SlideShare a Scribd company logo
1 of 23
วันที่ 17 – 19 พฤษภาคม 2557
โดย ศูนย์ศึกษาและบริการวิชาการด้านการท่องเที่ยว
คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
Effective Communication in English
(ภาคบ่าย)
โครงการฝึกอบรมเพื่อเพิ่มทักษะการสื่อสารสาหรับบุคลากรการท่องเที่ยว
(Developing communication skills for Tourism Professionals)
Accents
 การออกเสียงสาเนียง หากเจ้าของภาษาพูดด้วยความเร็ว หรือติดสาเนียง
จนเกินไป จะทาให้ผู้ฟังเข้าใจได้ลาบาก ผู้พูดจะต้องพูดช้าลงเพื่อให้ผู้ฟังรับฟังได้
ง่ายขึ้น
วิธีฝึกฝนการฟัง
ทาให้สามารถเข้าใจความแตกต่างของ
แต่ละสาเนียงในภาษานั้นได้
ฟังบ่อย ๆ
พูดสื่อสาร
ให้มากขึ้น
English Accents
 การออกเสียงภาษาอังกฤษเป็นที่รู้จักกันทั่วโลก
 เป็นภาษาที่ถูกพูดในหลายประเทศ เป็นอันดับที่ 2 ของโลกรองจากภาษาจีน
 ประเทศที่ใช้ภาษาอังกฤษ ได้แก่ United Kingdom, Ireland,
Scotland, America, Australia, Canada เป็นต้น
 แต่ละประเทศล้วนมีสาเนียงการออกเสียงภาษาอังกฤษที่แตกต่างกัน
English Accents
ส่วนใหญ่แล้วผู้ที่ใช้ภาษาอังกฤษมักพูดเร็ว นักท่องเที่ยวจานวนมาก
มักจะลืมตัวพูดเร็วและใช้คาแสลง ทาให้ผู้ฟังยากที่จะเข้าใจ เราจึงต้อง
เรียนรู้คาศัพท์แสลงให้มากขึ้น หากเราไม่เข้าใจในสิ่งที่พูด ไม่ควร
เกรงใจที่จะบอกให้ผู้พูดรับรู้ เช่น ควรพูดกับเขาว่า
Q: Excuse me, would you mind slowing down
a little bit and repeating that.
วิธีเหล่านี้ถือเป็นเรื่องปกติในการสื่อสาร ผู้พูดส่วนใหญ่จะไม่คิดมาก
การพัฒนาทักษะการฟัง
 ภาษาอังกฤษมีหลาย accent เช่น สาเนียงอเมริกัน (United
States of America) และสาเนียงอังกฤษ (United
Kingdom)
 การดูโทรทัศน์หรือภาพยนตร์ที่เป็น Soundtrack สามารถพัฒนา
ทักษะการฟังได้
 การใช้เทคโนโลยี อาทิ Tablet, Smartphone และ Internet
สามารถพัฒนาทักษะการฟังได้เหมือนกัน
 การฝึกฝนการฟังประมาณ 1 ชั่วโมงของทุกๆ วัน เช่น การฟังรายการวิทยุ
ของ CNN, BBC การดูรายการโทรทัศน์ หรือ Youtube จะทาให้
เรามีประสบการณ์ในการฟังมากขึ้น
“The more you listen, the
more you grow develop.”
“The more you listen, the
more you grow develop.”
“The more you listen, the
more you grow develop.”
การมี Group ที่มีความสนใจต่างๆ เหมือนกัน เช่น ธรรมชาติ การปั่น
จักรยาน ที่ใช้ภาษาอังกฤษในการสื่อสารพูดคุยจะช่วยเราให้พัฒนาทักษะทาง
ภาษาได้ เราสามารถหากลุ่มเหล่านี้ได้จาก Internet, Facebook หรือ ใน
ชั้นเรียน Course ภาษาต่างๆ ก็มีส่วนสาคัญช่วยให้เรามีโอกาสได้พบเจอคน
มากมายต่างสถานที่ และการใช้ภาษาอังกฤษในสาเนียงต่างกันไป เช่น เมื่อได้
ยิน Accent สาหรับคนอังกฤษ ส่วนมากจะพูดภาษาอังกฤษแบบ Strong
Accent คือ จะพูดเร็ว และใช้ คาศัพท์แสลง
“The more you listen, the
more you grow develop.”
e more you listen, the
e you grow develop.”
Thai dishes and Menu
Thai dishes and M
คนไทยรู้จักอาหารไทยเพียงแค่ชื่อที่เป็นภาษาไทยเท่านั้น แต่
นักท่องเที่ยวอาจจะถามหรืออยากรู้ เกี่ยวกับอาหารไทยใน
ภาษาอังกฤษ เช่น วิธีทาอาหาร จึงเป็นสิ่งสาคัญที่จะต้องอธิบายให้
นักท่องเที่ยวฟังและเข้าใจได้อย่างถูกต้อง
Menu หมายถึง กระดาษที่เขียนเกี่ยวกับ
รายการของอาหาร ในเมนูมีอาหารให้เลือก
มากมาย เนื่องจากชาวต่างชาติมักไม่มีความรู้
เกี่ยวกับอาหารไทย เราจึงต้องอธิบายเมนูให้
นักท่องเที่ยวหรือชาวต่างชาติสามารถเข้าใจได้
ตัวอย่างรูปแบบรายการอาหาร
 A la carte คือ รายการอาหารที่มีให้เลือกได้ ที่ประกอบไปด้วย
 Appetizers ได้แก่ Salad
 Entrée
 Main course ได้แก่ Chicken
 Dessert
 Set menu คือ รายการอาหารที่จัดเป็นชุด
 Special of the day คือ รายการอาหารที่เปลี่ยนแปลงได้
อาจจะเป็นรายการที่ทาขึ้นมาเฉพาะวัน เช่น เมนูที่ทาจากปลา
*คาศัพท์ที่มาจากภาษาฝรั่งเศส เช่น Aperitif หมายถึง เครื่องดื่มที่มี
แอลกอฮอล์ใช้ดื่มก่อนรับประทานอาหาร
Q : Can you tell me about this?
A : Yes, It’s contained slides of beef stir-fried
with fresh chili.
รายการอาหารในประเทศไทยส่วนใหญ่มักจะเป็ นคาทับศัพท์
ภาษาอังกฤษ ซึ่งชาวต่างชาติส่วนใหญ่จะสามารถอ่านออกได้แต่ไม่
สามารถเข้าใจเกี่ยวกับอาหารนั้นได้ การอธิบายรายการอาหารเป็ น
ภาษาอังกฤษช่วยในการตัดสินใจเลือกอาหารของนักท่องเที่ยว
บุคลากรท่องเที่ยวจึงต้องมีทักษะที่จะสามารถอธิบายเมนูอาหารไทย
ให้นักท่องเที่ยว รวมถึงแนะนาวิธีการปรุงและวัตถุดิบที่ใช้ในการ
ทาอาหารให้นักท่องเที่ยวเข้าใจได้
ตัวอย่าง
Brochure
 โบชัวร์เป็นกระดาษที่เขียนเกี่ยวกับการโฆษณา หรือโปรโมชั่น ของ
ธุรกิจหนึ่ง ๆ องค์ประกอบของโบชัวร์มี 5 ประการ คือ
o ชื่อ (Name of Company/Service/Hotel)
o สถานที่ตั้ง (Location)
o จุดขาย (Selling Point)
o การบริการ (Service)
o ชื่อและวิธีติดต่อ (Name and How to
contact)
องค์ประกอบของโบชัวร์
 ชื่อ (Name of Company/Service/Hotel) หมายถึง ชื่อที่ใช้
เรียกบริษัท การให้บริการ โรงแรม หรือสินค้าของโบชัวร์ที่จะทาการโฆษณา
 สถานที่ตั้ง (Location) หมายถึง ลักษณะเนื้อหา (Contents/
Details) ที่บอกสถานที่หรือตั้งที่ใกล้เคียง เช่น ใกล้เมือง สนามบิน หรือ
สะดวกสบายใกล้แหล่งช็อปปิ้ง หรือสถานที่ที่น่าสนใจและดึงดูดใจลูกค้า
 จุดขาย (Selling Point) สิ่งที่บ่งบอกถึงลักษณะพิเศษ เช่น มี
ความสาคัญอย่างไร มีระยะเวลานานเท่าไหร่ มีกลุ่มเป้ าหมายใด
องค์ประกอบของโบชัวร์
 การบริการ (Service) ได้แก่ สิ่งอานวยความสะดวก (Facilities) เช่น
 ห้องประชุม (Conference Room)
 สระว่ายน้า (Swimming Pool)
 บริการซักรีด (Laundry Service)
 ห้องอาหาร (Restaurant)
 ห้องออกกาลังกาย (Fitness Center) เป็นต้น
 ชื่อและวิธีติดต่อ (Name and How to contact) ได้แก่ E-
