SlideShare a Scribd company logo
1 of 38
Download to read offline
จากการศึกษาสถานการณ์ ปัญหาทุกข์ ของลุง
สํ าราญ ได้ สรุปปัญหาหลักๆและแนวทางแก้ ไขปัญหา
ไว้ ดงต่ อไปนี
     ั
ปั ญหาผลผลิตล้ นตลาด


    ปั ญหาราคาตกตํา


ปั ญหาด้ านกระบวนการผลิต


ปั ญหาภาระค่าใช้ จ่ายภายใน
    ครอบครัวและการผลิต
เกษตรกรนิยมปลูกมังคุดเป็ นจํานวนมากเพราะ
เห็นลุงสําราญประสบความสําเร็ จ เหตุของปั ญหาที
ต่อเนืองจากนันคือ ผลผลิตเพิมมากขึน( ล้นตลาด )
แต่ผบริ โภคมีความต้องการเท่าเดิมหรื อคงที
     ู้
นําพืชชนิดอืนมาปลูกเสริ ม
แบ่งเกรดผลผลิตเพือให้เหมาะกับกลุ่มคนทีมีกาลังซื อํ
แตกต่างกัน อาทิ มังคุดเกรด A นําไปขายให้กบผูทีมีั ้
กําลังซื อสู งและส่ งออกต่างประเทศ , มังคุดเกรด B
                ั ้
มักจะขายให้กบผูบริ โภคภายในประเทศทีอยูใน      ่
ระดับกลาง , มังคุดเกรด C ส่ วนใหญ่มกจะนําไปทําการ
                                        ั
                           ั
แปรรู ปเพือเพิมมูลค่าให้กบสิ นค้า ( เช่น มังคุดกวน นํา
มังคุด ฯลฯ )
ปรับเปลียนทัศนคติเกษตรกรให้เข้าใจถึงระบบการทํา
การเกษตรในรู ปแบบอืน เช่น เกษตรผสมผสาน,เกษตร
นอกฤดู,เกษตรอินทรี ยเ์ ป็ นต้น
                    ั ้
สร้างความเชือมันให้กบผูบริ โภคในตราสิ นค้าทาง
การเกษตร ( มังคุด )
จัดการอบรมโดยนักวิชาการเกษตรให้ความรู ้โดยตรง
เกียวกับการปลูกพืชเสริ มในพืนทีๆมีพืชหลักเพียงชนิด
เดียว ( การปลูกพืชผสมผสาน )
                                                 ั
ทําการคัดแยกแบ่งเกรด ผลผลิตเพือส่ งออกสิ นค้าให้กบ
ลูกค้าตามความต้องการ จัดตังการอบรมโดยผูเ้ ชียวชาญ
ในเรื องการแปรรู ปผลผลิตและการเพิมมูลค่าสิ นค้า
ให้กบเกษตรกรเพือใช้เป็ นแนวทางในการปฏิบติต่อไป
     ั                                     ั
จัดตังการอบรมโดยผูเ้ ชียวชาญในเรื อง เกษตรผสมผสาน ,
เกษตรนอกฤดูและเกษตรอินทรี ย ์ เป็ นต้น เพือให้เกษตรกร (
ลุงสําราญและเพือนบ้าน )มีทศนคติในเรื องการทํา
                            ั
การเกษตรตรงกัน
นําผลผลิตทีทําการแปรรู ปแล้วส่ งไปยังสํานักงานที
ตรวจสอบสิ นค้าทางการเกษตรเพือให้สินค้าได้รับเครื องรับ
รองคุณภาพซึ งเป็ นหลักสําคัญทีจะช่วยดึงดูดผูบริ โภคให้
                                            ้
สนใจในผลิตภัณฑ์นีมากยิงขัน
เกษตรกรได้แนวคิดใหม่ในกระบวนการผลิตจากที
มุ่งเน้นผลิตมังคุดสดเพียงอย่างเดียว จึงหันมาเพิมมูลค่า
ผลผลิตด้วยการแปรรู ปทีหลากหลายเป็ นทางเลือกใหม่
      ั ้
ให้กบผูบริ โภค ช่วยลดปั ญหาผลผลิตล้นตลาดได้เป็ น
อย่างดี
ผลผลิต(มังคุด)ทีออกสู่ตลาดเมือได้ทาการคัดเกรดแล้ว
                                     ํ
                         ั ้             ํ
ย่อมเป็ นทางเลือกทีดีให้กบผูบริ โภคทีมีกาลังซื อแตกต่าง
กัน
ั
มังคุดคัด ถือเป็ นภูมิปัญญาชาวบ้านอย่างหนึ ง ทีจะสร้างมูลค่าเพิมให้กบ
มังคุด โดยเฉพาะในช่วงทีราคาตกตําเป็ นอย่างมาก โดยการนําเอามังคุด
ผลห่าม ซึ งมีเปลือกเขียวและแข็ง มาปอกด้วยมีด และกรรมวิธีในการ
ปอกมังคุดห่ าม
       มังคุดกิโลกรัมละ 20 บาท (12-13 ลูก)
       มังคุดคัด ไม้ละ 20 บาท (3-4 ลูก)
นํามังคุด
-ลดภูมิแพ้
-ลดระดับนําตาลในเลือด
-ลดอาการชําบวม ข้ออักเสบ ปวดข้อทีพบมากในกลุ่มผูสูงอายุ
                                                   ้
-ต้านอนุมูลอิสระ เหนือกว่าในนําผักและผลไม้อืนถึง 20-30 เท่า
-ต้านเชือแบคทีเรี ยทังแกรมบวก และแกรมลบ ทีแม้แต่กลุ่ม
ปฏิชีวนะก็ไม่สามารถจะออกฤทธิ ไปครอบคลุมได้
-ต้านโรคผิวหนัง แผล สิ ว
ชะลอความแก่ชรา
-ยับยังการสร้างคอเรสเตอรอล
-ปรับสมดุล เสริ มพลังให้ร่างกาย
เจลล้ างหน้ าเปลือกมังคุด
  สารแทนนินและแซนโทนทีอยูใน      ่
  เปลือกมังคุด มีคุณสมบัติในการ
  ต่อต้านอนุมูลอิสระ อีกทังฤทธิฝาด
  สมานของเปลือกยังช่วยลดความมัน
  และกระชับรู ขมขน เจลล้างหน้าเปลือก
                  ุ
  มังคุดจึงเป็ นผลิตภัณฑ์ทีช่วยแก้ปัญหา
  ผิวหน้าอย่างแท้จริ ง
นอกจากนียังมีผลิตภัณฑ์แปรรู ปอีกหลากหลาย อาทิ ไวน์
  มังคุด แยมมังคุด มังคุดอบแห้ง นํามังคุด นําส้มสายชูมงคุด
                                                       ั
  มังคุดกวน3รส มังคุดแช่เยือกแข็ง สบู่เปลือกมังคุด เป็ นต้น

