SlideShare a Scribd company logo
1 of 170
Download to read offline
พี่ต่าย สพ.ญ. นิราภร ทองคาแท้
 ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต
 หน่วยของสิ่งมีชีวิต
 เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
 Cellular Respiration
 การแบ่งเซลล์
 อาณาจักรของสิ่งมีชีวิต
 ระบบต่างๆในร่างกายสัตว์
 ระบบย่อยอาหาร
 การรักษาดุลยภาพของร่างกาย
 ระบบไหลเวียน
 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
 ระบบต่อมไร้ท่อ
 ระบบสืบพันธุ์และการเจริญเติบโตของสัตว์
 พฤติกรรมสัตว์
 พืช
 โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอก
 การสืบพันธุ์ของพืชดอก
 การสังเคราะห์ด้วยแสง
 การลาเลียงน้าและสารอาหารของพืช
 ฮอร์โมนพืชและการตอบสนองของพืช
 พันธุศาสตร์
 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
 สารพันธุกรรม
 พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีทาง DNA
 วิวัฒนาการ
 ระบบนิเวศ
สารอนินทรีย์
(inorganic substance)
สารที่มีโมเลกุลขนาดเล็กที่ไม่มีธาตุ
คาร์บอนเป็นองค์ประกอบ
โครงสร้างไม่ซับซ้อน
น้า แร่ธาตุ
สารอินทรีย์
(organic substance)
สารที่มีธาตุคาร์บอนและไฮโดรเจน
เป็นองค์ประกอบ
แป้ง ไกลโคเจน เซลลูโลส น้าตาล
วิตามิน ลิพิด โปรตีน และ กรด
นิวคลีอิก
สารอนินทรีย์
(inorganic substance)
น้า
แร่ธาตุ
สารอินทรีย์
(organic substance)
คาร์โบไฮเดรต
โปรตีน
ไขมัน
วิตามิน
กรดนิวคลีอิก
 น้าช่วยในการลาเลียง
 น้าเป็นตัวกลางให้สารทาปฏิกิริยาทางเคมีและเป็นตัวร่วม
ในปฏิกิริยาด้วย
 น้าช่วยควบคุมอุณหภูมิ
 น้าช่วยในการขับถ่ายของเสีย
 น้าเป็นส่วนประกอบของเซลล์ของสิ่งมีชีวิตน้าเป็น
สารประกอบที่พบมากในสิ่งมีชีวิต มีความสาคัญต่อ
ร่างกาย
 โมเลกุลของน้าประกอบด้วยอะตอมของไฮโดรเจน
และออกซิเจนมีสูตรเป็น H2O
 อะตอมของไฮโดรเจนและออกซิเจนยึดเหนี่ยวกัน
ด้วยพันธะโคเวเลนซ์
 อะตอมของออกซิเจนแสดงประจุลบ
 อะตอมของไฮโดรเจนทั้ง 2 อะตอม แสดงประจุบวก
 น้าเป็นโมเลกุลมีขั้ว
น้าเป็นของเหลวที่อุณหภูมิห้อง
น้าเป็นเป็นตัวทาละลาย
สมบัติความเป็นกรด – เบส
น้าเก็บความร้อนได้ดี
สารที่มีสมบัติละลายน้าได้ดี
เรียกว่า ไฮโดรฟิ ลิก (hydrophilic)
ซึ่งหมายถึง “ชอบน้า”
สารที่มีสมบัติไม่ละลายน้า เรียกว่า
ไฮโดรโฟบิก (hydrophobic)
ซึ่งหมายถึง “ไม่ชอบน้า”
 เมื่อโมเลกุลของน้าแตกตัวเป็นไอออนเป็น...
• ซึ่งจะแสดงความเป็นกรด
ไฮโดรเจนไอออน
(H+)
• ซึ่งแสดงความเป็นเบส
ไฮดรอกซิล
ไอออน (OH- )
 น้าเก็บความร้อนได้ดีช่วยรักษาสมดุลอุณหภูมิของร่างกายให้คงที่
สารอนินทรีย์
(inorganic substance)
น้า
แร่ธาตุ
สารอินทรีย์
(organic substance)
คาร์โบไฮเดรต
โปรตีน
ไขมัน
วิตามิน
กรดนิวคลีอิก
• เป็นแร่ธาตุที่ร่างกายต้องการในปริมาณตั้งแต่ 100 มิลิกรัมขึ้นไป
• มี 7 ชนิด ได้แก่ แคลเซียม ฟอสฟอรัส โพแทสเซียม โซเดียมคลอรีน
แมกนีเซียม และกามะถัน
แร่ธาตุที่มีปริมาณมาก (macronutrient elements)
• เป็นแร่ธาตุที่ร่างกายต้องการในปริมาณน้อย แต่จาเป็น
• มี 14 ชนิด ได้แก่ เหล็ก ไอโอดีน แมกนีเซียม ทองแดง สังกะสี ฟลูออรีน
โมลิบดีนัม นิกเกิล ดีบุก เป็นต้น
แร่ธาตุที่มีปริมาณน้อย (micronutrient elements)
 แร่ธาตุในร่างกายมนุษย์มีประมาณร้อยละ 4 ของน้าหนักตัว
แบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ
 โดยทั่วไปในร่างกายต้องการแร่ธาตุในปริมาณเพียงเล็กน้อย เช่น ในแต่
ละวันคนต้องการ
 ธาตุเหล็กปริมาณ 15 มิลลิกรัม
 แร่ธาตุโซเดียม 500 มิลลิกรัม
 แร่ธาตุโพแทสเซียม 2000 มิลลิกรัม
 แร่ธาตุไอโอดีนประมาณ 0.15 มิลลิกรัม
เกลือแร่ แหล่งที่พบ หน้าที่ อาการขาด
แคลเซียม
Ca
นม ไข่แดง เนยแข็ง กุ้ง
แห้ง ปลาไส้ตัน ผักใบเขียว
เป็นส่วนประกอบ
ของกระดูกและฟัน
ช่วยให้กล้ามเนื้อ
และประสาทตื่นตัว
ช่วยให้การแข็งตัว
ของเลือดเมื่อเกิด
บาดแผล
เกิดโรคกระดูกอ่อน
ในเด็กผู้ใหญ่กระดูก
เปราะและพรุน
เกลือแร่ แหล่งที่พบ หน้าที่ อาการขาด
ฟอสฟอรัส P เนยแข็ง ตับ
เครื่องในสัตว์ นม ไข่
เนื้อสัตว์ ถั่วเมล็ดแห้ง
เป็นส่วนประกอบของกระดูก
และฟันเป็นส่วนประกอบ
ของกรดนิวคลีอิกฟอสโฟ
ลิพิด ATP NAD NADP
FAD และช่วยรักษาสมดุล
กรด - เบสของร่างกาย
เกิดโรคกระดูกอ่อนใน
เด็ก ขาดพลังงาน
เติบโตช้า และไม่
แข็งแรง
เกลือแร่ แหล่งที่พบ หน้าที่ อาการขาด
เหล็ก Fe ตับ เครื่องในสัตว์
เนื้อสัตว์ ไข่แดง
กระเทียม กุ้ยช่าย
ผักใบเขียว ถั่ว
มะเขือเทศ
เป็นส่วนประกอบของฮีม
ในเฮโมโกบิล เป็นตัวร่วม
และส่วนประกอบของ
เอนไซม์ เช่น ไซโทโครม
ออกซิเดส คะทาเลส
เกิดโรคโลหิตจาง
ชนิดเม็ดเลือดแดง
เล็กและ สีจาง
เกลือแร่ แหล่งที่พบ หน้าที่ อาการขาด
แมกนีเซียม
Mg
โกโก้ ธัญพืช ถั่วเหลือง
เกาลัด เนื้อสัตว์ ผักใบ
เขียว อาหารทะเล
เป็นส่วนประกอบ
ของกระดูกและฟัน
ช่วยกระตุ้นเอนไซม์
ในเมแทบอลิซึมของ
คาร์โบไฮเดรตและ
ไขมัน รักษาสมดุล
ของเหลวนอกเซลล์
มักไม่ค่อยขาด แต่ถ้า
ขาดจะมีอาการงุนงง
สับสนและประสาท
หลอน
เกลือแร่ แหล่งที่พบ หน้าที่ อาการขาด
โซเดียม Na เกลือแกง อาหารทะเล
ไข่ เนย พืชผัก
