SlideShare a Scribd company logo
1 of 76
Download to read offline
สารอาหารกับการดารงชีวต
                     ิ




  โดย อาจารย์ ธนมน พลานุพฒน์ ั
   โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาภาคใต้
สารอาหาร ( NUTRITION )
• หมายถึงสิ่ งที่เป็ นองค์ประกอบพื้นฐานของอาหาร
• แบ่งประเภท ความสามารถในการให้พลังงาน
  – สารอาหารที่ให้พลังงาน
     • คาร์โบไฮเดรต โปรตีน และไขมัน
  – สารอาหารที่ไม่ให้พลังงาน
     • เกลือแร่ วิตามิน และ น้ า
คาร์ โบไฮเดรต ( CARBOHYDRATE )
                 •   เป็ นสารอาหารทีประกอบ
                                     ่
                 •   ด้ วยธาตุ C H และ O
                 •   โดยมี อัตราส่ วนระหว่ าง
                 •   H:O =2 : 1
                 •   เป็ นสารอาหารหลักในการ
                     สลายให้ พลังงานแก่ สิ่งมีชีวต
                                                 ิ
คาร์ โบไฮเดรต ( CARBOHYDRATE )
•   ประเภทคาร์ โบไฮเดรต
    – นาตาลโมเลกุลเดียว ( MONOSACCHARIDE )
       ้             ่
      • 3 C นาตาล Triose ( C3H6O3 ) เช่ นนาตาล ฟอสโฟกลีเซอรัลดี
             ้                            ้
        ไฮด์
         – เป็ นนาตาล ตัวแรกทีได้ จากกระบวนการสั งเคราะห์ แสง
                 ้            ่
      • 4 C นาตาล Tetrose ( C4H8O4 ) เช่ นนาตาลอีรีโทส
             ้                             ้
      • 5 C นาตาล Pentose ( C5H10O5 ) เช่ นนาตาลไรโบส
               ้                             ้
         – ดีออกซิไรโบส ( C5H10O4 ) ซึ่งเป็ นองค์ ประกอบของสารพันธุกรรม
      • 6 C นาตาล Hexose ( C6H12O6 ) ได้ แก่กลูโคส ฟรุกโตส และ
               ้
         – กาแลคโตส
สูตรโครงสร้างของน้ าตาลที่มีคาร์บอน 3 และ 5
นาตาลโมเลกุลเดียว ( MONOSACCHARIDE )
   ้             ่

                                       • พบในองุ่น
                                       • หรือเรียกว่ านาตาลองุ่น
                                                         ้
                     กลูโคส            • เป็ นนาตาลทีมีมากทีสุด
                                               ้       ่    ่
                                         ในธรรมชาติ
      สู ตรโมเลกุล C6H12O6             • เป็ นองค์ ประกอบหลักทั้ง
C กลูโคสสามารถ สลายให้ พลังงานได้        แป้ ง ไกลโคเจน และ
D กลูโคสไม่ สามารถสลายให้ พลังงานได้     เซลลูโลส
นาตาลโมเลกุลเดียว ( MONOSACCHARIDE )
 ้             ่
                นาตาล กาแลคโตส
                 ้
  CH2OH               • มักไม่ ค่อยพบเป็ นอิสระ
       C   O
 OH H            OH   • มักรวมกับกลูโคสเป็ น
  C             C     • นาตาลแลคโตส ซึ่งพบ
                          ้
  H             H
     OH    H
                      • ในนานม้
     C     C          • เป็ นองค์ ประกอบของวุ้น
     H     OH
                      • ทีสกัดมาจากสาหร่ ายสี
                            ่
                       แดง
นาตาลโมเลกุลเดียว ( MONOSACCHARIDE )
 ้             ่
             นาตาล ฟรุ กโตส
              ้

                    • เป็ นนาตาลทีมรสหวาน
                             ้    ่ ี
                      มากทีสุด ่
                    • พบมากในนาผึง ้ ้
                    • ซึ่งนาผึง มี ฟรุกโตส
                            ้ ้
                    • เป็ น องค์ ประกอบ 40
                      %
                    • ให้ พลังงาน แก่ ตวอสุ จิ
                                        ั
โอลิโกแซกคาร์ ไรด์ ( OLIGOSACCHARIDE )

     เป็ นนาตาลทีเ่ กิดจากนาตาลโมเลกุลเดียว 2 โมเลกุล
           ้               ้             ่
       รวมกันทางเคมี โดยมีแรง หยึด เหนี่ยวทางเคมี หรือ
มี
       พันธะเคมีชนิดทีเ่ รียกว่ า glycoside bond จาก
    ปฏิกริยา รวมตัวจะเกิดนา ( H2 O ) ขึนมา 1
        ิ                 ้            ้
โมเลกุล
การรวมตัวกันของน้ าตาลโมเลกุลเดี่ยวเป็ นน้ าตาล
                     โมเลกุลคู่
•    C6H12O6   +   C6H12O6           dehydration    C12H22O11+
    H2O

• กลูโคส + กลูโคส            dehydration           มอลโตส +
  นา
   ้
• กลูโคส + ฟรุกโตส           dehydration           ซู โคส   +
  นา ้
การรวมตัวกันของน้ าตาลโมเลกุลเดี่ยวเป็ นน้ าตาลโมเลกุลคู่
การรวมตัวการของนาตาลโมเลกุลเดียวเป็ นนาตาลโมเลกุลใหญ่
                ้             ่       ้
            นาตาลโมเลกุลใหญ่ ( POLYSACCHARIDE )
             ้
ความสาคัญของคาร์ โบไฮเดรต
• เป็ นแหล่งให้พลังงานแก่สิ่งมีชีวตที่สาคัญ
                                   ิ
  ที่สุด โดยเฉพาะกลูโคสเปรี ยบเป็ น energy
  pool
• เป็ นอาหารสะสมเช่น แป้ ง และไกลโคเจน
• เป็ นโครงสร้างของสิ่ งมีชีวต เช่น วุน ไคติน
                             ิ        ้
  และ เซลลูโลส
แหล่งอาหารที่สาคัญที่สุดของคาร์โบไฮเดรต




                    มาจากพืชเป็ นส่ วนใหญ่
ไขมัน ( LYPID )
                         • ไขมันเป็ นสารอาหารหลัก
                           ที่จาเป็ นต่อการดารงชีวต   ิ
                           ชนิดหนึ่งไขมันเป็ น lypid
                           ชนิดหนึ่งที่มี สถานะเป็ น
                           ของแข็งที่อุณหภูมิหอง้
                         • ส่ วน oil เป็ นไขมันที่เป็ น
ประกอบด้วยธาตุ C H และ O   ของเหลวที่อุณหภูมิหอง   ้
ประเภทของไขมันแบ่งออกเป็ น 3 ประเภท
1. ไขมันธรรมดา ( SIMPLE LYPID )
 ได้แก่ ไขมัน ( fat )   น้ ามัน ( Oil )   ไข ( wax )
  ประกอบด้วย กลีเซอรอล + fatty acid
2. ไขมันเชิงประกอบ ( COMPOUND LIPID ) เป็ น
ไขมัน        ธรรมดามีหมู่ธาตุอื่นเป็ นองค์ประกอบ
3. อนุพนธ์ไขมัน ( DERIVED LIPID ) เกิดจากการ
        ั
สลายของไขมันธรรมดา หรื อไขมันเชิงประกอบ
โครงสร้างของโมเลกุลของไขมัน
    H
                           O
H - C - OH
                     R - C - OH
H - C - OH
H - C - OH
    H                 Fatty acid
 กลีเซอรอล
โครงสร้างของโมเลกุลของไขมัน

•     H
• H - C - O H O H - C = O - R + H2O
• H - C - OH OH-C = O-R       + H2O
• H - C - O H O H - C = O - R + H 2O
•     H
                   ไตรกลีเซอไรด์ ( TRIGLYCERIDE
ชนิดของไขมัน
           • แบ่ง ตามความต้องการของร่ างกาย
• กรดไขมันทีจาเป็ นต่ อร่ างกาย คือกรดไขมันที่
                ่
 ร่ างกายขาดไม่ ได้ มผลต่ อการเจริญเติบโต ของร่ างกาย
                     ี
 และร่ างกายไม่ สามารถสั งเคราะห์ ขนมาได้ ได้ แก่ กรดไล
                                    ึ้
 โนเลอิกกรดโนเลอิก ถ้ าขาดมีอาการผิวหนังแตกและติด
 เชื้อง่ าย
• กรดไขมันที่ไม่ จาเป็ นจ่ อร่ างกาย คือกรดไขมันที่
  ร่ างกายสามารถสั งเคราะห์ ได้
ชนิดของไขมัน
                 • แบ่ งตามระดับความอิมตัว
                                         ่
• กรดไขมันที่ไม่ อมตัว หมายถึงกรดไขมันที่ C ใน
                     ิ่
  โมเลกุล จับเกาะอยู่ไม่ เต็มที่ หรือ Bond แบบคู่สามารถที่
  จะรับ H เข้ าไปในโมเลกุลได้ อก  ี
• กรดไขมันแบบอิมตัว หมายถึงกรดไขมัน ที่ C จับกัน
                        ่
  อย่ างเต็มที่ หรือ Bond แบบเดียว โมเลกุล ของ H ไม่
                                    ่
  สามารถ เข้ าไปจับในโมเลกุลได้
โครงสร้ างกรดไขมันอิมตัว
                    ่

