SlideShare a Scribd company logo
1 of 4
Download to read offline
1
ชื่อกลุม………………………………….
ชื่อสมาชิกในกลุม
1……………………………………………………………………… หนาที่.....ประธาน...........
2……………………………………………………………………… หนาที่......รองประธาน....
3……………………………………………………………………… หนาที่...... เลขาธิการ......
4……………………………………………………………………… หนาที่.......ผูนําเสนอ.......
---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
5 บาท
2 5 10  บาท
3 5 15  บาท
ดังนันสามารถเขียนตารางแสดงความสัมพันธ์ของจํานวนไอศครีมและจํานวนเงินได้ดังนี
จํานวนไอศครีม
(โคน)
1 2 3
จํานวนเงิน(บาท)
จากตารางเราจะได้ อัตราส่วนของจํานวนเงิน(บาท)ต่อจํานวนไอศกรีม(โคน) หลายชุดซึง
กล่าวได้ว่าอัตราส่วนเหล่านีเป็นอัตราส่วนทีเท่ากันดังนี
1 : 5 2 : 10 3 : 15 4 : 20 5 : 25 6 : 30 7 : 35 8 : 40
หรือ 1
5
2
10
3
15
4
20
5
25
6
30
7
35
8
40
อัตราส่วนทังหมด ถือเป็นอัตราส่วนเดียวกันหรืออัตราส่วนทีเท่ากันเนืองจากอัตราส่วน
ทังหมดมาจากความสัมพันธ์ของจํานวนไอศครีม และราคาไอศกรีมเดียวกัน
ใบกิจกรรมที 2.1 เรืองอัตราส่วนทีเท่ากัน
ไอศครีม ราคาโคนละ 5 บาท
2
คูณด้วยจํานวนเดียวกัน หารด้วยจํานวนเดียวกัน
วิธีที1 การหาอัตราส่วนทีเท่ากับอัตราส่วนทีกําหนดให้ โดยใช้หลักการคูณ
เมือคูณแต่ละจํานวนในอัตราส่วนใดด้วยจํานวนเดียวกัน โดยทีจํานวนนันไม่เท่ากับศูนย์
จะได้อัตราส่วนใหม่ทีเท่ากับอัตราส่วนเดิม
ตัวอย่างที1 จงหาอัตราส่วนทีเท่ากับ 2
5
มาอีก 4 อัตราส่วน
วิธีทํา 2 2 2 4
5 5 2 10

 

นันคือ 2 4
5 10

2 2 3 6
5 5 3 15

 

นันคือ 2 6
5 15

2 2 4 8
5 5 4 20

 

นันคือ 2 8
5 20

2 2 5 10
5 5 5 25

 

นันคือ 2 10
5 25

ดังนัน อัตราส่วนทีเท่ากับอัตราส่วน2
5
ได้แก่ อัตราส่วน 4 6 8
, ,
10 15 20
และ 10
25
วิธีที2 การหาอัตราส่วนทีเท่ากับอัตราส่วนทีกําหนดให้ โดยใช้หลักการหาร
เมือหารแต่ละจํานวนในอัตราส่วนใดด้วยจํานวนเดียวกัน โดยทีจํานวนนันไม่เท่ากับศูนย์
จะได้อัตราส่วนใหม่ทีเท่ากับอัตราส่วนเดิม
ถ้า
b
a
เป็นอัตราส่วนใดๆ และ c เป็นจํานวนใดๆ ที  0
แล้ว จะได้ว่า
b
a
=
cb
ca


ถ้า
b
a
เป็นอัตราส่วนใดๆ และ c เป็นจํานวนใดๆ ที  0
แล้ว จะได้ว่า
b
a
=
cb
ca


3
ตัวอย่างที2 จงหาอัตราส่วนทีเท่ากับ 24
36
มาอีก 4 อัตราส่วน
วิธีทํา 24 24 2 12
36 36 2 18

 

นันคือ 24 12
36 18

24 24 3 8
36 36 3 12

 

นันคือ 24 8
36 12

24 24 4 6
36 36 4 9

 

นันคือ 24 6
36 9

24 24 6 4
36 36 6 6

 