mail, Website, และเบอร์โทรศัพท์ติดต่อ
เนื้อหาที่ปรากฏใน Brochure มักใช้คาที่มีความหมายเชิงบวกที่เน้น
ความรู้สึกและอารมณ์ในเชิงบวก (Positive Feeling) เช่น
Wonderful, Amazing, Excellent, Fascinating, Special
เป็นต้น เราจะใช้คาเหล่านี้ในการโฆษณาในประโยคที่เหมาะสมเพื่อให้การ
โฆษณาได้ผล ซึ่งเราสามารถใช้คาเหล่านี้เพื่อเพิ่มเติมจากองค์ประกอบ 5
ประการที่กล่าวมาได้ทั้งหมด ยกตัวอย่าง เช่น
 Located in the beautiful downtown area.
 Near the natural surroundings.
ตัวอย่าง Brochure Advertising for the hotel
 Name of Hotel : The Elegant
 Selling Point : The Elegant is truly considered to be one of the
best business hotels in the north. The hotel offers the high
level luxury for about business and leisure. And It’s a perfect
place to start for exploring North of Thailand.
 Service : Every room has private balcony. We have the
meeting room and the banquet room for party, wedding. 24
hours for business center feature a health club, outdoor
swimming pool. In your restroom we have the T.V., desk,
minibar, bathroom are our special feature.
 Location : It’s located in the heart of Chaingmai giving
spectacular view of the mountain, near Doi su thep. It’s
convention to go attraction.
 Contact : -
Responding to complaints
การที่จะโต้ตอบเมื่อลูกค้ามีการบ่นมานั้น
ไม่ว่าปัญหาจะเป็นเรื่องเล็กน้อยหรือเรื่องใหญ่
ร้ายแรง ล้วนเป็นเรื่องที่อันตรายและส่งผลต่อ
ธุรกิจ
เช่น บางคนอาจจะไม่ชอบอาหารเผ็ด หรือ
บางคนอาจจะทานมังสวิรัติ ดังนั้น จึงต้อง
มั่นใจว่าลูกค้าสั่งอาหารแบบใดจึงจะเหมาะสม
และตรงตามที่ลูกค้าต้องการมากที่สุด หาก
ลูกค้าแจ้งความต้องการให้ทราบทีหลัง ทาให้
เกิดปัญหาทีหลัง บุคลากรท่องเที่ยวจึงต้อง
จัดการปัญหานี้อย่างรวดเร็ว
ปัญหาที่มักจะเกิดขึ้นขณะนาทัวร์
 ประเทศไทยมีวัดเป็นสถานที่ท่องเที่ยวขึ้นชื่อ การเที่ยวชมวัดเพียงอย่างเดียว
อาจทาให้นักท่องเที่ยวเบื่อหน่ายได้
 นักท่องเที่ยวอาจขอเปลี่ยนแปลงสถานที่เยี่ยมชมเพิ่มเติม ทาให้ไม่เป็นไป
ตามแผนที่มัคคุเทศก์วางไว้
 นักท่องเที่ยวบางคนอาจจะเกิดความไม่พึงพอใจระหว่างการเดินทาง เช่น
 เพลงที่เปิดบนรถบัสมีเสียงดังเกินไป
 กลิ่นบุหรี่ต่างๆ
 ทรัพย์สินของมีค่าสูญหาย เช่น กระเป๋ า Passport กล้องถ่ายรูป เป็น
ต้น
 ลูกทัวร์ป่วย หรือได้รับบาดเจ็บขณะเดินทาง
วิธีจัดการกับปัญหา
มัคคุเทศก์จึงต้องทาให้ลูกทัวร์สบายใจ หรือ ใจเย็นลงเมื่อเกิด
ปัญหาขึ้น และหาทางแก้ปัญหาเหล่านี้ด้วยความรวดเร็วเหมาะสมกับ
สถานการณ์ เพื่อให้นักท่องเที่ยวเกิดความพึงพอใจมากที่สุด
วิธีที่จะจัดการปัญหามีดังนี้
 เข้าใจปัญหาที่เกิดขึ้น นักท่องเที่ยวที่เกิดปัญหาอาจจะไม่มีสติ ทาให้การสื่อสาร
เป็นไปค่อนข้างยาก จึงต้องมั่นใจเกี่ยวกับปัญหานั้นว่าเกิดอะไรขึ้น หากทราบ
ปัญหาที่ชัดเจนก็จะทราบวิธีจัดการปัญหาที่ถูกต้องได้
 แสดงอาการเห็นใจ หรือ เสียใจกับเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น ผ่านทางสีหน้า ไม่ควรยิ้ม
ทาให้นักท่องเที่ยวนั้นมั่นใจว่า มัคคุเทศก์จะสามารถช่วยเหลือได้อย่างเต็มที่
วิธีจัดการกับปัญหา (ต่อ)
 กล่าวคาขอโทษเกี่ยวกับเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น
 จัดการกับปัญหา หรือ แก้ไขปัญหาที่อาจจะทาได้ให้เร็วที่สุด
 ให้ข้อเสนอพิเศษเพื่อเป็นการทดแทนการสูญเสีย หรือ การเกิด
ปัญหาเหล่านั้น
เมื่อถึงเวลาที่สิ้นสุดการเดินทาง หรือ ทริปนั้นๆ แล้วลูกทัวร์
จะต้องเดินทางกลับไปยังประเทศของตนเอง มัคคุเทศก์อาจจะให้
ความช่วยเหลือนาลูกทัวร์ไปยังสนามบินเพื่อขึ้นเครื่องได้ตามแพคเกจ
ทัวร์ที่ลูกค้าจองมา หรือ ตามการบริการที่บริษัททัวร์จัดให้บริการ เมื่อ
ถึงเวลาที่จะต้องส่งลูกทัวร์ ประโยคที่ควรจะพูดกับลูกทัวร์ คือ
 It’s has been a pleasure.
 It’s my pleasure to help you. / It’s my pleasure to
serve you.
 It’s my job but more than a job.
 If you happy, I’m happy and I feel great.
ปัจจุบัน มีสื่อ Social Network ซึ่งลูกค้าสามารถเข้ามาให้ข้อมูล
บรรยายความรู้สึกเกี่ยวกับการให้บริการที่มีทั้งในแง่ดี หรือกล่าวถึงปัญหา
ความจริงต่างๆ ภายหลังจากการรับบริการได้ เมื่อเสร็จงานแล้วเราอาจจะ
ถามความคิดเห็นลูกทัวร์ถึงปัญหาการให้บริการ ด้วยรอยยิ้ม ซึ่งอาจจะพูด
ว่า
 Is there any problem?
 Please feel free to let me know if you have any
disappointment.
 You can tell me now.
 I will improve my service.
 What would you like us to change? Next time I will make
sure it’s done for you.
 Any comments or suggestion you can give me.
 Your comments will help us to improve my technique.
แต่หากนักท่องเที่ยวมีการตาหนิ หรือ ให้คาตอบในแง่ไม่ดี ผู้ให้บริการก็
จะต้องรับให้ได้ และทาให้ลูกทัวร์รู้สึกดีขึ้น เพื่อให้เกิดความพึงพอใจ และ
กลับมาใช้บริการอีกครั้ง ซึ่งอาจจะพูดว่า
I see. / I understand.
It’s my fault. I didn’t plane well.
ไม่ว่าจะเป็นความคิดเห็นแง่ดีหรือแง่ร้าย บุคลากรท่องเที่ยวจะต้อง
พยายามให้นักท่องเที่ยวพูดถึงการบริการที่ได้รับ เพื่อจะนาไปปรับปรุงการ
บริการของตนเอง แม้ปัจจุบันจะมีการแสดงความคิดเห็นผ่านทาง Social
media ที่ง่ายก็ตาม
แต่หากคาตอบนั้นเป็นในแง่ดี ก็ต้องกล่าวคาขอบคุณด้วย หากลูกค้า
ประทับใจก็จะมีการแนะนาต่อไปสู่เพื่อน ญาติ หรือ ผ่านทาง Social
Network ได้
ซึ่งอาจจะพูดว่า
Thank you.
Thank you for your comment.
I hope we will keep in touch.
I hope you will come again. / I hope to
see you again.
4 ทักษะการสื่อสารภาษาอังกฤษ 2

