SlideShare a Scribd company logo
1 of 25
Download to read offline
1
ความพร้อมของประเทศไทยในการรับมือ
กับสังคมดิจิทัลในยุคปัญญาประดิษฐ์
โครงการปาฐกถาราชบัณฑิตสัญจร สานักวิทยาศาสตร์ ราชบัณฑิตยสภา
วันพุธที่ 28 สิงหาคม 2562
ศาสตราจารย์ ดร. นายแพทย์สิริฤกษ์ ทรงศิวิไล
ผู้อานวยการสานักงานการวิจัยแห่งชาติ
• รับผิดชอบงานวิชาการและงานธุรการ ของคณะกรรมการส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (กสว.)
และคณะกรรมการพิจารณางบประมาณด้านวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม
• จัดทานโยบาย กรอบวงเงินด้านวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม รวมถึงหลักเกณฑ์การจัดทาคาของบประมาณ
• บริหารกองทุนส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม
• รับผิดชอบงานวิชาการและงานธุรการของสภานโยบายการอุดมศึกษาฯ
• เสนอความเห็นต่อสภานโยบายการอุดมศึกษาฯ เกี่ยวกับนโยบาย ยุทธศาสตร์ แผนด้านการอุดมศึกษา
วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมของประเทศที่สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติ แผนแม่บทและแผนอื่น
รวมทั้งนโยบายของรัฐบาล
• ให้ทุนวิจัยและนวัตกรรมหลักของประเทศ ทั้งด้านวิทยาศาสตร์ สังคมศาสตร์ มนุษยศาสตร์ ทั้งภายใน
และภายนอกกระทรวงการอุดมศึกษาฯ
• ขับเคลื่อนโครงการริเริ่มสาคัญของประเทศ
• จัดทาฐานข้อมูลและดัชนี ว & น
• จัดทามาตรฐานและจริยธรรมการวิจัย
• ส่งเสริมและถ่ายทอดความรู้เพื่อใช้ประโยชน์
• สนับสนุนการพัฒนาบุคลากร ว & น
• ให้รางวัล ประกาศเกียรติคุณบุคคลหรือหน่วยงาน
• ราชการประจาทั่วไป รวมถึงร่วมสนับสนุนการขับเคลื่อนการปฏิรูปกระทรวงการอุดมศึกษาฯ
• จัดและส่งเสริมการศึกษาระดับอุดมศึกษาจัดทาข้อเสนอนโยบายและแผนด้านการอุดมศึกษา จัดทามาตรฐาน
การอุดมศึกษา การประกันคุณภาพการศึกษาระดับอุดมศึกษา
• เป็นฝ่ายเลขานุการของ กกอ. และ กมอ.
สานักงานปลัดกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์
วิจัยและนวัตกรรม (สป.อว.)
สภานโยบายการอุดมศึกษา
วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมแห่งชาติ
สานักงานสภานโยบายการอุดมศึกษา
วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมแห่งชาติ (สอวช.)
สานักงานคณะกรรมการ
ส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สกสว.)
คณะกรรมการการอุดมศึกษา (กกอ.)
คณะกรรมการส่งเสริม
วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (กสว.)
คณะกรรมการมาตรฐาน
การอุดมศึกษา (กมอ.)
สานักงานปรมาณูเพื่อสันติ (ปส.)สถาบันอุดมศึกษา สถาบันวิจัยในกระทรวงการอุดมศึกษาฯ
กรมวิทยาศาสตร์บริการ (วศ.)
(จะเปลี่ยนเป็นสถาบันวิทยาศาสตร์บริการ)
สานักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.)
กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.)
Ministry of Higher Education, Science, Research and Innovation (MHESI)
2
3
ภารกิจ หน้าที่และอานาจของสานักงานการวิจัยแห่งชาติ
2. การจัดทาฐานข้อมูลและดัชนีวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมของประเทศ
3. การริเริ่ม ขับเคลื่อนและประสานการดาเนินงานโครงการวิจัยและนวัตกรรมที่สาคัญของประเทศ
4. การจัดทามาตรฐานและจริยธรรมการวิจัย
5. การส่งเสริมและถ่ายทอดความรู้เพื่อใช้ประโยชน์
6. การส่งเสริมและสนับสนุนการพัฒนาบุคลากรด้านวิจัยและนวัตกรรม
7. การให้รางวัล ประกาศเกียรติคุณหรือยกย่องบุคคลหรือหน่วยงานด้านวิจัยและนวัตกรรม
1. การให้ทุนวิจัยและนวัตกรรม
หน่วยงานด้านนโยบาย
ยุทธศาสตร์ แผน และ
กรอบงบประมาณ ววน.