หมายเหตุ : วิธีการแปรรู ปทังหมดได้ แนบมากับรู ปเล่ มเพือความ
 เข้ าใจมากขึนเกียวกับวิธีในการทํา




                                                               B
จํานวนมังคุดทีผลิตออกมามีจานวนมาก
                            ํ
สื บเนืองจากสาเหตุทีผ่านมาคือผลผลิตล้นตลาดทําให้
พ่อค้าคนกลางกดราคาผลผลิตให้มีราคาตํากว่าความเป็ น
จริ ง
รวมกลุ่มกันในชุมชนเพือสร้างความแข็งแรงให้แก่
เกษตรกรในชุมชนของตนเอง
แบ่งเกรดผลผลิตเพือให้เหมาะกับกลุ่มคนทีมีกาลังซื อ
                                               ํ
                                              ั ้ ํ
แตกต่างกัน อาทิ มังคุดเกรด A นําไปขายให้กบผูทีมีกาลัง
ซื อสู งและส่ งออกต่างประเทศ , มังคุดเกรด B มักจะขาย
       ั ้                         ่
ให้กบผูบริ โภคภายในประเทศทีอยูในระดับกลาง , มังคุด
เกรด C ส่ วนใหญ่มกจะนําไปทําการแปรรู ปเพือเพิมมูลค่า
                     ั
     ั
ให้กบสิ นค้า ( เช่น มังคุดกวน นํามังคุด ฯลฯ )
พัฒนาคุณภาพผลผลิต โดยลดจํานวนผลผลิตแต่เพิม
คุณภาพ(เช่นเมือผลผลิตเริ มออก ตัดผลผลิตบางส่ วนทิง
                       ่
เพือให้ผลผลิตทีเหลืออยูมีคุณภาพทีดีเพราะได้รับแร่ ธาตุ
อย่างเต็มที)
จัดตังสหกรณ์การเกษตรเพือเป็ นศูนย์กลางใช้ต่อรองกับ
พ่อค้าคนกลางทีเข้ามารับซือผลผลิตให้เป็ นไปในทิศทาง
เดียวกันและเกิดความยุติธรรมขึนในชุมชน
                                                 ั
ทําการคัดแยกแบ่งเกรด ผลผลิตเพือส่ งออกสิ นค้าให้กบ
ลูกค้าตามความต้องการ
จัดตังการอบรมโดยผูเ้ ชียวชาญ ในเรื องการแปรรู ป
                                 ั
ผลผลิตและการเพิมมูลค่าสิ นค้าให้กบเกษตรกรเพือใช้
เป็ นแนวทางในการปฏิบติต่อไป
                        ั
จัดการอบรมโดยผูเ้ ชียวชาญเกียวกับการพัฒนามังคุดให้
มีคุณภาพทีดีขึน เช่นตัดผลผลิตบางส่ วนทิงเพือให้
                 ่
ผลผลิตทีเหลืออยูมีคุณภาพทีดีเพราะได้รับแร่ ธาตุอย่าง
เต็มที
ผลผลิตทีออกมามีจานวนน้อยลงแต่มีคุณภาพและขนาด
                     ํ
ทีดีขึน เป็ นทีต้องการของตลาด และสิ นค้าทีได้รับการ
แปรรู ปออกมาได้ราคาทีสู งมากขึนจากทีขายมังคุดสด
เพียงอย่างเดียว