More Related Content

Similar to 4 ทักษะการสื่อสารภาษาอังกฤษ 2

AIM3304 – ธุรกิจงานการสื่อสารการตลาด
AIM3304 – ธุรกิจงานการสื่อสารการตลาดAIM3304 – ธุรกิจงานการสื่อสารการตลาด
AIM3304 – ธุรกิจงานการสื่อสารการตลาดBussakornHiranchai
 
อาชีพผู้ประกาศข่าวกีฬา พิธีกร
อาชีพผู้ประกาศข่าวกีฬา พิธีกรอาชีพผู้ประกาศข่าวกีฬา พิธีกร
อาชีพผู้ประกาศข่าวกีฬา พิธีกรSRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
อาชีพผู้ประกาศข่าวกีฬา พิธีกร
อาชีพผู้ประกาศข่าวกีฬา พิธีกรอาชีพผู้ประกาศข่าวกีฬา พิธีกร
อาชีพผู้ประกาศข่าวกีฬา พิธีกรSRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
อาชีพผู้ประกาศข่าวกีฬา พิธีกร
อาชีพผู้ประกาศข่าวกีฬา พิธีกรอาชีพผู้ประกาศข่าวกีฬา พิธีกร
อาชีพผู้ประกาศข่าวกีฬา พิธีกรNing Rommanee
 
Low cost marketing
Low cost marketingLow cost marketing
Low cost marketingChao Onlamai
 
Need more convenience time conscious right now culture
Need more convenience time conscious right now cultureNeed more convenience time conscious right now culture
Need more convenience time conscious right now cultureHappy Zaza
 
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการนำเสนองาน
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการนำเสนองานการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการนำเสนองาน
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการนำเสนองานThitikorn Mahawong
 
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการนำเสนองาน
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการนำเสนองานการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการนำเสนองาน
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการนำเสนองานThitikorn Mahawong
 
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการนำเสนองาน
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการนำเสนองานการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการนำเสนองาน
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการนำเสนองานThitikorn Mahawong
 
Moji Maesawing.Powerpoint
Moji Maesawing.PowerpointMoji Maesawing.Powerpoint
Moji Maesawing.Powerpointmaesawing
 
Moji Maesawing.Powerpoint
Moji Maesawing.PowerpointMoji Maesawing.Powerpoint
Moji Maesawing.Powerpointmaesawing
 
Email marketing ช่องทางเพิ่มยอดขาย ที่นักการตลาดออนไลน์ไทยมองข้าม
Email marketing ช่องทางเพิ่มยอดขาย ที่นักการตลาดออนไลน์ไทยมองข้ามEmail marketing ช่องทางเพิ่มยอดขาย ที่นักการตลาดออนไลน์ไทยมองข้าม
Email marketing ช่องทางเพิ่มยอดขาย ที่นักการตลาดออนไลน์ไทยมองข้ามWatchara Manisri
 
804501 ห้างหุ้นส่วนจำกัด สหภัณฑ์พาณิชย์บริการ
804501 ห้างหุ้นส่วนจำกัด สหภัณฑ์พาณิชย์บริการ804501 ห้างหุ้นส่วนจำกัด สหภัณฑ์พาณิชย์บริการ
804501 ห้างหุ้นส่วนจำกัด สหภัณฑ์พาณิชย์บริการweeraya
 
