SlideShare a Scribd company logo
1 of 6
Download to read offline
ปู้นาการบริหารจัดการเมืองรุ่นใหม่:
กรณีศึกษา คลองชองเกชอน เกาหลีใต้
ดารณี เสือเย๊ะ
ปู้ช่วยนักวิจัย
แปนงานนโยบายสาธารณะเพื่อการพัถนาอนาคตของเมือง
ศูนย์ศึกษามหานครและเมือง มหาวิทยาลัยรังสิต
Bogota : ตัวอย่างการพัถนาเมืองด้วยหลักคิดเรื่องความเท่าเทียม
| 2
ผู้นาการบริหารจัดการเมืองรุ่นใหม่: กรณีศึกษา คลองชองเกชอน เกาหลีใต้
ที่มา: Eui-Seung Kim. (2008). COMMUNITY HERO: LEE MYUNG-BAK [online], Retrieved:
http://www.myhero.com/go/hero.asp?hero=Lee_Myung_Bak_PSU_07
ดารณี เสือเย๊ะ
แผนงานนโยบายสาธารณะเพื่อการพัฒนาอนาคตของเมือง
Bogota : ตัวอย่างการพัถนาเมืองด้วยหลักคิดเรื่องความเท่าเทียม
| 3
ในทศวรรษ 1970 คลองชองเกชอน (Cheonggyecheon Stream) ที่ถูกปิดทับด้วยพื้นถนน
คอนกรีตและทางด่วนยกระดับ เนื่องมาจากปัญหาเรื่องสุขาภิบาลจากการที่มีผู้คนจานวนมากอพยพเข้า
มาตั้งรกรากตลอดสองฝั่งคลองในช่วงหลังสงครามเกาหลี พื้นที่ดังกล่าวได้รับการกล่าวขานว่า เป็น
สัญลักษณ์ของความก้าวหน้า แต่ในปี ค.ศ. 2000 พื้นที่บริเวณชองเก (Cheonggye Area) ถูกจัดว่า เป็น
ย่านที่แออัดและจอแจมากที่สุดในโซล ทรุดโทรมมากถึงขั้นต้องได้รับการฟื้นฟู ผู้คนในเมืองต่างเห็น
พ้องต้องกันว่า ในพื้นที่ดังกล่าว ไม่มีสิ่งใดที่จะต้องได้รับการปรับปรุงแก้ไขอย่างเร่งด่วนมากเท่า
ถนนและทางด่วนยกระดับชองเก
คลองชองเกชอน มีอายุกว่า 600 ปี เป็นคลองตามธรรมชาติที่ได้รับการบูรณะครั้งสาคัญในสมัย
ราชวงศ์โชซอน (The Joseon Dynasty) เพื่อทาระบบระบายน้า เนื่องจากโซลมักประสบปัญหาขาด
แคลนน้า ไม่ก็เกิดน้าท่วมใหญ่สลับไปมาอยู่เสมอ
การพัฒนาเศรษฐกิจของเกาหลีใต้ในช่วงปี ค.ศ. 1960-1990 ทาให้ความเป็นเมืองของเกาหลีใต้
เพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว เฉลี่ย 15.6% ในทุก ๆ 10 ปี 60% ของประชากรจะอาศัยอยู่ในเมืองใหญ่
(ประชากรมากกว่า 1 ล้านคน) และสัดส่วนของคนที่อาศัยอยู่ในเมืองเพิ่มขึ้นจาก 21% ในปี ค.ศ. 1960
เป็น 43% ในปี ค.ศ. 19901
พื้นที่ดังกล่าวกลายมาเป็นตัวอย่างความสาเร็จในการพัฒนาอุตสาหกรรม
และความเป็นเมืองที่ทันสมัยของเกาหลีใต้ ในขณะที่ตลอดเส้นทางน้ากลับเต็มไปด้วยประชาชนจาก
ชนบทที่อพยพเข้ามาตั้งรกรากในเมืองหลวง ตามมาด้วยปัญหาเรื่องสิ่งแวดล้อม น้าในคลอง และพื้นที่
ดังกล่าวถูกทิ้งให้เสื่อมโทรม
1
The World Bank. (2013). Planning, connecting and financing cities now [online], 10 May 2014.
Retrieved: http://siteresources.worldbank.org/EXTSDNET/Resources/Urbanization-Planning-Connecting-
Financing-2013.pdf
Bogota : ตัวอย่างการพัถนาเมืองด้วยหลักคิดเรื่องความเท่าเทียม
| 4
ที่มา: CABE. (2011). The Cheonggyecheon Restoration Project [online], 21 May 2014. Retrieved:
http://webarchive.nationalarchives.gov.uk/20110118095356/http:/www.cabe.org.uk/case-
studies/cheonggyecheon-restoration-project
เมื่อลีเมียงบัคได้รับการเลือกตั้งเป็นนายกเทศมนตรีของกรุงโซลในปี ค.ศ. 2002 นโยบายสาคัญ
ที่เขาได้ให้คามั่นสัญญากับประชาชนไว้ก็คือ การรื้อถอนทางด่วนที่ทรุดโทรมและฟื้นฟูคลองชองเกชอน
สายน้าประวัติศาสตร์ให้กลายมาเป็นสถานที่พักผ่อนหย่อนใจแห่งใหม่ใจกลางกรุงโซล และต้องการ
ปรับปรุงระบบการเชื่อมต่อระหว่างเมืองทางตอนเหนือและตอนใต้ที่แยกออกจากกันโดยมีทางด่วนเป็น
เป็นตัวแบ่ง
การตัดสินใจของนายกเทศมนตรีลีเมียงบัคภายใต้แรงกดดันจากบรรดาผู้เชี่ยวชาญด้านการ
คมนาคมที่ออกมาแสดงความกังวลต่อปัญหาการจราจรที่คับคั่งหากมีการรื้อทางยกระดับทิ้งไป เนื่องจาก
ในแต่ละวันมีรถยนต์กว่า 170,000 คันที่ใช้ถนนเส้นนี้ ประกอบกับเสียงคัดค้านจากบรรดานักธุรกิจและผู้
มีส่วนได้เสียในบริเวณนั้นเป็นจานวนมาก ซึ่งกว่าโครงการจะแล้วเสร็จได้จัดการประชุมหารือร่วมกันกว่า
4,200 ครั้ง2
ทั้งการประชุมที่เป็นทางการและไม่เป็นทางการ ไม่ว่าจะเป็น การประชุมเพื่อติดตามและ
ตรวจสอบความก้าวหน้าของโครงการ การทาสารวจความคิดเห็น หรือการสัมภาษณ์ตามท้องตลาด ทั้งนี้
