SlideShare a Scribd company logo
เทคนิคการบริหารราชการ แบบมีส่วนร่วม สำนักงาน ก . พ . ร .
การบริหารราชการแบบมีส่วนร่วม  ,[object Object]
การบริหารราชการแบบมีส่วนร่วม ( การเปิดระบบราชการให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วม ) ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ . ศ . 2540 หมวด  3   สิทธิและเสรีภาพของชนชาวไทย มาตรา  58   สิทธิได้รับทราบข้อมูลข่าวสารสาธารณะ มาตรา  59   สิทธิแสดงความคิดเห็นก่อนการดำเนินโครงการที่กระทบ สิ่งแวดล้อม  สุขภาพอนามัย  คุณภาพชีวิต มาตรา  60   สิทธิมีส่วนร่วมการปฏิบัติราชการทางปกครองที่กระทบสิทธิ และเสรีภาพของตน มาตรา  56   สิทธิของบุคคลที่จะมีส่วนร่วมกับรัฐและชุมชนในการบำรุงรักษา  และการได้ประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติและความหลากหลายทาง ชีวภาพ และในการคุ้มครองส่งเสริม และรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม ...
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ . ศ .2540 หมวด  5   แนวนโยบายพื้นฐานแห่งรัฐ มาตรา  76   รัฐต้องส่งเสริมและสนับสนุน การมีส่วนร่วมของประชาชน ในการ กำหนดนโยบาย  การตัดสินใจทางการเมือง การวางแผนพัฒนาทาง เศรษฐกิจ สังคม และการเมือง รวมทั้งการตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐ ทุกระดับ
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ . ศ .2540 หมวด  5   แนวนโยบายพื้นฐานแห่งรัฐ  ( ต่อ )  มาตรา  79   รัฐต้องส่งเสริมและสนับสนุน ให้ประชาชนมีส่วนร่วม ในการสงวน บำรุงรักษา และใช้ประโยชน์จากทรัพยากร  ธรรมชาติและความหลากหลายทางชีวภาพอย่างสมดุล  รวมทั้งมีส่วนร่วมในการส่งเสริม บำรุงรักษา  และคุ้มครอง คุณภาพสิ่งแวดล้อมตามหลักการการพัฒนาที่ยั่งยืน  ตลอดจนควบคุมและกำจัดมลพิษที่มีผลต่อสุขภาพอนามัย  สวัสดิภาพ และคุณภาพชีวิตของประชาชน
พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน  ( ฉบับที่  5)  พ . ศ . 2545 มาตรา  3/1 การบริหารราชการตามพระราชบัญญัตินี้ต้องเป็นไปเพื่อประโยชน์สุขของประชาชน  เกิดผลสัมฤทธิ์ต่อภารกิจของรัฐ  ความมีประสิทธิภาพ  ความคุ้มค่าในเชิงภารกิจแห่งรัฐ  การลดขั้นตอนการปฏิบัติงาน  การลดภารกิจและยุบเลิกหน่วยงานที่ไม่จำเป็น  การกระจายภารกิจและทรัพยากรให้แก่ท้องถิ่น  การกระจายอำนาจตัดสินใจ  การอำนวยความสะดวกและการตอบสนองความต้องการของประชาชน  ทั้งนี้  โดยมีผู้รับผิดชอบต่อผลของงาน การจัดสรรงบประมาณ  และการบรรจุและแต่งตั้งบุคคลเข้าดำรงตำแหน่งหรือปฏิบัติหน้าที่  ต้องคำนึงถึงหลักการตามวรรคหนึ่ง
พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน  ( ฉบับที่  5)  พ . ศ . 2545 มาตรา  3/1 ( ต่อ ) ในการปฏิบัติหน้าที่ของส่วนราชการ  ต้องใช้วิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี  โดยเฉพาะอย่างยิ่งให้คำนึงถึงความรับผิดชอบของผู้ปฏิบัติงาน  การมีส่วนร่วมของประชาชน   การเปิดเผยข้อมูล  การติดตามตรวจสอบและประเมินผลการปฏิบัติงาน  ทั้งนี้  ตามความเหมาะสมของแต่ละภารกิจ เพื่อประโยชน์ในการดำเนินการให้เป็นไปตามมาตรานี้   จะตราพระราชกฤษฎีกากำหนดหลักเกณฑ์และวิธีการในการปฏิบัติราชการและการสั่งการให้ส่วนราชการและข้าราชการปฏิบัติก็ได้
การบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี เป้าหมาย การบริหารกิจการ บ้านเมืองที่ดี เกิดประโยชน์สุขของ ประชาชน เกิดผลสัมฤทธิ์ ต่อภารกิจของรัฐ มีประสิทธิภาพ และเกิดความคุ้มค่า ในเชิงภารกิจของรัฐ ไม่มีขั้นตอนการปฏิบัติงาน เกินความจำเป็น มีการปรับปรุงภารกิจ ของส่วนราชการ ให้ทันต่อเหตุการณ์ ประชาชนได้รับ การอำนวยความสะดวก และได้รับการตอบสนอง ความต้องการ มีการประเมินผลการปฏิบัติ ราชการอย่างสม่ำเสมอ
แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบราชการไทย  [ พ . ศ .  2546 -  พ . ศ . 2550 ] วิสัยทัศน์ “  พัฒนาระบบราชการไทยให้มีความเป็นเลิศ  สามารถรองรับกับการพัฒนาประเทศในยุคโลกาภิวัตน์ โดยยึดหลักธรรมาภิบาล  และประโยชน์สุขของประชาชน”
พัฒนาคุณภาพการให้บริการประชาชนที่ดีขึ้น  [ Better Service Quality ] ปรับบทบาท  ภารกิจ  และขนาดให้มีความเหมาะสม  [ Rightsizing ] ยกระดับขีดความสามารถและมาตรฐานการทำงานให้อยู่ในระดับสูง และเทียบเท่าเกณฑ์สากล [ High  Performance ] ตอบสนองต่อการบริหารปกครองในระบอบประชาธิปไตย  [ Democratic  Governance ] เป้าประสงค์หลัก แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบราชการไทย ( พ . ศ .  2546- พ . ศ .  2550)
แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบราชการไทย  [ พ . ศ .  2546 -  พ . ศ . 2550 ] ยุทธศาสตร์  1   :  การปรับเปลี่ยนกระบวนการและวิธีการทำงาน ยุทธศาสตร์  2   :  การปรับปรุงโครงสร้างการบริหารราชการแผ่นดิน ยุทธศาสตร์  3   :  การรื้อปรับระบบการเงินและการงบประมาณ ยุทธศาสตร์  4   :  การสร้างระบบบริหารงานบุคคลและค่าตอบแทนใหม่ ยุทธศาสตร์  5   :  การปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน์  วัฒนธรรม  และค่านิยม ยุทธศาสตร์  6   :  การเสริมสร้างระบบราชการให้ทันสมัย ยุทธศาสตร์  7   :  การเปิดระบบราชการให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วม
G1  พัฒนาคุณภาพการให้บริการ  ประชาชนดีขึ้น G2  ปรับบทบาท  ภารกิจและ ขนาดให้เหมาะสม G3  ยกระดับขีด  ความสามารถและ  มาตรฐานการทำงานให้เทียบเท่าสากล G4  ตอบสนองต่อ  การบริหาร  การปกครองในระบอบประชาธิปไตย ปรับเปลี่ยน  กระบวนการ และวิธีการทำงานโดยใช้หลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี S1 ปรับปรุง  โครงสร้าง  การบริหารราชการ  แผ่นดิน S2 ปรับระบบการเงินและงบประมาณ ปรับระบบการบริหารงานบุคคลและค่าตอบแทนใหม่ ปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน์  วัฒนธรรมและค่านิยม เสริมสร้างระบบราชการ  ให้ทันสมัย S3 S4 S5 S6 เปิดระบบราชการให้ประชาชน  เข้ามามีส่วนร่วม S7 ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบราชการไทย  ( พ . ศ .2546-2550)
แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบราชการ   ( พ . ศ .  2546-  พ . ศ .  2550) ,[object Object],การเปลี่ยนแปลงทางการเมืองการปกครองและเจตนารมณ์ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช  2540   มุ่งเน้นให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในการบริหารกิจการบ้านเมืองโดยตรงมากขึ้น   แต่ระบบราชการไทยยังไม่ได้มีการปรับตัวอย่างจริงจัง และยังติดยึดกับลักษณะความเป็นเจ้าขุนมูลนาย  และการทำงานแบบดั้งเดิม  ทำให้มีความจำเป็นที่ จะต้องเปิดระบบราชการเข้าสู่กระบวนการความประชาธิปไตย  ( democratization)  มากขึ้น โดยการยอมรับ  และให้ประชาชนได้เข้ามามีส่วนร่วมในการเสนอแนะความคิดเห็น ร่วมปฏิบัติ งาน และการตรวจสอบผลการดำเนินงาน
[object Object],มาตรการ  : 1.  กำหนดเงื่อนไขและแนวทางเพื่อส่งเสริม ให้ส่วนราชการให้ข้อมูลความรู้ความเข้าใจในการปฏิบัติราชการ  แนวทางดำเนินงาน  และการรายงานผลการปฏิบัติงานแก่ผู้เกี่ยวข้องโดยตรงและประชาชน 2.  วางหลักเกณฑ์ให้ส่วนราชการจัดให้มี ระบบการปรึกษาหารือกับประชาชน  การสำรวจความต้องการของประชาชน จัดการประชุมเพื่อรับฟังความคิดเห็นของประชาชนอย่างสม่ำเสมอ 3.  ให้มีการจัดตั้ง คณะกรรมการที่ปรึกษาภาคประชาชน  ( Citizen Advisory Board)   โดยเฉพาะในระดับปฏิบัติการ  ( กรม / จังหวัด / อำเภอ )
[object Object],มาตรการ  : 4.  ให้ส่วนราชการจัดให้มี อาสาสมัครภาคประชาชน เข้ามาร่วมทำงานกับข้าราชการ 5.  ให้ส่วนราชการ นำเสนอข้อมูลสารสนเทศ ที่มีความจำเป็นต่อการแสดงภาระรับผิดชอบ ความโปร่งใส และเปิดเผยเกี่ยวกับการปฏิบัติงาน  ลงในเว็บไซต์ 6.  กำหนดให้ความสำเร็จในการดำเนินกิจกรรมใน การเปิดโอกาสให้ประชาชนมีส่วนร่วมในระบบราชการ เป็นตัวชี้วัดหนึ่ง ในการบริหารที่ดีของส่วนราชการ
องค์ประกอบหลักของระบบราชการแบบมีส่วนร่วม เปิดเผย ระบบราชการแบบมีส่วนร่วม ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],มีส่วนร่วม รับฟัง โปร่งใส ข้อมูลข่าวสาร ความคิดเห็นข้อเสนอแนะจากประชาชน ,[object Object],[object Object],[object Object]
ทำไมต้องบริหารราชการแบบมีส่วนร่วม ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
ยุทธศาสตร์การบริหารราชการแบบมีส่วนร่วม ( การเปิดระบบราชการให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วม )  ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
การพัฒนาจากภายนอกระบบราชการ   (Outside-in Approach) การพัฒนาจากภายในภาคราชการ   (Inside-out Approach) ราชการที่ ตอบสนอง ความต้องการ ของประชาชน การบริหาร ราชการ ที่ประชาชน เป็นหุ้นส่วน การบริหาร ราชการที่ ทรงพลัง การบริหาร ราชการ ที่มีประสิทธิภาพ การบริหาร ราชการ เพื่อประโยชน์สุข ของประชาชน การบริหาร ราชการ ที่โปร่งใส การบริหาร ราชการ เพื่อสังคม ประชาธิปไตย โครงการพัฒนา ศักยภาพฯ ยุทธศาสตร์การสร้างการบริหารราชการแบบมีส่วนร่วม