                     C15H31COOH




                     C17H35COOH
B และ C เป็ นกรดไขมันที่ไม่ อมตัว
                             ิ่
ไขมันเชิงประกอบ ( COMPOUND
                      LIPID)
        เป็ นไขมันธรรมดา + ธาตุหมู่อน ๆ แบ่ งเป็ น
                                    ่ื
     ฟอสโฟไลปิ ด เป็ นไขมันที่มีฟอสเฟต +             แอ
ลกอฮอร์   พบ ในเซลล์ เนื้อเยือประสาท
                             ่
       ไกลโคไลปิ ด     เป็ นไขมันธรรมดา +
คาร์โบไฮเดรต             พบมากในเซลล์สมอง เส้นประสาท
ไต ตับ
      ไลโพโปรตีน เป็ นไขมันธรรมดา + โปรตีน พบมาก
อนุพนธ์ ของกรดไขมัน
    ั
สเตอรอยด์ (STEROID )
• เป็ นอนุพนธ์ ของไขมันมีสูตรโครงสร้างแตกต่างจาก
              ั
  ไขมัน คือ มี C ของสเตอรอยด์เรี ยงกันเป็ นวง 4 วงและ
  อาจมี C ที่เป็ นแขนงออกไปอีก มีความสาคัญต่อ
  สิ่ งมีชีวต พบในต่อมต่าง ๆ เช่นต่อมหมวกไต ในอวัยะ
            ิ
  เพศชายและเพศหญิง สร้างฮอร์โมนที่เป็ นสเตอรอยด์
  หลายชนิด รวมทั้งคลอเลสเตอรอล เออร์โกสเตอรอล
  เป็ นสเตอรอยด์ที่ร่างกายสังเคราะห์วตามิน D
                                     ิ
อนุพนธ์ ไขมัน ( DERIVED LIPID )
    ั
• เกิดจากการสลายของไขมันธรรมดา หรื อไขมันเชิง
  ประกอบ
• สเตอรอยด์ (STEROID ) เป็ นส่ วนประกอบ ของ
  ฮอร์โมนเพศ
• เทอเปน ( TERPENE ) พบในน้ ามันหอมระเหย
  จากพืช
กรดไขมันที่อิ่มตัวและไม่อิ่มตัว

•   กรดไขมันที่อ่ิมตัว     •   กรดไขมันที่ไม่อิ่มตัว
•   กรดคลอริ ค             •    กรดโอเลอิก
•   กรดไมรี สติก           •   กรดไลโนเลนิก
•   กรดปาลมิติก            •   กรดไลโนเลอิก
•   กรดสเตียริ ก           •   กรดอะราชิโดนิก
หน้าที่ของไขมัน
•     ป้ องกัน อวัยวะภายใน
•     เป็ นโครงสร้างของเยือหุมเซลล์
                          ่ ้
•     เป็ นฉนวนป้ องกันความร้อน
•      สามารถเปลี่ยนเป็ นวิตามิน D ได้
•      เป็ นตัวทาละลายวิตามิน A D E K
•   ให้พลังงานมากที่สุด คือ 9 กิโลแคลอรี ต่อ ไขมัน 1 กรัม
•    เป็ นส่ วนประกอบของอวัยวะต่าง ๆ เช่นระบบประสาท
    ของ สัตว์ ที่ มีกระดูกสันหลัง
โปรตีน ( PROTEIN )




         ธาตุหลัก คือ C H O และ N
         มี 1 ใน 7 ของนาหนักตัว
                         ้
โปรตีน ( PROTEIN )
                              ่
• โปรตีนเป็ นสารอาหารที่ มีอยูในสิ่ งมีชีวตทั้งพืช
                                          ิ
  และสัตว์ มี ความสาคัญในการเสริ มสร้างการ
  เจริ ญเติบโตและซ่อมแซมส่ วนต่าง ๆของร่ างกาย
  ตลอดจนควบ คุมความเป็ นกรด ด่างในเลือด และ
                                            ่
  รักษาระดับของเหลวภายในร่ างกาย ให้อยูในภาวะ
  ปกติ
• โปรตีน ภาษากรี ก แปลว่า มาเป็ นที่ หนึ่ง
สูตรโครงสร้ างของกรดอะมิโน
             •   CH     เป็ นแกนกลาง
             •   H2N     กลุ่ม เอมีน
             •   COOH   กลุ่ม คาร์ บอกซิล
             •   R      กลุ่ม อาร์ คล
                                    ิ
                        หรือ side chain
กรดอะมิโนไม่ มขั่ว ( non polar ) เรียก ไฮโดรฟอบิก
              ี
กรดอะมิโนที่มี side chains เป็ นแบบไฮโดรฟอบิก
กรดอะมิโนที่มีขั่ว ( polar ) เรียก ไฮโดรฟิ ลิก
กรดอะมิโนที่มีขั่ว ( polar )
กรดอะมิโนที่มี side chains เป็ นประจุลบ
         จะมีภาวะเป็ นกรด
กรดอะมิโนที่มี side chains เป็ นประจุ บวก
            จะมีภาวะเป็ นเบส
โมเลกุลของโปรตีนทุกชนิดขึ้นต้นด้วยหมู่ เอมีน( NH2 )
  และลงท้ายด้วย หมู่คาร์บอกซิล ( COOH ) เสมอ
ลาดับการเรี ยงตัวกันของกรด อะมิโนทาให้เกิด
              โปรตีน 4 แบบ
                        • เป็ นการเชื่อมต่ อกันของ
    โครงสร้ างปฐมภูมิ     กรดอะมิโนทีทาให้ เกิด
                                         ่
                          โครงสร้ างเป็ นสายยาว
                          โครงสร้ างแบบนีของโปรตีน
                                            ้
                          สามารถนามาเป็ นเกณฑ์ ใน
                          การจาแนกความสาพันธ์ ของ
                          สิ่ งมีชีวตได้
                                    ิ
                        • โปรตีนที่มีโครงสร้ างเป็ นสาย
ลาดับการเรี ยงตัวกันของกรด อะมิโนทาให้เกิด
              โปรตีน 4 แบบ
                   • เป็ นโครงสร้างที่มีลกษณะเป็ น
                                         ั
      โครงสร้ าง
      ทุตยภูมิ
         ิ           เกลียวหรื อลูกคลื่นเนื่องจากแรง
                     ดึงดูดของพันธะไฮโดเจนภายใน
                     โพลีเพปไทด์เส้นเดียวกัน
                   • เช่นแอลฟาเคราตินจากขนแกะ
                     ไมโอซิ น จากกล้ามเนื้อ
                   • อิพิเดอร์มิน จากผิวหนัง
ลาดับการเรี ยงตัวกันของกรด อะมิโนทาให้เกิด
               โปรตีน 4 แบบ
                      • เป็ นโครงสร้างที่สายโปลีเพป
                        ไตท์ขดไปมา มีลกษณะกลม
                                         ั
                        ( globular protein )
                        เนื่องจาก
                      • มีแรงดึงดูดระหว่างพันธะ
                        ไฮโดรเจน
โครงสร้ างตติยภูมิ    • เช่นไมโอโกลบินในเซลล์
ลาดับการเรี ยงตัวกันของกรด อะมิโนทาให้เกิด
                โปรตีน 4 แบบ
                      • เป็ นโครงสร้างที่โปรตีนเกิด
                      • จากโพลีเพปไตท์มากกว่า 1
                        เส้น มารวมกลุ่มเป็ นกลุ่มด้วย
                        แรงแวนเดอร์วาลล์ทาให้
                        สามารถเปลี่ยนโครงสร้างให้
                        เหมาะสมกับหน้าที่ของโปรตีน
โครงสร้างจตุรภูมิ       เหล่านั้นได้ เช่นฮีโมโกลบิน
กรด อะมิโนแบ่งออกเป็ น 2 ชนิด คือ