เพื่อสร้างฉันทามติร่วมกัน นอกจากนี้ ยังมีการนาเสนอแรงจูงใจต่าง ๆ ให้แก่ผู้ประกอบการที่ได้รับ
ผลกระทบจากการรื้อถอนทางด่วน เช่น ลดค่าธรรมเนียมที่จอดรถ ปรับปรุงระบบการขนถ่ายสินค้า หรือ
จัดพื้นที่พิเศษสาหรับผู้ค้าหาบเร่แผงลอยและศูนย์กลางธุรกิจแห่งใหม่นอกพื้นที่ชองเก
2
Landscape Architecture Foundation. Cheonggyecheon Stream Restorstion Project [online], 13 May 2014.
Retrieved: http://www.lafoundation.org/research/landscape-performance-series/case-studies/case-study/382/
Bogota : ตัวอย่างการพัถนาเมืองด้วยหลักคิดเรื่องความเท่าเทียม
| 5
บทเรียนสาคัญที่ได้รับจากกรณีของการฟื้นฟูคลองชองเกชอนเกี่ยวกับความรัดกุมและความ
ครอบคลุมในการวางแผนงาน คือ การออกแบบแนวทางการแก้ปัญหาจะละเลยความต้องการของ
ผู้ที่เกี่ยวข้องทุกฝ่ายไม่ได้เป็นอันขาด ต้องพิจารณาตั้งแต่ขั้นแรกเริ่มของการวางแผนโครงการไป
จนถึงขั้นตอนการออกแบบ กรณีการมองข้ามผู้พิการทางสายตาและผู้ที่มีความบกพร่องทางการ
เคลื่อนไหวต่อการใช้ประโยชน์จากคลองชองเกชอน ทาให้หลังจากที่มีการประท้วงอย่างหนักแล้ว ได้มี
การติดตั้งลิฟท์เพิ่มเติมเข้าไปทีหลังทั้งหมด 7 จุด และให้บริการรถวีลแชร์ฟรีแก่ผู้ที่มีความบกพร่อง
ทางการเคลื่อนไหว
ที่มา: Dr In-Keun LEE. (2006). Cheong Gye Cheon Restoration Project - a revolution in Seoul -. [online],
13 May 2014. Retrieved: http://www.dsi.gov.tr/docs/sempozyumlar/a%C3%A7%C4%B1l%C4%B1%C5%9F-
seul-sular-idaresi-necati-a%C4%9F%C4%B1ralio%C4%9Flu.pdf?sfvrsn=2
โครงการฟื้นฟูคลองชองเกชอนเสร็จสมบูรณ์ในปี ค.ศ. 2005 ความหลากหลายทางชีวภาพใน
บริเวณดังกล่าวเพิ่มสูงถึง 639%3
นอกจากสภาพแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลงไปในทางที่ดีขึ้นแล้ว ตัวเลขการ
ขยายตัวทางเศรษฐกิจในบริเวณดังกล่าวก็เพิ่มสูงขึ้น 3.5% ในช่วงปี ค.ศ. 2002-2003 ซึ่งเป็นตัวเลขที่
มากเป็นสองเท่าของอัตราการเติบโตทางเศรษฐกิจเมื่อเปรียบเทียบกับบริเวณอื่น ๆ ในกรุงโซล
3
Andrew C. Revkin. (2009). Peeling Back Pavement to Expose Watery Havens [online], 15 May 2014.
Retrieved: http://www.nytimes.com/2009/07/17/world/asia/17daylight.html?_r=1
Bogota : ตัวอย่างการพัถนาเมืองด้วยหลักคิดเรื่องความเท่าเทียม
| 6
ความสาเร็จของโครงการฟื้นฟูคลองชองเกชอนทาให้นายลีได้รับฉายาว่า “รถแทรกเตอร์”
(Bulldozer) และส่งผลให้เขากลายมาเป็นคู่แข่งคนสาคัญในการลงสมัครชิงตาแหน่งประธานาธิบดีของ
เกาหลีใต้ และชนะการเลือกตั้งในปี ค.ศ. 2007 ด้วยคะแนนเสียง 48.7% ทิ้งห่างคู่แข่งที่ได้อันดับสองซึ่ง
ได้รับเสียงสนับสนุนที่ 26.1% ถือเป็นการชนะคะแนนที่ทิ้งห่างคู่แข่งมากที่สุดในการเลือกตั้ง
ประธานาธิบดีเกาหลีใต้ทุกครั้งที่ผ่านมา4
ถือเป็นตัวอย่างสาคัญของการปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน์ในการบริหารจัดการเมือง (Urban
Management) ที่เปลี่ยนจากการมุ่งเน้นเรื่องทางกายภาพหรือภูมิทัศน์ของเมือง (Urban Landscape)
เป็นหลัก ไปสู่การให้คุณค่ากับคุณภาพชีวิตที่ดีของคนเมือง ให้ความสาคัญกับการพัฒนาที่เป็นมิตรกับ
สิ่งแวดล้อม และการฟื้นฟูประวัติศาสตร์ของเมืองที่เคยถูกปกคลุมไว้ด้วยกับกระแสการพัฒนาทาง
เศรษฐกิจ นอกจากนี้ โครงการฟื้นฟูคลองชองเกชอนยังเป็นอีกหนึ่งตัวอย่างของการบริหารจัดการ
โครงการที่ประสบความสาเร็จ (Successful Project Management) โดยเฉพาะการจัดการความขัดแย้ง
อันเนื่องมาจากการจัดทาโครงการขนาดใหญ่ที่เกี่ยวข้องกับสาธารณะ มีผู้มีส่วนได้เสียเป็นจานวนมาก
สรุปได้ว่า นโยบายของรัฐจะสาเร็จได้ นอกจากวิสัยทัศน์และความเก่งกาจของผู้นาแล้ว
ยังต้องพิจารณาถึงการยอมรับ การสนับสนุน และร่วมปฏิบัตินโยบายอย่างกระตือรือร้นจากผู้ที่
มีส่วนเกี่ยวข้องทุกภาคส่วนอีกด้วย
4
The New York Times. Conservative Wins Vote in South Korea [online], 15 May 2557. Retrieved:
http://www.nytimes.com/2007/12/20/world/asia/20korea.html?pagewanted=all&_r=0