แนวทางการบริหารราชการแบบมีส่วนร่วมในระดับจังหวัด ค . ร . ม . เวทีเครือข่ายที่ปรึกษา เพื่อร่วมพัฒนาราชการ ในระดับจังหวัด ยุทธศาสตร์ / เป้าหมาย การพัฒนาจังหวัด ผู้แทนภาคประชาสังคม สื่อมวลชน ผู้แทนองค์กร ปกครองส่วน ท้องถิ่นต่างๆ ผู้แทนส่วน ราชการต่างๆ ภาคธุรกิจ เอกชน นักวิชาการ การบริหาร จังหวัด บูรณาการ แบบมี ส่วนร่วม ติดตามผล นโยบายระดับชาติ ราชการส่วนกลาง แผนงานขององค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่น ผู้ว่าราชการจังหวัด
กระบวนการสร้างศักยภาพการมีส่วนร่วม ของส่วนราชการออกไปสู่ประชาชน ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
กระบวนการสร้างความรู้ ความเข้าใจและทักษะ การมีส่วนร่วมแก่ข้าราชการ ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
ลักษณะของระบบราชการแบบมีส่วนร่วม ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
การปรับเปลี่ยนบทบาทใหม่ของรัฐ บทบาทของประชาชน หยิบยื่น สนับสนุน เสริมสร้างพลัง ประชาชน ไม่มีส่วนเกี่ยวข้อง ประชาชน เกี่ยวข้องตามที่ ได้รับอนุญาต ประชาชน ร่วมตัดสินใจ
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],การปรับเปลี่ยนบทบาทใหม่ของรัฐ บทบาทภาครัฐ หยิบยื่น สนับสนุน เสริมสร้างพลัง
การมีส่วนร่วมของประชาชน ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
Public Participation Spectrum ให้ข้อมูลข่าวสารแก่ประชาชน Inform รับฟังความคิดเห็นของประชาชน Consult เกี่ยวข้อง Involve ร่วมมือ Collaboration เสริมอำนาจประชาชน Empower
ให้ข้อมูลข่าวสาร Inform ระดับการมีส่วนร่วมของประชาชน ( Public Participation Spectrum) รับฟังความคิดเห็น Consult เกี่ยวข้อง Involve ร่วมมือ Collaboration เสริมอำนาจประชาชน Empower   รัฐเปิดให้การมีส่วนร่วมสูงขึ้น
การมีส่วนร่วมของประชาชน รับฟัง ให้ความเห็น สมัครใจเข้าร่วม เข้าร่วมทำงานด้วย ตัด สิน ใจ เอง ระดับการมีส่วนร่วมสูงขึ้น
ให้ข้อมูลข่าวสาร Inform ระดับการมีส่วนร่วมของประชาชน ( Public Participation Spectrum) รับฟังความคิดเห็น Consult เกี่ยวข้อง Involve ร่วมมือ Collaboration เสริมอำนาจประชาชน Empower   การมีส่วนร่วมของประชาชน รับฟัง ให้ความเห็น สมัครใจเข้าร่วม เข้าร่วมทำงานด้วย ตัด สิน ใจ เอง
ระดับการมีส่วนร่วมของประชาชน ( Public Participation Spectrum) ให้ข้อมูลข่าวสาร Inform รับฟังความคิดเห็น Consult เกี่ยวข้อง Involve ร่วมมือ Collaboration เสริมอำนาจประชาชน Empower เป้าหมาย   : เพื่อให้ข้อมูลข่าวสารแก่ประชาชนและเสริมสร้างความเข้าใจของประชาชน เกี่ยวกับประเด็นปัญหา ทางเลือกและทางแก้ไข เป้าหมาย   : เพื่อร่วมทำงานกับประชาชน เพื่อสร้างความมั่นใจกับประชาชนว่ามีความคิดเห็นและความต้องการของประชาชนจะได้รับการพิจารณา เป้าหมาย   : เพื่อเป็นหุ้นส่วนกับประชาชนในทุกขั้นตอนของการตัดสินใจ ตั้งแต่การระบุปัญหา พัฒนาทางเลือกและแนวทางแก้ไข เป้าหมาย   : เพื่อให้ประชาชนเป็นผู้ตัดสินใจ เป้าหมาย   : เพื่อได้รับข้อมูลและความคิดเห็นจากประชาชนเกี่ยว กับสภาพปัญหา ความคิด เห็นและแนวทางแก้ไข สัญญาต่อประชาชน   : เราจะทำให้ประชาชนได้รับข้อมูลข่าวสาร สัญญาต่อประชาชน   : เราจะให้ข้อมูลข่าวสารแก่ประชาชนและรับฟังความคิดเห็น รวมทั้งตระหนักถึงข้อมูลและความคิดเห็นจากประชาชน เพื่อนำมาใช้ในการตัดสินใจ สัญญาต่อประชาชน   : เราจะทำงานเพื่อให้เห็นการแลกเปลี่ยนความคิดเห็นที่เป็นประโยชน์ ส่งผลให้ความคิดเห็นและข้อมูลจากประชาชน สะท้อนในทางเลือก สัญญาต่อประชาชน   : เราจะร่วมงานกับประชาชน เพื่อได้ข้อเสนอแนะและความคิดใหม่ รวมทั้งนำข้อเสนอแนะของประชาชนมาเป็น ส่วนหนึ่งของการตัดสินใจ ให้มากที่สุดเท่าที่จะทำได้ สัญญาต่อประชาชน   : เราจะปฏิบัติสิ่งที่ประชาชนตัดสินใจ ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
การดำเนินการเปิดระบบราชการให้ประชาชน เข้ามามีส่วนร่วม ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
เทคนิคการให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมฯ ,[object Object],[object Object],[object Object]
กลุ่มเทคนิคการให้ข้อมูลข่าวสารแก่ประชาชน ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
เทคนิคการให้ข้อมูลข่าวสารแก่ประชาชน ( ต่อ ) ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
กลุ่มเทคนิคการรับฟังความคิดเห็นจากประชาชน ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
กลุ่มเทคนิคการปรึกษาหารือ ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
Q&A

