SlideShare a Scribd company logo
1 of 6
Download to read offline
หัวข้อการเรียนรู้ที่ 3 งานออกแบบข้องอ
3.1 งานออกแบบข้องอ
ในงานออกแบบข้องอให้มีความเหมาะสมกับการไหลผ่านของของเหลวหรืออากาศนั้น
ประเภทของข้อต่อหรือข้องอจะต้องให้ความสาคัญเป็นพิเศษ เนื่องจากข้องอแต่ละแบบจะมีผลต่อการ
ไหลผ่านของเหลวหรืออากาศแตกต่างกัน ซึ่งถ้าข้องอที่มีรัศมีที่กว้างจะสามารถไหลได้ดีกว่าข้องอที่มี
รัศมีแคบ และข้องอที่มีจานวนชิ้นที่มากก็จะมีการไหลที่ดีกว่าข้องอที่มีจานวนชิ้นน้อย
ข้องอ 2 ชิ้น 90 องศา เป็นข้องอที่มีประสิทธิภาพการไหลต่าสุด เนื่องจากของไหล ได้
ไหลในแนวตรงไปปะทะกับท่อด้านบน จากนั้นจึงจะม้วนตัวไหลออกไปตามท่อทางขวามือ
ข้องอ 4 ชิ้น 90 องศา เป็นข้องอที่มีประสิทธิภาพการไหลดี เนื่องจากของไหลจะไหล
โค้งต่อเนื่องกันไปตามท่อโค้ง
รูปที่ 2.4 แสดงลักษณะข้องอต่างๆ
3.2 งานออกแบบรอยต่อของข้องอ
งานออกแบบรอยต่อหรือตะเข็บของข้องอหรือข้อต่อ ผู้ปฏิบัติงานจะต้องออกแบบให้
เหมาะสมกับลักษณะการใช้งาน ซึ่งมีวิธีการออกแบบรอยต่อ ดังนี้
3.2.1 การออกแบบรอยต่อในแนวเดียวกัน
การออกแบบลักษณะแบบนี้ ผู้ปฏิบัติงานจะออกแบบไว้ที่ส่วนโค้งด้านใน เหมาะสาหรับ
การออกแบบเพื่อความสวยงามและเป็นระเบียบเรียบร้อย มีความแข็งแรงน้อย
รูปที่ 2.5 แสดงภาพข้องอ 2 ชิ้น 90 องศา เป็นการออกแบบรอยต่อในแนวเดียวกัน
3.2.2 การออกแบบรอยต่อสลับข้าง
การออกแบบรอยต่อสลับข้างของข้องอนี้ ผู้ปฏิบัติงานจะออกแบบรอยต่อซึ่งจะอยู่ด้าน
นอก ทาให้สามารถมองเห็นรอยต่อได้อย่างชัดเจน สาหรับการออกแบบจะไม่สวยงาม แต่มีความ
แข็งแรงสูงกว่ารอยต่อที่อยู่ในแนวเดียวกัน
รูปที่ 2.6 แสดงภาพข้องอ 2 ชิ้น 90 องศา เป็นการออกแบบรอยต่อสลับข้าง
รูปที่ 2.7 แสดงภาพข้องอ 3 ชิ้น 90 องศา เป็นการออกแบบรอยต่อสลับข้าง
3.3 งานออกแบบแผ่นคลี่
การออกแบบแผ่นคลี่ในงานผลิตภัณฑ์โลหะแผ่น สามารถออกแบบได้หลายรูปแบบ ซึ่งแผ่น
คลี่ของผลิตภัณฑ์โลหะแผ่นที่ดี จะต้องสามารถเขียนแบบแผ่นคลี่ได้รวดเร็ว เครื่องจักรสามารถทางาน
ได้สะดวกและรวดเร็ว และสามารถประกอบได้ง่าย
โดยการออกแบบแผ่นคลี่ในงานผลิตภัณฑ์โลหะ ผู้ปฏิบัติงานจะต้องออกแบบให้เหมาะสมกับ
ลักษณะงาน หรือความยากง่ายของแต่ละงาน ซึ่งมีวิธีการออกแบบรอยต่อ ดังนี้