More Related Content

Viewers also liked

PPT การพัฒนาเมืองและระบบขนส่งที่ยั่งยืนในมิติด้านพลังงานและสิ่งแวดล้อม
PPT การพัฒนาเมืองและระบบขนส่งที่ยั่งยืนในมิติด้านพลังงานและสิ่งแวดล้อมPPT การพัฒนาเมืองและระบบขนส่งที่ยั่งยืนในมิติด้านพลังงานและสิ่งแวดล้อม
PPT การพัฒนาเมืองและระบบขนส่งที่ยั่งยืนในมิติด้านพลังงานและสิ่งแวดล้อมFURD_RSU
 
Strategicnew9
Strategicnew9Strategicnew9
Strategicnew9TK Tof
 
Impact of Disruptive Technology in Businesses
Impact of Disruptive Technology in BusinessesImpact of Disruptive Technology in Businesses
Impact of Disruptive Technology in BusinessesSettapong Malisuwan
 
สถานการณ์เศรษฐกิจไทยและเศรษฐกิจโลก, ความสำเร็จในการบริหารจากภาครัฐสู่ภาคเอกชน...
สถานการณ์เศรษฐกิจไทยและเศรษฐกิจโลก, ความสำเร็จในการบริหารจากภาครัฐสู่ภาคเอกชน...สถานการณ์เศรษฐกิจไทยและเศรษฐกิจโลก, ความสำเร็จในการบริหารจากภาครัฐสู่ภาคเอกชน...
สถานการณ์เศรษฐกิจไทยและเศรษฐกิจโลก, ความสำเร็จในการบริหารจากภาครัฐสู่ภาคเอกชน...Settapong Malisuwan
 
PPT มองเมืองจากมุมมองนักผังเมือง
PPT มองเมืองจากมุมมองนักผังเมืองPPT มองเมืองจากมุมมองนักผังเมือง
PPT มองเมืองจากมุมมองนักผังเมืองFURD_RSU
 
Urbanization ของนครนนทบุรีและปริมณฑลในปัจจุบัน และอนาคต
Urbanization ของนครนนทบุรีและปริมณฑลในปัจจุบัน และอนาคตUrbanization ของนครนนทบุรีและปริมณฑลในปัจจุบัน และอนาคต
Urbanization ของนครนนทบุรีและปริมณฑลในปัจจุบัน และอนาคตFURD_RSU
 
The Creative Entrepreneur Mindset
The Creative Entrepreneur MindsetThe Creative Entrepreneur Mindset
The Creative Entrepreneur MindsetDavin Skonberg
 
เทคโนโลยีสารสนเทศสมัยใหม่ Thailand 4.0
เทคโนโลยีสารสนเทศสมัยใหม่ Thailand 4.0เทคโนโลยีสารสนเทศสมัยใหม่ Thailand 4.0
เทคโนโลยีสารสนเทศสมัยใหม่ Thailand 4.0Settapong Malisuwan
 
กรอบคิดการพัฒนาเมืองอย่างยั่งยืน
กรอบคิดการพัฒนาเมืองอย่างยั่งยืน  กรอบคิดการพัฒนาเมืองอย่างยั่งยืน
กรอบคิดการพัฒนาเมืองอย่างยั่งยืน FURD_RSU
 
2 รายละเอียดกฎหมายผังเมือง
2 รายละเอียดกฎหมายผังเมือง2 รายละเอียดกฎหมายผังเมือง
2 รายละเอียดกฎหมายผังเมืองThammawat INTACHAKRA
 
การพัฒนาเมืองของไทยในอนาคต: อุปสรรค นโยบาย กลไก และทางออก
การพัฒนาเมืองของไทยในอนาคต: อุปสรรค นโยบาย กลไก และทางออก การพัฒนาเมืองของไทยในอนาคต: อุปสรรค นโยบาย กลไก และทางออก
การพัฒนาเมืองของไทยในอนาคต: อุปสรรค นโยบาย กลไก และทางออก FURD_RSU
 
Business disruption in 21 century v7
Business disruption in 21 century v7Business disruption in 21 century v7
Business disruption in 21 century v7Settapong Malisuwan
 
บทบาทใหม่ของเมืองในยุคดิจิทัล
บทบาทใหม่ของเมืองในยุคดิจิทัลบทบาทใหม่ของเมืองในยุคดิจิทัล
บทบาทใหม่ของเมืองในยุคดิจิทัลFURD_RSU
 
นโยบายพัฒนาเมืองในประเทศไทยในศตวรรษที่ผ่านมา
นโยบายพัฒนาเมืองในประเทศไทยในศตวรรษที่ผ่านมานโยบายพัฒนาเมืองในประเทศไทยในศตวรรษที่ผ่านมา
นโยบายพัฒนาเมืองในประเทศไทยในศตวรรษที่ผ่านมาFURD_RSU
 
วิถีชีวิตคนเมืองในประเทศไทย
วิถีชีวิตคนเมืองในประเทศไทยวิถีชีวิตคนเมืองในประเทศไทย
วิถีชีวิตคนเมืองในประเทศไทยFURD_RSU
 

Viewers also liked (20)

PPT การพัฒนาเมืองและระบบขนส่งที่ยั่งยืนในมิติด้านพลังงานและสิ่งแวดล้อม
PPT การพัฒนาเมืองและระบบขนส่งที่ยั่งยืนในมิติด้านพลังงานและสิ่งแวดล้อมPPT การพัฒนาเมืองและระบบขนส่งที่ยั่งยืนในมิติด้านพลังงานและสิ่งแวดล้อม
PPT การพัฒนาเมืองและระบบขนส่งที่ยั่งยืนในมิติด้านพลังงานและสิ่งแวดล้อม
 
Strategicnew9
Strategicnew9Strategicnew9
Strategicnew9
 
Presentation on BI & HR Mgt
Presentation on BI & HR MgtPresentation on BI & HR Mgt
Presentation on BI & HR Mgt
 
Impact of Disruptive Technology in Businesses
Impact of Disruptive Technology in BusinessesImpact of Disruptive Technology in Businesses
Impact of Disruptive Technology in Businesses
 
Global technology outlook
Global technology outlookGlobal technology outlook
Global technology outlook
 
Employment 4.0 4 pub
Employment 4.0 4 pubEmployment 4.0 4 pub
Employment 4.0 4 pub
 
สถานการณ์เศรษฐกิจไทยและเศรษฐกิจโลก, ความสำเร็จในการบริหารจากภาครัฐสู่ภาคเอกชน...
สถานการณ์เศรษฐกิจไทยและเศรษฐกิจโลก, ความสำเร็จในการบริหารจากภาครัฐสู่ภาคเอกชน...สถานการณ์เศรษฐกิจไทยและเศรษฐกิจโลก, ความสำเร็จในการบริหารจากภาครัฐสู่ภาคเอกชน...
สถานการณ์เศรษฐกิจไทยและเศรษฐกิจโลก, ความสำเร็จในการบริหารจากภาครัฐสู่ภาคเอกชน...
 