More Related Content

What's hot

บทที่ 3 ปฏิรูประบบราชการ
บทที่ 3 ปฏิรูประบบราชการบทที่ 3 ปฏิรูประบบราชการ
บทที่ 3 ปฏิรูประบบราชการSaiiew
 
หัวข้อ 05
หัวข้อ 05หัวข้อ 05
หัวข้อ 05
nakornmaesot59
 
บริหารราชการไทย 3
บริหารราชการไทย 3บริหารราชการไทย 3
บริหารราชการไทย 3Saiiew
 
บริหารราชการไทย 5
บริหารราชการไทย 5บริหารราชการไทย 5
บริหารราชการไทย 5Saiiew
 
บริหารราชการไทย 1
บริหารราชการไทย 1บริหารราชการไทย 1
บริหารราชการไทย 1Saiiew
 
028
028028
กรอบงบประมาณรายจ่ายระยะปานกลาง(ปรับปรุง)
กรอบงบประมาณรายจ่ายระยะปานกลาง(ปรับปรุง)กรอบงบประมาณรายจ่ายระยะปานกลาง(ปรับปรุง)
กรอบงบประมาณรายจ่ายระยะปานกลาง(ปรับปรุง)pomswu
 
บทที่ 4สิ่งที่มีอิทธิพลต่อการบริหารราชการไทย
บทที่ 4สิ่งที่มีอิทธิพลต่อการบริหารราชการไทยบทที่ 4สิ่งที่มีอิทธิพลต่อการบริหารราชการไทย
บทที่ 4สิ่งที่มีอิทธิพลต่อการบริหารราชการไทยSaiiew
 