สรุปการอบรมหลักสูตรการพัฒนาทักษะการให้บริการที่ดี
สรุปการอบรมหลักสูตรการพัฒนาทักษะการให้บริการที่ดีสรุปการอบรมหลักสูตรการพัฒนาทักษะการให้บริการที่ดี
สรุปการอบรมหลักสูตรการพัฒนาทักษะการให้บริการที่ดีnunaka
 
สรุปการอบรมหลักสูตรการพัฒนาทักษะการให้บริการที่ดี
สรุปการอบรมหลักสูตรการพัฒนาทักษะการให้บริการที่ดีสรุปการอบรมหลักสูตรการพัฒนาทักษะการให้บริการที่ดี
สรุปการอบรมหลักสูตรการพัฒนาทักษะการให้บริการที่ดีnunaka
 

Similar to 4 ทักษะการสื่อสารภาษาอังกฤษ 2 (20)

AIM3304 – ธุรกิจงานการสื่อสารการตลาด
AIM3304 – ธุรกิจงานการสื่อสารการตลาดAIM3304 – ธุรกิจงานการสื่อสารการตลาด
AIM3304 – ธุรกิจงานการสื่อสารการตลาด
 
อาชีพผู้ประกาศข่าวกีฬา พิธีกร
อาชีพผู้ประกาศข่าวกีฬา พิธีกรอาชีพผู้ประกาศข่าวกีฬา พิธีกร
อาชีพผู้ประกาศข่าวกีฬา พิธีกร
 
อาชีพผู้ประกาศข่าวกีฬา พิธีกร
อาชีพผู้ประกาศข่าวกีฬา พิธีกรอาชีพผู้ประกาศข่าวกีฬา พิธีกร
อาชีพผู้ประกาศข่าวกีฬา พิธีกร
 
อาชีพผู้ประกาศข่าวกีฬา พิธีกร
อาชีพผู้ประกาศข่าวกีฬา พิธีกรอาชีพผู้ประกาศข่าวกีฬา พิธีกร
อาชีพผู้ประกาศข่าวกีฬา พิธีกร
 
Mil chapter 1_5
Mil chapter 1_5Mil chapter 1_5
Mil chapter 1_5
 
Low cost marketing
Low cost marketingLow cost marketing
Low cost marketing
 
Need more convenience time conscious right now culture
Need more convenience time conscious right now cultureNeed more convenience time conscious right now culture
Need more convenience time conscious right now culture
 
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการนำเสนองาน
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการนำเสนองานการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการนำเสนองาน
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการนำเสนองาน
 
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการนำเสนองาน
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการนำเสนองานการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการนำเสนองาน
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการนำเสนองาน
 
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการนำเสนองาน
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการนำเสนองานการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการนำเสนองาน
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการนำเสนองาน
 
วงใน
วงในวงใน
วงใน
 
Moji Maesawing.Powerpoint
Moji Maesawing.PowerpointMoji Maesawing.Powerpoint
Moji Maesawing.Powerpoint
 
Moji Maesawing.Powerpoint
Moji Maesawing.PowerpointMoji Maesawing.Powerpoint
Moji Maesawing.Powerpoint
 
Email marketing ช่องทางเพิ่มยอดขาย ที่นักการตลาดออนไลน์ไทยมองข้าม
Email marketing ช่องทางเพิ่มยอดขาย ที่นักการตลาดออนไลน์ไทยมองข้ามEmail marketing ช่องทางเพิ่มยอดขาย ที่นักการตลาดออนไลน์ไทยมองข้าม
Email marketing ช่องทางเพิ่มยอดขาย ที่นักการตลาดออนไลน์ไทยมองข้าม
 
Service management
Service managementService management
Service management
 
804501 ห้างหุ้นส่วนจำกัด สหภัณฑ์พาณิชย์บริการ
804501 ห้างหุ้นส่วนจำกัด สหภัณฑ์พาณิชย์บริการ804501 ห้างหุ้นส่วนจำกัด สหภัณฑ์พาณิชย์บริการ
804501 ห้างหุ้นส่วนจำกัด สหภัณฑ์พาณิชย์บริการ
 
marketing for non marketeer
marketing for non marketeermarketing for non marketeer
marketing for non marketeer
 
Marketing com Planing
Marketing com PlaningMarketing com Planing
Marketing com Planing
 
สรุปการอบรมหลักสูตรการพัฒนาทักษะการให้บริการที่ดี
สรุปการอบรมหลักสูตรการพัฒนาทักษะการให้บริการที่ดีสรุปการอบรมหลักสูตรการพัฒนาทักษะการให้บริการที่ดี
สรุปการอบรมหลักสูตรการพัฒนาทักษะการให้บริการที่ดี
 
สรุปการอบรมหลักสูตรการพัฒนาทักษะการให้บริการที่ดี
สรุปการอบรมหลักสูตรการพัฒนาทักษะการให้บริการที่ดีสรุปการอบรมหลักสูตรการพัฒนาทักษะการให้บริการที่ดี
สรุปการอบรมหลักสูตรการพัฒนาทักษะการให้บริการที่ดี
 

More from Mint NutniCha

8 4 แหล่งท่องเที่ยวสำคัญในท้องถิ่น
8 4 แหล่งท่องเที่ยวสำคัญในท้องถิ่น8 4 แหล่งท่องเที่ยวสำคัญในท้องถิ่น
8 4 แหล่งท่องเที่ยวสำคัญในท้องถิ่นMint NutniCha
 
Conference programme
Conference programme Conference programme
Conference programme Mint NutniCha
 
6 5 ที่พักแรมแบบโฮมสเตย์และการจัดการ
6 5 ที่พักแรมแบบโฮมสเตย์และการจัดการ6 5 ที่พักแรมแบบโฮมสเตย์และการจัดการ
6 5 ที่พักแรมแบบโฮมสเตย์และการจัดการMint NutniCha
 
8 3 สังคมและวัฒนธรรมไทย
8 3  สังคมและวัฒนธรรมไทย8 3  สังคมและวัฒนธรรมไทย
8 3 สังคมและวัฒนธรรมไทยMint NutniCha
 
6 6 กิจกรรมการท่องเที่ยวเชิงเกษตรและโฮมสเตย์
6 6 กิจกรรมการท่องเที่ยวเชิงเกษตรและโฮมสเตย์6 6 กิจกรรมการท่องเที่ยวเชิงเกษตรและโฮมสเตย์
6 6 กิจกรรมการท่องเที่ยวเชิงเกษตรและโฮมสเตย์Mint NutniCha
 
