SlideShare a Scribd company logo
ข้อเสนอแนะที่สําคัญต่อร่างหลักสูตรความรู้ทางการเงินขั้นพื้นฐานของคนไทย
คณะกรรมการการให้ความรู้ทางการเงิน
สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง (สศค.) ได้ร่วมกับมูลนิธิสถาบันวิจัยนโยบายเศรษฐกิจการคลัง (มูลนิธิ
สวค.) ในการดําเนินการวิเคราะห์และวิจัยความรู้ทางการเงินของคนไทยในประเด็นต่าง ๆ โดยเป็นการศึกษา
ต่อยอดจากการนําผลสํารวจและผลการศึกษาที่ผ่านมา นํามาวางแผนและออกแบบการพัฒนาและยกระดับ
ความรู้ทางการเงินของคนไทยอย่างต่อเนื่อง
ซึ่งการศึกษาในโครงการนี้ประกอบด้วยหลายส่วนงานด้วยกัน ส่วนหนึ่งของการดําเนินงานคือ การ
พัฒนามาตรฐานความรู้ทางการเงินทั้งในระดับพื้นฐาน ปานกลาง และระดับสูง และพัฒนาหลักสูตรความรู้ทาง
การเงินพื้นฐานครอบคลุมกลุ่มหลัก 12 กลุ่ม ได้แก่ 1) กลุ่มอาชีวศึกษาและอุดมศึกษา 2) กลุ่มเอกชนอาชีพ
อิสระรายได้น้อย 3) กลุ่มเอกชนมีนายจ้างรายได้น้อย 4) กลุ่มเอกชนอาชีพอิสระรายได้สูง 5) กลุ่มเกษตรกร 6)
กลุ่มภาครัฐ 7) กลุ่มเกษียณอายุ 8) กลุ่มเจ้าของกิจการ 9) กลุ่มลูกหนี้ 10) กลุ่มเริ่มทํางาน 11) กลุ่มเริ่มมี
ครอบครัว และ 12) กลุ่มผู้ให้ความรู้ทางการเงิน
จากผลสํารวจของโครงการการให้ความรู้ทางการเงินแก่ประชาชน ปี 2556 ซึ่งสํานักงานเศรษฐกิจการ
คลัง (สศค.) ร่วมกับ มูลนิธิสถาบันวิจัยนโยบายเศรษฐกิจการคลัง (มูลนิธิ สวค.) ได้สํารวจระดับความรู้ทาง
การเงินของคนไทย ในปี พ.ศ. 2556 ที่ผ่านมา จากผลสํารวจแสดงให้เห็นว่ากลุ่มเป้าหมายมีระดับความรู้ทาง
การเงินต่ํากว่าระดับที่คาดหวังของหน่วยงานให้ความรู้ทางการเงินในมิติที่แตกต่างกัน
ที่ผ่านมาได้มีการจัดประชุมเพื่อรับฟังความคิดเห็นเฉพาะกลุ่มไปแล้วทั้งสิ้น 4 ครั้ง และได้นําเอาความ
คิดเห็นจากผู้มีส่วนเกี่ยวข้องกับการนํามาตรฐานและหลักสูตรความรู้ทางการเงินสําหรับคนไทยเพื่อสังเคราะห์
ออกมาเป็นมาตรฐานและหลักสูตรความรู้ทางการเงินสําหรับคนไทย ซึ่งนํามาสู่การประชุมเพื่อจัดทําประชา
พิจารณ์ (Public Hearing) 1 ครั้ง
ซึ่งผู้เข้าร่วมการประชุมระดมความคิดเห็นที่จัดขึ้นทั้ง 4 ครั้ง และผู้เข้าร่วมสัมมนา แสดงความคิดเห็น
ว่าเนื้อหาหลักสูตรมีความครอบคลุมดีแล้ว อย่างไรก็ตาม ผู้ทรงคุณวุฒิที่มาเข้าร่วมประชุมและสัมมนา ซึ่งล้วน
แต่มีประสบการณ์ในการให้ความรู้ทางการเงินได้มีข้อเสนอแนะเพิ่มเติมที่สําคัญ ดังนี้
(1) เนื้อหาควรสอดคล้องกับบริบทของคนไทย และมีการสอดแทรกเรื่องคุณธรรมจริยธรรมควบคู่กับ
การให้ความรู้ทางการเงิน ผู้เข้าร่วมประชุมหลาย ๆ ท่าน จึงเสนอให้เพิ่มเนื้อหาในส่วนของ วินัย
ทางการเงิน ความรับผิดชอบต่อสังคม (โดยเฉพาะในส่วนของเนื้อหาเกี่ยวกับหนี้) และเรื่องที่
สําคัญสําหรับทุกกลุ่ม คือ ความรู้เรื่อง เศรษฐกิจพอเพียง และการประยุกต์ใช้
(2) เนื้อหาที่สอนให้ผู้เรียนรู้จักตนเอง หรือรู้จักพฤติกรรมของตนเอง ผ่านการทํางบรายได้-ค่าใช้จ่าย
ส่วนบุคคล และงบดุล