นันคือ 24 4
36 6

ดังนัน อัตราส่วนทีเท่ากับอัตราส่วน24
36
ได้แก่ อัตราส่วน12 8 6
, ,
18 12 9
และ 4
6
การตรวจสอบความเท่ากันของอัตราส่วนโดยวิธีการใช้ผลคูณไขว้
การตรวจสอบว่าอัตราส่วน 28
36
กับ 7
9
เท่ากันหรือไม่ โดยใช้ผลคูณไขว้มีวิธีการดังนี
28
36
7
9
พิจารณาผลคูณของจํานวนแต่ละคู่ตามลูกศรชีซึงเรียกว่าผลคูณไขว้ ถ้าผลคูณไขว้เท่ากัน
แสดงว่าอัตราส่วนสองอัตราส่วนนันเท่ากัน แต่ถ้าผลคูณไขว้ไม่เท่ากันแสดงว่าอัตราส่วนสอง
อัตราส่วนนันไม่เท่ากัน
เนืองจาก 28 9 252 
และ 7 36 252 
จะได้ 28 9 7 36 252   
แสดงว่า อัตราส่วน 28
36
กับ 7
9
เป็นอัตราส่วนทีเท่ากัน
ถ้า
b
a
และ
d
c
เป็นอัตราส่วน2 อัตราส่วนใดๆ
b
a
d
c
1. ถ้า a  d = b  c แล้ว
b
a
=
d
c
2. ถ้า a  d  b  c แล้ว
b
a

d
c
4
แบบฝึกเสริมสร้างประสบการณ์
1. จงใช้หลักการคูณแสดงวิธีการหาอัตราส่วนทีเท่ากับอัตราส่วนต่อไปนีมาอีกข้อละ5 อัตราส่วน
1.1 5
6
1.2 3 : 5 1.3 11
19
2. จงใช้หลักการหารแสดงวิธีการหาอัตราส่วนทีเท่ากับอัตราส่วนต่อไปนีมาอีกข้อละ5 อัตราส่วน
2.1 24 : 48 2.2 36
72
2.3 50 : 100
3. จงเติมเครืองหมาย= หรือ  ระหว่างอัตราส่วนทีกําหนดให้ในแต่ละข้อเพือให้ได้ประโยคที
เป็นจริง
1.1 3
4
.......... 27
35
1.2 9
7
.......... 27
21
1.3 11
15
.......... 41
60
1.4 15 : 18 .......... 60 : 72
1.5 11 : 13 .......... 33 : 39 1.6 29
43
.......... 11
12
4. นักเรียน 15 คน ไปรับประทานอาหารร่วมกันหมดเงินไป 375 บาท จงหา
4.1) อัตราส่วนอย่างตําเปรียบเทียบจํานวนนักเรียนต่อจํานวนเงินเป็น______________________
4.2) ถ้านักเรียนลดน้อยไป 3 คน ต้องการให้อัตราส่วนของจํานวนคนต่อจํานวนเงินเป็นไป
ตามเดิม นักเรียนกลุ่มนีจะต้องจ่ายเงินทังสินเป็นจํานวน________________________ บาท
4.3) ถ้านักเรียนเพิมขึนอีก5 คน ต้องการให้อัตราส่วนของจํานวนเงินเป็นไปตามเดิม จะต้อง
จ่ายเงินเพิมขึนอีก________________________ บาท

More Related Content

Similar to ใบกิจกรรมที่ 2.1

ใบงานที่4หรม
ใบงานที่4หรมใบงานที่4หรม
ใบงานที่4หรมkanjana2536
 
เอกสารประกอบ สมการ
เอกสารประกอบ สมการ เอกสารประกอบ สมการ
เอกสารประกอบ สมการ warijung2012
 
ความน่าจะเป็น
ความน่าจะเป็นความน่าจะเป็น
ความน่าจะเป็นKruAm Maths
 
เอกสารสอนปรับพื้นฐานคณิตศาสตร์พื้นฐาน-ม.1.pdf
เอกสารสอนปรับพื้นฐานคณิตศาสตร์พื้นฐาน-ม.1.pdfเอกสารสอนปรับพื้นฐานคณิตศาสตร์พื้นฐาน-ม.1.pdf
เอกสารสอนปรับพื้นฐานคณิตศาสตร์พื้นฐาน-ม.1.pdfssusera0c3361
 