7 5 มาตรฐานและการประเมินแหล่งท่องเที่ยว
7 5 มาตรฐานและการประเมินแหล่งท่องเที่ยว7 5 มาตรฐานและการประเมินแหล่งท่องเที่ยว
7 5 มาตรฐานและการประเมินแหล่งท่องเที่ยวMint NutniCha
 
7 6 การพัฒนาผลิตภัณฑ์แหล่งท่องเที่ยว
7 6 การพัฒนาผลิตภัณฑ์แหล่งท่องเที่ยว7 6 การพัฒนาผลิตภัณฑ์แหล่งท่องเที่ยว
7 6 การพัฒนาผลิตภัณฑ์แหล่งท่องเที่ยวMint NutniCha
 
7 7 การกำหนดตำแหน่งและการสร้างตราสินค้า
7 7 การกำหนดตำแหน่งและการสร้างตราสินค้า7 7 การกำหนดตำแหน่งและการสร้างตราสินค้า
7 7 การกำหนดตำแหน่งและการสร้างตราสินค้าMint NutniCha
 
7 8 การตลาดสำหรับการท่องเที่ยว
7 8 การตลาดสำหรับการท่องเที่ยว7 8 การตลาดสำหรับการท่องเที่ยว
7 8 การตลาดสำหรับการท่องเที่ยวMint NutniCha
 
7 3 การเขียนโครงการเพื่อของบประมาณสนับสนุน
7 3 การเขียนโครงการเพื่อของบประมาณสนับสนุน7 3 การเขียนโครงการเพื่อของบประมาณสนับสนุน
7 3 การเขียนโครงการเพื่อของบประมาณสนับสนุนMint NutniCha
 
7 2 การท่องเที่ยวโดยชุมชน
7 2 การท่องเที่ยวโดยชุมชน7 2 การท่องเที่ยวโดยชุมชน
7 2 การท่องเที่ยวโดยชุมชนMint NutniCha
 
6 2 การพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนและการท่องเที่ยวโดยชุมชน
6 2 การพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนและการท่องเที่ยวโดยชุมชน6 2 การพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนและการท่องเที่ยวโดยชุมชน
6 2 การพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนและการท่องเที่ยวโดยชุมชนMint NutniCha
 
6 1 แหล่งท่องเที่ยวเชิงเกษตรและการจัดการ
6 1 แหล่งท่องเที่ยวเชิงเกษตรและการจัดการ6 1 แหล่งท่องเที่ยวเชิงเกษตรและการจัดการ
6 1 แหล่งท่องเที่ยวเชิงเกษตรและการจัดการMint NutniCha
 
6 3 การตลาดการท่องเที่ยวเชิงเกษตรและโฮมสเตย์
6 3 การตลาดการท่องเที่ยวเชิงเกษตรและโฮมสเตย์6 3 การตลาดการท่องเที่ยวเชิงเกษตรและโฮมสเตย์
6 3 การตลาดการท่องเที่ยวเชิงเกษตรและโฮมสเตย์Mint NutniCha
 
8 5 ภาษาอังกฤษเบื้องต้น สำหรับมัคคุเทศก์อาสา
8 5 ภาษาอังกฤษเบื้องต้น สำหรับมัคคุเทศก์อาสา8 5 ภาษาอังกฤษเบื้องต้น สำหรับมัคคุเทศก์อาสา
8 5 ภาษาอังกฤษเบื้องต้น สำหรับมัคคุเทศก์อาสาMint NutniCha
 
8 2 พฤติกรรมนักท่องเที่ยว
8 2 พฤติกรรมนักท่องเที่ยว 8 2 พฤติกรรมนักท่องเที่ยว
8 2 พฤติกรรมนักท่องเที่ยว Mint NutniCha
 
7 1 แนวคิดการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยว
7 1  แนวคิดการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยว7 1  แนวคิดการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยว
7 1 แนวคิดการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวMint NutniCha
 
5 ทักษะการสื่อสารสำหรับบุคลากรธุรกิจท่องเที่ยว
5 ทักษะการสื่อสารสำหรับบุคลากรธุรกิจท่องเที่ยว5 ทักษะการสื่อสารสำหรับบุคลากรธุรกิจท่องเที่ยว
5 ทักษะการสื่อสารสำหรับบุคลากรธุรกิจท่องเที่ยวMint NutniCha
 
4 การตลาดธุรกิจท่องเที่ยว
4 การตลาดธุรกิจท่องเที่ยว4 การตลาดธุรกิจท่องเที่ยว
4 การตลาดธุรกิจท่องเที่ยวMint NutniCha
 

More from Mint NutniCha (20)

Draft programme
Draft programmeDraft programme
Draft programme
 
8 4 แหล่งท่องเที่ยวสำคัญในท้องถิ่น
8 4 แหล่งท่องเที่ยวสำคัญในท้องถิ่น8 4 แหล่งท่องเที่ยวสำคัญในท้องถิ่น
8 4 แหล่งท่องเที่ยวสำคัญในท้องถิ่น
 
Conference programme
Conference programme Conference programme
Conference programme
 
6 5 ที่พักแรมแบบโฮมสเตย์และการจัดการ
6 5 ที่พักแรมแบบโฮมสเตย์และการจัดการ6 5 ที่พักแรมแบบโฮมสเตย์และการจัดการ
6 5 ที่พักแรมแบบโฮมสเตย์และการจัดการ
 
8 3 สังคมและวัฒนธรรมไทย
8 3  สังคมและวัฒนธรรมไทย8 3  สังคมและวัฒนธรรมไทย
8 3 สังคมและวัฒนธรรมไทย
 
6 6 กิจกรรมการท่องเที่ยวเชิงเกษตรและโฮมสเตย์
6 6 กิจกรรมการท่องเที่ยวเชิงเกษตรและโฮมสเตย์6 6 กิจกรรมการท่องเที่ยวเชิงเกษตรและโฮมสเตย์
6 6 กิจกรรมการท่องเที่ยวเชิงเกษตรและโฮมสเตย์
 
7 5 มาตรฐานและการประเมินแหล่งท่องเที่ยว
7 5 มาตรฐานและการประเมินแหล่งท่องเที่ยว7 5 มาตรฐานและการประเมินแหล่งท่องเที่ยว
7 5 มาตรฐานและการประเมินแหล่งท่องเที่ยว
 
7 6 การพัฒนาผลิตภัณฑ์แหล่งท่องเที่ยว
7 6 การพัฒนาผลิตภัณฑ์แหล่งท่องเที่ยว7 6 การพัฒนาผลิตภัณฑ์แหล่งท่องเที่ยว
7 6 การพัฒนาผลิตภัณฑ์แหล่งท่องเที่ยว
 
7 7 การกำหนดตำแหน่งและการสร้างตราสินค้า
7 7 การกำหนดตำแหน่งและการสร้างตราสินค้า7 7 การกำหนดตำแหน่งและการสร้างตราสินค้า
7 7 การกำหนดตำแหน่งและการสร้างตราสินค้า
 