(3) ช่องทางการเข้าถึงและวิธีการที่สื่อไปถึงกลุ่มเป้าหมายเป็นเรื่องสําคัญ เช่น การย่อยภาษาให้เข้าใจ
ง่าย ใช้รูปแบบให้เหมาะสมกับกลุ่มต่าง ๆ เป็นต้น
โดยข้อเสนอแนะที่สําคัญ สําหรับกลุ่มอาชีวศึกษาและอุดมศึกษา ได้แก่
• ควรเพิ่มเรื่องการวางแผนเกษียณอายุสําหรับคนกลุ่มนี้ ผู้เข้าร่วมประชุมเห็นว่าไม่ใช่เรื่อง
ไกลตัว ควรมีการวางแผนตั้งแต่อายุยังน้อย
• เด็กรุ่นใหม่มีความต้องการจะเป็นผู้ประกอบการเมื่อเรียนจบ จึงควรเรียนหัวข้อนี้ด้วย และ
เรื่องที่ควรให้เรียนรู้เพิ่มเติมคือ “แนวคิดการเป็นผู้ประกอบการ”
ข้อเสนอแนะที่สําคัญต่อร่างหลักสูตรความรู้ทางการเงินขั้นพื้นฐานของคนไทย
คณะกรรมการการให้ความรู้ทางการเงิน
• การสอนเด็กกลุ่มนี้ควรทันสมัย เช่น ให้โหลดแอพพลิเคชั่นทําบันทึกรายรับ-รายจ่าย ให้เด็ก
ทํากิจกรรมด้วยการให้คิดเอง และลงมือปฏิบัติเอง เช่น ให้คิดวิธีการให้ความรู้ทางการเงินกับ
เด็กประถม-มัธยมศึกษา แล้วไปให้ความรู้กับเด็ก ๆ เหล่านั้น เป็นต้น
โดยข้อเสนอแนะที่สําคัญ สําหรับกลุ่มผู้มีรายได้น้อย1
ได้แก่
• เรื่องการจัดทําบันทึกรายรับ-รายจ่าย เป็นเรื่องที่จําเป็นสําหรับคนกลุ่มนี้ จะทําให้เขารู้
พฤติกรรมการใช้เงินของตนเอง เป็นเครื่องมือหนึ่งในการประเมินการใช้เงิน และรู้ว่าจะลด
รายจ่ายได้อย่างไร จึงค่อยเรียนรู้เรื่องการสร้างรายได้เสริมหลังจากลดรายจ่ายได้แล้ว
• คนกลุ่มนี้ไม่มีการออมที่เป็นระบบ จึงควรส่งเสริมตรงนี้ เพื่อให้สามารถขอสินเชื่อได้
• ความรู้ที่ควรเน้นในการให้ความรู้กับกลุ่มนี้อีกประการหนึ่ง คือ ขาดการรู้เท่าทันกลโกง
ภัยทางการเงิน ในหลายรูปแบบ เพราะคนกลุ่มนี้จะถูกหลอกได้ง่าย
• วิธีการให้ความรู้กับคนกลุ่มนี้ควรเข้าไปถึงองค์กร หรือชุมชน หากเป็นเกษตรกรสามารถ
เข้าถึงผ่านทางเครือข่ายสหกรณ์ได้
โดยข้อเสนอแนะที่สําคัญ สําหรับกลุ่มผู้มีรายได้สูง2
ได้แก่
• ควรให้ความรู้เรื่องการคิดดอกเบี้ยบัตรเครดิตเพิ่มเติม
โดยข้อเสนอแนะที่สําคัญ สําหรับกลุ่มอื่น ๆ 3
ได้แก่
• ควรเน้นเรื่องการสร้างวินัยทางการเงินให้กับกลุ่มลูกหนี้ รวมถึงความรับผิดชอบของลูกหนี้ ที่
ต้องใช้คืนหนี้ ซึ่งหากไม่ใช้หนี้จะส่งผลกระทบอย่างไร
• ความรู้ที่จะช่วยสําหรับคนเป็นหนี้คือ เรื่องการจัดทําบันทึกรายรับ-รายจ่าย ทรัพย์สิน-หนี้สิน
การลดต้นทุนในกิจการที่ดําเนินงาน ซึ่งไม่จําเป็นต้องไปกู้มาเพิ่มเพื่อลงทุนเพิ่ม
• ควรมีเนื้อหาให้หัวข้อ “แนวคิดการเป็นผู้ประกอบการ”
สร้างความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับการชําระคืนหนี้ เช่น เขาจะเข้าใจว่าไม่ต้องใช้หนี้จนกว่าธนาคารจะ
hair-cut ซึ่งจะทําให้เสียเครดิต หรือ หนี้ไม่ถึง 2 หมื่นบาท จะไม่ถูกฟ้อง เมื่อกู้แล้วจึงตั้งใจที่จะไม่ชําระคืนหนี้
ตั้งแต่ต้น เป็นต้น
1
กลุ่มเอกชนอาชีพอิสระรายได้น้อย กลุ่มเอกชนมีนายจ้างรายได้น้อย กลุ่มเกษตรกร
2
กลุ่มเอกชนอาชีพอิสระรายได้สูง กลุ่มภาครัฐ กลุ่มเกษียณอายุ
3
กลุ่มลูกหนี้ กลุ่มเจ้าของกิจการ กลุ่มเริ่มทํางาน กลุ่มเริ่มมีครอบครัว