แผนกลยุทธ 2
แผนกลยุทธ 2แผนกลยุทธ 2
แผนกลยุทธ 2
reraisararat
 
แผนยุทธศาสตร์
แผนยุทธศาสตร์แผนยุทธศาสตร์
แผนยุทธศาสตร์0884045430
 
Ppt ประชุมคณะกรรมการอาเซียน mar 29
Ppt ประชุมคณะกรรมการอาเซียน mar 29Ppt ประชุมคณะกรรมการอาเซียน mar 29
Ppt ประชุมคณะกรรมการอาเซียน mar 29
Kamolkan Thippaboon
 
คู่มือการจ้างเหมาบริการ
คู่มือการจ้างเหมาบริการคู่มือการจ้างเหมาบริการ
คู่มือการจ้างเหมาบริการChatree Akkharasukbut
 
แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา พ.ศ. 2560 - 2563
แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา พ.ศ. 2560 - 2563แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา พ.ศ. 2560 - 2563
แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา พ.ศ. 2560 - 2563
องค์การบริหารส่วนตำบล ห้วยยาง
 
การขับเคลื่อนการปฏิรูปการศึกษา
การขับเคลื่อนการปฏิรูปการศึกษาการขับเคลื่อนการปฏิรูปการศึกษา
การขับเคลื่อนการปฏิรูปการศึกษา
สอบครูดอทคอม เว็บเตรียมสอบ
 
แหล่งท่องเที่ยว
แหล่งท่องเที่ยวแหล่งท่องเที่ยว
แหล่งท่องเที่ยวTananya Jangouksom
 

What's hot (17)

บทที่ 3 ปฏิรูประบบราชการ
บทที่ 3 ปฏิรูประบบราชการบทที่ 3 ปฏิรูประบบราชการ
บทที่ 3 ปฏิรูประบบราชการ
 
หัวข้อ 05
หัวข้อ 05หัวข้อ 05
หัวข้อ 05
 
หลักการและเหตุผลแผนอัตรากำลัง
หลักการและเหตุผลแผนอัตรากำลังหลักการและเหตุผลแผนอัตรากำลัง
หลักการและเหตุผลแผนอัตรากำลัง
 
บริหารราชการไทย 3
บริหารราชการไทย 3บริหารราชการไทย 3
บริหารราชการไทย 3
 
บริหารราชการไทย 5
บริหารราชการไทย 5บริหารราชการไทย 5
บริหารราชการไทย 5
 
บริหารราชการไทย 1
บริหารราชการไทย 1บริหารราชการไทย 1
บริหารราชการไทย 1
 
028
028028
028
 
กรอบงบประมาณรายจ่ายระยะปานกลาง(ปรับปรุง)
กรอบงบประมาณรายจ่ายระยะปานกลาง(ปรับปรุง)กรอบงบประมาณรายจ่ายระยะปานกลาง(ปรับปรุง)
กรอบงบประมาณรายจ่ายระยะปานกลาง(ปรับปรุง)
 
บทที่ 4สิ่งที่มีอิทธิพลต่อการบริหารราชการไทย
บทที่ 4สิ่งที่มีอิทธิพลต่อการบริหารราชการไทยบทที่ 4สิ่งที่มีอิทธิพลต่อการบริหารราชการไทย
บทที่ 4สิ่งที่มีอิทธิพลต่อการบริหารราชการไทย
 
แผนกลยุทธ 2
แผนกลยุทธ 2แผนกลยุทธ 2
แผนกลยุทธ 2
 
แผนยุทธศาสตร์
แผนยุทธศาสตร์แผนยุทธศาสตร์
แผนยุทธศาสตร์
 
Ppt ประชุมคณะกรรมการอาเซียน mar 29
Ppt ประชุมคณะกรรมการอาเซียน mar 29Ppt ประชุมคณะกรรมการอาเซียน mar 29
Ppt ประชุมคณะกรรมการอาเซียน mar 29
 
คู่มือการจ้างเหมาบริการ
คู่มือการจ้างเหมาบริการคู่มือการจ้างเหมาบริการ
คู่มือการจ้างเหมาบริการ
 
แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา พ.ศ. 2560 - 2563
แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา พ.ศ. 2560 - 2563แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา พ.ศ. 2560 - 2563
แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา พ.ศ. 2560 - 2563
 
การขับเคลื่อนการปฏิรูปการศึกษา
การขับเคลื่อนการปฏิรูปการศึกษาการขับเคลื่อนการปฏิรูปการศึกษา
การขับเคลื่อนการปฏิรูปการศึกษา
 
แหล่งท่องเที่ยว
แหล่งท่องเที่ยวแหล่งท่องเที่ยว
แหล่งท่องเที่ยว
 
แหล่งท่องเที่ยว
แหล่งท่องเที่ยวแหล่งท่องเที่ยว
แหล่งท่องเที่ยว
 

Similar to เทคนิคการบริหารรา

ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบราชการไทยจากภาคทฤษฎีสู่การปฏิบัติ
ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบราชการไทยจากภาคทฤษฎีสู่การปฏิบัติยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบราชการไทยจากภาคทฤษฎีสู่การปฏิบัติ
ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบราชการไทยจากภาคทฤษฎีสู่การปฏิบัติLink Standalone
 