                                                      B
สาเหตุตนๆในการเกิดปั ญหาทังหมดเกิดจาก
             ้
การทีลุงสําราญยังขาดความรู ้ดานการผลิตทีดี
                             ้
สร้างมูลค่าเพิมสิ นค้าเกษตร โดยพัฒนาคุณภาพการ
ผลิตและระบบตรวจสอบรับรองคุณภาพมาตรฐานสิ นค้า
เกษตรด้วยการส่ งเสริ มความปลอดภัยสิ นค้าเกษตรและ
อาหารตามมาตรฐานสากลในระดับชุมชน และ
สนับสนุนการทําเกษตรอินทรี ย ์ เกษตรผสมผสาน ที
สอดคล้องกับความต้องการของชุมชน เพือลดการใช้
สารเคมี และเพิมมูลค่าสิ นค้าเกษตร
จัดอบรมเรื องเกษตรผสมผสาน เกษตรอินทรี ย ์
    ั
ให้กบลุงสําราญ เพือสร้างความเข้าใจเกียวกับข้อดีและ
ประโยชน์ของเกษตรผสมผสานว่า
จากการทําเกษตรกระแสหลักโดยเฉพาะอย่างยิงการ
ทําเกษตรเชิงเดียวหรื อการผลิตสิ นค้า เกษตรชนิดเดียว
เกิดปั ญหาหลายๆด้านคือ
1) รายได้ของครัวเรื อนไม่มีเสถียรภาพ
2) เศษวัสดุจากพืชและมูลสัตว์ไม่ได้นาไปใช้ประโยชน์
                                       ํ
3) การผลิตสิ นค้าเดียวบางชนิดใช้เงินลงทุนมาก
4) ครัวเรื อนต้องพึงพิงอาหารจากภายนอก
ดังนันจึงเกิดแนวคิดในการทีหาระบบการผลิตใน
ไร่ นา ทีสามารถใช้ประโยชน์จากพืนทีทํากินขนาดเล็ก
เพือลดความเสี ยงจากการผลิต ลดการพึงพิงเงินทุน
ปั จจัยการผลิตและอาหารจากภายนอก เศษพืชและมูล
สัตว์ ซึ งเป็ นผลพลอยได้จากกิจกรรมการผลิต ไปใช้ให้
เกิดประโยชน์ในไร่ นาและทําให้ผลผลิตและรายได้
เพิมขึน ระบบการผลิตดังกล่าวคือ เกษตรผสมผสาน
สํ าหรับเกษตรอินทรีย์ คือ ระบบการเกษตรทีผลิตอาหารและเส้นใย
ด้วยความยังยืนทังทางสิ งแวดล้อม สังคม และเศรษฐกิจ โดยเน้นหลัก
ทีการปรับปรุ งบํารุ งดิน การเคารพต่อศักยภาพทางธรรมชาติของพืช
สัตว์ และนิเวศการเกษตร เกษตรอินทรี ยลดการใช้ปัจจัยการผลิตจาก
                                        ์
ภายนอก และหลีกเลียงการใช้สารเคมีสงเคราะห์ เช่น ปุ๋ ยเคมี สารเคมี
                                      ั
กําจัดศัตรู พืช และ เวชภัณฑ์สาหรับสัตว์ แต่ในขณะเดียวกัน เกษตร
                              ํ
อินทรี ยพยายามประยุกต์กลไกและวัฏจักรธรรมชาติในการเพิมผลผลิต
          ์
และพัฒนาความต้านทานต่อโรคของพืชและสัตว์เลียง หลักการเกษตร
อินทรี ยนีเป็ นหลักการสากล ทีสอดคล้องกับเงือนไขทางเศรษฐกิจ-
        ์
สังคม ภูมิอากาศ และวัฒนธรรมของท้องถินด้วย
ั ้
ผลผลิตทีออกมาเป็ นการเพิมทางเลือกให้กบผูบริ โภค
                           ั ้
และยังสามารถเพิมรายได้ให้กบผูผลิตมากยิงขึน
ธรรมชาติถูกทําลายลดลงเนืองจากกระบวนการผลิตได้
เปลียนจากสารเคมีมาเป็ นเกษตรอินทรี ย ์ และเป็ นมิตรกับ
คน สิ งแวดล้อมและผลผลิตในระยะยาว