PPT มองเมืองจากมุมมองนักผังเมือง
PPT มองเมืองจากมุมมองนักผังเมืองPPT มองเมืองจากมุมมองนักผังเมือง
PPT มองเมืองจากมุมมองนักผังเมือง
 
Urbanization ของนครนนทบุรีและปริมณฑลในปัจจุบัน และอนาคต
Urbanization ของนครนนทบุรีและปริมณฑลในปัจจุบัน และอนาคตUrbanization ของนครนนทบุรีและปริมณฑลในปัจจุบัน และอนาคต
Urbanization ของนครนนทบุรีและปริมณฑลในปัจจุบัน และอนาคต
 
The Creative Entrepreneur Mindset
The Creative Entrepreneur MindsetThe Creative Entrepreneur Mindset
The Creative Entrepreneur Mindset
 
เทคโนโลยีสารสนเทศสมัยใหม่ Thailand 4.0
เทคโนโลยีสารสนเทศสมัยใหม่ Thailand 4.0เทคโนโลยีสารสนเทศสมัยใหม่ Thailand 4.0
เทคโนโลยีสารสนเทศสมัยใหม่ Thailand 4.0
 
กรอบคิดการพัฒนาเมืองอย่างยั่งยืน
กรอบคิดการพัฒนาเมืองอย่างยั่งยืน  กรอบคิดการพัฒนาเมืองอย่างยั่งยืน
กรอบคิดการพัฒนาเมืองอย่างยั่งยืน
 
4A's Agency2020 Report
4A's Agency2020 Report4A's Agency2020 Report
4A's Agency2020 Report
 
2 รายละเอียดกฎหมายผังเมือง
2 รายละเอียดกฎหมายผังเมือง2 รายละเอียดกฎหมายผังเมือง
2 รายละเอียดกฎหมายผังเมือง
 
การพัฒนาเมืองของไทยในอนาคต: อุปสรรค นโยบาย กลไก และทางออก
การพัฒนาเมืองของไทยในอนาคต: อุปสรรค นโยบาย กลไก และทางออก การพัฒนาเมืองของไทยในอนาคต: อุปสรรค นโยบาย กลไก และทางออก
การพัฒนาเมืองของไทยในอนาคต: อุปสรรค นโยบาย กลไก และทางออก
 
Business disruption in 21 century v7
Business disruption in 21 century v7Business disruption in 21 century v7
Business disruption in 21 century v7
 
บทบาทใหม่ของเมืองในยุคดิจิทัล
บทบาทใหม่ของเมืองในยุคดิจิทัลบทบาทใหม่ของเมืองในยุคดิจิทัล
บทบาทใหม่ของเมืองในยุคดิจิทัล
 
นโยบายพัฒนาเมืองในประเทศไทยในศตวรรษที่ผ่านมา
นโยบายพัฒนาเมืองในประเทศไทยในศตวรรษที่ผ่านมานโยบายพัฒนาเมืองในประเทศไทยในศตวรรษที่ผ่านมา
นโยบายพัฒนาเมืองในประเทศไทยในศตวรรษที่ผ่านมา
 
วิถีชีวิตคนเมืองในประเทศไทย
วิถีชีวิตคนเมืองในประเทศไทยวิถีชีวิตคนเมืองในประเทศไทย
วิถีชีวิตคนเมืองในประเทศไทย
 
บริบทการเปลี่ยนแปลงของประเทศ
บริบทการเปลี่ยนแปลงของประเทศบริบทการเปลี่ยนแปลงของประเทศ
บริบทการเปลี่ยนแปลงของประเทศ
 

More from FURD_RSU

เมืองตะโหมด ต้นแบบการสร้างสุขภาวะเด็กเล็ก
เมืองตะโหมด ต้นแบบการสร้างสุขภาวะเด็กเล็กเมืองตะโหมด ต้นแบบการสร้างสุขภาวะเด็กเล็ก
เมืองตะโหมด ต้นแบบการสร้างสุขภาวะเด็กเล็กFURD_RSU
 
FURD SUMMIT 2019 นวัตกรรมสร้างสรรค์เมืองสุขภาวะ
FURD SUMMIT 2019 นวัตกรรมสร้างสรรค์เมืองสุขภาวะFURD SUMMIT 2019 นวัตกรรมสร้างสรรค์เมืองสุขภาวะ
FURD SUMMIT 2019 นวัตกรรมสร้างสรรค์เมืองสุขภาวะFURD_RSU
 
เมืองบางคูรัด การสร้างสุขภาวะเมืองด้วยนวัตกรรมชุมชนเกื้อกูล
เมืองบางคูรัด การสร้างสุขภาวะเมืองด้วยนวัตกรรมชุมชนเกื้อกูลเมืองบางคูรัด การสร้างสุขภาวะเมืองด้วยนวัตกรรมชุมชนเกื้อกูล
เมืองบางคูรัด การสร้างสุขภาวะเมืองด้วยนวัตกรรมชุมชนเกื้อกูลFURD_RSU
 
เมืองหนองป่าครั่ง: การสร้างเมืองสุขภาวะด้วยแนวคิดการจัดสวัสดิการสังคม
เมืองหนองป่าครั่ง: การสร้างเมืองสุขภาวะด้วยแนวคิดการจัดสวัสดิการสังคมเมืองหนองป่าครั่ง: การสร้างเมืองสุขภาวะด้วยแนวคิดการจัดสวัสดิการสังคม
เมืองหนองป่าครั่ง: การสร้างเมืองสุขภาวะด้วยแนวคิดการจัดสวัสดิการสังคมFURD_RSU
 
เมืองป่าตอง: การสร้างสุขภาวะเมืองท่องเที่ยวระดับโลก อย่างมีส่วนร่วม
เมืองป่าตอง: การสร้างสุขภาวะเมืองท่องเที่ยวระดับโลก อย่างมีส่วนร่วมเมืองป่าตอง: การสร้างสุขภาวะเมืองท่องเที่ยวระดับโลก อย่างมีส่วนร่วม
เมืองป่าตอง: การสร้างสุขภาวะเมืองท่องเที่ยวระดับโลก อย่างมีส่วนร่วมFURD_RSU
 