•   กรดอะมิโนที่จาเป็ น ( essential amino acids )
•   เป็ นกรดอะมิโนที่ร่างกายไม่สามารถสังเคราะห์ข้ ึนมาใช้
  ต้องได้รับจากอาหาร มี 8 ชนิด
• กรด อะมิโนที่ไม่จาเป็ น ( nonessential amino acids )
• เป็ นกรด อะมิโนที่ร่างกายสามารถสังเคราะห์ได้ มี 11
  ชนิด
กรดอะมิโนทีจาเป็ นมี 8 ชนิด
                  ่
•   ลิวซีน           •   ฟี นิลอลานีน
•   ไอโซลิวซีน       •   ทริโอนีน
•   ไลซีน            •   ทริปโตเฟน
•   เมไธโอนีน        •   วาลีน
หน้ าที่ และความสาคัญของโปรตีน
• เป็ นองค์ประกอบและโครงสร้างของร่ างกาย
• ซ่อมแซมส่ วนที่สึกหรอต่อร่ างกาย
• โปรตีนบางชนิดทาหน้าที่พิเศษเฉพาะ
  – เป็ น เอนไซม์ เร่ ง ปฏิกริ ยาในเซลล์สิ่งมีชีวต
                                                 ิ
  – เป็ นฮอร์โมน เช่น อินซูลิน เอสโทรเจน
  – เป็ น Antibody ทาลายสิ่ งแปลกปลอมในร่ างกาย
  – เกี่ยวกับการเคลื่อนไหว เช่น โปรตีน actin myosin
เกลือแร่ ( mineral )
          • ร่ างกายของคนเรา
            ประกอบด้วยธาตุ C H O
            และ N ประมาณ 96 %
            และ อีก
          • 4 % เป็ นแร่ ธาตุอื่น ๆ แร่
            ธาตุต่าง ๆ เหล่านี้เป็ น
            ส่ วนประกอบของอาหาร
หน้าที่สาคัญของแร่ ธาตุและแหล่งอาหารชนิดต่าง ๆ
 แคลเซี่ยม ( Ca ) เป็ นส่ วนประกอบของกระดูกและ
ฟัน และช่วยให้เลือดแข็งตัว ถ้าขาดจะเป็ นโรคกระดูก
อ่อน
    คะหน้ า                                    นม


    เนยแข็ง
                        กุ้งแห้ ง
หน้าที่สาคัญของแร่ ธาตุและแหล่งอาหารชนิดต่าง ๆ

 ฟอสฟอรัส ( P ) ส่ วนประกอบของกระดูก
ส่ วนประกอบของกรดนิวคลีอิก และรักษาสมดุลของกรด
- เบส ถ้าขาดจะเกิดโรคกระดูกอ่อน อ่อนเพลีย
                      ถั่วและถั่วเหลือง
                  เนยแข็ง


  นม
โปตัสเซียม ( K )

        •   การหดตัวของกล้ามเนื้อ
        •   การเกิดกระแสประสาท
        •   การเต้นของหัวใจ
        •   ถ้าขาดจะทาให้การ
            กระตุนของประสาทช้า
                  ้
            ลง หัวใจเต้นช้าลง
โซเดียม ( Na )
             • รักษาสมดุลของ
               ของเหลวภายในเซลล์
             • รักษาระดับ pH
             • การเกิดกระแสประสาท
             • ถ้าขาด จะเป็ นตะคริ ว
• เกลือแกง   • กล้ามเนื้อชักกระตุก
แมกนีเซียม ( Mg )
                    • คุมการทางานของ
                      กล้ามเนื้อประสาท
                    • ส่ วนประกอบของ
                      โครงสร้างของกระดูก
                    • ถ้าขาด กล้ามเนื้อจะชัก
                      กระตุก เพ้อ สัน  ่
ผักใบเขียวทุกชนิด   • อาจตายได้( วัยรุ่ นมัก
                      ขาด)
คลอรีน ( Cl )
             • เป็ นอิออนประจุลบที่มี
               ความสาคัญที่สุดของ
               ร่ างกาย
             • เป็ นส่ วนประกอบของ
               HCL ในกระเพาะอาหาร
             • รักษาระดับ pH
             • ถ้าขาดจะทาให้อาเจียร
เกลือแกง
เหล็ก (           Fe )
                                   • ส่ วนประกอบของ
                                     ฮีโมโกลบิน
                                                     ่
                                   • 2/3 ของธาตุอยูในเลือด
                                                ่
                                   • 1/3 อยูใน ตับ ม้าม
                                     ไขกระดูก
มะเขือพวง ถั่วเหลือง ไข่ แดง ตับ   • ถ้าขาดเป็ นโรคโลหิตจาง
ไอโอดีน ( I )
                       • เป็ นส่ วนประกอบ ของ
                         ฮอร์โมน
                       • ถ้าขาด
                       • วัยเด็กจะแคระแกรน
                       • ผูใหญ่จะเป็ โรคคอพอก
                           ้
อาหารทะเล เกลือสมุทร
วิตามิน ( VITAMIN )
                               • เพราะมีความจาเป็ นต่อร่ างกาย
                                 โดยวิตามินจะมีบทบาทต่อร่ างกาย
                                 ในด้าน
                                  – ช่วยป้ องกันและต้านทานโรค
                                  – เป็ นองค์ประกอบของเอนไซม์
                                  – เป็ นปัจจัยในกระบวนการทาง
   เป็ นสารอินทรีย์ทร่างกาย
                    ี่              สรี ระ เช่นวิตามิน D เกี่ยวข้อง
ต้ องการน้ อยมากแต่ ขาดไม่ ได้      กับการดูดซึมของ Ca+
ประเภทของวิตามิน

• วิตามินที่ละลายในน้า       • วิตามินที่ละลายในไขมัน
• ได้ แก่ วตามิน B C F
           ิ                 • ได้แก่วตามิน A D E K
                                       ิ
• Carnitine , Biotin         • สะสมในร่ างกายถ้ามี
• ไม่ สะสมในร่ างกายถ้ ามี     มากจะเป็ นผลเสี ยต่อ
  มากร่ างกายจะขับออก          ร่ างกาย
  ทางปัสสาวะ
วิตามิน A ( Retinol )
                          • ช่ วยการมองเห็น
                          • เยือบุอวัยวะต่ าง ๆทางาน
                                ่
                            เป็ นปกติ
                          • ถ้ าขาด เป็ นโรค
                          • ตาบอดกลางคืน
    ผักผลไม้สีเหลือง
                          • ผิวหนังแห้ ง เป็ นตุ่ม
น้ ามันตับปลา นม ไข่แดง
วิตามิน D ( CALCIFERAL )
                            • ช่วยดูดซึ ม Ca , P จาก
                              ลาไส้
                            • การกระชับของ Ca , P
                              ของกระดูก
                            • ถ้าขาด เด็ก จะกระดูกอ่อน
นามันตับปลา ไข่ แ ดง นม เนย • ผูใหญ่ จะฟันผุ
 ้                              ้
วิตามิน E
                      • ทาให้เม็ดเลือดแดงแข็งแรง
                      • ทาให้ป้องกันการ เป็ นหมัน
                        ในสัตว์ตวผู้
                                   ั
                      • ถ้าขาด จะเป็ นโรคโลหิ ต
                        จางชนิดเม็ดเลือดแดงแตก
                        ง่าย เป็ น หมันในสัตว์ตวผู ้
                                               ั
น้ ามันพืช ถัว
             ่
วิตามิน K
                     • สร้างโปรตีนที่เกี่ยวกับ
                       การแข็งตัวของเลือดคือ
                       โปรทรอมบิน
                     • ถ้าขาดเลือดจะออกง่าย
                       และไม่แข็งตัว
เห็ด ข้ าวโพด
วิตามิน B 1
                    • เป็ นส่ วนประกอบของโค
                      เอนไซม์ในกระบวนการ
                      หายใจระดับเซลล์
                    • ถ้าขาด เป็ นโรคเหน็บชา
                    • ประสาทผิดปกติ
                    • อ่อนเพลีย เบื่ออาหาร
ข้ าวซ้ อมมือ ถัวเหลือง นม ยีสต์ เนือหมู
                ่                   ้
วิตามิน บี 2
                                   • เป็ นส่ วนประกอบของ
                                     โคเอนไซม์ FAD
                                   • ถ้าขาด เป็ นโรค
                                   • ปากนกกระจอก
                                   • ตาสู ้แสงไม่ได้
ตับ เนือสั ตว์ ผักใบเขียว ไข่ นม
       ้                           • ผิวหนังแตก
สรุปเกียวกับวิตามิน
       ่
          • วิตามินที่ร่างกาย
            ต้ องการมากทีสุดคือ
                             ่
            วิตามิน C
          • ส่ วนวิตามินที่ต้อง
            การน้ อย ที่ สุ ดคือ
            วิตามิน D
สรุปเกียวกับวิตามิน
       ่
         • วิตามินที่ร่างกายสังเคราะห์ได้
           เองโดยตรง คือ วิตามิน C
           สร้างได้จากตับ และต่อม
           หมวกไตชั้นนอก
         • วิตามิน D สร้างจากสารคลอ
                            ่ ิ
           เลสเตอรอล ที่อยูใต้ผวหนังเมื่อ
           ได้รับแสง อุลตราไวโอเลต
สรุปเกียวกับวิตามิน
       ่
          • วิตามินที่สงเคราะห์ได้
                        ั
            จากแบคทีเรี ยลาไส้ใหญ่
            คือ B12 K
          • วิตามินที่ทาหน้าที่
            เกี่ยวกับเม็ดเลือดแดง
            คือ B6 B12 และ E
เอกสารอ้างอิง
   • ชีว วิทยา เล่มที่ 1
     เชาวน์ ชิโนรักษ์ พรรณี ชีโนรักษ์
     ภาควิชาวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์
     มหาวิทยาลัย
   • ชีว วิทยาของร่ างกาย
       ผู้ช่วย ศาสตราจารย์ กนกธร ปิ ยะ
     ธารงรัตน์ ภาควิชาวิทยาศาสตร์ คณะ
     วิทยาศาสตร์
     มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ อันดับ
     1 / 2542
เอกสารอ้างอิง
 •      BIOCONCEPT
     Department of Zoo logy Faculty of
     Science Kasetsart University
 •   ชีววิทยา 1
 •   ปรีชา - นงลักษณ์ สุ วรรณพินิจ
 •   สานักพิมพ์จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย
 •    หนังสื อแบบเรียนชีววิทยา ว041
       ของกระทรวงศึกษาธิการ
เอกสารอ้างอิง
 • http//www.emc.maricopa.edu/faculty/
   farabee/BIOBK/BioBookToc.html
•