                                                         B
- กูเ้ งินจากธนาคารมาซือทีดินเพิม และซื อรถกระบะคันใหม่
- ค่าเทอมลูก
- เงินค่ารักษาภรรยาทีป่ วย
ลดต้นทุนในการผลิตโดยใช้หลักเศรษฐกิจพอเพียง โดย
การใช้ทรัพยากรในพืนทีให้เกิดประโยชน์สูงสุ ด เช่น
รายจ่ายในเรื องของสารเคมีโดยการใช้ปุ๋ยหมักชีวภาพ
แทนปุ๋ ยเคมี โดยปุ๋ ยหมักชีวภาพทําขึนเองได้จากวัสดุ
ส่ วนประกอบในพืนที
การผลิตมังคุดแบบผสมผสาน โดยในกระบวนการผลิต
จะใช้สารเคมีบางบางส่ วน ควบคู่ไปกับปุ๋ ยอินทรี ย ์
               ้
ให้ลุงสําราญเข้าร่ วมการอบรมจากผูเ้ ชียวชาญเรื อง
การทําปุ๋ ยหมักชีวภาพแทนปุ๋ ยเคมี
1. การทํานําหมักชีวภาพเร่ งการเจริ ญเติบโตของพืช
   ส่ วนผสม
                   - ปลาหรื อหอยเชอรี           30       กิโลกรัม
                   - ผลไม้                      10       กิโลกรัม
                   - กากนําตาล                  10       กิโลกรัม
                   - นําสะอาด                   1        ลิตร
                   - สารเร่ งซุ ปเปอร์ พ.ด.2 1           ซอง
         วิธีทา นําผลไม้มาสับเป็ นชินเล็ก ๆ แล้วนําส่ วนผสม 1 - 3 ใส่ ถง
              ํ                                                        ั
   รมกัน นําพ.ด.2 ละลายนํา 10 ลิตร ประมาณ 5 - 10 นาที แล้วจึงเท พ.ด.2
   ทีละลายนําหมดแล้วใส่ ในถึงส่ วนผสม หมักทิงไว้ประมาณ 50 - 60 วัน
2. ปุ๋ ยอินทรี ย ์
ส่ วนผสม
           - หิ นฟอสเฟต            30        กิโลกรัม
           - กากถัวเหลืองป่ น      30        กิโลกรัม
           - มูลไก่ไข่             3         กระสอบ
           - แกลบดิบหรื อแกลบดํา 3           กระสอบ
           - รําละเอียด            20        กิโลกรัม
           - นําหมักชีวภาพ (นําปลาหมักหรื อนําหอยเชอรี )20 ลิตร
วิธีทา
     ํ
      นําหิ นฟอสเฟต กากถัวเหลืองป่ น มูลไก่ไข่ แกลบดิบหรื อ
แกลบดํา ผสมเข้าด้วยกัน แล้วนํานําหมักชีวภาพผสมลงไปให้มี
ความชืนประมาณ 50 – 60% (ลองใช้มือกํา เมือแบมือถ้าปุ๋ ยแตกออก
แสดงว่านําน้อยไปให้นานําเปล่าผสมลงไปอีก แต่ถาบีบแล้วนําไหล
                       ํ                        ้
ออกมาแสดงว่านํามากเกินไป) ต่อมานํารําอ่อนผสมให้เข้ากัน แล้วนํา
ส่ วนผสมทีได้ทีแล้วใส่ กระสอบกะนําหนักให้พอประมาณไม่ให้ปุ๋ย
                                        ่
แน่นเกินไป มัดปากประสอบ ตังเรี ยงกันอยูในทีร่ ม หมักทิงไว้
ประมาณ 7 – 10 วัน
อัตราการใช้
ปุยอินทรี ย์ 3 – 10 กิโลกรัม หรื อตามความเหมาะสมของพืช
 ๋
แต่ละชนิด สําหรับผักให้ ใช้ 3 – 5 กิโลกรัมต่อ 1 ตารางเมตร
1. ค่าปุ๋ ย
           - อินทรี ย ์               2300 บาท
2. ค่าสารเคมี
           - การกําจัดวัชพืช          200   บาท
           - การกําจัดแมลงศัตรู พืช   200   บาท
3. ค่านํามันเชือเพลิง
           - การกําจัดแมลงศัตรู พืช   300   บาท
4. ค่าไฟฟ้ า                          800   บาท
5. ค่าแรงงาน
           - ค่าดูแลรักษา             800 บาท
           - ค่าเก็บเกียว             2,400 บาท
6. ค่าซ่อมแซมอุปกรณ์การเกษตร          200 บาท
สรุป
ต้นทุนรวมต่อไร่ 6900 บาท
ต้นทุนรวมต่อกิโลกรัม 8.63 บาท
ผลผลิตต่อไร่ 800 กิโลกรัม
เคมี                                      ผสมผสาน
1. ค่ าปุย
        ๋                เคมี 4,300 บาท                            - อินทรีย์ 2300          บาท