More Related Content

Viewers also liked

MachNation - Davra Whitepaper
MachNation - Davra WhitepaperMachNation - Davra Whitepaper
MachNation - Davra WhitepaperJoe Quinn
 
DJ's
DJ'sDJ's
DJ's
yo2332
 
Resolución encuesta
Resolución encuestaResolución encuesta
Resolución encuestaantiaacuna
 
Slides étude fait_religieux_ofre_institut_randstad_2014
Slides étude fait_religieux_ofre_institut_randstad_2014Slides étude fait_religieux_ofre_institut_randstad_2014
Slides étude fait_religieux_ofre_institut_randstad_2014Jean-Pierre Bensimon
 
Risalah 16022006171006
Risalah 16022006171006Risalah 16022006171006
Risalah 16022006171006Ivan Fauzillah
 
Legaspi 04 mass_deacidification
Legaspi 04 mass_deacidificationLegaspi 04 mass_deacidification
Legaspi 04 mass_deacidification
Bobby-Dhea Santos
 
Lwowska - 10,28 ha
Lwowska - 10,28 haLwowska - 10,28 ha
Lwowska - 10,28 ha
coirzeszow
 
положение о собрании трудового коллектива мбдоу
положение о собрании трудового коллектива мбдоуположение о собрании трудового коллектива мбдоу
положение о собрании трудового коллектива мбдоу
virtualtaganrog
 
Open access. Students opinions
Open access. Students opinionsOpen access. Students opinions
Open access. Students opinions
José Manuel Sáez López
 
Pembangunan dalam bahasa agama
Pembangunan dalam bahasa agamaPembangunan dalam bahasa agama
Pembangunan dalam bahasa agama
Alfiatus Sholihah
 

Viewers also liked (11)

MachNation - Davra Whitepaper
MachNation - Davra WhitepaperMachNation - Davra Whitepaper
MachNation - Davra Whitepaper
 
DJ's
DJ'sDJ's
DJ's
 
Resolución encuesta
Resolución encuestaResolución encuesta
Resolución encuesta
 
Slides étude fait_religieux_ofre_institut_randstad_2014
Slides étude fait_religieux_ofre_institut_randstad_2014Slides étude fait_religieux_ofre_institut_randstad_2014
Slides étude fait_religieux_ofre_institut_randstad_2014
 
Тюменская филармония
Тюменская филармонияТюменская филармония
Тюменская филармония
 
Risalah 16022006171006
Risalah 16022006171006Risalah 16022006171006
Risalah 16022006171006
 
Legaspi 04 mass_deacidification
Legaspi 04 mass_deacidificationLegaspi 04 mass_deacidification
Legaspi 04 mass_deacidification
 
Lwowska - 10,28 ha
Lwowska - 10,28 haLwowska - 10,28 ha
Lwowska - 10,28 ha
 
положение о собрании трудового коллектива мбдоу
положение о собрании трудового коллектива мбдоуположение о собрании трудового коллектива мбдоу
положение о собрании трудового коллектива мбдоу
 
Open access. Students opinions
Open access. Students opinionsOpen access. Students opinions
Open access. Students opinions
 
Pembangunan dalam bahasa agama
Pembangunan dalam bahasa agamaPembangunan dalam bahasa agama
Pembangunan dalam bahasa agama
 

Similar to 2 ผลการประชุมระดมความคิดเห็น

1 แนวทางการจัดทำหลักสูตร
1 แนวทางการจัดทำหลักสูตร1 แนวทางการจัดทำหลักสูตร
1 แนวทางการจัดทำหลักสูตร
buddykung
 
4รายงานนวีตกรรม
4รายงานนวีตกรรม 4รายงานนวีตกรรม
4รายงานนวีตกรรม krupornpana55
 
VDO Training
VDO TrainingVDO Training
VDO Training
Nattapong Boonpong
 
สพฐ
สพฐสพฐ
สพฐ
supatlakkham
 
190828 royal council (5) sirirerk
190828 royal council (5) sirirerk190828 royal council (5) sirirerk
190828 royal council (5) sirirerk
worsak kanok-nukulchai
 
01 sirirurg-songsivilai-royin-20190831
01 sirirurg-songsivilai-royin-2019083101 sirirurg-songsivilai-royin-20190831
01 sirirurg-songsivilai-royin-20190831
thanaruk theeramunkong
 
แนวทางลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้
แนวทางลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้แนวทางลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้
แนวทางลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้
โทษฐาน ที่รู้จักกัน
 