More Related Content

What's hot

Biomolecule - สารชีวโมเลกุล
Biomolecule - สารชีวโมเลกุลBiomolecule - สารชีวโมเลกุล
Biomolecule - สารชีวโมเลกุลJusmistic Jusmistic
 
สารชีวโมเลกุล ( Biomolecular )
สารชีวโมเลกุล ( Biomolecular )สารชีวโมเลกุล ( Biomolecular )
สารชีวโมเลกุล ( Biomolecular )PamPaul
 
สารชีวโมเลกุล(Biomolecule)
สารชีวโมเลกุล(Biomolecule)สารชีวโมเลกุล(Biomolecule)
สารชีวโมเลกุล(Biomolecule)kruaoijaipcccr
 
Biomolecule
BiomoleculeBiomolecule
BiomoleculeYow Yowa
 
สารชีวโมเลกุล ตอนที่ 3
สารชีวโมเลกุล ตอนที่ 3สารชีวโมเลกุล ตอนที่ 3
สารชีวโมเลกุล ตอนที่ 3sailom
 
บทที่ 13 สารชีวโมเลกุล
บทที่ 13 สารชีวโมเลกุลบทที่ 13 สารชีวโมเลกุล
บทที่ 13 สารชีวโมเลกุลoraneehussem
 
บทที่ 3 สารชีวโมเลกุล
บทที่ 3 สารชีวโมเลกุลบทที่ 3 สารชีวโมเลกุล
บทที่ 3 สารชีวโมเลกุลJariya Jaiyot
 
แบบทดสอบสารชีวโมเลกุล
แบบทดสอบสารชีวโมเลกุลแบบทดสอบสารชีวโมเลกุล
แบบทดสอบสารชีวโมเลกุลmaechai17
 
เคมีพื้นบท3สารชีวโมเลกุล
เคมีพื้นบท3สารชีวโมเลกุลเคมีพื้นบท3สารชีวโมเลกุล
เคมีพื้นบท3สารชีวโมเลกุลWichai Likitponrak
 
ใบงานที่19ลิพิด
ใบงานที่19ลิพิดใบงานที่19ลิพิด
ใบงานที่19ลิพิดTANIKAN KUNTAWONG
 
สารชีวโมเลกุล By Prof.Dr.Garsiet Creus
สารชีวโมเลกุล By Prof.Dr.Garsiet Creusสารชีวโมเลกุล By Prof.Dr.Garsiet Creus
สารชีวโมเลกุล By Prof.Dr.Garsiet CreusGarsiet Creus
 
บทที่ 5 สรชีวโมเลกุล (เอกสารประกอบการสอน)
บทที่ 5 สรชีวโมเลกุล (เอกสารประกอบการสอน)บทที่ 5 สรชีวโมเลกุล (เอกสารประกอบการสอน)
บทที่ 5 สรชีวโมเลกุล (เอกสารประกอบการสอน)BELL N JOYE
 
เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิตเคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิตsupreechafkk
 
ไขมัน
ไขมันไขมัน
ไขมันbcc00689
 

What's hot (20)

Chemical acr56
Chemical acr56Chemical acr56
Chemical acr56
 
Biomolecule - สารชีวโมเลกุล
Biomolecule - สารชีวโมเลกุลBiomolecule - สารชีวโมเลกุล
Biomolecule - สารชีวโมเลกุล
 
สารชีวโมเลกุล ( Biomolecular )
สารชีวโมเลกุล ( Biomolecular )สารชีวโมเลกุล ( Biomolecular )
สารชีวโมเลกุล ( Biomolecular )
 
สารชีวโมเลกุล(Biomolecule)
สารชีวโมเลกุล(Biomolecule)สารชีวโมเลกุล(Biomolecule)
สารชีวโมเลกุล(Biomolecule)
 
Biomolecule
BiomoleculeBiomolecule
Biomolecule
 
สารชีวโมเลกุล ตอนที่ 3
สารชีวโมเลกุล ตอนที่ 3สารชีวโมเลกุล ตอนที่ 3
สารชีวโมเลกุล ตอนที่ 3
 
บทที่ 13 สารชีวโมเลกุล
บทที่ 13 สารชีวโมเลกุลบทที่ 13 สารชีวโมเลกุล
บทที่ 13 สารชีวโมเลกุล
 
คาร์โบไฮเดรต
คาร์โบไฮเดรตคาร์โบไฮเดรต
คาร์โบไฮเดรต
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3
 
บทที่ 3 สารชีวโมเลกุล
บทที่ 3 สารชีวโมเลกุลบทที่ 3 สารชีวโมเลกุล
บทที่ 3 สารชีวโมเลกุล
 
แบบทดสอบสารชีวโมเลกุล
แบบทดสอบสารชีวโมเลกุลแบบทดสอบสารชีวโมเลกุล
แบบทดสอบสารชีวโมเลกุล
 
Biomolecule
BiomoleculeBiomolecule
Biomolecule
 
Biochem
BiochemBiochem
Biochem
 
เคมีพื้นบท3สารชีวโมเลกุล
เคมีพื้นบท3สารชีวโมเลกุลเคมีพื้นบท3สารชีวโมเลกุล
เคมีพื้นบท3สารชีวโมเลกุล
 
ใบงานที่19ลิพิด
ใบงานที่19ลิพิดใบงานที่19ลิพิด
ใบงานที่19ลิพิด
 
สารชีวโมเลกุล By Prof.Dr.Garsiet Creus
สารชีวโมเลกุล By Prof.Dr.Garsiet Creusสารชีวโมเลกุล By Prof.Dr.Garsiet Creus
สารชีวโมเลกุล By Prof.Dr.Garsiet Creus
 
บทที่ 5 สรชีวโมเลกุล (เอกสารประกอบการสอน)
บทที่ 5 สรชีวโมเลกุล (เอกสารประกอบการสอน)บทที่ 5 สรชีวโมเลกุล (เอกสารประกอบการสอน)
บทที่ 5 สรชีวโมเลกุล (เอกสารประกอบการสอน)
 
เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิตเคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
 
ไขมัน
ไขมันไขมัน
ไขมัน
 
Biochem 5ed
Biochem 5edBiochem 5ed
Biochem 5ed
 

Viewers also liked

อ่านฉลาก
อ่านฉลากอ่านฉลาก
อ่านฉลากNok Tiwung
 
บท5 การตรวจฉลากผลิตภัณฑ์สุขภาพ
บท5 การตรวจฉลากผลิตภัณฑ์สุขภาพบท5 การตรวจฉลากผลิตภัณฑ์สุขภาพ
บท5 การตรวจฉลากผลิตภัณฑ์สุขภาพGawewat Dechaapinun
 
โภชนาการอาหาร ล าส ด (2)
โภชนาการอาหาร ล าส ด (2)โภชนาการอาหาร ล าส ด (2)
โภชนาการอาหาร ล าส ด (2)areeluk yosprayoon
 
แก่ไข โภชนาการ นาย อภิสิทธิ์ อ้อพิมาย
แก่ไข โภชนาการ นาย อภิสิทธิ์ อ้อพิมายแก่ไข โภชนาการ นาย อภิสิทธิ์ อ้อพิมาย
แก่ไข โภชนาการ นาย อภิสิทธิ์ อ้อพิมายareeluk yosprayoon
 