ควบคุมสมดุลออสโมติก
และสมดุลกรด – เบส
ช่วยให้ประสาทและ
กล้ามเนื้อตื่นตัว
มักไม่ขาด แต่ถ้า
ขาดจะเซื่องซึม เบื่อ
อาหาร เป็นตะคริว
ชัก
เกลือแร่ แหล่งที่พบ หน้าที่ อาการขาด
โพแทสเซียม
K
เนื้อวัว เนื้อหมู เนื้อไก่
ตับวัว กล้วย ส้ม คะน้า
หน่อไม้ ผักใบเขียว
กรด - เบส
ร่วมกับแคลเซียม
ควบคุมการทางาน
ของกล้ามเนื้อ
ควบคุมสมดุล
ออสโมติก
มักไม่ขาด แต่ถ้า
ขาดการทางานของ
กล้ามเนื้อและ
ประสาทผิดปกติ
เกลือแร่ แหล่งที่พบ หน้าที่ อาการขาด
ไอโอดีน I อาหารทะเล
เกลือสมุทร
เป็นส่วนประกอบของ
ฮอร์โมนไทรอกซินจาก
ต่อมไทรอยด์
ในเด็กจะแคระแกร็น
สติปัญญาเสื่อม
ผู้ใหญ่ขาดเป็นโรค
คอพอก
เกลือแร่ แหล่งที่พบ หน้าที่ อาการขาด
กามะถัน S อาหารพวกโปรตีน เป็นส่วนประกอบของ
กรดอะมิโน เป็น
ส่วนประกอบของผม
เล็บ กระดูก
กระดูกอ่อน และสาร
โปรตีนอีกหลายชนิด
เกลือแร่ แหล่งที่พบ หน้าที่ อาการขาด
ฟลูออไรด์ F น้าดื่มจากบ่อธรรมชาติ
บางแห่ง ชา อาหารทะเล
เป็นส่วนประกอบของสาร
เคลือบฟัน ป้องกันฟันผุ
ช่วยให้กระดูกแข็งแรง
และช่วยในการ ดูดซึม
เหล็ก
ฟันผุง่าย
สารอนินทรีย์
(inorganic substance)
น้า
แร่ธาตุ
สารอินทรีย์
(organic substance)
คาร์โบไฮเดรต
โปรตีน
ไขมัน
วิตามิน
กรดนิวคลีอิก
 สารอินทรีย์เป็นสารที่มีธาตุคาร์บอนและไฮโดรเจนเป็นองค์ประกอบ
นอกจากนี้สารอินทรีย์ ส่วนใหญ่ยังมีธาตุออกซิเจนเป็นองค์ประกอบ
และสารอินทรีย์บางชนิดมีไนโตรเจน ฟอสฟอรัส และกามะถัน เป็น
องค์ประกอบอยู่ด้วย
 สารอินทรีย์ที่พบในสิ่งมีชีวิตเรียกว่า สารชีวโมเลกุล
สารอินทรีย์ (organic substance)
คาร์โบไฮเดรต
โปรตีน
ไขมัน
วิตามิน
กรดนิวคลีอิก
 ประกอบด้วยธาตุคาร์บอน (C) ไฮโดรเจน (H) และออกซิเจน (O) มีอัตราส่วนของอะตอม
ไฮโดรเจนต่อออกซิเจนเท่ากับ 2 :1
 สูตรโมเลกุลทั่วไป Cx (H2O)y โดย x มีค่าตั้งแต่ 3 ขึ้นไป
 หมู่ฟังก์ชัน (function group) คือ กลุ่มอะตอมที่แสดงออกจาเพาะตัวโมเลกุลของสารที่ทาปฏิกิริยา
(hydroxyl)
R – O – H
(ketone)
R – C – R
(aldehyde) R – C – H
O
O
 แบ่งคาร์โบไฮเดรตตามขนาดของโมเลกุลได้เป็น 3 กลุ่มใหญ่ๆ คือ
monosaccharide oligosaccharide polysaccharide
 เป็นคาร์โบไฮเดตรที่มีขนาดเล็กที่สุด จึงอาจเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า น้าตาลเชิงเดี่ยว
(simple sugar) มีรสหวาน ละลายได้ในน้า
 ประกอบด้วยอะตอมของธาตุคาร์บอนตั้งแต่ 3 – 7 อะตอม
 พบมากในธรรมชาติมักเป็นชนิดที่มีอะตอมของคาร์บอน 5 อะตอม เช่น น้าตาลไรโบส
คาร์บอน 6 อะตอม เช่น น้าตาลกลูโคส กาแลกโทส และฟรักโทส
จานวนอะตอม
คาร์บอน
ชื่อมอโนแซ็กคาไรด์ สูตรโมเลกุล ตัวอย่าง
3 ไตรโอส (triose) C3H6O3 กลีเซอรอลดีไฮด์
4 เทโทรส (tetrose) C4H8O4 อิริโทรส อิริทรูโลส
5 เพนโทส (pentose) C5H10O5 อะราบิโนส ไรโบส
6 เฮทโซส (hexose) C6H12O6
กลูโคส ฟรักโทส
กาแลกโทส แมนโทส
มอโนแซ็กคาไรด์ โครงสร้าง ความสาคัญ แหล่งที่พบ
ไรโบส (ribose)
C5H10O5
-เป็ นส่วนประกอบ
ของกรดนิ วคลีอิก
ชนิด RNA
-เป็ นส่วนประกอบ
ของ ATP
- ใ น เ ซ ล ล์ ข อ ง
สิ่งมีชีวิตต่างๆ
มอโนแซ็กคาไรด์ โครงสร้าง ความสาคัญ แหล่งที่พบ
ดี ซีไ บ
(deoxyribose)
C5H10O4
- เป็ ป ะ บ
ข ด ิ ลี ิ ิด
DNA
- เป็ พ ธุ ใ
เซลล ิ่ ี ี ิ บ ุ
ถ ท ดล ษณะ
ๆ ท พ ธุ
- ใ เซลล ิ่ ี ี ิ
ๆ
มอโนแซ็กคาไรด์ โครงสร้าง ความสาคัญ แหล่งที่พบ
ล (glucose)
C6H12O6
- เป็ ป ะ บ
ข แป ไ ล เจ
เซลล ล
- เป็ แ ล พล
ที่ ญที่ ุดข
ิ่ ี ี ิ
- ข พด ข ลี
ผลไ ้ ผึ้ ผ
ๆ
มอโน
แซ็กคาไรด์
โครงสร้าง ความสาคัญ แหล่งที่พบ
แล ท
(galactose)
C6H12O6
- เป็ ป ะ บ
ข ้ แ ล ะ
ผลิ ภณฑ
- เป็ ป ะ บ
ข เ ื่ เซลล
และเซลลป ะ ท
- และผลิ ภณฑ
ด พบใ ปข
แล ท และถ
ล ด เ ไซ เป็
แล ท
มอโนแซ็กคาไรด์ โครงสร้าง ความสาคัญ แหล่งที่พบ
ฟรักโทส
(fructose)
C6H12O6
- เป็นแหล่ง
พลังงานของเซลล์
สืบพันธุ์เพศผู้
(sperm)
- น้าเลี้ยงอสุจิ
- เป็นน้าตาลที่มี
ความหวานมาก
- น้าเชื่อม
ข้าวโพด ผลไม้ ผัก
ต่างๆ
 โอลิโกแซ็กคาไรด์ประกอบด้วยมอโนแซ็กคาไรด์ตั้งแต่ 2 – 10 โมเลกุล
จับกันด้วยพันธะ ไกลโคซิดิก (glyosidic bond)
 โอลิโกแซ็กคาไรด์ที่ประกอบด้วยมอโนแซ็กคาไรด์ 2 โมเลกุล เรียกว่า
ไดแซ็กคาไรด์ (disaccharide)
มอลโทส แลกโทส ซูโครส
 สารประกอบทางเคมี
 กลูโคส 2 โมเลกุล รวมกันด้วยพันธะ 1 – 4 ไกลโคซิดิก
 แหล่งที่พบ
 ข้าวบาร์เล่ย์หรือข้าวมอลต์ที่กาลังงอกและได้จากการย่อยสลายแป้ง
ด้วยน้าย่อยอะไมเลส
 สูตรโมเลกุล
 C12H22O11
 โครงสร้างทางเคมี
 สารประกอบทางเคมี
 ประกอบด้วย กาแลกโทสรวมตัวกับกลูโคส ด้วยพันธะ 1 – 4 ไกลโคซิดิก
 แหล่งที่พบ
 เป็นน้าตาลที่พบในน้านมของ
สัตว์ที่เลี้ยงลูกด้วยน้านม
 สูตรโมเลกุล
 C12H22O11
 โครงสร้างทางเคมี
 สารประกอบทางเคมี
 ประกอบด้วย กลูโคสรวมกับฟรักโทส ด้วยพันธะ 1 – 2 ไกลโคซิดิก
 แหล่งที่พบ
 เป็นน้าตาลที่ได้จากอ้อยและบีท โดยทั่วไปเรียกว่า น้าตาลทราย หรือ
น้าตาลอ้อย
 สูตรโมเลกุล C12H22O11
 โครงสร้างทางเคมี
 เป็นคาร์โบไฮเดรตโมเลกุลใหญ่
 เกิดจากมอโนแซ็กคาไรด์ตั้งแต่ 1 จนถึง 1000 โมเลกุล