2. ค่ าสารเคมี           - การกําจัดวัชพืช 400 บาท                 - การกําจัดวัชพืช 200 บาท
                         - การกําจัดแมลงศัตรู พืช 1200บาท          - การกําจัดแมลงศัตรู พืช 200บาท

3. ค่ านํามันเชือเพลิง   - การกําจัดแมลงศัตรู พืช 500 บาท          - การกําจัดแมลงศัตรู พืช 300 บาท
4. ค่ าไฟฟา้             1000 บาท                                  800 บาท
5. ค่ าแรงงาน            - ค่ าดูแลรั กษา 1500 บาท                 - ค่ าดูแลรั กษา 800 บาท
                         - ค่ าเก็บเกียว 2,400 บาท                 - ค่ าเก็บเกียว 2,400 บาท

6. ค่ าซ่ อมแซมอุปกรณ์   200 บาท                                   200 บาท
การเกษตร
                         ต้ นทุนรวมต่ อไร่ 11,500 บาท             - ต้ นทุนรวมต่ อไร่ 6900 บาท
                         ต้ นทุนรวมต่ อกิโลกรัม 10.45 บาท         - ต้ นทุนรวมต่ อกิโลกรัม 8.63 บาท
                         ผลผลิตต่ อไร่ (กิโลกรั ม/ไร่ ) 1,100 บาท - ผลผลิตต่ อไร่ 800 กิโลกรั ม/ไร่
                         ต้ นทุนรวมทังสวน (บาท/ปี ) 230,000 บาท
จากการแก้ไขปั ญหาข้างต้นเป็ นการแก้ไขจาก
จุดเริ มต้นคือการผลิต ลดต้นทุนในการผลิตลง เนืองจาก
ค่าใช้จ่ายทีจ่ายภายในครอบครัว เป็ นค่าใช้จ่ายทีประจํา
               ่
และจําเป็ นอยูแล้ว จึงมาลดในส่ วนของต้นทุนในการ
ผลิต ทีสามารถควบคุมได้ โดยการใช้วธีทีกล่าวมา
                                      ิ
ซึงได้แก่ใช้หลักเศรษฐกิจพอเพียง โดยการใช้ทรัพยากรใน
พืนทีให้เกิดประโยชน์สูงสุ ด เช่น รายจ่ายในเรื องของสารเคมีโดย
การใช้ปุ๋ยหมักชีวภาพแทนปุ๋ ยเคมี โดยปุ๋ ยหมักชีวภาพทําขึนเองได้
จากวัสดุและ ส่ วนประกอบธรรมชาติในพืนที และการผลิตมังคุด
แบบผสมผสาน โดยในกระบวนการผลิตจะใช้สารเคมีบาง                ้
บางส่ วน ควบคู่ไปกับปุ๋ ยอินทรี ย ์ ส่ งผลให้ค่าใช้จ่ายในส่ วนของ
การผลิตลดลง ผลผลิตอาจลดลงจากเดิมเล็กน้อย แต่กยงพออยูได้  ็ั     ่
สามารถประชาสัมพันธ์เป็ นมังคุดปลอดสารพิษ เป็ นทางเลือก
ให้แก่ผบริ โภคได้อีกทางหนึงและหลักเศรษฐกิจพอเพียงยัง
       ู้
สามารถเป็ นแนวทางในการใช้ชีวิตในครอบครัวทีดีใน
สถานการณ์เช่นนีทีมีปัญหาด้านค่าใช้จ่าย
                                                                    B
น.ส.กฤษณา          กุลเท็ง         รหัส   52040894
น.ส.เกวลี          ล่อใจ           รหัส   52040898
น.ส.จิดรานุช       พิมพ์สวัสดิ     รหัส   52040901
น.ส.จิตวดี         พรหมศิริ        รหัส   52040902
นางสาวปั ทมา       ชาวบ้านเกาะ     รหัส   52040922
นางสาวพัชราภรณ์    ไตรเลิศ         รหัส   52040923
นางสาวสุ พิชฌาย์   สุ ขประเสริ ฐ   รหัส   52040949
นางสาวแสงจันทร์    สนันเอือ        รหัส   52040952