หลักธรรมาภิบาล
หลักธรรมาภิบาลหลักธรรมาภิบาล
หลักธรรมาภิบาล
Wiroj Suknongbueng
 
Sepo 54
Sepo 54Sepo 54
Sepo 54
siriyong
 
Sepo 54
Sepo 54Sepo 54
Sepo 54
siriyong
 
Thai Bureaucracy
Thai BureaucracyThai Bureaucracy
Thai BureaucracySaiiew
 
Thai Bureaucracy
Thai BureaucracyThai Bureaucracy
Thai Bureaucracy
gueste51a26
 
1148636319 1
1148636319 11148636319 1
ภารหน้าที่
ภารหน้าที่ภารหน้าที่
ภารหน้าที่
marena06008
 
Social reform
Social reformSocial reform
2555 Thailand e-Government Report
2555 Thailand e-Government Report2555 Thailand e-Government Report
2555 Thailand e-Government Report
Boonlert Aroonpiboon
 
2552 2.1-plan administration-land
2552 2.1-plan administration-land2552 2.1-plan administration-land
2552 2.1-plan administration-landps-most
 

Similar to เทคนิคการบริหารรา (20)

ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบราชการไทยจากภาคทฤษฎีสู่การปฏิบัติ
ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบราชการไทยจากภาคทฤษฎีสู่การปฏิบัติยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบราชการไทยจากภาคทฤษฎีสู่การปฏิบัติ
ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบราชการไทยจากภาคทฤษฎีสู่การปฏิบัติ
 
บทท่ี 1
บทท่ี 1บทท่ี 1
บทท่ี 1
 
หลักธรรมาภิบาล
หลักธรรมาภิบาลหลักธรรมาภิบาล
หลักธรรมาภิบาล
 
Sepo 54
Sepo 54Sepo 54
Sepo 54
 
Sepo 54
Sepo 54Sepo 54
Sepo 54
 
Sepo 54
Sepo 54Sepo 54
Sepo 54
 
Thai Bureaucracy
Thai BureaucracyThai Bureaucracy
Thai Bureaucracy
 
Thai Bureaucracy
Thai BureaucracyThai Bureaucracy
Thai Bureaucracy
 
1148636319 1
1148636319 11148636319 1
1148636319 1
 
1148636319 1
1148636319 11148636319 1
1148636319 1
 
ภารหน้าที่
ภารหน้าที่ภารหน้าที่
ภารหน้าที่
 
1148636319 1
1148636319 11148636319 1
1148636319 1
 
551212 moph policy
551212 moph policy551212 moph policy
551212 moph policy
 
Social reform
Social reformSocial reform
Social reform
 
Chapter 4
Chapter 4Chapter 4
Chapter 4
 
2555 Thailand e-Government Report
2555 Thailand e-Government Report2555 Thailand e-Government Report
2555 Thailand e-Government Report
 
Abb3
Abb3Abb3
Abb3
 
ผลสำรวจ สำนักงานสถิติ Oct55
ผลสำรวจ สำนักงานสถิติ Oct55ผลสำรวจ สำนักงานสถิติ Oct55
ผลสำรวจ สำนักงานสถิติ Oct55
 
2552 2.1-plan administration-land
2552 2.1-plan administration-land2552 2.1-plan administration-land
2552 2.1-plan administration-land
 