 พอลิแซ็กคาไรด์แตกต่างกันที่ชนิดและจานวนของมอโนแซ็กคาไรด์ ที่เป็นองค์ประกอบ
starch glycogen cellulose pectin chitin heparin
• ประกอบด้วยน้าตาลกลูโคสเรียงต่อกันเป็นสายยาวไม่มีการแตกแขนง
เชื่อมกันด้วยพันธะ α – 1, 4 ไกลโคซิดิก เป็นเกลียวทาปฏิกิริยากับ
สารละลายไอโอดีนได้สีน้าเงินปนดา
อะไมโลส (amylose)
• ประกอบด้วยน้าตาลกลูโคสเรียงต่อกันเป็นสายยาว ด้วยพันธะ α – 1, 4
ไกลโคซิดิก และแตกแขนงเป็นกิ่งก้านสาขาด้วยพันธะ α – 1,6 ทา
ปฏิกิริยากับสารละลายไอโอดีนได้สีม่วงแดง
อะไมโลเพกทิน (amylopectin)
 แหล่งที่พบ
 ตับสัตว์ กล้ามเนื้อลาย
 โครงสร้างทางเคมี
 ประกอบด้วยกลูโคสที่ต่อกันเป็นสายยาวมีแขนงแตกกิ่งก้านออกไปเป็นสายสั้นๆ
จานวนมากกว่าอะไมโลเพกทินทาปฏิกิริยากับสารละลายไอโอดีนให้สีม่วง
 แหล่งที่พบ
 เป็นส่วนประกอบในผนังเซลล์พืชในสัตว์เคี้ยวเอื้อง
สร้างเอนไซม์เซลลูโลสเป็นกลูโคสได้
 โครงสร้างทางเคมี
 ประกอบด้วยกลูโคสเรียงกันด้วยพันธะ β – 1,4
ไกลโคซิดิก เป็น เส้นใยยาวและเหนียว ไม่มี
กิ่งก้านสาขา ซึ่งต่างจากอะไมโลส
 ประกอบด้วยกลูโคสต่อกันด้วยพันธะ α – 1 – 4
ไกลโคซิดิก
 ประกอบด้วยหน่วยย่อย เมทิลกา
แลกกูโรเนตไม่มีกิ่งก้าน พบใน
ผลไม้สุก หัวผักกาด และต้นอ่อน
ของพืชสีเขียว
 ประกอบด้วยหน่วยย่อย กลูโคซามีน ไม่มีกิ่งก้าน พบในผนัง
เซลล์รา กระดองปู เปลือกกุ้ง แมลง ร่างกายย่อยสลายไม่ได้
 ประกอบด้วยหน่วยย่อย
กรดกลูคูโรนิกซัลเฟต ไม่มีกิ่ง
ก้าน พบที่ผนัง เส้นเลือด ตับ
ปอด ม้าม ป้องกันไม่ให้เลือด
แข็งตัว
 เป็นแหล่งพลังงานที่สาคัญของเซลล์
 เป็นอาหารสะสมของพืชและสัตว์
 เป็นส่วนประกอบของเซลล์ และโครงสร้างของเซลล์
 ประกอบด้วยอะตอมของธาตุหลักคาร์บอน คือ ไฮโดรเจน ออกซิเจน
และไนโตรเจน อาจมีธาตุอื่นปนอยู่ เช่น เหล็ก (Fe) กามะถัน (S)
ฟอสฟอรัส (p) หรือทองแดง (cu) ประกอบเป็นกรดอะมิโนหน่วยย่อย
ของโปรตีน
หมู่ฟังก์ชัน โครงสร้าง ตัวอย่าง
คาร์บอกซิล (carboxyl) R – C – OH
อะมิโน (amino) R – N
ซัลไฮดริล (sulfhydryl) R – S – H
 จะเห็นว่ากรดอะมิโนประกอบด้วย 2 ส่วน ส่วนในกรอบสี่เหลี่ยมซึ่งเหมือนกันใน
กรดอะมิโนทุกชนิด ประกอบด้วยหมู่อะมิโนและหมู่คาร์บอกซิล ส่วนที่อยู่นอกกรอบ
สี่เหลี่ยมจะเป็นส่วนที่แตกต่างกัน ระหว่างกรดอะมิโนชนิดต่างๆ ซึ่งปกติจะใช้
สัญลักษณ์ R แทน
 กรดอะมิโนในพืชและสัตว์ นักวิทยาศาสตร์พบว่ามีกรดอะมิโน 2 ชนิดที่
เป็นองค์ประกอบส่วนใหญ่ของสิ่งมีชีวิตทั่วไป การแบ่งกรดอะมิโนออก
ตามคุณภาพทางโภชนาการได้เป็น 2 ประเภท คือ
กรดอะมิโนจาเป็น
(essential amino acid)
กรดอะมิโนไม่จาเป็น
(nonessential amino acid)
กรดอะมิโนจาเป็น กรดอะมิโนไม่จาเป็น
เมไทโอนีน (Mathionine)
ทรีโอนีน (Treonine)
ทริปโตเฟน (Tryptophan)
วาลีน (Valine)
ไอโซลิวซีน (Isoleucine)
ลิวซีน (Leucine)
พีนิลอะลานีน (Phenylalanine)
ไลซีน (Lysine)
แอสพาราจีน (Asparagine)
ซีสเทอีน (Cystein)
กลูเทมีน (Glutamine)
โพรลีน (Proline)
ไทโรซีน (Tyrosine)
อะลานีน (Alanine)
กรดแอสพาร์ติก (Aspartic acid)
กรดกลูตามิก (Glutamic acid)
ไกลซีน (Glycine)
ซีริน (Serine)
อาร์จินีน (Arginine)
ฮีสทีดีน (Histidine)
• Isoleucine
ไอ
• Lysine
ไล
• Tryptophan
ทริฟ
• Phenylalanine
ฟี่
• Threonine
ทรี
• Methionine
เม็ด
• Leucine
ลิว
• Valine
เว
• Histidine
His
• Arginine
Ahhh!!!
 โปรตีนเกิดจาก กรดอะมิโนแต่ละชนิดมาต่อกันด้วยพันธะ โคเวเลนท์ที่มี
ชื่อเฉพาะว่า พันธะเพปไทด์ (peptide bond)
 ประกอบด้วยกรดอะมิโนต่อกันเป็นสายที่เรียกว่า เพปไทด์
 ประกอบด้วยกรดอะมิโน 2 หน่วย เรียกว่า ไดเพปไทด์ (dipeptide)
 ประกอบด้วยกรดอะมิโน 3 หน่วย เรียกว่า ไตรเพปไทด์ (tripeptide)
 ประกอบด้วยกรดอะมิโนจานวนมาก เรียกว่า พอลิเพปไทด์
(polypeptide)
 พอลิเพปไทด์ 4 สาย
 เช่น โมเลกุลของเฮโมโกลบินในเม็ดเลือดแดง
 พอลิเพปไทด์ขดไปมาเป็นก้อน
 เช่น โมเลกุลของไมโอโกลบิน (myoglobin) ในเซลล์กล้ามเนื้อ เป็นต้น
 พอลิเพปไทด์มีลักษณะเป็นเกลียวหรือลูกคลื่น
 เช่น แอลฟาเคราติน ( L - kergtin) ไมโอซิน (myosin) คอลลาเจน (collagen) เส้น
ไหม เป็นต้น
 พอลิเพปมีลักษณะเป็นสายยาว เนื่องจากการเชื่อมต่อของ กรดอะมิโนเป็นจานวนมากด้วย
พันธะเพปไทด์
 เช่น ไซโทโครมซี
 เป็นโครงสร้างของเซลล์ เยื่อหุ้มเซลล์ และเป็นองค์ประกอบชองโครโมโซม
 โปรตีนในรูปเอนไซม์จะมีผลการเร่งการเกิดปฏิกิริยาเคมี
 เสริมสร้างการเจริญเติบโตและซ่อมแซมส่วนที่ชารุดของร่างกาย
 เป็นแอนติบอดี (antibody)
 เมื่อคาร์โบไฮเดรตและไขมันถูกใช้หมด โปรตีนจะถูกนามาใช้เป็นพลังงาน
 เป็นสารประกอบที่ละลายได้น้อยในน้า และละลายได้ดีในตัวทาละลาย
อินทรีย์ เช่น อีเทอร์ เบนซิน คลอโรฟอร์ม เอทานอล
 ลิพิดประกอบด้วยธาตุ C H แต่อัตราส่วน H : O ไม่เท่ากับ 2 : 1
เหมือนคาร์โบไฮเดรต
 มีหลายชนิด เช่น ไขมัน (fat) น้ามัน (oil) ไข (wax) ฟอสโฟลิพิด
(phospolipid) และสเตอรอยด์ (steroid)
คาร์บอกซิล (carboxyl)
ฟอสเฟต (phosphase)
ไฮดรอกซิล (hydroxyl)
 โครงสร้างของกรดไขมัน R – C – OH
 กรดไขมันแต่ละชนิดจะแตกต่างกันที่หมู่ R (allkyl group) ซึ่งเป็น
