เพาเวอพ้อยภัยพิบัติเพาเวอพ้อยภัยพิบัติ
เพาเวอพ้อยภัยพิบัติJune Fghijklmnopqrsteovl
 

What's hot (20)

โครงสร้างและหน้าที่ของลำต้น
โครงสร้างและหน้าที่ของลำต้นโครงสร้างและหน้าที่ของลำต้น
โครงสร้างและหน้าที่ของลำต้น
 
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย
อารยธรรมเมโสโปเตเมียอารยธรรมเมโสโปเตเมีย
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย
 
องค์ประกอบของลมฟ้าอากาศ
องค์ประกอบของลมฟ้าอากาศองค์ประกอบของลมฟ้าอากาศ
องค์ประกอบของลมฟ้าอากาศ
 
ความสัมพันธ์กับต่างประเทศในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
ความสัมพันธ์กับต่างประเทศในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้นความสัมพันธ์กับต่างประเทศในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
ความสัมพันธ์กับต่างประเทศในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
 
172 130909011745-
172 130909011745-172 130909011745-
172 130909011745-
 
ส่วนประกอบของดอก
ส่วนประกอบของดอกส่วนประกอบของดอก
ส่วนประกอบของดอก
 
1 3
1 31 3
1 3
 
ไทย
ไทยไทย
ไทย
 
บทที่ 6 การจัดองค์การ
บทที่ 6 การจัดองค์การบทที่ 6 การจัดองค์การ
บทที่ 6 การจัดองค์การ
 
งานนำเสนอ มหาเวสสันดรชาดก กันฑ์กุมาร
งานนำเสนอ มหาเวสสันดรชาดก กันฑ์กุมารงานนำเสนอ มหาเวสสันดรชาดก กันฑ์กุมาร
งานนำเสนอ มหาเวสสันดรชาดก กันฑ์กุมาร
 
6 3
6 36 3
6 3
 
ลม ฟ้า อากาศ
ลม ฟ้า อากาศลม ฟ้า อากาศ
ลม ฟ้า อากาศ
 
402
402402
402
 
สถานะของสาร ม.1
สถานะของสาร ม.1สถานะของสาร ม.1
สถานะของสาร ม.1
 
ศาสนาเปรียบเทียบ (Comparative Religion) สังคมศึกษา ม.ปลาย
ศาสนาเปรียบเทียบ (Comparative Religion) สังคมศึกษา ม.ปลาย  ศาสนาเปรียบเทียบ (Comparative Religion) สังคมศึกษา ม.ปลาย
ศาสนาเปรียบเทียบ (Comparative Religion) สังคมศึกษา ม.ปลาย
 
8 บทที่ 3 อุปกรณ์และวิธีดำเนินการ
8 บทที่  3  อุปกรณ์และวิธีดำเนินการ8 บทที่  3  อุปกรณ์และวิธีดำเนินการ
8 บทที่ 3 อุปกรณ์และวิธีดำเนินการ
 
บทที่ 10 การประชุม
บทที่ 10 การประชุมบทที่ 10 การประชุม
บทที่ 10 การประชุม
 
บทที่ 4 ผลการดำเนินโครงงาน
บทที่ 4 ผลการดำเนินโครงงานบทที่ 4 ผลการดำเนินโครงงาน
บทที่ 4 ผลการดำเนินโครงงาน
 
Minibookbio 5 932
Minibookbio 5 932Minibookbio 5 932
Minibookbio 5 932
 
เพาเวอพ้อยภัยพิบัติ
เพาเวอพ้อยภัยพิบัติเพาเวอพ้อยภัยพิบัติ
เพาเวอพ้อยภัยพิบัติ
 

Viewers also liked (11)

อุปกรณ์เชื่อมไฟฟ้า
อุปกรณ์เชื่อมไฟฟ้าอุปกรณ์เชื่อมไฟฟ้า
อุปกรณ์เชื่อมไฟฟ้า
 
1 2
1 21 2
1 2
 
1 1
1 11 1
1 1
 
6 1
6 16 1
6 1
 
welding
weldingwelding
welding
 
1 6
1 61 6
1 6
 
1 การเขียนแบบเบื้อนต้น
1 การเขียนแบบเบื้อนต้น1 การเขียนแบบเบื้อนต้น
1 การเขียนแบบเบื้อนต้น
 