Manual for university_student
Manual for university_studentManual for university_student
Manual for university_studentbuddykung
 
NSTDA Plan 2552
NSTDA Plan 2552NSTDA Plan 2552
ทฤษฎีหลักสูตร แนวคิด รูปแบบ ขั้นตอนการพัฒนาหลักสูตรของนักวิชาการไทย
ทฤษฎีหลักสูตร แนวคิด รูปแบบ ขั้นตอนการพัฒนาหลักสูตรของนักวิชาการไทยทฤษฎีหลักสูตร แนวคิด รูปแบบ ขั้นตอนการพัฒนาหลักสูตรของนักวิชาการไทย
ทฤษฎีหลักสูตร แนวคิด รูปแบบ ขั้นตอนการพัฒนาหลักสูตรของนักวิชาการไทย
wanichaya kingchaikerd
 
แนะนำแนวทาง
แนะนำแนวทางแนะนำแนวทาง
แนะนำแนวทางPratuan Kumjudpai
 
KM Handbook
KM HandbookKM Handbook
แผนวิทยาการคำนวณ ป.6.pdf
แผนวิทยาการคำนวณ ป.6.pdfแผนวิทยาการคำนวณ ป.6.pdf
แผนวิทยาการคำนวณ ป.6.pdf
JiruttiPommeChuaikho
 
โครงการบริหารการเงินวัด
โครงการบริหารการเงินวัด โครงการบริหารการเงินวัด
โครงการบริหารการเงินวัด
Taraya Srivilas
 
การประเมินผลการดำเนินงานของศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชน กระทรวง ICT
การประเมินผลการดำเนินงานของศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชน  กระทรวง ICTการประเมินผลการดำเนินงานของศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชน  กระทรวง ICT
การประเมินผลการดำเนินงานของศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชน กระทรวง ICT
Panita Wannapiroon Kmutnb
 
ผลการดำเนินงานและผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน
ผลการดำเนินงานและผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายในผลการดำเนินงานและผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน
ผลการดำเนินงานและผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายในMr-Dusit Kreachai
 
Microsoft word แผนบริหารการจัดการเรียนการสอน
Microsoft word   แผนบริหารการจัดการเรียนการสอนMicrosoft word   แผนบริหารการจัดการเรียนการสอน
Microsoft word แผนบริหารการจัดการเรียนการสอน
ศุภวัฒน์ ปภัสสรากาญจน์
 
นโยบาย สพฐ 2551
นโยบาย สพฐ 2551นโยบาย สพฐ 2551
นโยบาย สพฐ 2551weerabong
 
รายงานวิจัย ฯ เศรษฐกิจพอเพียง
รายงานวิจัย ฯ เศรษฐกิจพอเพียงรายงานวิจัย ฯ เศรษฐกิจพอเพียง
รายงานวิจัย ฯ เศรษฐกิจพอเพียงIntrapan Suwan
 
คู่มือบริหารจัดการเวลาเรียน (ปรับปรุงใหม่)
คู่มือบริหารจัดการเวลาเรียน (ปรับปรุงใหม่)คู่มือบริหารจัดการเวลาเรียน (ปรับปรุงใหม่)
คู่มือบริหารจัดการเวลาเรียน (ปรับปรุงใหม่)
kroofon fon
 

Similar to 2 ผลการประชุมระดมความคิดเห็น (20)

1 แนวทางการจัดทำหลักสูตร
1 แนวทางการจัดทำหลักสูตร1 แนวทางการจัดทำหลักสูตร
1 แนวทางการจัดทำหลักสูตร
 
4รายงานนวีตกรรม
4รายงานนวีตกรรม 4รายงานนวีตกรรม
4รายงานนวีตกรรม
 
VDO Training
VDO TrainingVDO Training
VDO Training
 
สพฐ
สพฐสพฐ
สพฐ
 
190828 royal council (5) sirirerk
190828 royal council (5) sirirerk190828 royal council (5) sirirerk
190828 royal council (5) sirirerk
 
01 sirirurg-songsivilai-royin-20190831
01 sirirurg-songsivilai-royin-2019083101 sirirurg-songsivilai-royin-20190831
01 sirirurg-songsivilai-royin-20190831
 
แนวทางลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้
แนวทางลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้แนวทางลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้
แนวทางลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้
 
Manual for university_student
Manual for university_studentManual for university_student
Manual for university_student
 
NSTDA Plan 2552
NSTDA Plan 2552NSTDA Plan 2552
NSTDA Plan 2552
 
ทฤษฎีหลักสูตร แนวคิด รูปแบบ ขั้นตอนการพัฒนาหลักสูตรของนักวิชาการไทย
ทฤษฎีหลักสูตร แนวคิด รูปแบบ ขั้นตอนการพัฒนาหลักสูตรของนักวิชาการไทยทฤษฎีหลักสูตร แนวคิด รูปแบบ ขั้นตอนการพัฒนาหลักสูตรของนักวิชาการไทย
ทฤษฎีหลักสูตร แนวคิด รูปแบบ ขั้นตอนการพัฒนาหลักสูตรของนักวิชาการไทย
 