More Related Content

Viewers also liked

Taller web 2 gabriel
Taller  web 2 gabrielTaller  web 2 gabriel
Taller web 2 gabrielgabdat2
 
Tripex article
Tripex articleTripex article
Tripex articleRob Ozanne
 
Antropología Cultural del Peru
Antropología Cultural del PeruAntropología Cultural del Peru
Antropología Cultural del PeruMagaly2015
 
Classificacao processo seletivo estagio - prefeitura de cruzeiro - divulgac...
Classificacao   processo seletivo estagio - prefeitura de cruzeiro - divulgac...Classificacao   processo seletivo estagio - prefeitura de cruzeiro - divulgac...
Classificacao processo seletivo estagio - prefeitura de cruzeiro - divulgac...TecnologiaPMC
 
Abministracion de un centro de computo: cuestionario
Abministracion de un centro de computo: cuestionarioAbministracion de un centro de computo: cuestionario
Abministracion de un centro de computo: cuestionariojohannavalenzuela4c2
 
Institucion educativa la gabriela
Institucion educativa la gabrielaInstitucion educativa la gabriela
Institucion educativa la gabrielaarboledamesa
 
Professor, eu não sei começar!
Professor, eu não sei começar!Professor, eu não sei começar!
Professor, eu não sei começar!Estude Mais
 
Hechizo para atraer el dinero
Hechizo para atraer el dineroHechizo para atraer el dinero
Hechizo para atraer el dineromagoguardiao
 

Viewers also liked (13)

Taller web 2 gabriel
Taller  web 2 gabrielTaller  web 2 gabriel
Taller web 2 gabriel
 
Trabajo 9º2
Trabajo 9º2Trabajo 9º2
Trabajo 9º2
 
Trabajo 9º2
Trabajo 9º2Trabajo 9º2
Trabajo 9º2
 
Tripex article
Tripex articleTripex article
Tripex article
 
Antropología Cultural del Peru
Antropología Cultural del PeruAntropología Cultural del Peru
Antropología Cultural del Peru
 
Classificacao processo seletivo estagio - prefeitura de cruzeiro - divulgac...
Classificacao   processo seletivo estagio - prefeitura de cruzeiro - divulgac...Classificacao   processo seletivo estagio - prefeitura de cruzeiro - divulgac...
Classificacao processo seletivo estagio - prefeitura de cruzeiro - divulgac...
 
Abministracion de un centro de computo: cuestionario
Abministracion de un centro de computo: cuestionarioAbministracion de un centro de computo: cuestionario
Abministracion de un centro de computo: cuestionario
 
Institucion educativa la gabriela
Institucion educativa la gabrielaInstitucion educativa la gabriela
Institucion educativa la gabriela
 
10 Funciones de exel
10 Funciones de exel10 Funciones de exel
10 Funciones de exel
 
藏地尋祕上冊第1章
藏地尋祕上冊第1章藏地尋祕上冊第1章
藏地尋祕上冊第1章
 
Professor, eu não sei começar!
Professor, eu não sei começar!Professor, eu não sei começar!
Professor, eu não sei começar!
 