ไฮโดรคาร์บอนจึงแบ่ง กรดไขมันได้เป็น 2 ประเภท ตามโครงสร้างเคมี
O
กรดไขมันอิ่มตัว (saturated fattly acid)
กรดไขมันไม่อิ่มตัว (unsaturated fatty acid)
 เป็นกรดไขมันที่อะตอมของคาร์บอนในโมเลกุลเป็นพันธะเดี่ยวทั้งหมดจึงไม่สามารถทา
ปฏิกิริยากับสารอื่นใดได้อีก
 มีจุดหลอมเหลวสูง
 เป็นกรดไขมันที่ไม่จาเป็น (nonessential fatty acid) ร่างกายสังเคราะห์ได้เอง ได้แก่
กรดลอริก C13H23COOH กรดสเตียริก C17H35COOH เป็นต้น
 พบมากในไขมันสัตว์ ในพืช เช่น น้ามันมะพร้าว น้ามันปาล์ม
 เป็นกรดไขมันที่อะตอมของคาร์บอนในโมเลกุลเป็นพันธะคู่
 จึงทาให้สามารถทาปฏิกิริยากับสารอื่นได้ง่าย  ออกซิเจน มีกลิ่นเหม็นหืน
 มีจุดหลอมเหลวต่า
 เป็นกรดไขมันที่จาเป็น (essential fatty acid) ร่างกายไม่สามารถสังเคราะห์ขึ้นได้เอง
จากสารต่างๆ ที่มีอยู่ในร่างกายต้องได้รับจากอาหารเท่านั้น ได้แก่ กรดไลโนเลอิก
(C17H31COOH) กรดไลโนเลนิก (C17H29COOH) เป็นต้น
 พบมากในน้ามันพืช
กรดไขมันอิ่มตัว กรดไขมันไม่อิ่มตัว
กรดลอริก (Lauric acid) กรดไลโนลีอิก (Linoleic acid)
กรดไมริสติก (Myristic acid) กรดไลโนลีนิก (Linolenic acid)
กรดพาล์มิติก (Palmitic acid) กรดพาล์มิโทลีอิก (Palmitoleic acid)
กรดสเตียริก (Steric acid) กรดโอลีอิค (Oleic acid)
ลิพิดเชิงเดี่ยว
(simple lipid)
มอโนกลีเซอไรด์
(monoglyceride)
ไดกลีเซอไรด์
(diglyceride)
ไตรกลีเซอไรด์
(triglyceride)
ลิพิดเชิงซ้อน
(complex lipid)
ฟอสโฟลิพิด
(phospholipid)
ไกลโคลิพิด
(glycolipid)
ลิพิดอนุพันธ์
(derived lipid)
สเตอรอยด์
(steroid)
• เกิดจากกลีเซอรอล 1 โมเลกุล ทาปฏิกิริยากับ
กรดไขมัน 1 โมเลกุล และเกิดน้า 1 โมเลกุล
มอโนกลีเซอไรด์
(monoglyceride)
• เกิดจากกลีเซอรอล 1 โมเลกุล ทาปฏิกิริยากับ
กรดไขมัน 2 โมเลกุล และเกิดน้า 2 โมเลกุล
ไดกลีเซอไรด์
(diglyceride)
• ซึ่งเป็นลิพิดที่พบมากที่สุดในสัตว์และพืช เกิดจาก
กลีเซอรอล 1 โมเลกุล ทาปฏิกิริยากับกรดไขมัน
3 โมเลกุล และเกิดน้า 3 โมเลกุล
ไตรกลีเซอไรด์
(triglyceride)
ฟอสโฟลิพิด
(phospholipid)
เป็นไขมันที่มีโครงสร้างคล้ายกับไตรกลีเซอไรด์ แต่แตกต่างกันที่หมู่ของ
กรดไขมัน 1 หมู่ จะมีหมู่ฟอสเฟตเป็นองค์ประกอบ
พบฟอสโพลิพิดเป็นส่วนประกอบหลักของเยื่อหุ้มเซลล์ เนื้อเยื่อประสาท
และไข่แดง
ไกลโคลิพิด
(glycolipid)
เป็นลิพิดที่มีคาร์โบไฮเดรตเป็นองค์ประกอบ พบมากในเยื่อหุ้มเซลล์
เนื้อเยื่อประสาท สมอง
 ประกอบด้วยกรดไขมันและแอลกอฮอล์ที่มีสารประกอบอื่นเชื่อมต่อ เช่น
ฟอสโฟลิพิด และไกลโคโปรตีน
 เป็นสารประกอบที่มีโครงสร้างที่แตกต่างจากลิพิดทั่วไปมีสมบัติคล้าย
ไขมัน มักพบอยู่กับลิพิดเชิงเดี่ยว เช่น สเตอรอยด์ (steroid)
 สเตอรอยด์ มีโครงสร้างทั่วไปเป็นวงแหวน 4 วง ประกอบด้วย
จานวนคาร์บอน 17 อะตอมและหมู่ R ซึ่งจะแตกต่างกันตามแต่ชนิด
ของสเตอรอยด์
 สเตอรอยด์ที่พบทั่วไป เช่น คอเลสเตอรอล (cholesterol) เป็นองค์ประกอบของเยื่อ
หุ้มเซลล์
 บางชนิดเป็นออร์โมนเพศ เช่น โพรเจสเทอโรน (progesterone) ฮีสโทรเจน
(estrogen) พบในเพศหญิง
 ให้พลังงานมากที่สุด 1 กรัม ให้พลังงาน 9 กิโลแคลอรี
 เป็นตัวละลายวิตามิน A D E K และช่วยในการดูดซึมสารที่ลาไส้เล็ก
 แหล่งสะสมพลังงาน ฉนวนป้องกันการสะเทือน การเปลี่ยนแปลง
อุณหภูมิและช่วยยึดอวัยวะภายในให้คงรูปอยู่ได้
 เป็นโครงสร้างของเยื่อหุ้มเซลล์
 เป็นส่วนของฮอร์โมนบางชนิด
 เป็นส่วนประกอบของผนังเซลล์แบคทีเรีย พืชชั้นสูง ปีกและลาตัวของ
แมลง
 ป้องกันผิวหนังแห้งตกกระ
 ส่วนประกอบทางเคมีของกรดนิวคลีอิก ประกอบด้วยธาตุ C, H, O, P
และ N เป็นสารโมเลกุลขนาดใหญ่และซับซ้อนมาก ประกอบด้วยหน่วย
ย่อย ที่เรียกว่า นิวคลีโอไทด์ซึ่งมีโครงสร้างพื้นฐานประกอบด้วย
น้าตาล ไนโตรจีนัสเบส
หมู่เฟอสเฟต
(po4)
หมู่เฟอสเฟต
(PO4)
น้าตาล
( pentose sugar )
น้าตาลดีออกซี
ไรโบส
น้าตาลไรเบส
ไนโตรจีนัสเบส
พิวริน (purine)
อะดีนีน
(adenine) :A
กวานีน
(quanine): G
ไพริมีดีน
(pyrimidine )
ไทมีน
(thymine) : T
ไซโทซีน
(cytosine) : C
ยูราซีล (uracil) : U
วิตามินที่ละลายในน้า
(water soluble vitamin)
วิตามิน
B, C
วิตามินที่ละลายในไขมัน
(fat soluble vitamin)
วิตามิน
A, D, E, K
วิตามิน แหล่งอาหาร หน้าที่ อาการที่ขาด
ละลายในน้า
B1(thiamine
hydrochloride)
ข้าว เนื้อหมู ตับ
ไข่ ยีสต์
- เป็นโคเอนไซม์ช่วย
ให้เกิดเมแทบอลิซึม
ของคาร์โบไฮเดรต
- บารุงประสาท
กล้ามเนื้อ หัวใจ
- อ่อนเพลียง่าย
- เป็นโรคเหน็บชา
วิตามิน แหล่งอาหาร หน้าที่ อาการที่ขาด
B2
(riboflavin)
เนื้อสัตว์ ตับ ไข่
นม ยีสต์
ผักสีเขียว
- เป็นโคเอนไซม์ช่วย
ในปฏิกิริยาการ
หายใจระดับเซลล์
- ช่วยในการทางาน
ของเซลล์ประสาท
- เด็กจะเจริญเติบโตไม่
เต็มที่
- เป็นโรคปากนกกระจอก
วิตามิน แหล่งอาหาร หน้าที่ อาการที่ขาด
B3
(nicotinic acid
หรือ niacin)
เนื้อสัตว์ ตับ
ถั่ว ยีสต์
- เป็นโคเอนไซม์ช่วย
ในปฏิกิริยาการหายใจ
ระดับเซลล์
- บารุงประสาท
- เบื่ออาหาร อ่อนเพลีย
ผิวหนังแห้งและแตก
- กระเพาะอาหารและ