หน่วยงานที่ทาวิจัย
และสร้างนวัตกรรม
หน่วยงานด้านการให้ทุน
หน่วยงานด้านการจัดการความรู้
จากงานวิจัยและนวัตกรรม และ
หน่วยงานซึ่งเป็นผู้ใช้ประโยชน์
หน่วยงานด้านมาตรวิทยา
มาตรฐาน การทดสอบและบริการ
คุณภาพวิทยาศาสตร์
วิจัยและนวัตกรรม
4
สานักงาน
การวิจัยแห่งชาติ
สอวช. สกสว.สป.อว. สภาพัฒน์ฯ
สานักงานคณะกรรมการ
นโยบายการศึกษาฯ
ม.ราชภัฏ 38 แห่ง
ม.รัฐ 9 แห่ง
ม.ในกากับของรัฐ 25 แห่ง
วิทยาลัยชุมชน 1 แห่ง
ม.เทคโนโลยีราชมงคล 9 แห่ง
สถาบันอุดมศึกษาในสังกัดกระทรวงอื่น ๆ
ม.เอกชน 75 แห่ง
กษ. สธ.
พม. พณ.
คค.
เอกชน ชุมชน
ก.อื่น ๆ
ปส.สวทช.
มว.
สทอภ.
สทน.
สตร.
สนช.
สช.
ศลช.
สสนก.
วว.อพวช.
วศ.
และหน่วยงาน
ให้ทุนอื่น ๆ
นโยบาย
การอุดมศึกษา (สป.อว.)
นโยบายวิทยาศาสตร์ วิจัยและ
นวัตกรรม (สกสว.)
กองทุนส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัย
และนวัตกรรม (สกสว.)
สภานโยบายการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์
วิจัยและนวัตกรรมแห่งชาติ
หน่วยงานนโยบายและกรอบงบประมาณ
สวทช. มหาวิทยาลัย
สถาบันวิจัย
เช่น วว.
หน่วยให้ทุน หน่วยทาวิจัย
ระบบทุนวิจัยและนวัตกรรมของประเทศ
วช.5G
สวก.
สวรส.*
*โครงการวิจัยและนวัตกรรมใหม่ที่ประเทศยังไม่เคยมีมาก่อน งบประมาณ
ดาเนินการมากกว่า 3,000 ล้านบาท ต้องมีหลายหน่วยงาน/สถาบันวิจัย
ร่วมดาเนินการในลักษณะ Consortium เช่น Genomics Thailand 5
Funding
Agency/
ODU
Streamlined process
Outcome and impact-driven
กองทุนส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม
Synergy & partnership
• ระบบ Online 100% 5G-funding
• กลไก ODU (Outcome Delivery Units)
• Program funding และ Matching fund
• Monitoring and Evaluation โดยผู้ใช้ผลการวิจัย
ทุนในเชิงรุกตามประเด็นยุทธศาสตร์
Multi-year
Block grant
• หน่วยให้ทุนอื่น ๆ (สวก., สวรส.)
• มหาวิทยาลัยและสถาบันวิจัยทั้งในและนอกกระทรวง
• ให้ทุนวิจัยครอบคลุมการวิจัยพื้นฐาน วิจัยประยุกต์ ทั้งวิทยาศาสตร์
สังคมศาสตร์ และมนุษยศาสตร์ รวมทั้งสหสาขาวิชาการ
6
ทิศทางใหม่ของระบบทุนวิจัยและนวัตกรรมของประเทศ
วิธีการทางานแบบใหม่ : วช. 5G
• ใช้ระบบ Online 100% (สอดคล้องตามนโยบายรัฐบาล ลดภาระ
ค่าใช้จ่ายในการดาเนินการของนักวิจัย และลดระยะเวลาดาเนินการ)
• มีกลไก ODU ทาให้สามารถรับผิดชอบภารกิจ และเชื่อมโยงการทางาน
แบบบูรณาการระหว่างหน่วยงานทั้งในและนอกกระทรวงฯ
• มีกลไกให้ทุนเป็น Program funding ได้ และ Matching fund
กับภาคเอกชน และองค์กรอื่น ๆ เพื่อสนับสนุนความร่วมมือระหว่างกลุ่ม
หน่วยงาน และระหว่างประเทศ
• มีระบบ Monitoring and Evaluation ที่สอดคล้องกับระบบให้ทุน
online และติดตาม ประเมินผลโดยผู้ใช้งานวิจัย (User)
• ทุกภารกิจมีการเชื่อมโยงและสอดคล้องกัน โดยเฉพาะการให้ทุน
การพัฒนาบุคลากร มาตรฐานการวิจัย การให้รางวัล และฐานข้อมูล