แนะนำแนวทาง
แนะนำแนวทางแนะนำแนวทาง
แนะนำแนวทาง
 
KM Handbook
KM HandbookKM Handbook
KM Handbook
 
แผนวิทยาการคำนวณ ป.6.pdf
แผนวิทยาการคำนวณ ป.6.pdfแผนวิทยาการคำนวณ ป.6.pdf
แผนวิทยาการคำนวณ ป.6.pdf
 
โครงการบริหารการเงินวัด
โครงการบริหารการเงินวัด โครงการบริหารการเงินวัด
โครงการบริหารการเงินวัด
 
การประเมินผลการดำเนินงานของศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชน กระทรวง ICT
การประเมินผลการดำเนินงานของศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชน  กระทรวง ICTการประเมินผลการดำเนินงานของศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชน  กระทรวง ICT
การประเมินผลการดำเนินงานของศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชน กระทรวง ICT
 
ผลการดำเนินงานและผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน
ผลการดำเนินงานและผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายในผลการดำเนินงานและผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน
ผลการดำเนินงานและผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน
 
Microsoft word แผนบริหารการจัดการเรียนการสอน
Microsoft word   แผนบริหารการจัดการเรียนการสอนMicrosoft word   แผนบริหารการจัดการเรียนการสอน
Microsoft word แผนบริหารการจัดการเรียนการสอน
 
นโยบาย สพฐ 2551
นโยบาย สพฐ 2551นโยบาย สพฐ 2551
นโยบาย สพฐ 2551
 
รายงานวิจัย ฯ เศรษฐกิจพอเพียง
รายงานวิจัย ฯ เศรษฐกิจพอเพียงรายงานวิจัย ฯ เศรษฐกิจพอเพียง
รายงานวิจัย ฯ เศรษฐกิจพอเพียง
 
คู่มือบริหารจัดการเวลาเรียน (ปรับปรุงใหม่)
คู่มือบริหารจัดการเวลาเรียน (ปรับปรุงใหม่)คู่มือบริหารจัดการเวลาเรียน (ปรับปรุงใหม่)
คู่มือบริหารจัดการเวลาเรียน (ปรับปรุงใหม่)
 

More from buddykung

Financial literacy university_slide
Financial literacy university_slideFinancial literacy university_slide
Financial literacy university_slidebuddykung
 
Example for workshop
Example for workshopExample for workshop
Example for workshopbuddykung
 
Manual for trainer
Manual for trainerManual for trainer
Manual for trainerbuddykung
 
Question for workshop
Question for workshopQuestion for workshop
Question for workshop
buddykung
 
Manual for financial literacy trainer
Manual for financial literacy trainerManual for financial literacy trainer
Manual for financial literacy trainer
buddykung
 
Financial forms
Financial formsFinancial forms
Financial forms
buddykung
 
Example for workshop
Example for workshopExample for workshop
Example for workshop
buddykung
 
11 rules financial-literacy_manual
11 rules financial-literacy_manual11 rules financial-literacy_manual
11 rules financial-literacy_manual
buddykung
 
3 ปัญหาและประเด็นการเรียนรู้ที่ควรมุ่งเน้นเฉพาะกลุ่ม
3 ปัญหาและประเด็นการเรียนรู้ที่ควรมุ่งเน้นเฉพาะกลุ่ม3 ปัญหาและประเด็นการเรียนรู้ที่ควรมุ่งเน้นเฉพาะกลุ่ม
3 ปัญหาและประเด็นการเรียนรู้ที่ควรมุ่งเน้นเฉพาะกลุ่ม
buddykung
 
3. กลุ่มผู้ให้ความรู้ทางการเงิน
3. กลุ่มผู้ให้ความรู้ทางการเงิน3. กลุ่มผู้ให้ความรู้ทางการเงิน
3. กลุ่มผู้ให้ความรู้ทางการเงิน
buddykung
 
2.4 กลุ่มอาชีพ กลุ่มเกษตรกร
2.4 กลุ่มอาชีพ กลุ่มเกษตรกร2.4 กลุ่มอาชีพ กลุ่มเกษตรกร
2.4 กลุ่มอาชีพ กลุ่มเกษตรกร
buddykung
 
2.1 กลุ่มอาชีพ กลุ่มอาชีพอิสระอื่น ๆ (ผู้มีรายได้น้อย)
2.1 กลุ่มอาชีพ กลุ่มอาชีพอิสระอื่น ๆ (ผู้มีรายได้น้อย)2.1 กลุ่มอาชีพ กลุ่มอาชีพอิสระอื่น ๆ (ผู้มีรายได้น้อย)
2.1 กลุ่มอาชีพ กลุ่มอาชีพอิสระอื่น ๆ (ผู้มีรายได้น้อย)
buddykung
 