ลาไส้อักเสบ
วิตามิน แหล่งอาหาร หน้าที่ อาการที่ขาด
B5
(pantothenic
acid)
ตับ ไข่แดง
ยีสต์ ผักสด
-เป็นส่วนประกอบ
ของโคเอนไซม์ เอ
ในเมแทบอลิซึมของ
คาร์โบไฮเดรต
- เบื่ออาหาร อาเจียน
-การย่อยอาหารไม่ดี
วิตามิน แหล่งอาหาร หน้าที่ อาการที่ขาด
B6
(pyridoxine)
เนื้อสัตว์ ตับ
ไข่ ถั่ว นม
ปลา กล้วย
ผักใบเขียว
- เป็นโคเอนไซม์ช่วยในการสังเคราะห์
กรดอะมิโน การสังเคราะห์ฮีม (heme)
ซึ่งเป็นส่วนประกอบของเฮโมโกลบิน
- ช่วยในการทางานของเซลล์ประสาท
- ประสาทเสื่อม
- การทางานของ
กล้ามเนื้อผิดปกติ
วิตามิน แหล่งอาหาร หน้าที่ อาการที่ขาด
B12
(cyanocobalamine)
เนื้อสัตว์ นม
ไข่ ตับ ยีสต์
- ช่วยในการ
สังเคราะห์
- ช่วยในการสร้าง
เม็ดเลือดแดง
- ทาให้เป็นโรคโลหิต
จางชนิดที่เม็ดเลือด
แดงมีรูปร่างผิดปกติ
และมีเฮโมโกลบินน้อย
วิตามิน แหล่งอาหาร หน้าที่ อาการที่ขาด
C
(ascorbic
acid)
ผลไม้สดที่มีรส
เปรี้ยว ผักใบ
เขียว มะขามป้อม
- ช่วยสร้างโปรตีนที่เป็นเส้นใย
เช่น ที่ผนังหลอดเลือดฝอย
- ช่วยสร้างเนื้อเยื่อใหม่และ
รักษาบาดแผล
- เพิ่มการดูดซึมที่ลาไส้เล็ก
- เลือดออกตามไรฟัน
- หลอดเลือดฝอยเปราะ
- เหงือกบวม
- เป็นหวัดง่าย
วิตามิน แหล่งอาหาร หน้าที่ อาการที่ขาด
ละลายในไขมัน
A (retinol
หรือ carotene)
ตับ ไข่แดง
ปลา นม เนย
ฟักทอง
มะละกอสุก
แครอท
- เป็นส่วนประกอบของสารที่
ช่วยในการมองเห็นในที่มืด
- ช่วยในการเจริญเติบโตของ
กระดูก เยื่อบุต่างๆ รวมทั้ง
กระจกตา
- ผิวหนังหยาบ
นัยน์ตาแห้ง ตาอับเสบ
- มองไม่เห็นในที่สลัว
หรือในเวลากลางคืน
วิตามิน แหล่งอาหาร หน้าที่ อาการที่ขาด
D
(calciferol)
น้ามันตับปลา
นม ตับ ไข่
แดง เนย
- ช่วยในการเสริมสร้าง
กระดูกและฟัน
- เพิ่มอัตราการดูดซึม
Ca และ P ที่ลาไส้เล็ก
- ในเด็กเป็นโรคกระดูก
อ่อน ฟันผุ
- ในผู้ใหญ่กระดูกผิด
รูปร่าง เกิดรอยแตกใน
กระดูก
วิตามิน แหล่งอาหาร หน้าที่ อาการที่ขาด
E
( α - tocopherol)
เนื้อสัตว์ ไข่
แดง จมูกข้าว
สาลี เมล็ด
ธัญพืช น้ามันพืช
- ป้องกันการแตก
สลายของเยื่อหุ้ม
เซลล์
- เป็นโรคโลหิต
จางในเด็ก
- เป็นหมัน และ
อาจแท้งได้
วิตามิน แหล่งอาหาร หน้าที่ อาการที่ขาด
K
(α-phylloquinone)
ธัญพืช ผักสี
เขียว มันฝรั่ง
มะเขือเทศ
- เป็นส่วนประกอบ
ในการสร้างสารที่ทา
ให้เลือดแข็งตัวเร็ว
- เลือด
แข็งตัวหรือ
ไหลไม่หยุด
9. โครงสร้างของสารดังภาพเป็นองค์ประกอบของโมเลกุล
1. DNA
2. RNA
3. Protein
4. Cholesterol
5. Amylopectin
 ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต
 หน่วยของสิ่งมีชีวิต
 เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
 Cellular Respiration
 การแบ่งเซลล์
 อาณาจักรของสิ่งมีชีวิต
 ระบบต่างๆในร่างกายสัตว์
 ระบบย่อยอาหาร
 การรักษาดุลยภาพของร่างกาย
 ระบบไหลเวียน
 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
 ระบบต่อมไร้ท่อ
 ระบบสืบพันธุ์และการเจริญเติบโตของสัตว์
 พฤติกรรมสัตว์
 การหายใจภายในเซลล์ (internal respiration) ซึ่งเกิดขึ้นในเซลล์ทุกเซลล์
ที่มีชีวิตอยู่ จึงเรียกว่า การหายใจระดับเซลล์ (cellular respiration)
การหายใจภายใน
เซลล์
สลายสารอาหาร
คาร์โบไฮเดรต
โปรตีน และ
ไขมัน
พลังงาน
ATP
 ATP 1 โมเลกุลประกอบด้วยอินทรีย์สาร 2 ชนิดต่อกัน คือ อะดีนีน
(Adenine) กับ ไรโบส (Ribose) แล้วจึงต่อกับหมู่ฟอสเฟต (Pi) อีก 3 หมู่
 พันธะเคมีที่เชื่อมระหว่างหมู่ฟอสเฟต 2 หมู่ท้ายเป็นพันธะเคมี
ที่มีพลังงานสูง (High energy bond) ซึ่งจะใช้เครื่องหมาย ~
 เมื่อ ATP ทาปฏิกิริยากับน้า (ไฮโดรลิซิส) พันธะพลังงานสูง
ระหว่างหมู่ฟอสเฟตจะถูกแยกสลายและให้พลังงานออกมาเป็น
จานวนมากกว่าพันธะเคมีทั่วไป นั่นคือ มีการปลดปล่อย
พลังงานออกมา 7.3 Kcal/mol ดังสมการ
ATP + H2O ADP + Pi + พลังงาน 7.3 Kcal/mol
 เมื่อ ATP สูญเสียฟอสเฟต (Pi) ไป 1 หมู่ จะกลายเป็นอะดีโนซีนได
ฟอสเฟต (Adenosine diphosphate หรือ ADP) ส่วนฟอสเฟตที่หลุด
ออกมาจะรวมกับอินทรีย์สาร ทาให้สารที่ได้รับหมู่ฟอสเฟตจาก ATP ก็
จะมีพลังงานสูงขึ้น
 สาหรับ ADP ที่จับกับหมู่ฟอสเฟตในเซลล์ ทาให้ได้
ATP ก็ต่อเมื่อได้รับพลังงานอย่างเพียงพอ (ไม่น้อยกว่า
7.3 Kcal/mol) การเปลี่ยนแปลงของ ATP และ ADP
จะเกิดวนเวียนเป็นวัฏจักร
 ไมโทคอนเดรีย
 ไมโทคอนเดรียเป็นออร์แกเนลล์ที่มีเยื่อหุ้ม 2 ชั้น
เยื่อชั้นนอก เยื่อชั้นใน
 ชั้นเยื่อชั้นนอก
 มีลักษณะเรียบ ทา
หน้าที่ควบคุมการผ่าน
เข้า – ออก โมเลกุลของ
สารต่างๆ
 เยื่อชั้นใน
 คริสติ (cristae) เป็นแหล่ง
สังเคราะห์ ATP
 ภายในจะมีของเหลวบรรจุอยู่
เรียก เมทริกซ์ (matrix) ซึ่งมีสาร
เอนไซม์หลายชนิดเกี่ยวข้องกับ
ปฏิกิริยาเคมีของวัฏจักรเครบส์
การสลายสารอาหารแบบใช้
ออกซิเจน
การสลายกลูโคส
การสลายโปรตีน
การสลายลิพิด
การสลายสารอาหารแบบไม่ใช้
ออกซิเจน
กระบวนการหมักแอลกอฮอลล์
กระบวนการหมักกรดแลคติก
 การสลายสารอาหารที่ต้องใช้ออกซิเจนจะเกิดได้ทั้งในไซโทพลาซึมและ
ไมโทคอนเดรีย โดยใช้น้าตาลกลูโคสเป็นวัตถุดิบ ประกอบด้วย 3
ขั้นตอนใหญ่ๆ คือ
ไกลโคไลซีส (glyolysis)
วัฏจักรเครบส์ (krebs cycle)