คู่มือโฆษณา ผลิตภัณฑ์สุขภาพ สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา กระทรวงสาธารณสุข
คู่มือโฆษณา ผลิตภัณฑ์สุขภาพ สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา กระทรวงสาธารณสุขคู่มือโฆษณา ผลิตภัณฑ์สุขภาพ สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา กระทรวงสาธารณสุข
คู่มือโฆษณา ผลิตภัณฑ์สุขภาพ สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา กระทรวงสาธารณสุขVorawut Wongumpornpinit
 
คู่มือการตรวจสอบเฝ้าระวังโฆษณาผลิตภัณฑ์สุขภาพเบื้องต้น
คู่มือการตรวจสอบเฝ้าระวังโฆษณาผลิตภัณฑ์สุขภาพเบื้องต้นคู่มือการตรวจสอบเฝ้าระวังโฆษณาผลิตภัณฑ์สุขภาพเบื้องต้น
คู่มือการตรวจสอบเฝ้าระวังโฆษณาผลิตภัณฑ์สุขภาพเบื้องต้นThiti Wongpong
 
แบบทดสอบวิชาวิทยาศาสตร์ 5 ภาคเรียน 1
แบบทดสอบวิชาวิทยาศาสตร์ 5  ภาคเรียน 1แบบทดสอบวิชาวิทยาศาสตร์ 5  ภาคเรียน 1
แบบทดสอบวิชาวิทยาศาสตร์ 5 ภาคเรียน 1dnavaroj
 
หน่วยที่ 5.3.1 สารปนเปื้อนในอาหาร
หน่วยที่ 5.3.1 สารปนเปื้อนในอาหารหน่วยที่ 5.3.1 สารปนเปื้อนในอาหาร
หน่วยที่ 5.3.1 สารปนเปื้อนในอาหารtumetr
 
Digestive system mutipoint
Digestive system mutipointDigestive system mutipoint
Digestive system mutipointsupreechafkk
 
ระบบย่อยอาหาร - Digestive system
ระบบย่อยอาหาร - Digestive systemระบบย่อยอาหาร - Digestive system
ระบบย่อยอาหาร - Digestive systemsupreechafkk
 
ระบบต่อมไร้ท่อ (ฮอร์โมน) - Hormone system
ระบบต่อมไร้ท่อ (ฮอร์โมน) - Hormone systemระบบต่อมไร้ท่อ (ฮอร์โมน) - Hormone system
ระบบต่อมไร้ท่อ (ฮอร์โมน) - Hormone systemsupreechafkk
 
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน หน่วย งานและพลังงาน
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน    หน่วย งานและพลังงานแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน    หน่วย งานและพลังงาน
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน หน่วย งานและพลังงานdnavaroj
 
Energy of cell mutipoint
Energy of cell mutipointEnergy of cell mutipoint
Energy of cell mutipointsupreechafkk
 
ระบบประสาท - Nervous system
ระบบประสาท - Nervous systemระบบประสาท - Nervous system
ระบบประสาท - Nervous systemsupreechafkk
 
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศแบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศdnavaroj
 

Viewers also liked (20)

อ่านฉลาก
อ่านฉลากอ่านฉลาก
อ่านฉลาก
 
บท5 การตรวจฉลากผลิตภัณฑ์สุขภาพ
บท5 การตรวจฉลากผลิตภัณฑ์สุขภาพบท5 การตรวจฉลากผลิตภัณฑ์สุขภาพ
บท5 การตรวจฉลากผลิตภัณฑ์สุขภาพ
 
โภชนาการอาหาร ล าส ด (2)
โภชนาการอาหาร ล าส ด (2)โภชนาการอาหาร ล าส ด (2)
โภชนาการอาหาร ล าส ด (2)
 
Presentation1
Presentation1Presentation1
Presentation1
 
แก่ไข โภชนาการ นาย อภิสิทธิ์ อ้อพิมาย
แก่ไข โภชนาการ นาย อภิสิทธิ์ อ้อพิมายแก่ไข โภชนาการ นาย อภิสิทธิ์ อ้อพิมาย
แก่ไข โภชนาการ นาย อภิสิทธิ์ อ้อพิมาย
 
คู่มือโฆษณา ผลิตภัณฑ์สุขภาพ สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา กระทรวงสาธารณสุข
คู่มือโฆษณา ผลิตภัณฑ์สุขภาพ สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา กระทรวงสาธารณสุขคู่มือโฆษณา ผลิตภัณฑ์สุขภาพ สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา กระทรวงสาธารณสุข
คู่มือโฆษณา ผลิตภัณฑ์สุขภาพ สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา กระทรวงสาธารณสุข
 
โภชนาการแ..
โภชนาการแ..โภชนาการแ..
โภชนาการแ..
 
โภชนาการ[3[1]
โภชนาการ[3[1]โภชนาการ[3[1]
โภชนาการ[3[1]
 
คู่มือการตรวจสอบเฝ้าระวังโฆษณาผลิตภัณฑ์สุขภาพเบื้องต้น
คู่มือการตรวจสอบเฝ้าระวังโฆษณาผลิตภัณฑ์สุขภาพเบื้องต้นคู่มือการตรวจสอบเฝ้าระวังโฆษณาผลิตภัณฑ์สุขภาพเบื้องต้น
คู่มือการตรวจสอบเฝ้าระวังโฆษณาผลิตภัณฑ์สุขภาพเบื้องต้น
 
แบบทดสอบวิชาวิทยาศาสตร์ 5 ภาคเรียน 1
แบบทดสอบวิชาวิทยาศาสตร์ 5  ภาคเรียน 1แบบทดสอบวิชาวิทยาศาสตร์ 5  ภาคเรียน 1
แบบทดสอบวิชาวิทยาศาสตร์ 5 ภาคเรียน 1
 
Rabies
RabiesRabies
Rabies
 
หน่วยที่ 5.3.1 สารปนเปื้อนในอาหาร
หน่วยที่ 5.3.1 สารปนเปื้อนในอาหารหน่วยที่ 5.3.1 สารปนเปื้อนในอาหาร
หน่วยที่ 5.3.1 สารปนเปื้อนในอาหาร
 
Digestive system mutipoint
Digestive system mutipointDigestive system mutipoint
Digestive system mutipoint
 
ระบบย่อยอาหาร - Digestive system
ระบบย่อยอาหาร - Digestive systemระบบย่อยอาหาร - Digestive system
ระบบย่อยอาหาร - Digestive system
 
ระบบต่อมไร้ท่อ (ฮอร์โมน) - Hormone system
ระบบต่อมไร้ท่อ (ฮอร์โมน) - Hormone systemระบบต่อมไร้ท่อ (ฮอร์โมน) - Hormone system
ระบบต่อมไร้ท่อ (ฮอร์โมน) - Hormone system
 
สรุปวิทยาศาสตร์พื้นฐาน
สรุปวิทยาศาสตร์พื้นฐานสรุปวิทยาศาสตร์พื้นฐาน
สรุปวิทยาศาสตร์พื้นฐาน
 
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน หน่วย งานและพลังงาน
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน    หน่วย งานและพลังงานแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน    หน่วย งานและพลังงาน
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน หน่วย งานและพลังงาน
 
Energy of cell mutipoint
Energy of cell mutipointEnergy of cell mutipoint
Energy of cell mutipoint
 
ระบบประสาท - Nervous system
ระบบประสาท - Nervous systemระบบประสาท - Nervous system
ระบบประสาท - Nervous system
 
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศแบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
 

Similar to โภชนาการ

เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต.pdf
เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต.pdfเคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต.pdf
เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต.pdfBoviBow
 
เรื่องสารเคมีภายในเซลล์ cytochemistry ตอนที่ 2
เรื่องสารเคมีภายในเซลล์ cytochemistry ตอนที่ 2เรื่องสารเคมีภายในเซลล์ cytochemistry ตอนที่ 2
เรื่องสารเคมีภายในเซลล์ cytochemistry ตอนที่ 2kasidid20309
 
วิทยาศาสตร์กายภาพ 1 เรื่อง อาหาร
วิทยาศาสตร์กายภาพ 1 เรื่อง อาหารวิทยาศาสตร์กายภาพ 1 เรื่อง อาหาร
วิทยาศาสตร์กายภาพ 1 เรื่อง อาหารKatewaree Yosyingyong
 
นำเสนออาหาร
นำเสนออาหารนำเสนออาหาร
นำเสนออาหารkanitnun
 
บริโภคไขมันอย่างไรให้สุขภาพดี (2555).pdf
บริโภคไขมันอย่างไรให้สุขภาพดี (2555).pdfบริโภคไขมันอย่างไรให้สุขภาพดี (2555).pdf
บริโภคไขมันอย่างไรให้สุขภาพดี (2555).pdfVorawut Wongumpornpinit
 

Similar to โภชนาการ (9)