7 8 การตลาดสำหรับการท่องเที่ยว
7 8 การตลาดสำหรับการท่องเที่ยว7 8 การตลาดสำหรับการท่องเที่ยว
7 8 การตลาดสำหรับการท่องเที่ยว
 
7 3 การเขียนโครงการเพื่อของบประมาณสนับสนุน
7 3 การเขียนโครงการเพื่อของบประมาณสนับสนุน7 3 การเขียนโครงการเพื่อของบประมาณสนับสนุน
7 3 การเขียนโครงการเพื่อของบประมาณสนับสนุน
 
7 2 การท่องเที่ยวโดยชุมชน
7 2 การท่องเที่ยวโดยชุมชน7 2 การท่องเที่ยวโดยชุมชน
7 2 การท่องเที่ยวโดยชุมชน
 
6 2 การพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนและการท่องเที่ยวโดยชุมชน
6 2 การพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนและการท่องเที่ยวโดยชุมชน6 2 การพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนและการท่องเที่ยวโดยชุมชน
6 2 การพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนและการท่องเที่ยวโดยชุมชน
 
6 1 แหล่งท่องเที่ยวเชิงเกษตรและการจัดการ
6 1 แหล่งท่องเที่ยวเชิงเกษตรและการจัดการ6 1 แหล่งท่องเที่ยวเชิงเกษตรและการจัดการ
6 1 แหล่งท่องเที่ยวเชิงเกษตรและการจัดการ
 
6 3 การตลาดการท่องเที่ยวเชิงเกษตรและโฮมสเตย์
6 3 การตลาดการท่องเที่ยวเชิงเกษตรและโฮมสเตย์6 3 การตลาดการท่องเที่ยวเชิงเกษตรและโฮมสเตย์
6 3 การตลาดการท่องเที่ยวเชิงเกษตรและโฮมสเตย์
 
8 5 ภาษาอังกฤษเบื้องต้น สำหรับมัคคุเทศก์อาสา
8 5 ภาษาอังกฤษเบื้องต้น สำหรับมัคคุเทศก์อาสา8 5 ภาษาอังกฤษเบื้องต้น สำหรับมัคคุเทศก์อาสา
8 5 ภาษาอังกฤษเบื้องต้น สำหรับมัคคุเทศก์อาสา
 
8 2 พฤติกรรมนักท่องเที่ยว
8 2 พฤติกรรมนักท่องเที่ยว 8 2 พฤติกรรมนักท่องเที่ยว
8 2 พฤติกรรมนักท่องเที่ยว
 
7 1 แนวคิดการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยว
7 1  แนวคิดการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยว7 1  แนวคิดการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยว
7 1 แนวคิดการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยว
 
5 ทักษะการสื่อสารสำหรับบุคลากรธุรกิจท่องเที่ยว
5 ทักษะการสื่อสารสำหรับบุคลากรธุรกิจท่องเที่ยว5 ทักษะการสื่อสารสำหรับบุคลากรธุรกิจท่องเที่ยว
5 ทักษะการสื่อสารสำหรับบุคลากรธุรกิจท่องเที่ยว
 
4 การตลาดธุรกิจท่องเที่ยว
4 การตลาดธุรกิจท่องเที่ยว4 การตลาดธุรกิจท่องเที่ยว
4 การตลาดธุรกิจท่องเที่ยว
 