กระบวนการถ่ายทอดอิเล็กตรอน
(electron transport chain)
 ขั้นตอนไกลโคไลซีสแบ่งเป็น 2 ขั้นตอน
ง่ายๆ คือ
 เปลี่ยนกลูโคส 1 โมเลกุล
 สารประกอบที่มีคาร์บอน 3 อะตอม 2 โมเลกุล
คือ ฟอสโฟกลีเซอรัลดีไฮด์ ( PGALหรือ
G3P)
 ซึ่งต้องมีการใช้พลังงานจาก ATP ไป 2
โมเลกุล
 การเปลี่ยนสารที่มีคาร์บอน 3
อะตอม ให้กลายเป็นกรดไพรูวิกซึ่งมี
คาร์บอน 3 อะตอม จานวน 2
โมเลกุล และจะมีโครงสร้างพลังงาน
ออกมา 4 ATP
 ดังนั้นเมื่อสิ้นไกลโคไลซีสจะได้
ATP สุทธิเพียง 2 โมเลกุล
เท่านั้นและเกิด 4 โปรตอน
(4H+) 4 อิเล็กตรอน (4e- )
ปล่อยออกมา รับโดย NAD+
กลายเป็น 2 NADH
 กรดไพรูวิก 2 โมเลกุล เคลื่อนที่เข้าสู่ภายในไมโทคอนเดรีย ตรงช่อง
ระหว่างเยื่อหุ้มชั้นนอกกับเยื่อหุ้มชั้นใน มีการปล่อยคาร์บอนจากโมเลกุล
ของกรดไพรูวิก 1 อะตอม ในรูปแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ ได้ 2CO2
 สารประกอบที่มีคาร์บอน 2 อะตอม จานวน 2 โมเลกุล
 ปฏิกิริยากับโคเอนไซม์เอ (coenzyme A : COA) 2 โมเลกุล
 อะซีทิลโคเอนไซม์เอ (acetyl coenzyme A) 2 โมเลกุล และเกิด 4H+
4e- มารับโดย NAD+ กลายเป็น 2NADH+ + H+
 วัฏจักรเครบส์มีชื่อเรียกหลายชื่อ เช่น
 วัฏจักรกรดซิตริก
 วัฏจักรไตรคาร์บอกซิลิก
 TCA cycle
 เกิดบริเวณเมทริกซ์ซึ่งเป็นของเหลวของไมโทคอนเดรียที่มี
เอนไซม์เป็นส่วนใหญ่
 การสลายกลูโคส 1
โมเลกุล ซึ่งทาให้เกิด
แอซิทิลโคเอนไซม์เอ
2 โมเลกุล
 CO2 2 โมเลกุล
 ATP 1 โมเลกุล
 3 NADH
 1 FADH2
 การถ่ายทอดอิเล็กตรอนจะเกิดควบคู่กันไปทุกขั้นตอนของการสลาย
สารอาหารจึงเกิดที่เยื่อหุ้มชั้นในของไมโทคอนเดรียและเกี่ยวข้องกับสาร
2 ประเภท
สารที่เป็นตัวนา
อิเล็กตรอน
สารที่เป็นตัวรับ
พลังงานจากการ
ถ่ายทอดอิเล็กตรอน
NAD
FAD
Cytochrome
NAD+ + 2H+ + 2e- NADH
FAD+ + 2H+ + 2e- FADH2
Cytochrome
q
Cytochrome
b
Cytochrom
e c
Cytochrome
a
O2
 กระบวนการถ่ายทอดอิเล็กตรอนเป็นขั้นตอนที่มีการสร้างสารพลังงาน
สูง คือ ATP มากที่สุด แต่ก็มีความแตกต่างกันในเซลล์แต่ละชนิด คือ
เซลล์กล้ามเนื้อหัวใจ ไต หรือตับ
เซลล์กล้ามเนื้อยึดกระดูก หรือเซลล์สมอง
กระบวนการ
ATP จาก substrate -
level phosphorylation
ATP จาก xydalive - lvel phorylation ATP รวม
ไกลโคไลซีส 2
2FADH2 = 2 × 2 = 4 ATP
2NADH = 2 × 3 = 6 ATP
(ในไซโทซอล)
6 หรือ 8
การสร้างอะซีทิลโค
เอนไซม์เอ
-
2NADH = 2 × 3 = 6 ATP
(ในเมทริกซ์)
6 ATP
วัฏจักรเครบส์ 2
12H  6NADH = 6 × 3 = 18 ATP
4H  2FAD H2 = 2 × 2 = 4 ATP
(ในเมทริกซ์)
24 ATP
กลูโคส  6CO2,
12H2O
4 32 ATP หรือ 34 ATP
36 ATP
หรือ
38 ATP
 ตัวอย่าง การสลายกรดไขมันปาล์มิติก (palmitic)
มีสูตร C16H32COOH แสดงว่ามีจานวนอะตอมคาร์บอน 16 อะตอม
กรดปาล์มิติก (C16)(palmitoyl - CoA) C - C - C - C - C - C
7FADH2 + 7NADH + 8 C - C - CoA (8AcetylCoA)
วัฎจักรเครบส์
o
o
 กรดอะมิโนที่เปลี่ยนเป็นกรดไพรูวิก
 ได้แก่ alanine (Ala), glycine (Gly), serin (Ser), cysteine (Cys) และ threonine
(Thr)
 กรดอะมิโนที่เปลี่ยนเป็นแอชิทิลโคเอนไซม์เอ
 ได้แก่ phenylanine (Phe), tyrosin (Tyr), leucine (Leu), Lysine (Lys) และ
tryptophan (Try)
 กรดอะมิโนที่เปลี่ยนเป็นกรดคีโทกลูทาริก
 ได้แก่ arginine (Arg), histidine (His), proline (Pro) และ glutanic acid (GLu)
 กรดอะมิโนที่เปลี่ยนเป็นกรดซักซินิก
 ได้แก่ isoleucine (Ile), aspartic acid (Asp) และ asparagine (Asn)
 ตัวอย่าง การสลายกรดอะมิโนอะลานิน (alanin) ที่เปลี่ยนเป็นกรดไพรูวิก
เมื่อเกิดการสลายกรดอะมิโนที่เป็นกรดไพรูวิก 1 โมเลกุล จะได้
*พลังงานที่ได้จากการ acetyl CoA
พลังงานที่ได้จาก 1 NADH = 3ATP ดังนั้น 1 NADH = 1×3 = 3 ATP
*พลังงานที่ได้จากวัฎจักเครบส์ = 1 ATP
พลังงานที่ได้จาก 1 NADH = 3ATP ดังนั้น 3 NADH = 3×3= 9 ATP
พลังงานที่ได้จาก 1 FADH2 = 2ATP ดังนั้น 1 FADH2= 1×2= 2 ATP
ดังนั้น พลังงานสุทธิจากการสลายกรดอะมิโนอะลานิน 1 โมเลกุล= 15 ATP
การสลายสารอาหารแบบใช้
ออกซิเจน
การสลายกลูโคส
การสลายโปรตีน
การสลายลิพิด
การสลายสารอาหารแบบไม่ใช้
ออกซิเจน
กระบวนการหมักแอลกอ
ฮอลล์
กระบวนการหมักกรดแล
คติก
การสลายโมเลกุลของสารอาหาร
แบบใช้ออกซิเจน
การสลายโมเลกุลของสารอาหาร
แบบไม่ใช้ออกซิเจน
1. มีการสลายโมเลกุลของสารอาหาร
อย่างสมบูรณ์ ครบ 4 ขั้นคือ ไกลโค
ลิซิส การสร้างแอซีทิลโค เอนไซม์เอ
วัฏจักรเครบส์ และการถ่ายทอด
อิเล็กตรอน
1. มีการสลายโมเลกุลของสารอาหาร
อย่างสมบูรณ์ มีขั้นตอนเพียงไกลโคลิ
ซิสเท่านั้น ยังมีพลังงานแฝงอยู่ใน
เอทิลแอลกอฮอล์ และกรดแลกติก
การสลายโมเลกุลของสารอาหาร
แบบใช้ออกซิเจน
การสลายโมเลกุลของสารอาหาร
แบบไม่ใช้ออกซิเจน
2.ผลลัพธ์สุดท้ายเกิดแก๊ส
คาร์บอนไดออกไซด์ น้า และ ATP
2. ผลลัพธ์สุดท้ายมี 2 กรณี คือ
 เซลล์ยีสต์เกิดเอทิลแอลกอฮอล์
แก๊สคาร์บอนไดออกไซดืและ ATP
 เซลล์เกิดกรดแลกติก และ ATP
การสลายโมเลกุลของสารอาหาร
แบบใช้ออกซิเจน
การสลายโมเลกุลของสารอาหาร
แบบไม่ใช้ออกซิเจน
3.มีออกซิเจนเข้าร่วมปฏิกิริยาทาให้เกิดน้า