WPS-PQR (welding-pengelasan)
WPS-PQR (welding-pengelasan)WPS-PQR (welding-pengelasan)
WPS-PQR (welding-pengelasan)
 
เครื่องมือ3
เครื่องมือ3เครื่องมือ3
เครื่องมือ3
 
คำอธิบายรายวิชางานเชื่อมไฟฟ้า ม.5
คำอธิบายรายวิชางานเชื่อมไฟฟ้า ม.5คำอธิบายรายวิชางานเชื่อมไฟฟ้า ม.5
คำอธิบายรายวิชางานเชื่อมไฟฟ้า ม.5
 
มาตรฐานการเขียนแบบ
มาตรฐานการเขียนแบบมาตรฐานการเขียนแบบ
มาตรฐานการเขียนแบบ
 

Similar to กรรมวิธีการเชื่อมโลหะด้วยลวดเชื่อมหุ้มฟลักซ์

เรื่อง ทฤษฎีคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าของแมกซ์เวลล์และการ
เรื่อง  ทฤษฎีคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าของแมกซ์เวลล์และการเรื่อง  ทฤษฎีคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าของแมกซ์เวลล์และการ
เรื่อง ทฤษฎีคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าของแมกซ์เวลล์และการSomporn Laothongsarn
 
ความสัมพันธ์ระหว่าง ความต่างศักย์ไฟฟ้า กระแสไฟฟ้า และ ความต้านทานไฟฟ้า
ความสัมพันธ์ระหว่าง  ความต่างศักย์ไฟฟ้า  กระแสไฟฟ้า  และ ความต้านทานไฟฟ้าความสัมพันธ์ระหว่าง  ความต่างศักย์ไฟฟ้า  กระแสไฟฟ้า  และ ความต้านทานไฟฟ้า
ความสัมพันธ์ระหว่าง ความต่างศักย์ไฟฟ้า กระแสไฟฟ้า และ ความต้านทานไฟฟ้าเรียนฟิสิกส์กับครูเอ็ม Miphukham
 
พัชรินทร์
พัชรินทร์พัชรินทร์
พัชรินทร์Muk52
 
Dc ammeter
Dc ammeterDc ammeter
Dc ammeterpeerasuk
 
หลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมหลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมpanupong
 
หลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมหลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมpanupong
 

Similar to กรรมวิธีการเชื่อมโลหะด้วยลวดเชื่อมหุ้มฟลักซ์ (7)

Lesson16
Lesson16Lesson16
Lesson16
 
เรื่อง ทฤษฎีคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าของแมกซ์เวลล์และการ
เรื่อง  ทฤษฎีคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าของแมกซ์เวลล์และการเรื่อง  ทฤษฎีคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าของแมกซ์เวลล์และการ
เรื่อง ทฤษฎีคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าของแมกซ์เวลล์และการ
 
ความสัมพันธ์ระหว่าง ความต่างศักย์ไฟฟ้า กระแสไฟฟ้า และ ความต้านทานไฟฟ้า
ความสัมพันธ์ระหว่าง  ความต่างศักย์ไฟฟ้า  กระแสไฟฟ้า  และ ความต้านทานไฟฟ้าความสัมพันธ์ระหว่าง  ความต่างศักย์ไฟฟ้า  กระแสไฟฟ้า  และ ความต้านทานไฟฟ้า
ความสัมพันธ์ระหว่าง ความต่างศักย์ไฟฟ้า กระแสไฟฟ้า และ ความต้านทานไฟฟ้า
 
พัชรินทร์
พัชรินทร์พัชรินทร์
พัชรินทร์
 
Dc ammeter
Dc ammeterDc ammeter
Dc ammeter
 
หลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมหลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโม
 
หลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมหลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโม
 