แบบฝึกหัดจำนวนจริงพื้นฐาน
แบบฝึกหัดจำนวนจริงพื้นฐานแบบฝึกหัดจำนวนจริงพื้นฐาน
แบบฝึกหัดจำนวนจริงพื้นฐานNittaya Noinan
 
แบบทดสอบเรื่อง เลขยกกำลัง ชื่อ
แบบทดสอบเรื่อง เลขยกกำลัง             ชื่อแบบทดสอบเรื่อง เลขยกกำลัง             ชื่อ
แบบทดสอบเรื่อง เลขยกกำลัง ชื่อChantana Wonghirun
 
แบบทดสอบเรื่อง เลขยกกำลัง ชื่อ
แบบทดสอบเรื่อง เลขยกกำลัง             ชื่อแบบทดสอบเรื่อง เลขยกกำลัง             ชื่อ
แบบทดสอบเรื่อง เลขยกกำลัง ชื่อChantana Wonghirun
 
6แบบฝึกหัด6.2
6แบบฝึกหัด6.26แบบฝึกหัด6.2
6แบบฝึกหัด6.2Toongneung SP
 
หน่วยที่3 เลขยกกำลัง
หน่วยที่3 เลขยกกำลังหน่วยที่3 เลขยกกำลัง
หน่วยที่3 เลขยกกำลังFern Baa
 
การประยุกต์อัตราส่วนและร้อยละ
การประยุกต์อัตราส่วนและร้อยละการประยุกต์อัตราส่วนและร้อยละ
การประยุกต์อัตราส่วนและร้อยละkrookay2012
 
เคมี31101กลางภาคตอน2
เคมี31101กลางภาคตอน2เคมี31101กลางภาคตอน2
เคมี31101กลางภาคตอน2Khumnung Pongkaew
 
แบบทดสอบบทที่1สมบัติของเลขยกกำลัง
แบบทดสอบบทที่1สมบัติของเลขยกกำลังแบบทดสอบบทที่1สมบัติของเลขยกกำลัง
แบบทดสอบบทที่1สมบัติของเลขยกกำลังKru Wan Mirantee
 
แบบทดสอบบทที่1สมบัติของเลขยกกำลัง
แบบทดสอบบทที่1สมบัติของเลขยกกำลังแบบทดสอบบทที่1สมบัติของเลขยกกำลัง
แบบทดสอบบทที่1สมบัติของเลขยกกำลังKru Wan Mirantee
 
ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร
ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปรระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร
ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปรพัน พัน
 
ขั้นตอ
ขั้นตอขั้นตอ
ขั้นตอJiraporn Kru
 

Similar to ใบกิจกรรมที่ 2.1 (20)

ใบงานที่4หรม
ใบงานที่4หรมใบงานที่4หรม
ใบงานที่4หรม
 
เอกสารประกอบ สมการ
เอกสารประกอบ สมการ เอกสารประกอบ สมการ
เอกสารประกอบ สมการ
 
ความน่าจะเป็น
ความน่าจะเป็นความน่าจะเป็น
ความน่าจะเป็น
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
เอกสารสอนปรับพื้นฐานคณิตศาสตร์พื้นฐาน-ม.1.pdf
เอกสารสอนปรับพื้นฐานคณิตศาสตร์พื้นฐาน-ม.1.pdfเอกสารสอนปรับพื้นฐานคณิตศาสตร์พื้นฐาน-ม.1.pdf
เอกสารสอนปรับพื้นฐานคณิตศาสตร์พื้นฐาน-ม.1.pdf
 
แบบฝึกหัดจำนวนจริงพื้นฐาน
แบบฝึกหัดจำนวนจริงพื้นฐานแบบฝึกหัดจำนวนจริงพื้นฐาน
แบบฝึกหัดจำนวนจริงพื้นฐาน
 
ใบงานค่าเฉลี่ยเลขคณิต
ใบงานค่าเฉลี่ยเลขคณิตใบงานค่าเฉลี่ยเลขคณิต
ใบงานค่าเฉลี่ยเลขคณิต
 