4เกิดพลังงานมากถึง 36 – 38 ATP ต่อ
กลูโคส 3 โมเลกุล
5.เกิดในไซโทพลาซึม (ไกลโคไลซีส) และไม
โทคอนเดรีย (การสร้างแอซีทิลโคเอนไซม์เอ
วัฏจักรเครบส์ และการถ่ายทอดอิเล็กตรอน)
3. ไม่มีออกซิเจนเข้าร่วมปฏิกิริยาทาให้ไม่
เกิดน้า
4. เกิดพลังงานเพียงแค่ 2 ATP ต่อกลูโคส
1 โมเลกุล
5. เกิดเฉพาะในไซโทพลาซึม (ไกลโคไลซีส)
21. ข้อใดถูก
1. การสลายกลูโคส 1 โมเลกุลในเซลล์ทุกชนิดให้พลังงานเท่ากัน
2. การสลายกลูโคสในวัฏจักรเครบส์ของเซลล์กล้ามเนื้อ ทาให้เกิด
กรดซึ่งเป็นสาเหตุของการปวดเมื่อยกล้ามเนื้อ
3. ในการสลายโปรตีน หมู่อะมิโนจะถูกตัดออกจากโมเลกุลของ
กรดอะมิโน แล้วถูกเปลี่ยนไปเป็น แอมโมเนีย และยูเรีย
4. ในการหายใจแบบใช้ออกซิเจนนั้น ออกซิเจนจะถูกใช้ใน
กระบวนการการถ่ายทอดอิเล็กตรอน โดย เป็นตัวรับอิเล็กตรอนตัวแรก
ติวสอบชีววิทยา ม.5 โดย สพ.ญ.นิราภร ทองคาแท้
22. ปฏิกิริยาไกลโคลิซิส วัฏจักรเครบส์ และกระบวนการการถ่ายทอด
อิเล็กตรอนเกิดขึ้นที่ตาแหน่งใดในเซลล์ ตามลาดับ
1. ไซโทซอล เมทริกซ์ของไมโทคอนเดรีย และเยื่อหุ้มชั้นในของ
ไมโทคอนเดรีย
2. ไซโทซอล เยื่อหุ้มชั้นนอกของไมโทคอนเดรีย และเยื่อหุ้มชั้นใน
ของไมโทคอนเดรีย
3. นิวเคลียส เมทริกซ์ของไมโทคอนเดรีย และช่องว่างระหว่างเยื่อ
หุ้มไมโทคอนเดรีย
4. นิวเคลียส เยื่อหุ้มชั้นนอกของไมโทคอนเดรีย และช่องว่าง
ระหว่างเยื่อหุ้มไมโทคอนเดรีย
 ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต
 หน่วยของสิ่งมีชีวิต
 เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
 Cellular Respiration
 การแบ่งเซลล์
 อาณาจักรของสิ่งมีชีวิต
 ระบบต่างๆในร่างกายสัตว์
 ระบบย่อยอาหาร
 การรักษาดุลยภาพของร่างกาย
 ระบบไหลเวียน
 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
 ระบบต่อมไร้ท่อ
 ระบบสืบพันธุ์และการเจริญเติบโตของสัตว์
 พฤติกรรมสัตว์
 ประกอบด้วยกระบวนการต่างๆ 4 กระบวนการ คือ
การแบ่งเซลล์ของไซโกตเพื่อเพิ่มจานวนเซลล์ (cell multiplication)
การเพิ่มขนาดของเซลล์หรือการเจริญเติบโต (growth)
การเปลี่ยนแปลงรูปร่างของเซลล์ให้เป็นเซลล์ที่มีลักษณะเฉพาะ เพื่อทาหน้าที่เฉพาะ
อย่าง (cell differentiation)
การพัฒนาเปลี่ยนแปลงรูปร่างเป็นอวัยวะและเกิดรูปร่างมอร์โฟเจเนซีส
(morphogenesis)
การแบ่งเซลล์
( cell division )
การแบ่งนิวเคลียส
( Karyokinesis )
Mitosis
Meiosis
การแบ่งไซโทพลาซึม
( cytokinesis )
การเกิดร่องแบ่ง
( furrow type)
การเกิดแผ่นกั้นเซลล์
( cell plate type )
 แบ่งเป็น 5 ระยะย่อย
Prophase
Metaphase
Anaphase
Telophase
การแบ่งนิวเคลียส
( M-phase )
Interphase เตรียมการ
การแบ่งเซลล์
 ลักษณะของการแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
 ไม่มีการลดจานวนชุดโครโมโซม ( 2n  2n , n  n )
 เมื่อสิ้นสุดการแบ่งเซลล์จะได้ 2 เซลล์ใหม่ ที่มีโครโมโซมเท่ากัน
และเท่ากับเซลล์ตั้งต้น
 เป็นระยะที่เซลล์เตรียมตัวที่จะแบ่งตัว แบ่งออกเป็น 3 ระยะย่อย คือ
G1
S
G2
 เป็นระยะที่มีการแบ่งนิวเคลียสและไซโทพลาซึม โดยโครโมโซมจะมีการ
เปลี่ยนแปลงหลายขั้นตอนก่อนที่จะถูกแบ่งแยกออกจากกัน
 ประกอบด้วย 4 ระยะย่อย คือ
 Prophase
 Metaphase
 Anaphase
 Telophase
 เซลล์ที่แบ่งตัวเสร็จแล้ว
 แบ่งตัวต่อไป ( ยังคงอยู่ใน cell cycle )
 เข้าสู่ระยะพัก ( เข้า G0 ) อาจกลับมา
แบ่งตัวอีกครั้งเมื่อมีสิ่งมากระตุ้น
 มีการเปลี่ยนแปลงสภาพไปทาหน้าที่
เฉพาะ ( differentiate )
 เซลล์ที่แบ่งตัวตลอดเวลา
 เซลล์เนื้อเยื่อของพืช
 เซลล์ไขกระดูก ( เพื่อสร้างเม็ดเลือดแดง )
 เซลล์เยื่อบุผิว
 แบ่งตัวเสร็จแล้วจะไม่แบ่งอีก
 เซลล์ประสาท
 แบ่งตัวเสร็จแล้วไม่แบ่งอีกยกเว้นว่าจะได้รับ
การกระตุ้น
 Parenchyma ของพืช
 เป็นการแบ่งเซลล์เพื่อ
 สร้าง sex cell ( gamete ) ในสัตว์
 สร้าง spore ในพืช
 มีการลดจานวนชุด chromosome ลงจาก 2n  n ซึ่งเป็นกลไกหนึ่งที่
ช่วยให้จานวนชุด chromosome คงที่เท่ากันในลูกหลานทุกรุ่น
 เกิดขึ้นในช่วงวัยเจริญพันธุ์ ( Reproductive stage ) ของสิ่งมีชีวิต
 ดังนั้นจะพบการแบ่งเซลล์แบบนี้ใน
 อัณฑะ ( testes )
 รังไข่ ( ovary )
 อับสปอร์ ( sporangium )
 อับเรณู ( pollen sac )
 Cone ( strobilus ) ของสน
 แบ่งเป็น 2 ขั้นตอน
 ไมโอซิส I ( Meiosis I )
▪ เป็นขั้นตอนที่มีการแยก homologous chromosome ออกจากกัน ( 2n
 n ) จึงเรียกได้ว่าเป็น Reductional division
 ไมโอซิส II ( meiosis II )
▪ เป็นขั้นตอนที่มีการแยก sister chromatid ออกจากกัน ( ไม่มีการลด
จานวนชุดโครโมโซม ) n  n จึงเรียกได้ว่าเป็น Equational division
 Meiosis I ( Reductional division ) แบ่งเป็น 5 ระยะย่อย
 Interphase I
 Prophase I
 Metaphase I
 Anaphase I
 Telophase I
 Meiosis II แบ่งเป็น 5 ระยะย่อย
 Interphase II
 Prophase II
 Metaphase II
 Anaphase II
 Telophase II
ติวเข้ม ความถนัดทางวิทยาศาสตร์ ชีววิทยา PAT2
ติวเข้ม ความถนัดทางวิทยาศาสตร์ ชีววิทยา PAT2
ติวเข้ม ความถนัดทางวิทยาศาสตร์ ชีววิทยา PAT2
ติวเข้ม ความถนัดทางวิทยาศาสตร์ ชีววิทยา PAT2