นครเชียงราย: มหาวิทยาลัยวัยที่สาม : การพัฒนาผู้สูงอายุ สู่การพัฒนาเศรษฐกิจและ...
นครเชียงราย: มหาวิทยาลัยวัยที่สาม : การพัฒนาผู้สูงอายุ สู่การพัฒนาเศรษฐกิจและ...นครเชียงราย: มหาวิทยาลัยวัยที่สาม : การพัฒนาผู้สูงอายุ สู่การพัฒนาเศรษฐกิจและ...
นครเชียงราย: มหาวิทยาลัยวัยที่สาม : การพัฒนาผู้สูงอายุ สู่การพัฒนาเศรษฐกิจและ...FURD_RSU
 
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 16
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 16FURD Cities Monitor ฉบับที่ 16
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 16FURD_RSU
 
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 15
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 15FURD Cities Monitor ฉบับที่ 15
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 15FURD_RSU
 
เมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อม
เมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อมเมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อม
เมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อมFURD_RSU
 
อี้อู (义乌) เมืองการค้าโลก การพัฒนาเมืองตอนใน สู่เมืองการค้าโลก
อี้อู (义乌) เมืองการค้าโลก การพัฒนาเมืองตอนใน สู่เมืองการค้าโลกอี้อู (义乌) เมืองการค้าโลก การพัฒนาเมืองตอนใน สู่เมืองการค้าโลก
อี้อู (义乌) เมืองการค้าโลก การพัฒนาเมืองตอนใน สู่เมืองการค้าโลกFURD_RSU
 
Info graphic ยะลาโมเดล การจัดการเมืองเพื่อสันติสุข
Info graphic ยะลาโมเดล การจัดการเมืองเพื่อสันติสุขInfo graphic ยะลาโมเดล การจัดการเมืองเพื่อสันติสุข
Info graphic ยะลาโมเดล การจัดการเมืองเพื่อสันติสุขFURD_RSU
 
info graphic เชียงใหม่โมเดล พลังพลเมือง
info graphic เชียงใหม่โมเดล พลังพลเมืองinfo graphic เชียงใหม่โมเดล พลังพลเมือง
info graphic เชียงใหม่โมเดล พลังพลเมืองFURD_RSU
 
info graphic นิยามของมรดกเมือง
info graphic นิยามของมรดกเมืองinfo graphic นิยามของมรดกเมือง
info graphic นิยามของมรดกเมืองFURD_RSU
 
Info graphic ความเป็นเมืองของประเทศไทย
Info graphic ความเป็นเมืองของประเทศไทยInfo graphic ความเป็นเมืองของประเทศไทย
Info graphic ความเป็นเมืองของประเทศไทยFURD_RSU
 
วิจัย สุมหัวกันในที่ที่สาม กระบวนการตามหาชุมชนทางวัฒนธรรมของคนรุ่นใหม่ในนครตรัง
วิจัย สุมหัวกันในที่ที่สาม กระบวนการตามหาชุมชนทางวัฒนธรรมของคนรุ่นใหม่ในนครตรังวิจัย สุมหัวกันในที่ที่สาม กระบวนการตามหาชุมชนทางวัฒนธรรมของคนรุ่นใหม่ในนครตรัง
วิจัย สุมหัวกันในที่ที่สาม กระบวนการตามหาชุมชนทางวัฒนธรรมของคนรุ่นใหม่ในนครตรังFURD_RSU
 
เมืองแม่มอก การสร้าง Care Giver ดูแลผู้สูงอายุโดยภาคประชาสังคม
เมืองแม่มอก การสร้าง Care Giver ดูแลผู้สูงอายุโดยภาคประชาสังคมเมืองแม่มอก การสร้าง Care Giver ดูแลผู้สูงอายุโดยภาคประชาสังคม
เมืองแม่มอก การสร้าง Care Giver ดูแลผู้สูงอายุโดยภาคประชาสังคมFURD_RSU
 
FURD CITIES MONITOR VOL.14 (JANUARY 2019)
FURD CITIES MONITOR VOL.14 (JANUARY 2019)FURD CITIES MONITOR VOL.14 (JANUARY 2019)
FURD CITIES MONITOR VOL.14 (JANUARY 2019)FURD_RSU
 
โมเดลการดูแลสุขภาพในเขตเมือง เมืองรอบพื้นที่อุตสาหกรรม แหลมฉบัง จ.ชลบุรี
โมเดลการดูแลสุขภาพในเขตเมือง เมืองรอบพื้นที่อุตสาหกรรม แหลมฉบัง จ.ชลบุรีโมเดลการดูแลสุขภาพในเขตเมือง เมืองรอบพื้นที่อุตสาหกรรม แหลมฉบัง จ.ชลบุรี
โมเดลการดูแลสุขภาพในเขตเมือง เมืองรอบพื้นที่อุตสาหกรรม แหลมฉบัง จ.ชลบุรีFURD_RSU
 
FURD CITIES MONITOR VOL.13 (DECEMBER 2018)
FURD CITIES MONITOR VOL.13 (DECEMBER 2018)FURD CITIES MONITOR VOL.13 (DECEMBER 2018)
FURD CITIES MONITOR VOL.13 (DECEMBER 2018)FURD_RSU
 
Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...
Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...
Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...FURD_RSU
 

More from FURD_RSU (20)

เมืองตะโหมด ต้นแบบการสร้างสุขภาวะเด็กเล็ก
เมืองตะโหมด ต้นแบบการสร้างสุขภาวะเด็กเล็กเมืองตะโหมด ต้นแบบการสร้างสุขภาวะเด็กเล็ก
เมืองตะโหมด ต้นแบบการสร้างสุขภาวะเด็กเล็ก
 
FURD SUMMIT 2019 นวัตกรรมสร้างสรรค์เมืองสุขภาวะ
FURD SUMMIT 2019 นวัตกรรมสร้างสรรค์เมืองสุขภาวะFURD SUMMIT 2019 นวัตกรรมสร้างสรรค์เมืองสุขภาวะ
FURD SUMMIT 2019 นวัตกรรมสร้างสรรค์เมืองสุขภาวะ
 