แบบทดสอบเรื่อง เลขยกกำลัง ชื่อ
แบบทดสอบเรื่อง เลขยกกำลัง             ชื่อแบบทดสอบเรื่อง เลขยกกำลัง             ชื่อ
แบบทดสอบเรื่อง เลขยกกำลัง ชื่อ
 
แบบทดสอบเรื่อง เลขยกกำลัง ชื่อ
แบบทดสอบเรื่อง เลขยกกำลัง             ชื่อแบบทดสอบเรื่อง เลขยกกำลัง             ชื่อ
แบบทดสอบเรื่อง เลขยกกำลัง ชื่อ
 
6แบบฝึกหัด6.2
6แบบฝึกหัด6.26แบบฝึกหัด6.2
6แบบฝึกหัด6.2
 
หน่วยที่3 เลขยกกำลัง
หน่วยที่3 เลขยกกำลังหน่วยที่3 เลขยกกำลัง
หน่วยที่3 เลขยกกำลัง
 
02
0202
02
 
M1
M1M1
M1
 
คู่มือเตรียมสอบพนักงานราชการครูผู้สอน
คู่มือเตรียมสอบพนักงานราชการครูผู้สอนคู่มือเตรียมสอบพนักงานราชการครูผู้สอน
คู่มือเตรียมสอบพนักงานราชการครูผู้สอน
 
การประยุกต์อัตราส่วนและร้อยละ
การประยุกต์อัตราส่วนและร้อยละการประยุกต์อัตราส่วนและร้อยละ
การประยุกต์อัตราส่วนและร้อยละ
 
เคมี31101กลางภาคตอน2
เคมี31101กลางภาคตอน2เคมี31101กลางภาคตอน2
เคมี31101กลางภาคตอน2
 
แบบทดสอบบทที่1สมบัติของเลขยกกำลัง
แบบทดสอบบทที่1สมบัติของเลขยกกำลังแบบทดสอบบทที่1สมบัติของเลขยกกำลัง
แบบทดสอบบทที่1สมบัติของเลขยกกำลัง
 
แบบทดสอบบทที่1สมบัติของเลขยกกำลัง
แบบทดสอบบทที่1สมบัติของเลขยกกำลังแบบทดสอบบทที่1สมบัติของเลขยกกำลัง
แบบทดสอบบทที่1สมบัติของเลขยกกำลัง
 
ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร
ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปรระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร
ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร
 
ขั้นตอ
ขั้นตอขั้นตอ
ขั้นตอ
 

More from othanatoso

อัตราส่วนหลายๆจำนวน
อัตราส่วนหลายๆจำนวนอัตราส่วนหลายๆจำนวน
อัตราส่วนหลายๆจำนวนothanatoso
 
ค30202 แคลคูลัสเบื้องต้น2
ค30202 แคลคูลัสเบื้องต้น2ค30202 แคลคูลัสเบื้องต้น2
ค30202 แคลคูลัสเบื้องต้น2othanatoso
 
ค30202 แคลคูลัสเบื้องต้น
ค30202 แคลคูลัสเบื้องต้นค30202 แคลคูลัสเบื้องต้น
ค30202 แคลคูลัสเบื้องต้นothanatoso
 
ค32203 โครงการสอน
ค32203 โครงการสอนค32203 โครงการสอน
ค32203 โครงการสอนothanatoso
 
Doublecab 18102554
Doublecab 18102554Doublecab 18102554
Doublecab 18102554othanatoso
 
Introduction to basic statistics
Introduction to basic statisticsIntroduction to basic statistics
Introduction to basic statisticsothanatoso
 
สถิติเบื่องต้น
สถิติเบื่องต้นสถิติเบื่องต้น
สถิติเบื่องต้นothanatoso
 

More from othanatoso (12)

อัตราส่วนหลายๆจำนวน
อัตราส่วนหลายๆจำนวนอัตราส่วนหลายๆจำนวน
อัตราส่วนหลายๆจำนวน
 
ค30202 แคลคูลัสเบื้องต้น2
ค30202 แคลคูลัสเบื้องต้น2ค30202 แคลคูลัสเบื้องต้น2
ค30202 แคลคูลัสเบื้องต้น2
 