4 ทักษะการสื่อสารภาษาอังกฤษ 2

  • 1. วันที่ 17 – 19 พฤษภาคม 2557 โดย ศูนย์ศึกษาและบริการวิชาการด้านการท่องเที่ยว คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ Effective Communication in English (ภาคบ่าย) โครงการฝึกอบรมเพื่อเพิ่มทักษะการสื่อสารสาหรับบุคลากรการท่องเที่ยว (Developing communication skills for Tourism Professionals)
  • 2. Accents  การออกเสียงสาเนียง หากเจ้าของภาษาพูดด้วยความเร็ว หรือติดสาเนียง จนเกินไป จะทาให้ผู้ฟังเข้าใจได้ลาบาก ผู้พูดจะต้องพูดช้าลงเพื่อให้ผู้ฟังรับฟังได้ ง่ายขึ้น วิธีฝึกฝนการฟัง ทาให้สามารถเข้าใจความแตกต่างของ แต่ละสาเนียงในภาษานั้นได้ ฟังบ่อย ๆ พูดสื่อสาร ให้มากขึ้น
  • 3. English Accents  การออกเสียงภาษาอังกฤษเป็นที่รู้จักกันทั่วโลก  เป็นภาษาที่ถูกพูดในหลายประเทศ เป็นอันดับที่ 2 ของโลกรองจากภาษาจีน  ประเทศที่ใช้ภาษาอังกฤษ ได้แก่ United Kingdom, Ireland, Scotland, America, Australia, Canada เป็นต้น  แต่ละประเทศล้วนมีสาเนียงการออกเสียงภาษาอังกฤษที่แตกต่างกัน
  • 4. English Accents ส่วนใหญ่แล้วผู้ที่ใช้ภาษาอังกฤษมักพูดเร็ว นักท่องเที่ยวจานวนมาก มักจะลืมตัวพูดเร็วและใช้คาแสลง ทาให้ผู้ฟังยากที่จะเข้าใจ เราจึงต้อง เรียนรู้คาศัพท์แสลงให้มากขึ้น หากเราไม่เข้าใจในสิ่งที่พูด ไม่ควร เกรงใจที่จะบอกให้ผู้พูดรับรู้ เช่น ควรพูดกับเขาว่า Q: Excuse me, would you mind slowing down a little bit and repeating that. วิธีเหล่านี้ถือเป็นเรื่องปกติในการสื่อสาร ผู้พูดส่วนใหญ่จะไม่คิดมาก
  • 5. การพัฒนาทักษะการฟัง  ภาษาอังกฤษมีหลาย accent เช่น สาเนียงอเมริกัน (United States of America) และสาเนียงอังกฤษ (United Kingdom)  การดูโทรทัศน์หรือภาพยนตร์ที่เป็น Soundtrack สามารถพัฒนา ทักษะการฟังได้  การใช้เทคโนโลยี อาทิ Tablet, Smartphone และ Internet สามารถพัฒนาทักษะการฟังได้เหมือนกัน  การฝึกฝนการฟังประมาณ 1 ชั่วโมงของทุกๆ วัน เช่น การฟังรายการวิทยุ ของ CNN, BBC การดูรายการโทรทัศน์ หรือ Youtube จะทาให้ เรามีประสบการณ์ในการฟังมากขึ้น
  • 6. “The more you listen, the more you grow develop.” “The more you listen, the more you grow develop.” “The more you listen, the more you grow develop.” การมี Group ที่มีความสนใจต่างๆ เหมือนกัน เช่น ธรรมชาติ การปั่น จักรยาน ที่ใช้ภาษาอังกฤษในการสื่อสารพูดคุยจะช่วยเราให้พัฒนาทักษะทาง ภาษาได้ เราสามารถหากลุ่มเหล่านี้ได้จาก Internet, Facebook หรือ ใน ชั้นเรียน Course ภาษาต่างๆ ก็มีส่วนสาคัญช่วยให้เรามีโอกาสได้พบเจอคน มากมายต่างสถานที่ และการใช้ภาษาอังกฤษในสาเนียงต่างกันไป เช่น เมื่อได้ ยิน Accent สาหรับคนอังกฤษ ส่วนมากจะพูดภาษาอังกฤษแบบ Strong Accent คือ จะพูดเร็ว และใช้ คาศัพท์แสลง “The more you listen, the more you grow develop.” e more you listen, the e you grow develop.”
  • 7. Thai dishes and Menu Thai dishes and M คนไทยรู้จักอาหารไทยเพียงแค่ชื่อที่เป็นภาษาไทยเท่านั้น แต่ นักท่องเที่ยวอาจจะถามหรืออยากรู้ เกี่ยวกับอาหารไทยใน ภาษาอังกฤษ เช่น วิธีทาอาหาร จึงเป็นสิ่งสาคัญที่จะต้องอธิบายให้ นักท่องเที่ยวฟังและเข้าใจได้อย่างถูกต้อง Menu หมายถึง กระดาษที่เขียนเกี่ยวกับ รายการของอาหาร ในเมนูมีอาหารให้เลือก มากมาย เนื่องจากชาวต่างชาติมักไม่มีความรู้ เกี่ยวกับอาหารไทย เราจึงต้องอธิบายเมนูให้ นักท่องเที่ยวหรือชาวต่างชาติสามารถเข้าใจได้
  • 8. ตัวอย่างรูปแบบรายการอาหาร  A la carte คือ รายการอาหารที่มีให้เลือกได้ ที่ประกอบไปด้วย  Appetizers ได้แก่ Salad  Entrée  Main course ได้แก่ Chicken  Dessert  Set menu คือ รายการอาหารที่จัดเป็นชุด  Special of the day คือ รายการอาหารที่เปลี่ยนแปลงได้ อาจจะเป็นรายการที่ทาขึ้นมาเฉพาะวัน เช่น เมนูที่ทาจากปลา *คาศัพท์ที่มาจากภาษาฝรั่งเศส เช่น Aperitif หมายถึง เครื่องดื่มที่มี แอลกอฮอล์ใช้ดื่มก่อนรับประทานอาหาร
  • 9. Q : Can you tell me about this? A : Yes, It’s contained slides of beef stir-fried with fresh chili. รายการอาหารในประเทศไทยส่วนใหญ่มักจะเป็ นคาทับศัพท์ ภาษาอังกฤษ ซึ่งชาวต่างชาติส่วนใหญ่จะสามารถอ่านออกได้แต่ไม่ สามารถเข้าใจเกี่ยวกับอาหารนั้นได้ การอธิบายรายการอาหารเป็ น ภาษาอังกฤษช่วยในการตัดสินใจเลือกอาหารของนักท่องเที่ยว บุคลากรท่องเที่ยวจึงต้องมีทักษะที่จะสามารถอธิบายเมนูอาหารไทย ให้นักท่องเที่ยว รวมถึงแนะนาวิธีการปรุงและวัตถุดิบที่ใช้ในการ ทาอาหารให้นักท่องเที่ยวเข้าใจได้ ตัวอย่าง
  • 10. Brochure  โบชัวร์เป็นกระดาษที่เขียนเกี่ยวกับการโฆษณา หรือโปรโมชั่น ของ ธุรกิจหนึ่ง ๆ องค์ประกอบของโบชัวร์มี 5 ประการ คือ o ชื่อ (Name of Company/Service/Hotel) o สถานที่ตั้ง (Location) o จุดขาย (Selling Point) o การบริการ (Service) o ชื่อและวิธีติดต่อ (Name and How to contact)
  • 11. องค์ประกอบของโบชัวร์  ชื่อ (Name of Company/Service/Hotel) หมายถึง ชื่อที่ใช้ เรียกบริษัท การให้บริการ โรงแรม หรือสินค้าของโบชัวร์ที่จะทาการโฆษณา  สถานที่ตั้ง (Location) หมายถึง ลักษณะเนื้อหา (Contents/ Details) ที่บอกสถานที่หรือตั้งที่ใกล้เคียง เช่น ใกล้เมือง สนามบิน หรือ สะดวกสบายใกล้แหล่งช็อปปิ้ง หรือสถานที่ที่น่าสนใจและดึงดูดใจลูกค้า  จุดขาย (Selling Point) สิ่งที่บ่งบอกถึงลักษณะพิเศษ เช่น มี ความสาคัญอย่างไร มีระยะเวลานานเท่าไหร่ มีกลุ่มเป้ าหมายใด
  • 12. องค์ประกอบของโบชัวร์  การบริการ (Service) ได้แก่ สิ่งอานวยความสะดวก (Facilities) เช่น  ห้องประชุม (Conference Room)  สระว่ายน้า (Swimming Pool)  บริการซักรีด (Laundry Service)  ห้องอาหาร (Restaurant)  ห้องออกกาลังกาย (Fitness Center) เป็นต้น  ชื่อและวิธีติดต่อ (Name and How to contact) ได้แก่ E- mail, Website, และเบอร์โทรศัพท์ติดต่อ