เมืองบางคูรัด การสร้างสุขภาวะเมืองด้วยนวัตกรรมชุมชนเกื้อกูล
เมืองบางคูรัด การสร้างสุขภาวะเมืองด้วยนวัตกรรมชุมชนเกื้อกูลเมืองบางคูรัด การสร้างสุขภาวะเมืองด้วยนวัตกรรมชุมชนเกื้อกูล
เมืองบางคูรัด การสร้างสุขภาวะเมืองด้วยนวัตกรรมชุมชนเกื้อกูล
 
เมืองหนองป่าครั่ง: การสร้างเมืองสุขภาวะด้วยแนวคิดการจัดสวัสดิการสังคม
เมืองหนองป่าครั่ง: การสร้างเมืองสุขภาวะด้วยแนวคิดการจัดสวัสดิการสังคมเมืองหนองป่าครั่ง: การสร้างเมืองสุขภาวะด้วยแนวคิดการจัดสวัสดิการสังคม
เมืองหนองป่าครั่ง: การสร้างเมืองสุขภาวะด้วยแนวคิดการจัดสวัสดิการสังคม
 
เมืองป่าตอง: การสร้างสุขภาวะเมืองท่องเที่ยวระดับโลก อย่างมีส่วนร่วม
เมืองป่าตอง: การสร้างสุขภาวะเมืองท่องเที่ยวระดับโลก อย่างมีส่วนร่วมเมืองป่าตอง: การสร้างสุขภาวะเมืองท่องเที่ยวระดับโลก อย่างมีส่วนร่วม
เมืองป่าตอง: การสร้างสุขภาวะเมืองท่องเที่ยวระดับโลก อย่างมีส่วนร่วม
 
นครเชียงราย: มหาวิทยาลัยวัยที่สาม : การพัฒนาผู้สูงอายุ สู่การพัฒนาเศรษฐกิจและ...
นครเชียงราย: มหาวิทยาลัยวัยที่สาม : การพัฒนาผู้สูงอายุ สู่การพัฒนาเศรษฐกิจและ...นครเชียงราย: มหาวิทยาลัยวัยที่สาม : การพัฒนาผู้สูงอายุ สู่การพัฒนาเศรษฐกิจและ...
นครเชียงราย: มหาวิทยาลัยวัยที่สาม : การพัฒนาผู้สูงอายุ สู่การพัฒนาเศรษฐกิจและ...
 
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 16
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 16FURD Cities Monitor ฉบับที่ 16
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 16
 
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 15
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 15FURD Cities Monitor ฉบับที่ 15
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 15
 
เมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อม
เมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อมเมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อม
เมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อม
 
อี้อู (义乌) เมืองการค้าโลก การพัฒนาเมืองตอนใน สู่เมืองการค้าโลก
อี้อู (义乌) เมืองการค้าโลก การพัฒนาเมืองตอนใน สู่เมืองการค้าโลกอี้อู (义乌) เมืองการค้าโลก การพัฒนาเมืองตอนใน สู่เมืองการค้าโลก
อี้อู (义乌) เมืองการค้าโลก การพัฒนาเมืองตอนใน สู่เมืองการค้าโลก
 
Info graphic ยะลาโมเดล การจัดการเมืองเพื่อสันติสุข
Info graphic ยะลาโมเดล การจัดการเมืองเพื่อสันติสุขInfo graphic ยะลาโมเดล การจัดการเมืองเพื่อสันติสุข
Info graphic ยะลาโมเดล การจัดการเมืองเพื่อสันติสุข
 
info graphic เชียงใหม่โมเดล พลังพลเมือง
info graphic เชียงใหม่โมเดล พลังพลเมืองinfo graphic เชียงใหม่โมเดล พลังพลเมือง
info graphic เชียงใหม่โมเดล พลังพลเมือง
 
info graphic นิยามของมรดกเมือง
info graphic นิยามของมรดกเมืองinfo graphic นิยามของมรดกเมือง
info graphic นิยามของมรดกเมือง
 
Info graphic ความเป็นเมืองของประเทศไทย
Info graphic ความเป็นเมืองของประเทศไทยInfo graphic ความเป็นเมืองของประเทศไทย
Info graphic ความเป็นเมืองของประเทศไทย
 
วิจัย สุมหัวกันในที่ที่สาม กระบวนการตามหาชุมชนทางวัฒนธรรมของคนรุ่นใหม่ในนครตรัง
วิจัย สุมหัวกันในที่ที่สาม กระบวนการตามหาชุมชนทางวัฒนธรรมของคนรุ่นใหม่ในนครตรังวิจัย สุมหัวกันในที่ที่สาม กระบวนการตามหาชุมชนทางวัฒนธรรมของคนรุ่นใหม่ในนครตรัง
วิจัย สุมหัวกันในที่ที่สาม กระบวนการตามหาชุมชนทางวัฒนธรรมของคนรุ่นใหม่ในนครตรัง
 
เมืองแม่มอก การสร้าง Care Giver ดูแลผู้สูงอายุโดยภาคประชาสังคม
เมืองแม่มอก การสร้าง Care Giver ดูแลผู้สูงอายุโดยภาคประชาสังคมเมืองแม่มอก การสร้าง Care Giver ดูแลผู้สูงอายุโดยภาคประชาสังคม
เมืองแม่มอก การสร้าง Care Giver ดูแลผู้สูงอายุโดยภาคประชาสังคม
 
FURD CITIES MONITOR VOL.14 (JANUARY 2019)
FURD CITIES MONITOR VOL.14 (JANUARY 2019)FURD CITIES MONITOR VOL.14 (JANUARY 2019)
FURD CITIES MONITOR VOL.14 (JANUARY 2019)
 
โมเดลการดูแลสุขภาพในเขตเมือง เมืองรอบพื้นที่อุตสาหกรรม แหลมฉบัง จ.ชลบุรี
โมเดลการดูแลสุขภาพในเขตเมือง เมืองรอบพื้นที่อุตสาหกรรม แหลมฉบัง จ.ชลบุรีโมเดลการดูแลสุขภาพในเขตเมือง เมืองรอบพื้นที่อุตสาหกรรม แหลมฉบัง จ.ชลบุรี
โมเดลการดูแลสุขภาพในเขตเมือง เมืองรอบพื้นที่อุตสาหกรรม แหลมฉบัง จ.ชลบุรี
 
FURD CITIES MONITOR VOL.13 (DECEMBER 2018)
FURD CITIES MONITOR VOL.13 (DECEMBER 2018)FURD CITIES MONITOR VOL.13 (DECEMBER 2018)
FURD CITIES MONITOR VOL.13 (DECEMBER 2018)
 
Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...
Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...
Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...
 