Criptografia
CriptografiaCriptografia
Criptografia
 
Hechizo para atraer el dinero
Hechizo para atraer el dineroHechizo para atraer el dinero
Hechizo para atraer el dinero
 

Similar to 6 ผลงานภารกิจปลดทุกข์ลุงสำราญ (กฤษณา)

Merged document
Merged documentMerged document
Merged documentapecthaitu
 
โครงงานเกษตรตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
โครงงานเกษตรตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงโครงงานเกษตรตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
โครงงานเกษตรตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงเจื๋อง เมืองลื้อ
 
บทที่ 2ปรับปรุง
บทที่ 2ปรับปรุงบทที่ 2ปรับปรุง
บทที่ 2ปรับปรุงkasetpcc
 
การจัดการโซ่อุปทานเพื่อสร้างความมั่นคงและยั่งยืนให้ภาคเกษตรและเกษตรกร 9 07-14
การจัดการโซ่อุปทานเพื่อสร้างความมั่นคงและยั่งยืนให้ภาคเกษตรและเกษตรกร 9 07-14การจัดการโซ่อุปทานเพื่อสร้างความมั่นคงและยั่งยืนให้ภาคเกษตรและเกษตรกร 9 07-14
การจัดการโซ่อุปทานเพื่อสร้างความมั่นคงและยั่งยืนให้ภาคเกษตรและเกษตรกร 9 07-14somporn Isvilanonda
 
130115 cassava fk-by_prim
130115 cassava fk-by_prim130115 cassava fk-by_prim
130115 cassava fk-by_primFarmkaset
 
กลุ่ม4
กลุ่ม4กลุ่ม4
กลุ่ม4punloveh
 
แผนการตลาด Rice for life
แผนการตลาด Rice for lifeแผนการตลาด Rice for life
แผนการตลาด Rice for lifeVitsanu Nittayathammakul
 
การเลี้ยงหมูหลุม
การเลี้ยงหมูหลุมการเลี้ยงหมูหลุม
การเลี้ยงหมูหลุมTonggii Ozaka
 
ผลงานวิสาหกิจชุมชนกลุ่มเกษตรกรทำนาตะ
ผลงานวิสาหกิจชุมชนกลุ่มเกษตรกรทำนาตะผลงานวิสาหกิจชุมชนกลุ่มเกษตรกรทำนาตะ
ผลงานวิสาหกิจชุมชนกลุ่มเกษตรกรทำนาตะmaza7611
 
การส่งเสริมการเพิ่มผลผลิตของข้าว โดยการบริหารการจัดการปลูกข้าว
การส่งเสริมการเพิ่มผลผลิตของข้าว โดยการบริหารการจัดการปลูกข้าวการส่งเสริมการเพิ่มผลผลิตของข้าว โดยการบริหารการจัดการปลูกข้าว
การส่งเสริมการเพิ่มผลผลิตของข้าว โดยการบริหารการจัดการปลูกข้าวJack Wong
 
งานวิจัยโยเกิร์ตข้าวโพด
งานวิจัยโยเกิร์ตข้าวโพดงานวิจัยโยเกิร์ตข้าวโพด
งานวิจัยโยเกิร์ตข้าวโพดKanitha Panya
 
เรื่อง การทำการเกษตร
เรื่อง การทำการเกษตรเรื่อง การทำการเกษตร
เรื่อง การทำการเกษตรchompoo28
 
ภาพอนาคตของเกษตรกรรมไทย
ภาพอนาคตของเกษตรกรรมไทยภาพอนาคตของเกษตรกรรมไทย
ภาพอนาคตของเกษตรกรรมไทยsomporn Isvilanonda
 
ระบบการเพิ่มผลผลิตข้าว2
ระบบการเพิ่มผลผลิตข้าว2ระบบการเพิ่มผลผลิตข้าว2
ระบบการเพิ่มผลผลิตข้าว2Jack Wong
 
เรื่อง เศรษฐกิจพอเพียง
เรื่อง เศรษฐกิจพอเพียงเรื่อง เศรษฐกิจพอเพียง
เรื่อง เศรษฐกิจพอเพียงIFon Lapthavon
 