1.กลุ่มอาชีวศึกษาและอุดมศึกษา
1.กลุ่มอาชีวศึกษาและอุดมศึกษา1.กลุ่มอาชีวศึกษาและอุดมศึกษา
1.กลุ่มอาชีวศึกษาและอุดมศึกษา
buddykung
 

More from buddykung (13)

Financial literacy university_slide
Financial literacy university_slideFinancial literacy university_slide
Financial literacy university_slide
 
Example for workshop
Example for workshopExample for workshop
Example for workshop
 
Manual for trainer
Manual for trainerManual for trainer
Manual for trainer
 
Question for workshop
Question for workshopQuestion for workshop
Question for workshop
 
Manual for financial literacy trainer
Manual for financial literacy trainerManual for financial literacy trainer
Manual for financial literacy trainer
 
Financial forms
Financial formsFinancial forms
Financial forms
 
Example for workshop
Example for workshopExample for workshop
Example for workshop
 
11 rules financial-literacy_manual
11 rules financial-literacy_manual11 rules financial-literacy_manual
11 rules financial-literacy_manual
 
3 ปัญหาและประเด็นการเรียนรู้ที่ควรมุ่งเน้นเฉพาะกลุ่ม
3 ปัญหาและประเด็นการเรียนรู้ที่ควรมุ่งเน้นเฉพาะกลุ่ม3 ปัญหาและประเด็นการเรียนรู้ที่ควรมุ่งเน้นเฉพาะกลุ่ม
3 ปัญหาและประเด็นการเรียนรู้ที่ควรมุ่งเน้นเฉพาะกลุ่ม
 
3. กลุ่มผู้ให้ความรู้ทางการเงิน
3. กลุ่มผู้ให้ความรู้ทางการเงิน3. กลุ่มผู้ให้ความรู้ทางการเงิน
3. กลุ่มผู้ให้ความรู้ทางการเงิน
 
2.4 กลุ่มอาชีพ กลุ่มเกษตรกร
2.4 กลุ่มอาชีพ กลุ่มเกษตรกร2.4 กลุ่มอาชีพ กลุ่มเกษตรกร
2.4 กลุ่มอาชีพ กลุ่มเกษตรกร
 
2.1 กลุ่มอาชีพ กลุ่มอาชีพอิสระอื่น ๆ (ผู้มีรายได้น้อย)
2.1 กลุ่มอาชีพ กลุ่มอาชีพอิสระอื่น ๆ (ผู้มีรายได้น้อย)2.1 กลุ่มอาชีพ กลุ่มอาชีพอิสระอื่น ๆ (ผู้มีรายได้น้อย)
2.1 กลุ่มอาชีพ กลุ่มอาชีพอิสระอื่น ๆ (ผู้มีรายได้น้อย)
 
1.กลุ่มอาชีวศึกษาและอุดมศึกษา
1.กลุ่มอาชีวศึกษาและอุดมศึกษา1.กลุ่มอาชีวศึกษาและอุดมศึกษา
1.กลุ่มอาชีวศึกษาและอุดมศึกษา
 

Recently uploaded

ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
การเคลื่อนที่ของคลื่น ปรากฎการคลื่นกล ความเร็วคลื่น ส่วนประกอบของคลื่น
การเคลื่อนที่ของคลื่น ปรากฎการคลื่นกล ความเร็วคลื่น ส่วนประกอบของคลื่นการเคลื่อนที่ของคลื่น ปรากฎการคลื่นกล ความเร็วคลื่น ส่วนประกอบของคลื่น
การเคลื่อนที่ของคลื่น ปรากฎการคลื่นกล ความเร็วคลื่น ส่วนประกอบของคลื่น
RSapeTuaprakhon
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
Prachyanun Nilsook
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการฝึกสมาธิในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการฝึกสมาธิในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการฝึกสมาธิในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการฝึกสมาธิในพระพุทธศาสนา
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdfงานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 

Recently uploaded (11)

ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
การเคลื่อนที่ของคลื่น ปรากฎการคลื่นกล ความเร็วคลื่น ส่วนประกอบของคลื่น
การเคลื่อนที่ของคลื่น ปรากฎการคลื่นกล ความเร็วคลื่น ส่วนประกอบของคลื่นการเคลื่อนที่ของคลื่น ปรากฎการคลื่นกล ความเร็วคลื่น ส่วนประกอบของคลื่น
การเคลื่อนที่ของคลื่น ปรากฎการคลื่นกล ความเร็วคลื่น ส่วนประกอบของคลื่น
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการฝึกสมาธิในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการฝึกสมาธิในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการฝึกสมาธิในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการฝึกสมาธิในพระพุทธศาสนา
 
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdfงานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
 