ผู้นำเมืองกับการบริหารจัดการเมือง

  • 1. ปู้นาการบริหารจัดการเมืองรุ่นใหม่: กรณีศึกษา คลองชองเกชอน เกาหลีใต้ ดารณี เสือเย๊ะ ปู้ช่วยนักวิจัย แปนงานนโยบายสาธารณะเพื่อการพัถนาอนาคตของเมือง ศูนย์ศึกษามหานครและเมือง มหาวิทยาลัยรังสิต
  • 2. Bogota : ตัวอย่างการพัถนาเมืองด้วยหลักคิดเรื่องความเท่าเทียม | 2 ผู้นาการบริหารจัดการเมืองรุ่นใหม่: กรณีศึกษา คลองชองเกชอน เกาหลีใต้ ที่มา: Eui-Seung Kim. (2008). COMMUNITY HERO: LEE MYUNG-BAK [online], Retrieved: http://www.myhero.com/go/hero.asp?hero=Lee_Myung_Bak_PSU_07 ดารณี เสือเย๊ะ แผนงานนโยบายสาธารณะเพื่อการพัฒนาอนาคตของเมือง
  • 3. Bogota : ตัวอย่างการพัถนาเมืองด้วยหลักคิดเรื่องความเท่าเทียม | 3 ในทศวรรษ 1970 คลองชองเกชอน (Cheonggyecheon Stream) ที่ถูกปิดทับด้วยพื้นถนน คอนกรีตและทางด่วนยกระดับ เนื่องมาจากปัญหาเรื่องสุขาภิบาลจากการที่มีผู้คนจานวนมากอพยพเข้า มาตั้งรกรากตลอดสองฝั่งคลองในช่วงหลังสงครามเกาหลี พื้นที่ดังกล่าวได้รับการกล่าวขานว่า เป็น สัญลักษณ์ของความก้าวหน้า แต่ในปี ค.ศ. 2000 พื้นที่บริเวณชองเก (Cheonggye Area) ถูกจัดว่า เป็น ย่านที่แออัดและจอแจมากที่สุดในโซล ทรุดโทรมมากถึงขั้นต้องได้รับการฟื้นฟู ผู้คนในเมืองต่างเห็น พ้องต้องกันว่า ในพื้นที่ดังกล่าว ไม่มีสิ่งใดที่จะต้องได้รับการปรับปรุงแก้ไขอย่างเร่งด่วนมากเท่า ถนนและทางด่วนยกระดับชองเก คลองชองเกชอน มีอายุกว่า 600 ปี เป็นคลองตามธรรมชาติที่ได้รับการบูรณะครั้งสาคัญในสมัย ราชวงศ์โชซอน (The Joseon Dynasty) เพื่อทาระบบระบายน้า เนื่องจากโซลมักประสบปัญหาขาด แคลนน้า ไม่ก็เกิดน้าท่วมใหญ่สลับไปมาอยู่เสมอ การพัฒนาเศรษฐกิจของเกาหลีใต้ในช่วงปี ค.ศ. 1960-1990 ทาให้ความเป็นเมืองของเกาหลีใต้ เพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว เฉลี่ย 15.6% ในทุก ๆ 10 ปี 60% ของประชากรจะอาศัยอยู่ในเมืองใหญ่ (ประชากรมากกว่า 1 ล้านคน) และสัดส่วนของคนที่อาศัยอยู่ในเมืองเพิ่มขึ้นจาก 21% ในปี ค.ศ. 1960 เป็น 43% ในปี ค.ศ. 19901 พื้นที่ดังกล่าวกลายมาเป็นตัวอย่างความสาเร็จในการพัฒนาอุตสาหกรรม และความเป็นเมืองที่ทันสมัยของเกาหลีใต้ ในขณะที่ตลอดเส้นทางน้ากลับเต็มไปด้วยประชาชนจาก ชนบทที่อพยพเข้ามาตั้งรกรากในเมืองหลวง ตามมาด้วยปัญหาเรื่องสิ่งแวดล้อม น้าในคลอง และพื้นที่ ดังกล่าวถูกทิ้งให้เสื่อมโทรม 1 The World Bank. (2013). Planning, connecting and financing cities now [online], 10 May 2014. Retrieved: http://siteresources.worldbank.org/EXTSDNET/Resources/Urbanization-Planning-Connecting- Financing-2013.pdf
  • 4. Bogota : ตัวอย่างการพัถนาเมืองด้วยหลักคิดเรื่องความเท่าเทียม | 4 ที่มา: CABE. (2011). The Cheonggyecheon Restoration Project [online], 21 May 2014. Retrieved: http://webarchive.nationalarchives.gov.uk/20110118095356/http:/www.cabe.org.uk/case- studies/cheonggyecheon-restoration-project เมื่อลีเมียงบัคได้รับการเลือกตั้งเป็นนายกเทศมนตรีของกรุงโซลในปี ค.ศ. 2002 นโยบายสาคัญ ที่เขาได้ให้คามั่นสัญญากับประชาชนไว้ก็คือ การรื้อถอนทางด่วนที่ทรุดโทรมและฟื้นฟูคลองชองเกชอน สายน้าประวัติศาสตร์ให้กลายมาเป็นสถานที่พักผ่อนหย่อนใจแห่งใหม่ใจกลางกรุงโซล และต้องการ ปรับปรุงระบบการเชื่อมต่อระหว่างเมืองทางตอนเหนือและตอนใต้ที่แยกออกจากกันโดยมีทางด่วนเป็น เป็นตัวแบ่ง การตัดสินใจของนายกเทศมนตรีลีเมียงบัคภายใต้แรงกดดันจากบรรดาผู้เชี่ยวชาญด้านการ คมนาคมที่ออกมาแสดงความกังวลต่อปัญหาการจราจรที่คับคั่งหากมีการรื้อทางยกระดับทิ้งไป เนื่องจาก ในแต่ละวันมีรถยนต์กว่า 170,000 คันที่ใช้ถนนเส้นนี้ ประกอบกับเสียงคัดค้านจากบรรดานักธุรกิจและผู้ มีส่วนได้เสียในบริเวณนั้นเป็นจานวนมาก ซึ่งกว่าโครงการจะแล้วเสร็จได้จัดการประชุมหารือร่วมกันกว่า 4,200 ครั้ง2 ทั้งการประชุมที่เป็นทางการและไม่เป็นทางการ ไม่ว่าจะเป็น การประชุมเพื่อติดตามและ ตรวจสอบความก้าวหน้าของโครงการ การทาสารวจความคิดเห็น หรือการสัมภาษณ์ตามท้องตลาด ทั้งนี้ เพื่อสร้างฉันทามติร่วมกัน นอกจากนี้ ยังมีการนาเสนอแรงจูงใจต่าง ๆ ให้แก่ผู้ประกอบการที่ได้รับ ผลกระทบจากการรื้อถอนทางด่วน เช่น ลดค่าธรรมเนียมที่จอดรถ ปรับปรุงระบบการขนถ่ายสินค้า หรือ จัดพื้นที่พิเศษสาหรับผู้ค้าหาบเร่แผงลอยและศูนย์กลางธุรกิจแห่งใหม่นอกพื้นที่ชองเก 2 Landscape Architecture Foundation. Cheonggyecheon Stream Restorstion Project [online], 13 May 2014. Retrieved: http://www.lafoundation.org/research/landscape-performance-series/case-studies/case-study/382/