3.3.1 การออกแบบแผ่นคลี่กล่องสี่เหลี่ยมตัดเฉียงให้อยู่ในชิ้นเดียวกัน
การออกแบบแผ่นคลี่กล่องสี่เหลี่ยมตัดเฉียงให้อยู่ในชิ้นเดียวกัน ส่วนฐานของกล่องจะ
ติดอยู่กับส่วนลาตัวกล่อง ทาให้กล่องมีความแข็งแรงสูง แต่จะยุ่งยากในการเขียนแบบ การตัดและการ
นาเข้าพับด้วยเครื่องพับ ทาให้การผลิตต่อหน่วยต้องใช้เวลามากกว่าการออกแบบแบบแยกชิ้น
รูปที่ 2.8 แสดงลักษณะกล่องสี่เหลี่ยมตัดเฉียง
รูปที่ 2.9 แสดงการออกแบบแผ่นคลี่ของกล่องสี่เหลี่ยมตัดเฉียงให้อยู่ในชิ้นเดียวกัน
ขั้นตอนการประกอบกล่องสี่เหลี่ยมมีฝาปิด
1. แผ่นคลี่ของกล่อง
รูปที่ 2.10 แสดงลักษณะแผ่นคลี่ของกล่องสี่เหลี่ยมมีฝาปิด
2. ลักษณะการพับ
รูปที่ 2.11 แสดงลักษณะการงานกล่องสามเหลี่ยมพับมุมมีฝาปิด
3. การประกอบเป็นกล่อง
รูปที่ 2.12 แสดงลักษณะการประกอบเป็นกล่องกล่องสี่เหลี่ยมมีฝาปิด
3.4 การออกแบบแผ่นคลี่แบบแยกชิ้น
การออกแบบแผ่นคลี่แบบแยกชิ้นนี้ ทาให้การพับขึ้นรูปประกอบสามารถทาได้ง่ายและ
รวดเร็ว แต่ผลิตภัณฑ์มีความแข็งแรงลดลง อาจจะออกแบบเป็นหลายชิ้นประกอบกัน เช่น 2 ชิ้น 3
ชิ้น หรือมากกว่านั้นก็ได้
รูปที่ 2.13 แสดงลักษณะการออกแบบแผ่นคลี่แบบแยกชิ้นแบบ 2 ชิ้นประกอบ
รูปที่ 2.14 แสดงลักษณะการออกแบบแผ่นคลี่แบบแยกชิ้นแบบ 3 ชิ้นประกอบ

203

  • 1. หัวข้อการเรียนรู้ที่ 3 งานออกแบบข้องอ 3.1 งานออกแบบข้องอ ในงานออกแบบข้องอให้มีความเหมาะสมกับการไหลผ่านของของเหลวหรืออากาศนั้น ประเภทของข้อต่อหรือข้องอจะต้องให้ความสาคัญเป็นพิเศษ เนื่องจากข้องอแต่ละแบบจะมีผลต่อการ ไหลผ่านของเหลวหรืออากาศแตกต่างกัน ซึ่งถ้าข้องอที่มีรัศมีที่กว้างจะสามารถไหลได้ดีกว่าข้องอที่มี รัศมีแคบ และข้องอที่มีจานวนชิ้นที่มากก็จะมีการไหลที่ดีกว่าข้องอที่มีจานวนชิ้นน้อย ข้องอ 2 ชิ้น 90 องศา เป็นข้องอที่มีประสิทธิภาพการไหลต่าสุด เนื่องจากของไหล ได้ ไหลในแนวตรงไปปะทะกับท่อด้านบน จากนั้นจึงจะม้วนตัวไหลออกไปตามท่อทางขวามือ ข้องอ 4 ชิ้น 90 องศา เป็นข้องอที่มีประสิทธิภาพการไหลดี เนื่องจากของไหลจะไหล โค้งต่อเนื่องกันไปตามท่อโค้ง รูปที่ 2.4 แสดงลักษณะข้องอต่างๆ 3.2 งานออกแบบรอยต่อของข้องอ งานออกแบบรอยต่อหรือตะเข็บของข้องอหรือข้อต่อ ผู้ปฏิบัติงานจะต้องออกแบบให้ เหมาะสมกับลักษณะการใช้งาน ซึ่งมีวิธีการออกแบบรอยต่อ ดังนี้ 3.2.1 การออกแบบรอยต่อในแนวเดียวกัน การออกแบบลักษณะแบบนี้ ผู้ปฏิบัติงานจะออกแบบไว้ที่ส่วนโค้งด้านใน เหมาะสาหรับ การออกแบบเพื่อความสวยงามและเป็นระเบียบเรียบร้อย มีความแข็งแรงน้อย