กรรมวิธีการเชื่อมโลหะด้วยลวดเชื่อมหุ้มฟลักซ์

  • 1. กรรมวิธีการเชื่อมโลหะด้วยลวดเชื่อมหุ้มฟลักซ์ กรรมวิธีการเชื่อมโลหะด้วยลวดเชื่อมหุ้มฟลักซ์ (Shield Metal Arc welding : SMAW) หรือที่เรียกอีกอย่างหนึ่งว่า การเชื่อมไฟฟ้าหรือการเชื่อม โลหะด้วยธูปเชื่อม เป็นกรรมวิธีการเชื่อมแบบหลอมเหลววิธีหนึ่ง ซึ่งใช้ไฟฟ้า เป็นแหล่งความร้อน โดยอาศัยหลักการอาร์กระหว่างปลายลวดเชื่อมหุ้มฟลักซ์กับ โลหะงาน ความร้อนจากการอาร์กจะหลอมเหลวปลายลวดเชื่อมกับโลหะงาน บริเวณอาร์กหลอมรวมกันและแข็งตัวเป็น แนวเชื่อม ส่วนฟลักซ์เมื่อหลอมละลาย บางส่วนจะเกิดเป็นแก๊สเฉื่อยปกคลุมบ่อหลอมเหลว เพื่อป้องกันบรรยากาศจาก ภายนอกเข้าทำาปฏิกิริยากับแนวเชื่อม เมื่อเย็นตัวลงจะกลายเป็นสแลกปกคลุม แนวเชื่อมเพื่อลดอัตราการเย็นตัว ดังแสดงในรูปที่ 78 รูปที่ 78 แสดงการเชื่อมโลหะด้วยลวดเชื่อมหุ้มฟลักซ์์ 1.1 การอาร์ก (Arc) การอาร์กคือการที่กระแสไฟฟ้าไหลระหว่างขั้ว โดยวิ่งผ่านลำาอิออนของแก๊ส ซึ่ง เรียกว่า “ พลาสมา ” (PLASMA) ระยะห่างระหว่างขั้วทั้งสองสำาหรับงานเชื่อม คือระยะห่างระหว่างปลายลวดเชื่อมกับชิ้นงาน บริเวณอาร์กสามารถแบ่งออกได้ เป็น 3 บริเวณ ตามลักษณะการกำาเนิดความร้อนได้แก่ ขั้วลบ (Cathode) ขั้ว บวก (Anode) และลำาแสงอาร์ก (Plasma) ดังแสดงในรูปที่ 79
  • 2. รูปที่ 79 แสดงบริเวณการอาร์ก การเชื่อมไฟฟ้าต้องการกระแสจำานวนมาก แต่แรงดันไฟฟ้าตำ่า เพื่อให้ได้ ความเข้มของอิเลคตรอนมากพอที่จะนำาพากระแส อิเลคตรอนประจุลบพร้อมกับอิ ออนประจุลบของพลาสมาจะวิ่งเข้าสู่ขั้วบวก ขณะเดียวกันอิออนประจุบวกจะวิ่ง กลับทางจากขั้วบวกเข้าหาขั้วลบ อิออนลบ คือ อะตอมที่ได้รับอิเลคตรอนเพิ่ม มากกว่าสมดุลย์ จึงมีประจุลบ ส่วนอิออนบวก คืออะตอมที่สูญเสียอิเลค - ตรอนไปจากสมดุลย์จึงมีประจุบวก ความร้อนที่เกิดขึ้นที่ขั้วลบทั้งหมด เกิดจากอิออนบวกวิ่งกระแทกผิวหน้าของ ขั้วลบสำาหรับความร้อนเกิดที่ขั้วบวกทั้งหมดเกิดจากอิเลคตรอนวิ่งกระแทกผิวหน้า ขั้วบวก พลาสมาหรือลำาแสงอาร์ก คือบริเวณที่เกิดการกระตุ้นของอะตอมแก๊ส โดย เฉพาะศูนย์กลางลำาอาร์กจะเกิดการวิ่งปะทะกันของอิเลคตรอน อิออน และ อะตอมของแก๊ส ดังนันความร้อนสูงสุดจึงเกิดขึ้นที่ศูนย์กลางของลำาอาร์ก ้ หรือบริเวณที่มีความเข้มในการเคลื่อนที่สูงบริเวณรอบนอกลำาอาร์กมีความร้อนตำ่า และจะเกิดการรวมตัวของแก๊สเป็นโมเลกุล ถึงบริเวณรอบนอกอาร์กจะแยกตัว ออกจากศูนย์กลางของลำาอาร์ก 1.2 กระแสเชื่อม (Welding Current)กระแสเชื่อมเป็นกระแสไฟฟ้าที่ได้มา จากเครื่องเชื่อม โดยจะมีคุณลักษณะเฉพาะ คือ แรงเคลื่อนตำ่าและกระแสสูง ซึ่งมี 2 ชนิด คือ 1.2.1 กระแสไฟสลับ (Alternating Current : AC) การเชื่อมโลหะด้วยลวดเชื่อมหุ้มฟลักซ์ ในกรณีใช้กระแสไฟเชื่อมเป็นกระแส สลับ (AC) ซึ่งเป็นกระแสไฟที่มีทิศทางการเคลื่อนที่สลับกันเป็นเส้นโค้งไซน์ โดยใน 1 ไซเคิล จะมีกระแสผ่าน 0 จำานวน 2 ครั้ง ผ่านเคลื่อนบวกและคลื่น
  • 3. ลบ อย่างละ 1 ครั้ง โดยใน 1 วินาที จะเกิดการสลับอย่างนี้ จำานวน 50 ครั้ง หรือที่เรียกว่า 50 เฮิร์ต (Hertz ; Hz) จากการเคลื่อนที่ของกระแสสลับดังที่ กล่าวมาแล้วจะมีผลทำาให้เปลวอาร์กเปลี่ยนขนาดตลอดเวลา เปลวอาร์กจึงไม่นิ่ง ขณะเชื่อม ดังนั้นช่างเชื่อมจึงต้องใช้ทักษะ ฝีมือในการควบคุมอาร์ก เพื่อให้ได้คุณภาพของแนวเชื่อมตามมาตรฐานกำาหนด ดังแสดงในรูปที่ 80 รูปที่ 80 แสดงลักษณะเส้นโค้งไซน์ของไฟกระแสสลับใน 1 ไซเกิล 1.2.1 กระแสไฟตรง (Dirrect Current ; DC) การเชื่อมโลหะด้วยเชื่อมหุ้มฟลักซ์ ในกรณีใช้กระแสไฟเชื่อมเป็น กระแสตรง (DC) ซึ่งเป็นกระแสไฟที่มีทิศทางการไหลทางเดียวจากขั้วหนึ่งไปยัง อีกขั้วหนึ่ง ในกรณีที่ใช้กระแสเชื่อมเป็นกระแสตรงซึ่งเกิดจากการบังคับ กระแสสลับให้ไหลได้ทางเดียว โดยใช้อุปกรณ์เรคติฟายเออร์ (Rectifier) ซึ่ง จะทำาให้เรียงกระแสไฟสลับให้เป็นกระแสตรง ดังแสดงในรูปที่ 81 ตามลำาดับ การ ปรับปรุงและพัฒนาจาก 1 – 4 เพื่อให้ได้กระแสเชื่อมที่ต่อเนื่องไม่เป็นคลื่น ทำาให้กระแสเชื่อมเรียบ เปลวอาร์กมีเสถียรภาพและสมำ่าเสมอให้ความร้อนในการ หลอมเหลวคงที่มากกว่ากระแสไฟสลับ
  • 4. รูปที่ 81 แสดงลักษณะคลื่นของกระแสไฟตรงที่ได้จากเครื่องเรียงกระแส 1.3 วงจรการเชื่อมโลหะด้วยลวดเชื่อมหุ้มฟลักซ์ วงจรการเชื่อมโลหะด้วยลวดเชื่อมหุ้มฟลักซ์ ประกอบไปด้วยอุปกรณ์ที่สำาคัญ คือ เครื่องเชื่อมซึ่งทำาหน้าที่ผลิตกระแสเชื่อมในวงจรและจ่ายไปตามสายเชื่อม จนถึงชิ้นงานและลวดเชื่อม เพื่อให้เกิดการอาร์กระหว่างปลายลวดเชื่อมกับชิ้น งาน