  • 5. Bogota : ตัวอย่างการพัถนาเมืองด้วยหลักคิดเรื่องความเท่าเทียม | 5 บทเรียนสาคัญที่ได้รับจากกรณีของการฟื้นฟูคลองชองเกชอนเกี่ยวกับความรัดกุมและความ ครอบคลุมในการวางแผนงาน คือ การออกแบบแนวทางการแก้ปัญหาจะละเลยความต้องการของ ผู้ที่เกี่ยวข้องทุกฝ่ายไม่ได้เป็นอันขาด ต้องพิจารณาตั้งแต่ขั้นแรกเริ่มของการวางแผนโครงการไป จนถึงขั้นตอนการออกแบบ กรณีการมองข้ามผู้พิการทางสายตาและผู้ที่มีความบกพร่องทางการ เคลื่อนไหวต่อการใช้ประโยชน์จากคลองชองเกชอน ทาให้หลังจากที่มีการประท้วงอย่างหนักแล้ว ได้มี การติดตั้งลิฟท์เพิ่มเติมเข้าไปทีหลังทั้งหมด 7 จุด และให้บริการรถวีลแชร์ฟรีแก่ผู้ที่มีความบกพร่อง ทางการเคลื่อนไหว ที่มา: Dr In-Keun LEE. (2006). Cheong Gye Cheon Restoration Project - a revolution in Seoul -. [online], 13 May 2014. Retrieved: http://www.dsi.gov.tr/docs/sempozyumlar/a%C3%A7%C4%B1l%C4%B1%C5%9F- seul-sular-idaresi-necati-a%C4%9F%C4%B1ralio%C4%9Flu.pdf?sfvrsn=2 โครงการฟื้นฟูคลองชองเกชอนเสร็จสมบูรณ์ในปี ค.ศ. 2005 ความหลากหลายทางชีวภาพใน บริเวณดังกล่าวเพิ่มสูงถึง 639%3 นอกจากสภาพแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลงไปในทางที่ดีขึ้นแล้ว ตัวเลขการ ขยายตัวทางเศรษฐกิจในบริเวณดังกล่าวก็เพิ่มสูงขึ้น 3.5% ในช่วงปี ค.ศ. 2002-2003 ซึ่งเป็นตัวเลขที่ มากเป็นสองเท่าของอัตราการเติบโตทางเศรษฐกิจเมื่อเปรียบเทียบกับบริเวณอื่น ๆ ในกรุงโซล 3 Andrew C. Revkin. (2009). Peeling Back Pavement to Expose Watery Havens [online], 15 May 2014. Retrieved: http://www.nytimes.com/2009/07/17/world/asia/17daylight.html?_r=1
  • 6. Bogota : ตัวอย่างการพัถนาเมืองด้วยหลักคิดเรื่องความเท่าเทียม | 6 ความสาเร็จของโครงการฟื้นฟูคลองชองเกชอนทาให้นายลีได้รับฉายาว่า “รถแทรกเตอร์” (Bulldozer) และส่งผลให้เขากลายมาเป็นคู่แข่งคนสาคัญในการลงสมัครชิงตาแหน่งประธานาธิบดีของ เกาหลีใต้ และชนะการเลือกตั้งในปี ค.ศ. 2007 ด้วยคะแนนเสียง 48.7% ทิ้งห่างคู่แข่งที่ได้อันดับสองซึ่ง ได้รับเสียงสนับสนุนที่ 26.1% ถือเป็นการชนะคะแนนที่ทิ้งห่างคู่แข่งมากที่สุดในการเลือกตั้ง ประธานาธิบดีเกาหลีใต้ทุกครั้งที่ผ่านมา4 ถือเป็นตัวอย่างสาคัญของการปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน์ในการบริหารจัดการเมือง (Urban Management) ที่เปลี่ยนจากการมุ่งเน้นเรื่องทางกายภาพหรือภูมิทัศน์ของเมือง (Urban Landscape) เป็นหลัก ไปสู่การให้คุณค่ากับคุณภาพชีวิตที่ดีของคนเมือง ให้ความสาคัญกับการพัฒนาที่เป็นมิตรกับ สิ่งแวดล้อม และการฟื้นฟูประวัติศาสตร์ของเมืองที่เคยถูกปกคลุมไว้ด้วยกับกระแสการพัฒนาทาง เศรษฐกิจ นอกจากนี้ โครงการฟื้นฟูคลองชองเกชอนยังเป็นอีกหนึ่งตัวอย่างของการบริหารจัดการ โครงการที่ประสบความสาเร็จ (Successful Project Management) โดยเฉพาะการจัดการความขัดแย้ง อันเนื่องมาจากการจัดทาโครงการขนาดใหญ่ที่เกี่ยวข้องกับสาธารณะ มีผู้มีส่วนได้เสียเป็นจานวนมาก สรุปได้ว่า นโยบายของรัฐจะสาเร็จได้ นอกจากวิสัยทัศน์และความเก่งกาจของผู้นาแล้ว ยังต้องพิจารณาถึงการยอมรับ การสนับสนุน และร่วมปฏิบัตินโยบายอย่างกระตือรือร้นจากผู้ที่ มีส่วนเกี่ยวข้องทุกภาคส่วนอีกด้วย 4 The New York Times. Conservative Wins Vote in South Korea [online], 15 May 2557. Retrieved: http://www.nytimes.com/2007/12/20/world/asia/20korea.html?pagewanted=all&_r=0