การเลี้ยงหมูหลุม2554
การเลี้ยงหมูหลุม2554การเลี้ยงหมูหลุม2554
การเลี้ยงหมูหลุม2554Lsilapakean
 

Similar to 6 ผลงานภารกิจปลดทุกข์ลุงสำราญ (กฤษณา) (20)

Merged document
Merged documentMerged document
Merged document
 
โครงงานเกษตรตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
โครงงานเกษตรตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงโครงงานเกษตรตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
โครงงานเกษตรตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
 
บทที่ 2ปรับปรุง
บทที่ 2ปรับปรุงบทที่ 2ปรับปรุง
บทที่ 2ปรับปรุง
 
Bio diesel
Bio dieselBio diesel
Bio diesel
 
การจัดการโซ่อุปทานเพื่อสร้างความมั่นคงและยั่งยืนให้ภาคเกษตรและเกษตรกร 9 07-14
การจัดการโซ่อุปทานเพื่อสร้างความมั่นคงและยั่งยืนให้ภาคเกษตรและเกษตรกร 9 07-14การจัดการโซ่อุปทานเพื่อสร้างความมั่นคงและยั่งยืนให้ภาคเกษตรและเกษตรกร 9 07-14
การจัดการโซ่อุปทานเพื่อสร้างความมั่นคงและยั่งยืนให้ภาคเกษตรและเกษตรกร 9 07-14
 
130115 cassava fk-by_prim
130115 cassava fk-by_prim130115 cassava fk-by_prim
130115 cassava fk-by_prim
 
Agri specific crop
Agri specific cropAgri specific crop
Agri specific crop
 
กลุ่ม4
กลุ่ม4กลุ่ม4
กลุ่ม4
 
แผนการตลาด Rice for life
แผนการตลาด Rice for lifeแผนการตลาด Rice for life
แผนการตลาด Rice for life
 
Bakery
BakeryBakery
Bakery
 
การเลี้ยงหมูหลุม
การเลี้ยงหมูหลุมการเลี้ยงหมูหลุม
การเลี้ยงหมูหลุม
 
ผลงานวิสาหกิจชุมชนกลุ่มเกษตรกรทำนาตะ
ผลงานวิสาหกิจชุมชนกลุ่มเกษตรกรทำนาตะผลงานวิสาหกิจชุมชนกลุ่มเกษตรกรทำนาตะ
ผลงานวิสาหกิจชุมชนกลุ่มเกษตรกรทำนาตะ
 
การส่งเสริมการเพิ่มผลผลิตของข้าว โดยการบริหารการจัดการปลูกข้าว
การส่งเสริมการเพิ่มผลผลิตของข้าว โดยการบริหารการจัดการปลูกข้าวการส่งเสริมการเพิ่มผลผลิตของข้าว โดยการบริหารการจัดการปลูกข้าว
การส่งเสริมการเพิ่มผลผลิตของข้าว โดยการบริหารการจัดการปลูกข้าว
 
งานวิจัยโยเกิร์ตข้าวโพด
งานวิจัยโยเกิร์ตข้าวโพดงานวิจัยโยเกิร์ตข้าวโพด
งานวิจัยโยเกิร์ตข้าวโพด
 
เรื่อง การทำการเกษตร
เรื่อง การทำการเกษตรเรื่อง การทำการเกษตร
เรื่อง การทำการเกษตร
 
ภาพอนาคตของเกษตรกรรมไทย
ภาพอนาคตของเกษตรกรรมไทยภาพอนาคตของเกษตรกรรมไทย
ภาพอนาคตของเกษตรกรรมไทย
 
News4vol5
News4vol5News4vol5
News4vol5
 
ระบบการเพิ่มผลผลิตข้าว2
ระบบการเพิ่มผลผลิตข้าว2ระบบการเพิ่มผลผลิตข้าว2
ระบบการเพิ่มผลผลิตข้าว2
 
เรื่อง เศรษฐกิจพอเพียง
เรื่อง เศรษฐกิจพอเพียงเรื่อง เศรษฐกิจพอเพียง
เรื่อง เศรษฐกิจพอเพียง
 
การเลี้ยงหมูหลุม2554
การเลี้ยงหมูหลุม2554การเลี้ยงหมูหลุม2554
การเลี้ยงหมูหลุม2554
 

6 ผลงานภารกิจปลดทุกข์ลุงสำราญ (กฤษณา)