ค30202 แคลคูลัสเบื้องต้น
ค30202 แคลคูลัสเบื้องต้นค30202 แคลคูลัสเบื้องต้น
ค30202 แคลคูลัสเบื้องต้น
 
ค32203 โครงการสอน
ค32203 โครงการสอนค32203 โครงการสอน
ค32203 โครงการสอน
 
Doublecab 18102554
Doublecab 18102554Doublecab 18102554
Doublecab 18102554
 
Introduction to basic statistics
Introduction to basic statisticsIntroduction to basic statistics
Introduction to basic statistics
 
สถิติเบื่องต้น
สถิติเบื่องต้นสถิติเบื่องต้น
สถิติเบื่องต้น
 
Q1
Q1Q1
Q1
 
Pretest
PretestPretest
Pretest
 
Post test
Post testPost test
Post test
 
Pretest 11 20
Pretest 11 20Pretest 11 20
Pretest 11 20
 
Test
TestTest
Test
 

ใบกิจกรรมที่ 2.1

  • 1. 1 ชื่อกลุม…………………………………. ชื่อสมาชิกในกลุม 1……………………………………………………………………… หนาที่.....ประธาน........... 2……………………………………………………………………… หนาที่......รองประธาน.... 3……………………………………………………………………… หนาที่...... เลขาธิการ...... 4……………………………………………………………………… หนาที่.......ผูนําเสนอ....... --------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- 5 บาท 2 5 10  บาท 3 5 15  บาท ดังนันสามารถเขียนตารางแสดงความสัมพันธ์ของจํานวนไอศครีมและจํานวนเงินได้ดังนี จํานวนไอศครีม (โคน) 1 2 3 จํานวนเงิน(บาท) จากตารางเราจะได้ อัตราส่วนของจํานวนเงิน(บาท)ต่อจํานวนไอศกรีม(โคน) หลายชุดซึง กล่าวได้ว่าอัตราส่วนเหล่านีเป็นอัตราส่วนทีเท่ากันดังนี 1 : 5 2 : 10 3 : 15 4 : 20 5 : 25 6 : 30 7 : 35 8 : 40 หรือ 1 5 2 10 3 15 4 20 5 25 6 30 7 35 8 40 อัตราส่วนทังหมด ถือเป็นอัตราส่วนเดียวกันหรืออัตราส่วนทีเท่ากันเนืองจากอัตราส่วน ทังหมดมาจากความสัมพันธ์ของจํานวนไอศครีม และราคาไอศกรีมเดียวกัน ใบกิจกรรมที 2.1 เรืองอัตราส่วนทีเท่ากัน ไอศครีม ราคาโคนละ 5 บาท
  • 2. 2 คูณด้วยจํานวนเดียวกัน หารด้วยจํานวนเดียวกัน วิธีที1 การหาอัตราส่วนทีเท่ากับอัตราส่วนทีกําหนดให้ โดยใช้หลักการคูณ เมือคูณแต่ละจํานวนในอัตราส่วนใดด้วยจํานวนเดียวกัน โดยทีจํานวนนันไม่เท่ากับศูนย์ จะได้อัตราส่วนใหม่ทีเท่ากับอัตราส่วนเดิม ตัวอย่างที1 จงหาอัตราส่วนทีเท่ากับ 2 5 มาอีก 4 อัตราส่วน วิธีทํา 2 2 2 4 5 5 2 10     นันคือ 2 4 5 10  2 2 3 6 5 5 3 15     นันคือ 2 6 5 15  2 2 4 8 5 5 4 20     นันคือ 2 8 5 20  2 2 5 10 5 5 5 25     นันคือ 2 10 5 25  ดังนัน อัตราส่วนทีเท่ากับอัตราส่วน2 5 ได้แก่ อัตราส่วน 4 6 8 , , 10 15 20 และ 10 25 วิธีที2 การหาอัตราส่วนทีเท่ากับอัตราส่วนทีกําหนดให้ โดยใช้หลักการหาร เมือหารแต่ละจํานวนในอัตราส่วนใดด้วยจํานวนเดียวกัน โดยทีจํานวนนันไม่เท่ากับศูนย์ จะได้อัตราส่วนใหม่ทีเท่ากับอัตราส่วนเดิม ถ้า b a เป็นอัตราส่วนใดๆ และ c เป็นจํานวนใดๆ ที  0 แล้ว จะได้ว่า b a = cb ca   ถ้า b a เป็นอัตราส่วนใดๆ และ c เป็นจํานวนใดๆ ที  0 แล้ว จะได้ว่า b a = cb ca  