2 ผลการประชุมระดมความคิดเห็น

  • 1. ข้อเสนอแนะที่สําคัญต่อร่างหลักสูตรความรู้ทางการเงินขั้นพื้นฐานของคนไทย คณะกรรมการการให้ความรู้ทางการเงิน สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง (สศค.) ได้ร่วมกับมูลนิธิสถาบันวิจัยนโยบายเศรษฐกิจการคลัง (มูลนิธิ สวค.) ในการดําเนินการวิเคราะห์และวิจัยความรู้ทางการเงินของคนไทยในประเด็นต่าง ๆ โดยเป็นการศึกษา ต่อยอดจากการนําผลสํารวจและผลการศึกษาที่ผ่านมา นํามาวางแผนและออกแบบการพัฒนาและยกระดับ ความรู้ทางการเงินของคนไทยอย่างต่อเนื่อง ซึ่งการศึกษาในโครงการนี้ประกอบด้วยหลายส่วนงานด้วยกัน ส่วนหนึ่งของการดําเนินงานคือ การ พัฒนามาตรฐานความรู้ทางการเงินทั้งในระดับพื้นฐาน ปานกลาง และระดับสูง และพัฒนาหลักสูตรความรู้ทาง การเงินพื้นฐานครอบคลุมกลุ่มหลัก 12 กลุ่ม ได้แก่ 1) กลุ่มอาชีวศึกษาและอุดมศึกษา 2) กลุ่มเอกชนอาชีพ อิสระรายได้น้อย 3) กลุ่มเอกชนมีนายจ้างรายได้น้อย 4) กลุ่มเอกชนอาชีพอิสระรายได้สูง 5) กลุ่มเกษตรกร 6) กลุ่มภาครัฐ 7) กลุ่มเกษียณอายุ 8) กลุ่มเจ้าของกิจการ 9) กลุ่มลูกหนี้ 10) กลุ่มเริ่มทํางาน 11) กลุ่มเริ่มมี ครอบครัว และ 12) กลุ่มผู้ให้ความรู้ทางการเงิน จากผลสํารวจของโครงการการให้ความรู้ทางการเงินแก่ประชาชน ปี 2556 ซึ่งสํานักงานเศรษฐกิจการ คลัง (สศค.) ร่วมกับ มูลนิธิสถาบันวิจัยนโยบายเศรษฐกิจการคลัง (มูลนิธิ สวค.) ได้สํารวจระดับความรู้ทาง การเงินของคนไทย ในปี พ.ศ. 2556 ที่ผ่านมา จากผลสํารวจแสดงให้เห็นว่ากลุ่มเป้าหมายมีระดับความรู้ทาง การเงินต่ํากว่าระดับที่คาดหวังของหน่วยงานให้ความรู้ทางการเงินในมิติที่แตกต่างกัน ที่ผ่านมาได้มีการจัดประชุมเพื่อรับฟังความคิดเห็นเฉพาะกลุ่มไปแล้วทั้งสิ้น 4 ครั้ง และได้นําเอาความ คิดเห็นจากผู้มีส่วนเกี่ยวข้องกับการนํามาตรฐานและหลักสูตรความรู้ทางการเงินสําหรับคนไทยเพื่อสังเคราะห์ ออกมาเป็นมาตรฐานและหลักสูตรความรู้ทางการเงินสําหรับคนไทย ซึ่งนํามาสู่การประชุมเพื่อจัดทําประชา พิจารณ์ (Public Hearing) 1 ครั้ง ซึ่งผู้เข้าร่วมการประชุมระดมความคิดเห็นที่จัดขึ้นทั้ง 4 ครั้ง และผู้เข้าร่วมสัมมนา แสดงความคิดเห็น ว่าเนื้อหาหลักสูตรมีความครอบคลุมดีแล้ว อย่างไรก็ตาม ผู้ทรงคุณวุฒิที่มาเข้าร่วมประชุมและสัมมนา ซึ่งล้วน แต่มีประสบการณ์ในการให้ความรู้ทางการเงินได้มีข้อเสนอแนะเพิ่มเติมที่สําคัญ ดังนี้ (1) เนื้อหาควรสอดคล้องกับบริบทของคนไทย และมีการสอดแทรกเรื่องคุณธรรมจริยธรรมควบคู่กับ การให้ความรู้ทางการเงิน ผู้เข้าร่วมประชุมหลาย ๆ ท่าน จึงเสนอให้เพิ่มเนื้อหาในส่วนของ วินัย ทางการเงิน ความรับผิดชอบต่อสังคม (โดยเฉพาะในส่วนของเนื้อหาเกี่ยวกับหนี้) และเรื่องที่ สําคัญสําหรับทุกกลุ่ม คือ ความรู้เรื่อง เศรษฐกิจพอเพียง และการประยุกต์ใช้ (2) เนื้อหาที่สอนให้ผู้เรียนรู้จักตนเอง หรือรู้จักพฤติกรรมของตนเอง ผ่านการทํางบรายได้-ค่าใช้จ่าย ส่วนบุคคล และงบดุล (3) ช่องทางการเข้าถึงและวิธีการที่สื่อไปถึงกลุ่มเป้าหมายเป็นเรื่องสําคัญ เช่น การย่อยภาษาให้เข้าใจ ง่าย ใช้รูปแบบให้เหมาะสมกับกลุ่มต่าง ๆ เป็นต้น โดยข้อเสนอแนะที่สําคัญ สําหรับกลุ่มอาชีวศึกษาและอุดมศึกษา ได้แก่ • ควรเพิ่มเรื่องการวางแผนเกษียณอายุสําหรับคนกลุ่มนี้ ผู้เข้าร่วมประชุมเห็นว่าไม่ใช่เรื่อง ไกลตัว ควรมีการวางแผนตั้งแต่อายุยังน้อย • เด็กรุ่นใหม่มีความต้องการจะเป็นผู้ประกอบการเมื่อเรียนจบ จึงควรเรียนหัวข้อนี้ด้วย และ เรื่องที่ควรให้เรียนรู้เพิ่มเติมคือ “แนวคิดการเป็นผู้ประกอบการ”
  • 2. ข้อเสนอแนะที่สําคัญต่อร่างหลักสูตรความรู้ทางการเงินขั้นพื้นฐานของคนไทย คณะกรรมการการให้ความรู้ทางการเงิน • การสอนเด็กกลุ่มนี้ควรทันสมัย เช่น ให้โหลดแอพพลิเคชั่นทําบันทึกรายรับ-รายจ่าย ให้เด็ก ทํากิจกรรมด้วยการให้คิดเอง และลงมือปฏิบัติเอง เช่น ให้คิดวิธีการให้ความรู้ทางการเงินกับ เด็กประถม-มัธยมศึกษา แล้วไปให้ความรู้กับเด็ก ๆ เหล่านั้น เป็นต้น โดยข้อเสนอแนะที่สําคัญ สําหรับกลุ่มผู้มีรายได้น้อย1 ได้แก่ • เรื่องการจัดทําบันทึกรายรับ-รายจ่าย เป็นเรื่องที่จําเป็นสําหรับคนกลุ่มนี้ จะทําให้เขารู้ พฤติกรรมการใช้เงินของตนเอง เป็นเครื่องมือหนึ่งในการประเมินการใช้เงิน และรู้ว่าจะลด รายจ่ายได้อย่างไร จึงค่อยเรียนรู้เรื่องการสร้างรายได้เสริมหลังจากลดรายจ่ายได้แล้ว • คนกลุ่มนี้ไม่มีการออมที่เป็นระบบ จึงควรส่งเสริมตรงนี้ เพื่อให้สามารถขอสินเชื่อได้ • ความรู้ที่ควรเน้นในการให้ความรู้กับกลุ่มนี้อีกประการหนึ่ง คือ ขาดการรู้เท่าทันกลโกง ภัยทางการเงิน ในหลายรูปแบบ เพราะคนกลุ่มนี้จะถูกหลอกได้ง่าย • วิธีการให้ความรู้กับคนกลุ่มนี้ควรเข้าไปถึงองค์กร หรือชุมชน หากเป็นเกษตรกรสามารถ เข้าถึงผ่านทางเครือข่ายสหกรณ์ได้ โดยข้อเสนอแนะที่สําคัญ สําหรับกลุ่มผู้มีรายได้สูง2 ได้แก่ • ควรให้ความรู้เรื่องการคิดดอกเบี้ยบัตรเครดิตเพิ่มเติม โดยข้อเสนอแนะที่สําคัญ สําหรับกลุ่มอื่น ๆ 3 ได้แก่ • ควรเน้นเรื่องการสร้างวินัยทางการเงินให้กับกลุ่มลูกหนี้ รวมถึงความรับผิดชอบของลูกหนี้ ที่ ต้องใช้คืนหนี้ ซึ่งหากไม่ใช้หนี้จะส่งผลกระทบอย่างไร • ความรู้ที่จะช่วยสําหรับคนเป็นหนี้คือ เรื่องการจัดทําบันทึกรายรับ-รายจ่าย ทรัพย์สิน-หนี้สิน การลดต้นทุนในกิจการที่ดําเนินงาน ซึ่งไม่จําเป็นต้องไปกู้มาเพิ่มเพื่อลงทุนเพิ่ม • ควรมีเนื้อหาให้หัวข้อ “แนวคิดการเป็นผู้ประกอบการ” สร้างความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับการชําระคืนหนี้ เช่น เขาจะเข้าใจว่าไม่ต้องใช้หนี้จนกว่าธนาคารจะ hair-cut ซึ่งจะทําให้เสียเครดิต หรือ หนี้ไม่ถึง 2 หมื่นบาท จะไม่ถูกฟ้อง เมื่อกู้แล้วจึงตั้งใจที่จะไม่ชําระคืนหนี้ ตั้งแต่ต้น เป็นต้น 1 กลุ่มเอกชนอาชีพอิสระรายได้น้อย กลุ่มเอกชนมีนายจ้างรายได้น้อย กลุ่มเกษตรกร 2 กลุ่มเอกชนอาชีพอิสระรายได้สูง กลุ่มภาครัฐ กลุ่มเกษียณอายุ 3 กลุ่มลูกหนี้ กลุ่มเจ้าของกิจการ กลุ่มเริ่มทํางาน กลุ่มเริ่มมีครอบครัว