ไอโบโมเลกุล
ไอโบโมเลกุลไอโบโมเลกุล
ไอโบโมเลกุล
 
เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต.pdf
เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต.pdfเคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต.pdf
เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต.pdf
 
lipid
lipidlipid
lipid
 
เรื่องสารเคมีภายในเซลล์ cytochemistry ตอนที่ 2
เรื่องสารเคมีภายในเซลล์ cytochemistry ตอนที่ 2เรื่องสารเคมีภายในเซลล์ cytochemistry ตอนที่ 2
เรื่องสารเคมีภายในเซลล์ cytochemistry ตอนที่ 2
 
วิทยาศาสตร์กายภาพ 1 เรื่อง อาหาร
วิทยาศาสตร์กายภาพ 1 เรื่อง อาหารวิทยาศาสตร์กายภาพ 1 เรื่อง อาหาร
วิทยาศาสตร์กายภาพ 1 เรื่อง อาหาร
 
Carbohydrate
CarbohydrateCarbohydrate
Carbohydrate
 
นำเสนออาหาร
นำเสนออาหารนำเสนออาหาร
นำเสนออาหาร
 
บริโภคไขมันอย่างไรให้สุขภาพดี (2555).pdf
บริโภคไขมันอย่างไรให้สุขภาพดี (2555).pdfบริโภคไขมันอย่างไรให้สุขภาพดี (2555).pdf
บริโภคไขมันอย่างไรให้สุขภาพดี (2555).pdf
 