  • 3. 3 ตัวอย่างที2 จงหาอัตราส่วนทีเท่ากับ 24 36 มาอีก 4 อัตราส่วน วิธีทํา 24 24 2 12 36 36 2 18     นันคือ 24 12 36 18  24 24 3 8 36 36 3 12     นันคือ 24 8 36 12  24 24 4 6 36 36 4 9     นันคือ 24 6 36 9  24 24 6 4 36 36 6 6     นันคือ 24 4 36 6  ดังนัน อัตราส่วนทีเท่ากับอัตราส่วน24 36 ได้แก่ อัตราส่วน12 8 6 , , 18 12 9 และ 4 6 การตรวจสอบความเท่ากันของอัตราส่วนโดยวิธีการใช้ผลคูณไขว้ การตรวจสอบว่าอัตราส่วน 28 36 กับ 7 9 เท่ากันหรือไม่ โดยใช้ผลคูณไขว้มีวิธีการดังนี 28 36 7 9 พิจารณาผลคูณของจํานวนแต่ละคู่ตามลูกศรชีซึงเรียกว่าผลคูณไขว้ ถ้าผลคูณไขว้เท่ากัน แสดงว่าอัตราส่วนสองอัตราส่วนนันเท่ากัน แต่ถ้าผลคูณไขว้ไม่เท่ากันแสดงว่าอัตราส่วนสอง อัตราส่วนนันไม่เท่ากัน เนืองจาก 28 9 252  และ 7 36 252  จะได้ 28 9 7 36 252    แสดงว่า อัตราส่วน 28 36 กับ 7 9 เป็นอัตราส่วนทีเท่ากัน ถ้า b a และ d c เป็นอัตราส่วน2 อัตราส่วนใดๆ b a d c 1. ถ้า a  d = b  c แล้ว b a = d c 2. ถ้า a  d  b  c แล้ว b a  d c
  • 4. 4 แบบฝึกเสริมสร้างประสบการณ์ 1. จงใช้หลักการคูณแสดงวิธีการหาอัตราส่วนทีเท่ากับอัตราส่วนต่อไปนีมาอีกข้อละ5 อัตราส่วน 1.1 5 6 1.2 3 : 5 1.3 11 19 2. จงใช้หลักการหารแสดงวิธีการหาอัตราส่วนทีเท่ากับอัตราส่วนต่อไปนีมาอีกข้อละ5 อัตราส่วน 2.1 24 : 48 2.2 36 72 2.3 50 : 100 3. จงเติมเครืองหมาย= หรือ  ระหว่างอัตราส่วนทีกําหนดให้ในแต่ละข้อเพือให้ได้ประโยคที เป็นจริง 1.1 3 4 .......... 27 35 1.2 9 7 .......... 27 21 1.3 11 15 .......... 41 60 1.4 15 : 18 .......... 60 : 72 1.5 11 : 13 .......... 33 : 39 1.6 29 43 .......... 11 12 4. นักเรียน 15 คน ไปรับประทานอาหารร่วมกันหมดเงินไป 375 บาท จงหา 4.1) อัตราส่วนอย่างตําเปรียบเทียบจํานวนนักเรียนต่อจํานวนเงินเป็น______________________ 4.2) ถ้านักเรียนลดน้อยไป 3 คน ต้องการให้อัตราส่วนของจํานวนคนต่อจํานวนเงินเป็นไป ตามเดิม นักเรียนกลุ่มนีจะต้องจ่ายเงินทังสินเป็นจํานวน________________________ บาท 4.3) ถ้านักเรียนเพิมขึนอีก5 คน ต้องการให้อัตราส่วนของจํานวนเงินเป็นไปตามเดิม จะต้อง จ่ายเงินเพิมขึนอีก________________________ บาท