  • 2. รูปที่ 2.5 แสดงภาพข้องอ 2 ชิ้น 90 องศา เป็นการออกแบบรอยต่อในแนวเดียวกัน 3.2.2 การออกแบบรอยต่อสลับข้าง การออกแบบรอยต่อสลับข้างของข้องอนี้ ผู้ปฏิบัติงานจะออกแบบรอยต่อซึ่งจะอยู่ด้าน นอก ทาให้สามารถมองเห็นรอยต่อได้อย่างชัดเจน สาหรับการออกแบบจะไม่สวยงาม แต่มีความ แข็งแรงสูงกว่ารอยต่อที่อยู่ในแนวเดียวกัน รูปที่ 2.6 แสดงภาพข้องอ 2 ชิ้น 90 องศา เป็นการออกแบบรอยต่อสลับข้าง
  • 3. รูปที่ 2.7 แสดงภาพข้องอ 3 ชิ้น 90 องศา เป็นการออกแบบรอยต่อสลับข้าง 3.3 งานออกแบบแผ่นคลี่ การออกแบบแผ่นคลี่ในงานผลิตภัณฑ์โลหะแผ่น สามารถออกแบบได้หลายรูปแบบ ซึ่งแผ่น คลี่ของผลิตภัณฑ์โลหะแผ่นที่ดี จะต้องสามารถเขียนแบบแผ่นคลี่ได้รวดเร็ว เครื่องจักรสามารถทางาน ได้สะดวกและรวดเร็ว และสามารถประกอบได้ง่าย โดยการออกแบบแผ่นคลี่ในงานผลิตภัณฑ์โลหะ ผู้ปฏิบัติงานจะต้องออกแบบให้เหมาะสมกับ ลักษณะงาน หรือความยากง่ายของแต่ละงาน ซึ่งมีวิธีการออกแบบรอยต่อ ดังนี้ 3.3.1 การออกแบบแผ่นคลี่กล่องสี่เหลี่ยมตัดเฉียงให้อยู่ในชิ้นเดียวกัน การออกแบบแผ่นคลี่กล่องสี่เหลี่ยมตัดเฉียงให้อยู่ในชิ้นเดียวกัน ส่วนฐานของกล่องจะ ติดอยู่กับส่วนลาตัวกล่อง ทาให้กล่องมีความแข็งแรงสูง แต่จะยุ่งยากในการเขียนแบบ การตัดและการ นาเข้าพับด้วยเครื่องพับ ทาให้การผลิตต่อหน่วยต้องใช้เวลามากกว่าการออกแบบแบบแยกชิ้น รูปที่ 2.8 แสดงลักษณะกล่องสี่เหลี่ยมตัดเฉียง
  • 5. 2. ลักษณะการพับ รูปที่ 2.11 แสดงลักษณะการงานกล่องสามเหลี่ยมพับมุมมีฝาปิด 3. การประกอบเป็นกล่อง รูปที่ 2.12 แสดงลักษณะการประกอบเป็นกล่องกล่องสี่เหลี่ยมมีฝาปิด
  • 6. 3.4 การออกแบบแผ่นคลี่แบบแยกชิ้น การออกแบบแผ่นคลี่แบบแยกชิ้นนี้ ทาให้การพับขึ้นรูปประกอบสามารถทาได้ง่ายและ รวดเร็ว แต่ผลิตภัณฑ์มีความแข็งแรงลดลง อาจจะออกแบบเป็นหลายชิ้นประกอบกัน เช่น 2 ชิ้น 3 ชิ้น หรือมากกว่านั้นก็ได้ รูปที่ 2.13 แสดงลักษณะการออกแบบแผ่นคลี่แบบแยกชิ้นแบบ 2 ชิ้นประกอบ รูปที่ 2.14 แสดงลักษณะการออกแบบแผ่นคลี่แบบแยกชิ้นแบบ 3 ชิ้นประกอบ