Lipid
LipidLipid
Lipid
 

โภชนาการ

  • 1. สารอาหารกับการดารงชีวต ิ โดย อาจารย์ ธนมน พลานุพฒน์ ั โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาภาคใต้
  • 2. สารอาหาร ( NUTRITION ) • หมายถึงสิ่ งที่เป็ นองค์ประกอบพื้นฐานของอาหาร • แบ่งประเภท ความสามารถในการให้พลังงาน – สารอาหารที่ให้พลังงาน • คาร์โบไฮเดรต โปรตีน และไขมัน – สารอาหารที่ไม่ให้พลังงาน • เกลือแร่ วิตามิน และ น้ า
  • 3. คาร์ โบไฮเดรต ( CARBOHYDRATE ) • เป็ นสารอาหารทีประกอบ ่ • ด้ วยธาตุ C H และ O • โดยมี อัตราส่ วนระหว่ าง • H:O =2 : 1 • เป็ นสารอาหารหลักในการ สลายให้ พลังงานแก่ สิ่งมีชีวต ิ
  • 4. คาร์ โบไฮเดรต ( CARBOHYDRATE ) • ประเภทคาร์ โบไฮเดรต – นาตาลโมเลกุลเดียว ( MONOSACCHARIDE ) ้ ่ • 3 C นาตาล Triose ( C3H6O3 ) เช่ นนาตาล ฟอสโฟกลีเซอรัลดี ้ ้ ไฮด์ – เป็ นนาตาล ตัวแรกทีได้ จากกระบวนการสั งเคราะห์ แสง ้ ่ • 4 C นาตาล Tetrose ( C4H8O4 ) เช่ นนาตาลอีรีโทส ้ ้ • 5 C นาตาล Pentose ( C5H10O5 ) เช่ นนาตาลไรโบส ้ ้ – ดีออกซิไรโบส ( C5H10O4 ) ซึ่งเป็ นองค์ ประกอบของสารพันธุกรรม • 6 C นาตาล Hexose ( C6H12O6 ) ได้ แก่กลูโคส ฟรุกโตส และ ้ – กาแลคโตส
  • 5.
  • 7. นาตาลโมเลกุลเดียว ( MONOSACCHARIDE ) ้ ่ • พบในองุ่น • หรือเรียกว่ านาตาลองุ่น ้ กลูโคส • เป็ นนาตาลทีมีมากทีสุด ้ ่ ่ ในธรรมชาติ สู ตรโมเลกุล C6H12O6 • เป็ นองค์ ประกอบหลักทั้ง C กลูโคสสามารถ สลายให้ พลังงานได้ แป้ ง ไกลโคเจน และ D กลูโคสไม่ สามารถสลายให้ พลังงานได้ เซลลูโลส
  • 8. นาตาลโมเลกุลเดียว ( MONOSACCHARIDE ) ้ ่ นาตาล กาแลคโตส ้ CH2OH • มักไม่ ค่อยพบเป็ นอิสระ C O OH H OH • มักรวมกับกลูโคสเป็ น C C • นาตาลแลคโตส ซึ่งพบ ้ H H OH H • ในนานม้ C C • เป็ นองค์ ประกอบของวุ้น H OH • ทีสกัดมาจากสาหร่ ายสี ่ แดง
  • 9. นาตาลโมเลกุลเดียว ( MONOSACCHARIDE ) ้ ่ นาตาล ฟรุ กโตส ้ • เป็ นนาตาลทีมรสหวาน ้ ่ ี มากทีสุด ่ • พบมากในนาผึง ้ ้ • ซึ่งนาผึง มี ฟรุกโตส ้ ้ • เป็ น องค์ ประกอบ 40 % • ให้ พลังงาน แก่ ตวอสุ จิ ั
  • 10. โอลิโกแซกคาร์ ไรด์ ( OLIGOSACCHARIDE ) เป็ นนาตาลทีเ่ กิดจากนาตาลโมเลกุลเดียว 2 โมเลกุล ้ ้ ่ รวมกันทางเคมี โดยมีแรง หยึด เหนี่ยวทางเคมี หรือ มี พันธะเคมีชนิดทีเ่ รียกว่ า glycoside bond จาก ปฏิกริยา รวมตัวจะเกิดนา ( H2 O ) ขึนมา 1 ิ ้ ้ โมเลกุล
  • 11. การรวมตัวกันของน้ าตาลโมเลกุลเดี่ยวเป็ นน้ าตาล โมเลกุลคู่ • C6H12O6 + C6H12O6 dehydration C12H22O11+ H2O • กลูโคส + กลูโคส dehydration มอลโตส + นา ้ • กลูโคส + ฟรุกโตส dehydration ซู โคส + นา ้
  • 13.
  • 14.
  • 15.
  • 17.
  • 18.
  • 19. ความสาคัญของคาร์ โบไฮเดรต • เป็ นแหล่งให้พลังงานแก่สิ่งมีชีวตที่สาคัญ ิ ที่สุด โดยเฉพาะกลูโคสเปรี ยบเป็ น energy pool • เป็ นอาหารสะสมเช่น แป้ ง และไกลโคเจน • เป็ นโครงสร้างของสิ่ งมีชีวต เช่น วุน ไคติน ิ ้ และ เซลลูโลส
  • 21. ไขมัน ( LYPID ) • ไขมันเป็ นสารอาหารหลัก ที่จาเป็ นต่อการดารงชีวต ิ ชนิดหนึ่งไขมันเป็ น lypid ชนิดหนึ่งที่มี สถานะเป็ น ของแข็งที่อุณหภูมิหอง้ • ส่ วน oil เป็ นไขมันที่เป็ น ประกอบด้วยธาตุ C H และ O ของเหลวที่อุณหภูมิหอง ้
  • 22. ประเภทของไขมันแบ่งออกเป็ น 3 ประเภท 1. ไขมันธรรมดา ( SIMPLE LYPID ) ได้แก่ ไขมัน ( fat ) น้ ามัน ( Oil ) ไข ( wax ) ประกอบด้วย กลีเซอรอล + fatty acid 2. ไขมันเชิงประกอบ ( COMPOUND LIPID ) เป็ น ไขมัน ธรรมดามีหมู่ธาตุอื่นเป็ นองค์ประกอบ 3. อนุพนธ์ไขมัน ( DERIVED LIPID ) เกิดจากการ ั สลายของไขมันธรรมดา หรื อไขมันเชิงประกอบ
  • 23. โครงสร้างของโมเลกุลของไขมัน H O H - C - OH R - C - OH H - C - OH H - C - OH H Fatty acid กลีเซอรอล
  • 24. โครงสร้างของโมเลกุลของไขมัน • H • H - C - O H O H - C = O - R + H2O • H - C - OH OH-C = O-R + H2O • H - C - O H O H - C = O - R + H 2O • H ไตรกลีเซอไรด์ ( TRIGLYCERIDE
  • 25.
  • 26. ชนิดของไขมัน • แบ่ง ตามความต้องการของร่ างกาย • กรดไขมันทีจาเป็ นต่ อร่ างกาย คือกรดไขมันที่ ่ ร่ างกายขาดไม่ ได้ มผลต่ อการเจริญเติบโต ของร่ างกาย ี และร่ างกายไม่ สามารถสั งเคราะห์ ขนมาได้ ได้ แก่ กรดไล ึ้ โนเลอิกกรดโนเลอิก ถ้ าขาดมีอาการผิวหนังแตกและติด เชื้อง่ าย • กรดไขมันที่ไม่ จาเป็ นจ่ อร่ างกาย คือกรดไขมันที่ ร่ างกายสามารถสั งเคราะห์ ได้
  • 27. ชนิดของไขมัน • แบ่ งตามระดับความอิมตัว ่ • กรดไขมันที่ไม่ อมตัว หมายถึงกรดไขมันที่ C ใน ิ่ โมเลกุล จับเกาะอยู่ไม่ เต็มที่ หรือ Bond แบบคู่สามารถที่ จะรับ H เข้ าไปในโมเลกุลได้ อก ี • กรดไขมันแบบอิมตัว หมายถึงกรดไขมัน ที่ C จับกัน ่ อย่ างเต็มที่ หรือ Bond แบบเดียว โมเลกุล ของ H ไม่ ่ สามารถ เข้ าไปจับในโมเลกุลได้
  • 29. B และ C เป็ นกรดไขมันที่ไม่ อมตัว ิ่
  • 30. ไขมันเชิงประกอบ ( COMPOUND LIPID) เป็ นไขมันธรรมดา + ธาตุหมู่อน ๆ แบ่ งเป็ น ่ื ฟอสโฟไลปิ ด เป็ นไขมันที่มีฟอสเฟต + แอ ลกอฮอร์ พบ ในเซลล์ เนื้อเยือประสาท ่ ไกลโคไลปิ ด เป็ นไขมันธรรมดา + คาร์โบไฮเดรต พบมากในเซลล์สมอง เส้นประสาท ไต ตับ ไลโพโปรตีน เป็ นไขมันธรรมดา + โปรตีน พบมาก
  • 32. สเตอรอยด์ (STEROID ) • เป็ นอนุพนธ์ ของไขมันมีสูตรโครงสร้างแตกต่างจาก ั ไขมัน คือ มี C ของสเตอรอยด์เรี ยงกันเป็ นวง 4 วงและ อาจมี C ที่เป็ นแขนงออกไปอีก มีความสาคัญต่อ สิ่ งมีชีวต พบในต่อมต่าง ๆ เช่นต่อมหมวกไต ในอวัยะ ิ เพศชายและเพศหญิง สร้างฮอร์โมนที่เป็ นสเตอรอยด์ หลายชนิด รวมทั้งคลอเลสเตอรอล เออร์โกสเตอรอล เป็ นสเตอรอยด์ที่ร่างกายสังเคราะห์วตามิน D ิ
  • 33. อนุพนธ์ ไขมัน ( DERIVED LIPID ) ั • เกิดจากการสลายของไขมันธรรมดา หรื อไขมันเชิง ประกอบ • สเตอรอยด์ (STEROID ) เป็ นส่ วนประกอบ ของ ฮอร์โมนเพศ • เทอเปน ( TERPENE ) พบในน้ ามันหอมระเหย จากพืช
  • 34. กรดไขมันที่อิ่มตัวและไม่อิ่มตัว • กรดไขมันที่อ่ิมตัว • กรดไขมันที่ไม่อิ่มตัว • กรดคลอริ ค • กรดโอเลอิก • กรดไมรี สติก • กรดไลโนเลนิก • กรดปาลมิติก • กรดไลโนเลอิก • กรดสเตียริ ก • กรดอะราชิโดนิก
  • 35. หน้าที่ของไขมัน • ป้ องกัน อวัยวะภายใน • เป็ นโครงสร้างของเยือหุมเซลล์ ่ ้ • เป็ นฉนวนป้ องกันความร้อน • สามารถเปลี่ยนเป็ นวิตามิน D ได้ • เป็ นตัวทาละลายวิตามิน A D E K • ให้พลังงานมากที่สุด คือ 9 กิโลแคลอรี ต่อ ไขมัน 1 กรัม • เป็ นส่ วนประกอบของอวัยวะต่าง ๆ เช่นระบบประสาท ของ สัตว์ ที่ มีกระดูกสันหลัง
  • 36. โปรตีน ( PROTEIN ) ธาตุหลัก คือ C H O และ N มี 1 ใน 7 ของนาหนักตัว ้
  • 37. โปรตีน ( PROTEIN ) ่ • โปรตีนเป็ นสารอาหารที่ มีอยูในสิ่ งมีชีวตทั้งพืช ิ และสัตว์ มี ความสาคัญในการเสริ มสร้างการ เจริ ญเติบโตและซ่อมแซมส่ วนต่าง ๆของร่ างกาย ตลอดจนควบ คุมความเป็ นกรด ด่างในเลือด และ ่ รักษาระดับของเหลวภายในร่ างกาย ให้อยูในภาวะ ปกติ • โปรตีน ภาษากรี ก แปลว่า มาเป็ นที่ หนึ่ง
  • 38. สูตรโครงสร้ างของกรดอะมิโน • CH เป็ นแกนกลาง • H2N กลุ่ม เอมีน • COOH กลุ่ม คาร์ บอกซิล • R กลุ่ม อาร์ คล ิ หรือ side chain
  • 39. กรดอะมิโนไม่ มขั่ว ( non polar ) เรียก ไฮโดรฟอบิก ี
  • 40. กรดอะมิโนที่มี side chains เป็ นแบบไฮโดรฟอบิก
  • 41. กรดอะมิโนที่มีขั่ว ( polar ) เรียก ไฮโดรฟิ ลิก