Ntu2554
Ntu2554Ntu2554
Ntu2554
 

เทคนิคการบริหารรา

  • 2.
  • 3.
  • 4. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ . ศ . 2540 หมวด 3 สิทธิและเสรีภาพของชนชาวไทย มาตรา 58 สิทธิได้รับทราบข้อมูลข่าวสารสาธารณะ มาตรา 59 สิทธิแสดงความคิดเห็นก่อนการดำเนินโครงการที่กระทบ สิ่งแวดล้อม สุขภาพอนามัย คุณภาพชีวิต มาตรา 60 สิทธิมีส่วนร่วมการปฏิบัติราชการทางปกครองที่กระทบสิทธิ และเสรีภาพของตน มาตรา 56 สิทธิของบุคคลที่จะมีส่วนร่วมกับรัฐและชุมชนในการบำรุงรักษา และการได้ประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติและความหลากหลายทาง ชีวภาพ และในการคุ้มครองส่งเสริม และรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม ...
  • 5. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ . ศ .2540 หมวด 5 แนวนโยบายพื้นฐานแห่งรัฐ มาตรา 76 รัฐต้องส่งเสริมและสนับสนุน การมีส่วนร่วมของประชาชน ในการ กำหนดนโยบาย การตัดสินใจทางการเมือง การวางแผนพัฒนาทาง เศรษฐกิจ สังคม และการเมือง รวมทั้งการตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐ ทุกระดับ
  • 6. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ . ศ .2540 หมวด 5 แนวนโยบายพื้นฐานแห่งรัฐ ( ต่อ ) มาตรา 79 รัฐต้องส่งเสริมและสนับสนุน ให้ประชาชนมีส่วนร่วม ในการสงวน บำรุงรักษา และใช้ประโยชน์จากทรัพยากร ธรรมชาติและความหลากหลายทางชีวภาพอย่างสมดุล รวมทั้งมีส่วนร่วมในการส่งเสริม บำรุงรักษา และคุ้มครอง คุณภาพสิ่งแวดล้อมตามหลักการการพัฒนาที่ยั่งยืน ตลอดจนควบคุมและกำจัดมลพิษที่มีผลต่อสุขภาพอนามัย สวัสดิภาพ และคุณภาพชีวิตของประชาชน
  • 7. พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน ( ฉบับที่ 5) พ . ศ . 2545 มาตรา 3/1 การบริหารราชการตามพระราชบัญญัตินี้ต้องเป็นไปเพื่อประโยชน์สุขของประชาชน เกิดผลสัมฤทธิ์ต่อภารกิจของรัฐ ความมีประสิทธิภาพ ความคุ้มค่าในเชิงภารกิจแห่งรัฐ การลดขั้นตอนการปฏิบัติงาน การลดภารกิจและยุบเลิกหน่วยงานที่ไม่จำเป็น การกระจายภารกิจและทรัพยากรให้แก่ท้องถิ่น การกระจายอำนาจตัดสินใจ การอำนวยความสะดวกและการตอบสนองความต้องการของประชาชน ทั้งนี้ โดยมีผู้รับผิดชอบต่อผลของงาน การจัดสรรงบประมาณ และการบรรจุและแต่งตั้งบุคคลเข้าดำรงตำแหน่งหรือปฏิบัติหน้าที่ ต้องคำนึงถึงหลักการตามวรรคหนึ่ง
  • 8. พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน ( ฉบับที่ 5) พ . ศ . 2545 มาตรา 3/1 ( ต่อ ) ในการปฏิบัติหน้าที่ของส่วนราชการ ต้องใช้วิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี โดยเฉพาะอย่างยิ่งให้คำนึงถึงความรับผิดชอบของผู้ปฏิบัติงาน การมีส่วนร่วมของประชาชน การเปิดเผยข้อมูล การติดตามตรวจสอบและประเมินผลการปฏิบัติงาน ทั้งนี้ ตามความเหมาะสมของแต่ละภารกิจ เพื่อประโยชน์ในการดำเนินการให้เป็นไปตามมาตรานี้ จะตราพระราชกฤษฎีกากำหนดหลักเกณฑ์และวิธีการในการปฏิบัติราชการและการสั่งการให้ส่วนราชการและข้าราชการปฏิบัติก็ได้
  • 9. การบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี เป้าหมาย การบริหารกิจการ บ้านเมืองที่ดี เกิดประโยชน์สุขของ ประชาชน เกิดผลสัมฤทธิ์ ต่อภารกิจของรัฐ มีประสิทธิภาพ และเกิดความคุ้มค่า ในเชิงภารกิจของรัฐ ไม่มีขั้นตอนการปฏิบัติงาน เกินความจำเป็น มีการปรับปรุงภารกิจ ของส่วนราชการ ให้ทันต่อเหตุการณ์ ประชาชนได้รับ การอำนวยความสะดวก และได้รับการตอบสนอง ความต้องการ มีการประเมินผลการปฏิบัติ ราชการอย่างสม่ำเสมอ
  • 10. แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบราชการไทย [ พ . ศ . 2546 - พ . ศ . 2550 ] วิสัยทัศน์ “ พัฒนาระบบราชการไทยให้มีความเป็นเลิศ สามารถรองรับกับการพัฒนาประเทศในยุคโลกาภิวัตน์ โดยยึดหลักธรรมาภิบาล และประโยชน์สุขของประชาชน”
  • 11. พัฒนาคุณภาพการให้บริการประชาชนที่ดีขึ้น [ Better Service Quality ] ปรับบทบาท ภารกิจ และขนาดให้มีความเหมาะสม [ Rightsizing ] ยกระดับขีดความสามารถและมาตรฐานการทำงานให้อยู่ในระดับสูง และเทียบเท่าเกณฑ์สากล [ High Performance ] ตอบสนองต่อการบริหารปกครองในระบอบประชาธิปไตย [ Democratic Governance ] เป้าประสงค์หลัก แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบราชการไทย ( พ . ศ . 2546- พ . ศ . 2550)