  • 13. เนื้อหาที่ปรากฏใน Brochure มักใช้คาที่มีความหมายเชิงบวกที่เน้น ความรู้สึกและอารมณ์ในเชิงบวก (Positive Feeling) เช่น Wonderful, Amazing, Excellent, Fascinating, Special เป็นต้น เราจะใช้คาเหล่านี้ในการโฆษณาในประโยคที่เหมาะสมเพื่อให้การ โฆษณาได้ผล ซึ่งเราสามารถใช้คาเหล่านี้เพื่อเพิ่มเติมจากองค์ประกอบ 5 ประการที่กล่าวมาได้ทั้งหมด ยกตัวอย่าง เช่น  Located in the beautiful downtown area.  Near the natural surroundings.
  • 14. ตัวอย่าง Brochure Advertising for the hotel  Name of Hotel : The Elegant  Selling Point : The Elegant is truly considered to be one of the best business hotels in the north. The hotel offers the high level luxury for about business and leisure. And It’s a perfect place to start for exploring North of Thailand.  Service : Every room has private balcony. We have the meeting room and the banquet room for party, wedding. 24 hours for business center feature a health club, outdoor swimming pool. In your restroom we have the T.V., desk, minibar, bathroom are our special feature.  Location : It’s located in the heart of Chaingmai giving spectacular view of the mountain, near Doi su thep. It’s convention to go attraction.  Contact : -
  • 15. Responding to complaints การที่จะโต้ตอบเมื่อลูกค้ามีการบ่นมานั้น ไม่ว่าปัญหาจะเป็นเรื่องเล็กน้อยหรือเรื่องใหญ่ ร้ายแรง ล้วนเป็นเรื่องที่อันตรายและส่งผลต่อ ธุรกิจ เช่น บางคนอาจจะไม่ชอบอาหารเผ็ด หรือ บางคนอาจจะทานมังสวิรัติ ดังนั้น จึงต้อง มั่นใจว่าลูกค้าสั่งอาหารแบบใดจึงจะเหมาะสม และตรงตามที่ลูกค้าต้องการมากที่สุด หาก ลูกค้าแจ้งความต้องการให้ทราบทีหลัง ทาให้ เกิดปัญหาทีหลัง บุคลากรท่องเที่ยวจึงต้อง จัดการปัญหานี้อย่างรวดเร็ว
  • 16. ปัญหาที่มักจะเกิดขึ้นขณะนาทัวร์  ประเทศไทยมีวัดเป็นสถานที่ท่องเที่ยวขึ้นชื่อ การเที่ยวชมวัดเพียงอย่างเดียว อาจทาให้นักท่องเที่ยวเบื่อหน่ายได้  นักท่องเที่ยวอาจขอเปลี่ยนแปลงสถานที่เยี่ยมชมเพิ่มเติม ทาให้ไม่เป็นไป ตามแผนที่มัคคุเทศก์วางไว้  นักท่องเที่ยวบางคนอาจจะเกิดความไม่พึงพอใจระหว่างการเดินทาง เช่น  เพลงที่เปิดบนรถบัสมีเสียงดังเกินไป  กลิ่นบุหรี่ต่างๆ  ทรัพย์สินของมีค่าสูญหาย เช่น กระเป๋ า Passport กล้องถ่ายรูป เป็น ต้น  ลูกทัวร์ป่วย หรือได้รับบาดเจ็บขณะเดินทาง
  • 17. วิธีจัดการกับปัญหา มัคคุเทศก์จึงต้องทาให้ลูกทัวร์สบายใจ หรือ ใจเย็นลงเมื่อเกิด ปัญหาขึ้น และหาทางแก้ปัญหาเหล่านี้ด้วยความรวดเร็วเหมาะสมกับ สถานการณ์ เพื่อให้นักท่องเที่ยวเกิดความพึงพอใจมากที่สุด วิธีที่จะจัดการปัญหามีดังนี้  เข้าใจปัญหาที่เกิดขึ้น นักท่องเที่ยวที่เกิดปัญหาอาจจะไม่มีสติ ทาให้การสื่อสาร เป็นไปค่อนข้างยาก จึงต้องมั่นใจเกี่ยวกับปัญหานั้นว่าเกิดอะไรขึ้น หากทราบ ปัญหาที่ชัดเจนก็จะทราบวิธีจัดการปัญหาที่ถูกต้องได้  แสดงอาการเห็นใจ หรือ เสียใจกับเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น ผ่านทางสีหน้า ไม่ควรยิ้ม ทาให้นักท่องเที่ยวนั้นมั่นใจว่า มัคคุเทศก์จะสามารถช่วยเหลือได้อย่างเต็มที่
  • 18. วิธีจัดการกับปัญหา (ต่อ)  กล่าวคาขอโทษเกี่ยวกับเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น  จัดการกับปัญหา หรือ แก้ไขปัญหาที่อาจจะทาได้ให้เร็วที่สุด  ให้ข้อเสนอพิเศษเพื่อเป็นการทดแทนการสูญเสีย หรือ การเกิด ปัญหาเหล่านั้น
  • 19. เมื่อถึงเวลาที่สิ้นสุดการเดินทาง หรือ ทริปนั้นๆ แล้วลูกทัวร์ จะต้องเดินทางกลับไปยังประเทศของตนเอง มัคคุเทศก์อาจจะให้ ความช่วยเหลือนาลูกทัวร์ไปยังสนามบินเพื่อขึ้นเครื่องได้ตามแพคเกจ ทัวร์ที่ลูกค้าจองมา หรือ ตามการบริการที่บริษัททัวร์จัดให้บริการ เมื่อ ถึงเวลาที่จะต้องส่งลูกทัวร์ ประโยคที่ควรจะพูดกับลูกทัวร์ คือ  It’s has been a pleasure.  It’s my pleasure to help you. / It’s my pleasure to serve you.  It’s my job but more than a job.  If you happy, I’m happy and I feel great.
  • 20. ปัจจุบัน มีสื่อ Social Network ซึ่งลูกค้าสามารถเข้ามาให้ข้อมูล บรรยายความรู้สึกเกี่ยวกับการให้บริการที่มีทั้งในแง่ดี หรือกล่าวถึงปัญหา ความจริงต่างๆ ภายหลังจากการรับบริการได้ เมื่อเสร็จงานแล้วเราอาจจะ ถามความคิดเห็นลูกทัวร์ถึงปัญหาการให้บริการ ด้วยรอยยิ้ม ซึ่งอาจจะพูด ว่า  Is there any problem?  Please feel free to let me know if you have any disappointment.  You can tell me now.  I will improve my service.  What would you like us to change? Next time I will make sure it’s done for you.  Any comments or suggestion you can give me.  Your comments will help us to improve my technique.
  • 21. แต่หากนักท่องเที่ยวมีการตาหนิ หรือ ให้คาตอบในแง่ไม่ดี ผู้ให้บริการก็ จะต้องรับให้ได้ และทาให้ลูกทัวร์รู้สึกดีขึ้น เพื่อให้เกิดความพึงพอใจ และ กลับมาใช้บริการอีกครั้ง ซึ่งอาจจะพูดว่า I see. / I understand. It’s my fault. I didn’t plane well. ไม่ว่าจะเป็นความคิดเห็นแง่ดีหรือแง่ร้าย บุคลากรท่องเที่ยวจะต้อง พยายามให้นักท่องเที่ยวพูดถึงการบริการที่ได้รับ เพื่อจะนาไปปรับปรุงการ บริการของตนเอง แม้ปัจจุบันจะมีการแสดงความคิดเห็นผ่านทาง Social media ที่ง่ายก็ตาม
  • 22. แต่หากคาตอบนั้นเป็นในแง่ดี ก็ต้องกล่าวคาขอบคุณด้วย หากลูกค้า ประทับใจก็จะมีการแนะนาต่อไปสู่เพื่อน ญาติ หรือ ผ่านทาง Social Network ได้ ซึ่งอาจจะพูดว่า Thank you. Thank you for your comment. I hope we will keep in touch. I hope you will come again. / I hope to see you again.