ประกอบด้วยการต่อขั้วเชื่อม (Polarity) ตามชนิดของกระแสเชื่อม ดังนี้ 1.3.1 การต่อขั้วเชื่อมของกระแสสลับ การต่อขั้วเชื่อมของกระแสสลับนี้ไม่ ต้องคำานึงถึงระบบขั้ว (Polarity) เนื่องจากทิศทางการไหลของกระแสจะเป็น ลักษณะเส้นโค้งไซน์กลับขั้วไปมาตลอดเวลา ดังนั้น การต่อขั้วเชื่อมเป็นสาย เชื่อมหรือสายดินจะใช้ขั้วใดก็ได้ ซึ่งโดยปกติแล้วผู้ผลิตเครื่องเชื่อมจะกำาหนด สัญลักษณ์รูปคีมจับลวดเชื่อมและคีมจับชิ้นงานไว้สำาหรับต่อขั้วเชื่อม เพื่อความ สะดวกในการใช้งานและผลจากการอาร์กในการต่อแบบนี้จะเกิดความร้อนที่ลวด เชื่อมและชิ้นงานในปริมาณที่เท่ากัน เนื่องจากอิเล็กตรอนจะวิ่งเข้าชนลวดเชื่อม และชิ้นงานสลับกันตามทิศทางการวิ่งของอิเล็กตรอน ดังแสดงในรูปที่ 82
  • 5. รูปที่ 82 แสดงการต่อเชื่อมของกระแสสลับ 1.3.2 การต่อขั้วเชื่อมของกระแสตรง การต่อขั้วเชื่อมของกระแสตรงนี้จะ ต้องคำานึงถึงระบบขั้ว (Polarity) เนื่องจากทิศทางการไหลของกระแสจะเป็น ทิศทางเดี่ยวตลอดคือจากขั้วลบไปขั้วบวก ซึ่งจะมีผลต่อการอาร์กที่ทำาให้เกิด ความร้อนแตกต่างกัน เมื่อต่อขั้วเชื่อมสลับกันดังนี้ 1.3.2.1 การต่อขั้วเชื่อม โดยให้ลวดเชื่อมเป็นขั้วลบ (Direct Current Electrode Negative ; DCEN) การต่อแบบนี้เป็นการเชื่อมด้วยกระแสตรงขั้วตรง (Direct Current Straight Polarity ; DCSP) ซึ่งสายเชื่อมจะต่อเป็นขั้วลบ (Negative) และสายดินจะ ต่อเป็นขั้วบวก (Positive) ผลจากการอาร์กจะทำาให้เกิดความร้อนที่ชิ้นงาน 2/3 (70%) และเกิดที่ลวดเชื่อม 1/3 (30%) เนื่องจากอิเล็กตรอนจะวิ่ง จากลวดเชื่อมเข้าชน (Impact) กับชิ้นงานตามทิศทางการไหลของกระแส ดัง แสดงในรูปที่ 83
  • 6. รูปที่ 83 แสดงการต่อลวดเชื่อมเป็นขั้วลบ (DCEN) 1.3.2.2 การต่อขั้วเชื่อมโดยให้ลวดเชื่อมเป็นขั้วบวก (Direct Current Electrode Positive ; DCEP) การต่อแบบนี้เป็นการเชื่อมด้วยกระแสตรงขั้วกลับ (Direct Current Reverse Polarity ; DCRP) ซึ่งสายเชื่อมจะต่อเป็นขั้วบวก (Positive) และสายดินจะต่อเป็นขั้วลบ (Negative) ผลจากการอาร์กจะเกิดความร้อนที่ชิ้น งาน 1/3 (30%) และเกิดความร้อนที่ลวดเชื่อม 2/3 (70%) เนื่องจาก อิเล็กตรอนจะวิ่งจากชิ้นงานเข้าชน (Impact) กับ ลวดเชื่อมตามทิศทางการไหลของกระแส ดังแสดงในรูปที่ 84