  • 12. แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบราชการไทย [ พ . ศ . 2546 - พ . ศ . 2550 ] ยุทธศาสตร์ 1 : การปรับเปลี่ยนกระบวนการและวิธีการทำงาน ยุทธศาสตร์ 2 : การปรับปรุงโครงสร้างการบริหารราชการแผ่นดิน ยุทธศาสตร์ 3 : การรื้อปรับระบบการเงินและการงบประมาณ ยุทธศาสตร์ 4 : การสร้างระบบบริหารงานบุคคลและค่าตอบแทนใหม่ ยุทธศาสตร์ 5 : การปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน์ วัฒนธรรม และค่านิยม ยุทธศาสตร์ 6 : การเสริมสร้างระบบราชการให้ทันสมัย ยุทธศาสตร์ 7 : การเปิดระบบราชการให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วม
  • 13. G1 พัฒนาคุณภาพการให้บริการ ประชาชนดีขึ้น G2 ปรับบทบาท ภารกิจและ ขนาดให้เหมาะสม G3 ยกระดับขีด ความสามารถและ มาตรฐานการทำงานให้เทียบเท่าสากล G4 ตอบสนองต่อ การบริหาร การปกครองในระบอบประชาธิปไตย ปรับเปลี่ยน กระบวนการ และวิธีการทำงานโดยใช้หลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี S1 ปรับปรุง โครงสร้าง การบริหารราชการ แผ่นดิน S2 ปรับระบบการเงินและงบประมาณ ปรับระบบการบริหารงานบุคคลและค่าตอบแทนใหม่ ปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน์ วัฒนธรรมและค่านิยม เสริมสร้างระบบราชการ ให้ทันสมัย S3 S4 S5 S6 เปิดระบบราชการให้ประชาชน เข้ามามีส่วนร่วม S7 ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบราชการไทย ( พ . ศ .2546-2550)
  • 14.
  • 15.
  • 16.
  • 17.
  • 18.
  • 19.
  • 20. การพัฒนาจากภายนอกระบบราชการ (Outside-in Approach) การพัฒนาจากภายในภาคราชการ (Inside-out Approach) ราชการที่ ตอบสนอง ความต้องการ ของประชาชน การบริหาร ราชการ ที่ประชาชน เป็นหุ้นส่วน การบริหาร ราชการที่ ทรงพลัง การบริหาร ราชการ ที่มีประสิทธิภาพ การบริหาร ราชการ เพื่อประโยชน์สุข ของประชาชน การบริหาร ราชการ ที่โปร่งใส การบริหาร ราชการ เพื่อสังคม ประชาธิปไตย โครงการพัฒนา ศักยภาพฯ ยุทธศาสตร์การสร้างการบริหารราชการแบบมีส่วนร่วม
  • 21. แนวทางการบริหารราชการแบบมีส่วนร่วมในระดับจังหวัด ค . ร . ม . เวทีเครือข่ายที่ปรึกษา เพื่อร่วมพัฒนาราชการ ในระดับจังหวัด ยุทธศาสตร์ / เป้าหมาย การพัฒนาจังหวัด ผู้แทนภาคประชาสังคม สื่อมวลชน ผู้แทนองค์กร ปกครองส่วน ท้องถิ่นต่างๆ ผู้แทนส่วน ราชการต่างๆ ภาคธุรกิจ เอกชน นักวิชาการ การบริหาร จังหวัด บูรณาการ แบบมี ส่วนร่วม ติดตามผล นโยบายระดับชาติ ราชการส่วนกลาง แผนงานขององค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่น ผู้ว่าราชการจังหวัด
  • 22.
  • 23.
  • 24.
  • 25. การปรับเปลี่ยนบทบาทใหม่ของรัฐ บทบาทของประชาชน หยิบยื่น สนับสนุน เสริมสร้างพลัง ประชาชน ไม่มีส่วนเกี่ยวข้อง ประชาชน เกี่ยวข้องตามที่ ได้รับอนุญาต ประชาชน ร่วมตัดสินใจ
  • 26.
  • 27.
  • 28. Public Participation Spectrum ให้ข้อมูลข่าวสารแก่ประชาชน Inform รับฟังความคิดเห็นของประชาชน Consult เกี่ยวข้อง Involve ร่วมมือ Collaboration เสริมอำนาจประชาชน Empower
  • 29. ให้ข้อมูลข่าวสาร Inform ระดับการมีส่วนร่วมของประชาชน ( Public Participation Spectrum) รับฟังความคิดเห็น Consult เกี่ยวข้อง Involve ร่วมมือ Collaboration เสริมอำนาจประชาชน Empower รัฐเปิดให้การมีส่วนร่วมสูงขึ้น
  • 30. การมีส่วนร่วมของประชาชน รับฟัง ให้ความเห็น สมัครใจเข้าร่วม เข้าร่วมทำงานด้วย ตัด สิน ใจ เอง ระดับการมีส่วนร่วมสูงขึ้น
  • 31. ให้ข้อมูลข่าวสาร Inform ระดับการมีส่วนร่วมของประชาชน ( Public Participation Spectrum) รับฟังความคิดเห็น Consult เกี่ยวข้อง Involve ร่วมมือ Collaboration เสริมอำนาจประชาชน Empower การมีส่วนร่วมของประชาชน รับฟัง ให้ความเห็น สมัครใจเข้าร่วม เข้าร่วมทำงานด้วย ตัด สิน ใจ เอง
  • 32.
  • 33.
  • 34.
  • 35.
  • 36.
  • 37.
  • 38.
  • 39. Q&A