More Related Content

Similar to ติวเข้ม ความถนัดทางวิทยาศาสตร์ ชีววิทยา PAT2

ระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่ายระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่ายWan Ngamwongwan
 
การเจริญเติบโตของพืช
การเจริญเติบโตของพืชการเจริญเติบโตของพืช
การเจริญเติบโตของพืชkookoon11
 
สรุปความรู้
สรุปความรู้สรุปความรู้
สรุปความรู้Jiraporn
 
สรุปความรู้
สรุปความรู้สรุปความรู้
สรุปความรู้Jiraporn
 
เซลล์พืชและเซลล์สัตว์
เซลล์พืชและเซลล์สัตว์เซลล์พืชและเซลล์สัตว์
เซลล์พืชและเซลล์สัตว์dnavaroj
 
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม3
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม3การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม3
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม3korakate
 
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.3
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.3การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.3
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.3korakate
 
สารชีวโมเลกุล By Prof.Dr.Garsiet Creus
สารชีวโมเลกุล By Prof.Dr.Garsiet Creusสารชีวโมเลกุล By Prof.Dr.Garsiet Creus
สารชีวโมเลกุล By Prof.Dr.Garsiet CreusGarsiet Creus
 
สารอาหารไม่ให้พลังงาน
สารอาหารไม่ให้พลังงานสารอาหารไม่ให้พลังงาน
สารอาหารไม่ให้พลังงานAobinta In
 
ติวสอบเตรียมระบบหายใจและขับถ่าย
ติวสอบเตรียมระบบหายใจและขับถ่ายติวสอบเตรียมระบบหายใจและขับถ่าย
ติวสอบเตรียมระบบหายใจและขับถ่ายWichai Likitponrak
 
2. ความหลากหลายทางชีวภาพ
2. ความหลากหลายทางชีวภาพ2. ความหลากหลายทางชีวภาพ
2. ความหลากหลายทางชีวภาพSubaidah Yunuh
 
Introduction to bacteriology,morphology and classification of bacteria
Introduction to bacteriology,morphology and classification of bacteriaIntroduction to bacteriology,morphology and classification of bacteria
Introduction to bacteriology,morphology and classification of bacteriapitsanu duangkartok
 
Plant kingdom 1
Plant kingdom 1Plant kingdom 1
Plant kingdom 1krunidhswk
 
การถ่ายละอองเรณู (T)
การถ่ายละอองเรณู (T)การถ่ายละอองเรณู (T)
การถ่ายละอองเรณู (T)Thitaree Samphao
 
พันธุกรรม2
พันธุกรรม2พันธุกรรม2
พันธุกรรม2wijitcom
 

Similar to ติวเข้ม ความถนัดทางวิทยาศาสตร์ ชีววิทยา PAT2 (20)

ระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่ายระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่าย
 
Lipid
LipidLipid
Lipid
 
การเจริญเติบโตของพืช
การเจริญเติบโตของพืชการเจริญเติบโตของพืช
การเจริญเติบโตของพืช
 
385
385385
385
 
สรุปความรู้
สรุปความรู้สรุปความรู้
สรุปความรู้
 
สรุปความรู้
สรุปความรู้สรุปความรู้
สรุปความรู้
 
เซลล์พืชและเซลล์สัตว์
เซลล์พืชและเซลล์สัตว์เซลล์พืชและเซลล์สัตว์
เซลล์พืชและเซลล์สัตว์
 
Protein
Protein Protein
Protein
 
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม3
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม3การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม3
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม3
 
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.3
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.3การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.3
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.3
 
1
11
1
 
สารชีวโมเลกุล By Prof.Dr.Garsiet Creus
สารชีวโมเลกุล By Prof.Dr.Garsiet Creusสารชีวโมเลกุล By Prof.Dr.Garsiet Creus
สารชีวโมเลกุล By Prof.Dr.Garsiet Creus
 
สารอาหารไม่ให้พลังงาน
สารอาหารไม่ให้พลังงานสารอาหารไม่ให้พลังงาน
สารอาหารไม่ให้พลังงาน
 
ติวสอบเตรียมระบบหายใจและขับถ่าย
ติวสอบเตรียมระบบหายใจและขับถ่ายติวสอบเตรียมระบบหายใจและขับถ่าย
ติวสอบเตรียมระบบหายใจและขับถ่าย
 
2. ความหลากหลายทางชีวภาพ
2. ความหลากหลายทางชีวภาพ2. ความหลากหลายทางชีวภาพ
2. ความหลากหลายทางชีวภาพ
 
อาณาจักรสิ่งมีชีวิต
อาณาจักรสิ่งมีชีวิต อาณาจักรสิ่งมีชีวิต
อาณาจักรสิ่งมีชีวิต
 
Introduction to bacteriology,morphology and classification of bacteria
Introduction to bacteriology,morphology and classification of bacteriaIntroduction to bacteriology,morphology and classification of bacteria
Introduction to bacteriology,morphology and classification of bacteria
 
Plant kingdom 1
Plant kingdom 1Plant kingdom 1
Plant kingdom 1
 
การถ่ายละอองเรณู (T)
การถ่ายละอองเรณู (T)การถ่ายละอองเรณู (T)
การถ่ายละอองเรณู (T)
 
พันธุกรรม2
พันธุกรรม2พันธุกรรม2
พันธุกรรม2
 

ติวเข้ม ความถนัดทางวิทยาศาสตร์ ชีววิทยา PAT2