  • 43. กรดอะมิโนที่มี side chains เป็ นประจุลบ จะมีภาวะเป็ นกรด
  • 44. กรดอะมิโนที่มี side chains เป็ นประจุ บวก จะมีภาวะเป็ นเบส
  • 45. โมเลกุลของโปรตีนทุกชนิดขึ้นต้นด้วยหมู่ เอมีน( NH2 ) และลงท้ายด้วย หมู่คาร์บอกซิล ( COOH ) เสมอ
  • 46. ลาดับการเรี ยงตัวกันของกรด อะมิโนทาให้เกิด โปรตีน 4 แบบ • เป็ นการเชื่อมต่ อกันของ โครงสร้ างปฐมภูมิ กรดอะมิโนทีทาให้ เกิด ่ โครงสร้ างเป็ นสายยาว โครงสร้ างแบบนีของโปรตีน ้ สามารถนามาเป็ นเกณฑ์ ใน การจาแนกความสาพันธ์ ของ สิ่ งมีชีวตได้ ิ • โปรตีนที่มีโครงสร้ างเป็ นสาย
  • 47. ลาดับการเรี ยงตัวกันของกรด อะมิโนทาให้เกิด โปรตีน 4 แบบ • เป็ นโครงสร้างที่มีลกษณะเป็ น ั โครงสร้ าง ทุตยภูมิ ิ เกลียวหรื อลูกคลื่นเนื่องจากแรง ดึงดูดของพันธะไฮโดเจนภายใน โพลีเพปไทด์เส้นเดียวกัน • เช่นแอลฟาเคราตินจากขนแกะ ไมโอซิ น จากกล้ามเนื้อ • อิพิเดอร์มิน จากผิวหนัง
  • 48. ลาดับการเรี ยงตัวกันของกรด อะมิโนทาให้เกิด โปรตีน 4 แบบ • เป็ นโครงสร้างที่สายโปลีเพป ไตท์ขดไปมา มีลกษณะกลม ั ( globular protein ) เนื่องจาก • มีแรงดึงดูดระหว่างพันธะ ไฮโดรเจน โครงสร้ างตติยภูมิ • เช่นไมโอโกลบินในเซลล์
  • 49. ลาดับการเรี ยงตัวกันของกรด อะมิโนทาให้เกิด โปรตีน 4 แบบ • เป็ นโครงสร้างที่โปรตีนเกิด • จากโพลีเพปไตท์มากกว่า 1 เส้น มารวมกลุ่มเป็ นกลุ่มด้วย แรงแวนเดอร์วาลล์ทาให้ สามารถเปลี่ยนโครงสร้างให้ เหมาะสมกับหน้าที่ของโปรตีน โครงสร้างจตุรภูมิ เหล่านั้นได้ เช่นฮีโมโกลบิน
  • 50. กรด อะมิโนแบ่งออกเป็ น 2 ชนิด คือ • กรดอะมิโนที่จาเป็ น ( essential amino acids ) • เป็ นกรดอะมิโนที่ร่างกายไม่สามารถสังเคราะห์ข้ ึนมาใช้ ต้องได้รับจากอาหาร มี 8 ชนิด • กรด อะมิโนที่ไม่จาเป็ น ( nonessential amino acids ) • เป็ นกรด อะมิโนที่ร่างกายสามารถสังเคราะห์ได้ มี 11 ชนิด
  • 51. กรดอะมิโนทีจาเป็ นมี 8 ชนิด ่ • ลิวซีน • ฟี นิลอลานีน • ไอโซลิวซีน • ทริโอนีน • ไลซีน • ทริปโตเฟน • เมไธโอนีน • วาลีน
  • 52. หน้ าที่ และความสาคัญของโปรตีน • เป็ นองค์ประกอบและโครงสร้างของร่ างกาย • ซ่อมแซมส่ วนที่สึกหรอต่อร่ างกาย • โปรตีนบางชนิดทาหน้าที่พิเศษเฉพาะ – เป็ น เอนไซม์ เร่ ง ปฏิกริ ยาในเซลล์สิ่งมีชีวต ิ – เป็ นฮอร์โมน เช่น อินซูลิน เอสโทรเจน – เป็ น Antibody ทาลายสิ่ งแปลกปลอมในร่ างกาย – เกี่ยวกับการเคลื่อนไหว เช่น โปรตีน actin myosin
  • 53. เกลือแร่ ( mineral ) • ร่ างกายของคนเรา ประกอบด้วยธาตุ C H O และ N ประมาณ 96 % และ อีก • 4 % เป็ นแร่ ธาตุอื่น ๆ แร่ ธาตุต่าง ๆ เหล่านี้เป็ น ส่ วนประกอบของอาหาร
  • 54. หน้าที่สาคัญของแร่ ธาตุและแหล่งอาหารชนิดต่าง ๆ แคลเซี่ยม ( Ca ) เป็ นส่ วนประกอบของกระดูกและ ฟัน และช่วยให้เลือดแข็งตัว ถ้าขาดจะเป็ นโรคกระดูก อ่อน คะหน้ า นม เนยแข็ง กุ้งแห้ ง
  • 55. หน้าที่สาคัญของแร่ ธาตุและแหล่งอาหารชนิดต่าง ๆ ฟอสฟอรัส ( P ) ส่ วนประกอบของกระดูก ส่ วนประกอบของกรดนิวคลีอิก และรักษาสมดุลของกรด - เบส ถ้าขาดจะเกิดโรคกระดูกอ่อน อ่อนเพลีย ถั่วและถั่วเหลือง เนยแข็ง นม
  • 56. โปตัสเซียม ( K ) • การหดตัวของกล้ามเนื้อ • การเกิดกระแสประสาท • การเต้นของหัวใจ • ถ้าขาดจะทาให้การ กระตุนของประสาทช้า ้ ลง หัวใจเต้นช้าลง
  • 57. โซเดียม ( Na ) • รักษาสมดุลของ ของเหลวภายในเซลล์ • รักษาระดับ pH • การเกิดกระแสประสาท • ถ้าขาด จะเป็ นตะคริ ว • เกลือแกง • กล้ามเนื้อชักกระตุก
  • 58. แมกนีเซียม ( Mg ) • คุมการทางานของ กล้ามเนื้อประสาท • ส่ วนประกอบของ โครงสร้างของกระดูก • ถ้าขาด กล้ามเนื้อจะชัก กระตุก เพ้อ สัน ่ ผักใบเขียวทุกชนิด • อาจตายได้( วัยรุ่ นมัก ขาด)
  • 59. คลอรีน ( Cl ) • เป็ นอิออนประจุลบที่มี ความสาคัญที่สุดของ ร่ างกาย • เป็ นส่ วนประกอบของ HCL ในกระเพาะอาหาร • รักษาระดับ pH • ถ้าขาดจะทาให้อาเจียร เกลือแกง
  • 60. เหล็ก ( Fe ) • ส่ วนประกอบของ ฮีโมโกลบิน ่ • 2/3 ของธาตุอยูในเลือด ่ • 1/3 อยูใน ตับ ม้าม ไขกระดูก มะเขือพวง ถั่วเหลือง ไข่ แดง ตับ • ถ้าขาดเป็ นโรคโลหิตจาง
  • 61. ไอโอดีน ( I ) • เป็ นส่ วนประกอบ ของ ฮอร์โมน • ถ้าขาด • วัยเด็กจะแคระแกรน • ผูใหญ่จะเป็ โรคคอพอก ้ อาหารทะเล เกลือสมุทร
  • 62. วิตามิน ( VITAMIN ) • เพราะมีความจาเป็ นต่อร่ างกาย โดยวิตามินจะมีบทบาทต่อร่ างกาย ในด้าน – ช่วยป้ องกันและต้านทานโรค – เป็ นองค์ประกอบของเอนไซม์ – เป็ นปัจจัยในกระบวนการทาง เป็ นสารอินทรีย์ทร่างกาย ี่ สรี ระ เช่นวิตามิน D เกี่ยวข้อง ต้ องการน้ อยมากแต่ ขาดไม่ ได้ กับการดูดซึมของ Ca+
  • 63. ประเภทของวิตามิน • วิตามินที่ละลายในน้า • วิตามินที่ละลายในไขมัน • ได้ แก่ วตามิน B C F ิ • ได้แก่วตามิน A D E K ิ • Carnitine , Biotin • สะสมในร่ างกายถ้ามี • ไม่ สะสมในร่ างกายถ้ ามี มากจะเป็ นผลเสี ยต่อ มากร่ างกายจะขับออก ร่ างกาย ทางปัสสาวะ
  • 64. วิตามิน A ( Retinol ) • ช่ วยการมองเห็น • เยือบุอวัยวะต่ าง ๆทางาน ่ เป็ นปกติ • ถ้ าขาด เป็ นโรค • ตาบอดกลางคืน ผักผลไม้สีเหลือง • ผิวหนังแห้ ง เป็ นตุ่ม น้ ามันตับปลา นม ไข่แดง
  • 65. วิตามิน D ( CALCIFERAL ) • ช่วยดูดซึ ม Ca , P จาก ลาไส้ • การกระชับของ Ca , P ของกระดูก • ถ้าขาด เด็ก จะกระดูกอ่อน นามันตับปลา ไข่ แ ดง นม เนย • ผูใหญ่ จะฟันผุ ้ ้
  • 66. วิตามิน E • ทาให้เม็ดเลือดแดงแข็งแรง • ทาให้ป้องกันการ เป็ นหมัน ในสัตว์ตวผู้ ั • ถ้าขาด จะเป็ นโรคโลหิ ต จางชนิดเม็ดเลือดแดงแตก ง่าย เป็ น หมันในสัตว์ตวผู ้ ั น้ ามันพืช ถัว ่
  • 67. วิตามิน K • สร้างโปรตีนที่เกี่ยวกับ การแข็งตัวของเลือดคือ โปรทรอมบิน • ถ้าขาดเลือดจะออกง่าย และไม่แข็งตัว เห็ด ข้ าวโพด
  • 68. วิตามิน B 1 • เป็ นส่ วนประกอบของโค เอนไซม์ในกระบวนการ หายใจระดับเซลล์ • ถ้าขาด เป็ นโรคเหน็บชา • ประสาทผิดปกติ • อ่อนเพลีย เบื่ออาหาร ข้ าวซ้ อมมือ ถัวเหลือง นม ยีสต์ เนือหมู ่ ้
  • 69. วิตามิน บี 2 • เป็ นส่ วนประกอบของ โคเอนไซม์ FAD • ถ้าขาด เป็ นโรค • ปากนกกระจอก • ตาสู ้แสงไม่ได้ ตับ เนือสั ตว์ ผักใบเขียว ไข่ นม ้ • ผิวหนังแตก
  • 70. สรุปเกียวกับวิตามิน ่ • วิตามินที่ร่างกาย ต้ องการมากทีสุดคือ ่ วิตามิน C • ส่ วนวิตามินที่ต้อง การน้ อย ที่ สุ ดคือ วิตามิน D
  • 71. สรุปเกียวกับวิตามิน ่ • วิตามินที่ร่างกายสังเคราะห์ได้ เองโดยตรง คือ วิตามิน C สร้างได้จากตับ และต่อม หมวกไตชั้นนอก • วิตามิน D สร้างจากสารคลอ ่ ิ เลสเตอรอล ที่อยูใต้ผวหนังเมื่อ ได้รับแสง อุลตราไวโอเลต
  • 72. สรุปเกียวกับวิตามิน ่ • วิตามินที่สงเคราะห์ได้ ั จากแบคทีเรี ยลาไส้ใหญ่ คือ B12 K • วิตามินที่ทาหน้าที่ เกี่ยวกับเม็ดเลือดแดง คือ B6 B12 และ E
  • 73. เอกสารอ้างอิง • ชีว วิทยา เล่มที่ 1 เชาวน์ ชิโนรักษ์ พรรณี ชีโนรักษ์ ภาควิชาวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย • ชีว วิทยาของร่ างกาย ผู้ช่วย ศาสตราจารย์ กนกธร ปิ ยะ ธารงรัตน์ ภาควิชาวิทยาศาสตร์ คณะ วิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ อันดับ 1 / 2542
  • 74. เอกสารอ้างอิง • BIOCONCEPT Department of Zoo logy Faculty of Science Kasetsart University • ชีววิทยา 1 • ปรีชา - นงลักษณ์ สุ วรรณพินิจ • สานักพิมพ์จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย • หนังสื อแบบเรียนชีววิทยา ว041 ของกระทรวงศึกษาธิการ
  • 76.