โดยใช้ระบบทีมภายใน (Targeted delivery teams) และหน่วยงาน
ภายนอก (Outcome Delivery Units)
1. ให้ทุนเชิงรุกนาไปสู่การบรรลุผลตามประเด็นยุทธศาสตร์
และแผนแม่บท (แทนการตั้งรับ) โดยใช้สรรพศาสตร์
4. Streamlined process
2. ดาเนินการให้ทุนเป็น Multi-year ซึ่งผูกพันได้ โดยคานึงถึง
ประสิทธิผลเป็นหลัก
3. ประสานเป้าหมายกับภารกิจอื่นของหน่วยงานทั้งในและนอก
กระทรวงฯ เช่น โครงสร้างพื้นฐานขนาดใหญ่ การพัฒนาบุคลากร
7
8
ความเชื่อมโยงระหว่างยุทธศาสตร์ชาติ และแผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ
(๔) ประเด็น อุตสาหกรรมและบริการแห่งอนาคต
ด้านความมั่นคง
ด้านการสร้าง
ความสามารถ
ในการแข่งขัน
ด้านการพัฒนาและ
เสริมสร้างศักฝภาพ
ถรัพฝากรมนุผฝ์
ด้านการสร้างการ
เติบโตบนคุณภาพ
ชีวิตถี่เป็นมิตรต่อ
สิ่งแวดล้อม
ยุทธศาสตร์ที่เกี่ยวข้องโดยตรง ยุทธศาสตร์ที่มีส่วนสนับสนุน
ยุทธศาสตร์ชาติ
9
แนวทางการพัฒนาตามแผนแม่บท
(๔) ประเด็น อุตสาหกรรมและบริการแห่งอนาคต
๑) ยกระดับความสามารถของผู้ผลิต ผู้พัฒนา และผู้ออกแบบและสร้างระบบของไทย ให้มีความสามารถในการแข่งขันในด้านต่าง ๆ มากขึ้น
๒) ผลิตและพัฒนาบุคลากรทั้งทางด้านผู้ใช้ ผู้ผลิต และผู้ให้บริการ ในภาคส่วนต่าง ๆ ให้มีทักษะและความเชี่ยวชาญในด้านเทคโนโลยีดิจิทัล
ข้อมูล และปัญญาประดิษฐ์ และส่งเสริมการนาบุคลากรต่างชาติที่มีทักษะและความรู้ความสามารถเข้ามาทางานเพื่อรองรับการเติบโตของอุตสาหกรรม
ตลอดจนกาหนดมาตรการช่วยเหลือผู้ที่ได้รับผลกระทบจากการใช้เทคโนโลยีดิจิทัล ข้อมูล และปัญญาประดิษฐ์ ให้เรียนรู้ทักษะใหม่และปรับตัวเข้ากับ
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีได้
๓) สร้างความตระหนักรู้และสนับสนุนการลงทุนด้านเทคโนโลยีดิจิทัล ข้อมูล และปัญญาประดิษฐ์ ซึ่งครอบคลุมถึงระบบอัตโนมัติและหุ่นยนต์
อิเล็กทรอนิกส์อัจฉริยะ อินเทอร์เน็ตในทุกสิ่ง และเทคโนโลยีใหม่ ๆ ในอนาคต ตามระดับความพร้อมของผู้ประกอบการทั้งด้านเกษตร อุตสาหกรรม
และบริการ
๔) สร้างโอกาสและขยายช่องทางการตลาดทั้งในประเทศและต่างประเทศ และยกระดับให้เทคโนโลยีดิจิทัล ข้อมูล และปัญญาประดิษฐ์เป็น
ส่วนหนึ่งของชีวิตประจาวันในสังคม รวมทั้งส่งเสริมการสร้างตลาดภายในประเทศผ่านการสนับสนุนของภาครัฐ
๕) ส่งเสริมให้มีการลงทุนในอุตสาหกรรมและบริการดิจิทัล ข้อมูล และปัญญาประดิษฐ์ ทั้งในประเทศและจากต่างประเทศ และสนับสนุนการ
สร้างคลัสเตอร์ของอุตสาหกรรมและบริการเทคโนโลยีดิจิทัล ข้อมูล และปัญญาประดิษฐ์ รวมถึงสนับสนุนให้มีกลไกเพื่อผลักดันการขับเคลื่อน
อุตสาหกรรมและบริการดิจิทัล ข้อมูล และปัญญาประดิษฐ์ ทั้งระบบแบบครบวงจร
ที่มา: แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ (๔) ประเด็น อุตสาหกรรมและบริการแห่งอนาคต
10
4. Grand Challenges และ Frontier Research
2. การยกระดับขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ
3. การขจัดความยากจนและลดความเหลื่อมล้า
1. การสร้างคนและสถาบันองค์ความรู้
4 Platform ของการวิจัยและนวัตกรรม
ดร.สุวิทย์ เมษินทรีย์
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม
1 สิงหาคม 2562
11
กรอบนโยบายและยุทธศาสตร์ อววน. เพื่อการพัฒนา
1. การพัฒนากาลังคนและสถาบันความรู้ 2. การวิจัยและสร้างนวัตกรรมเพื่อตอบ
โจทย์ท้าทายของสังคม
3. การวิจัยและสร้างนวัตกรรมเพื่อเพิ่ม
ขีดความสามารถการแข่งขัน
16. การปฏิรูประบบ อววน. (Reinventing Universities & Research Institutes)
P.1 ระบบนิเวศเพื่อการพัฒนาและใช้กาลังคนคุณภาพ
(National Brain Power Ecosystem)
P.2 การพัฒนากาลังคนระดับสูงรองรับ EEC และระบบเศรษฐกิจ
สังคมของประเทศ
P.3 การเรียนรู้ตลอดชีวิตและพัฒนาทักษะเพื่ออนาคต
P.4 AI for All
P.5 การวิจัยขั้นแนวหน้า (Frontier Research) และการวิจัย
พื้นฐาน (Basic Research)
P.6 โครงสร้างพื้นฐานขนาดใหญ่เพื่อการวิจัยและนวัตกรรม
P.13 นวัตกรรมสาหรับเศรษฐกิจฐานรากและชุมชนนวัตกรรม
P.14 ขจัดความยากจนแบบเบ็ดเสร็จและแม่นยา
P.15 เมืองน่าอยู่ (Smart/Livable City)
- 30 เมืองน่าอยู่ ทันสมัย ใกล้บ้าน มีงานทา
P.7 โจทย์ท้าทายด้านทรัพยากร สิ่งแวดล้อม และการเกษตร
- Circular Economy เน้น Zero-waste/PM 2.5/Smart
Farming/การจัดการน้า
P.8 สังคมสูงวัย
P.9 สังคมคุณภาพและความมั่นคง
4. การวิจัยและสร้างนวัตกรรมเพื่อการ
พัฒนาเชิงพื้นที่และลดความเหลื่อมล้า
P.10 การวิจัยและพัฒนานวัตกรรมเพื่อยกระดับความสามารถในการ
แข่งขันและวางรากฐานทางเศรษฐกิจ (RDI for New Economy)
- BCG Economy / AI & Data Economy / Creative Economy /
Sharing Economy / RDI for S-Curve Industries
P.11 การพัฒนาระบบนิเวศนวัตกรรม(InnovationEcosystem)/เขต
เศรษฐกิจนวัตกรรม/อุทยานวิทยาศาสตร์/EECi/เมืองนวัตกรรมอาหาร
P.12 โครงสร้างพื้นฐานทางคุณภาพและบริการ
(National Quality Infrastructure & Services: NOIS)
ที่มา: สานักงานสภานโยบายการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมแห่งชาติ (สอวช.)
การพัฒนา
เศรษฐกิจ
การส่งเสริม
อุตสาหกรรม
เป้าหมาย
(10 S-curve)
การพัฒนา
สุขภาพ
สังคม และ
สิ่งแวดล้อม
การพัฒนา
เชิงพื้นที่
ทุนวิจัยและนวัตกรรมในประเด็นสาคัญของประเทศ
นโยบายและงานวิจัยพิเศษและเร่งด่วน เพื่อแก้ไขปัญหาเร่งด่วนของประเทศ
การพัฒนา
บุคลากร
และการวิจัย
เพื่อฐานทาง
วิชาการ
ทุนพัฒนาบุคลากรและ
การวิจัยเพื่อฐานทางวิชาการ
การสร้าง
เครือข่าย
ความร่วมมือ
นานาชาติ
กรอบการสนับสนุนทุนวิจัยและนวัตกรรมของประเทศ
และทุนพัฒนาบุคลากรของประเทศ
12
13
กรอบการประกาศทุนวิจัยและนวัตกรรม และทุนพัฒนาบุคลากรของประเทศ
ครั้งที่ 2 วันที่ 5 ส.ค.62
ครั้งที่ 1 วันที่ 4 ก.ค.62
ครั้งที่ 3 วันที่ 3 ก.ย.62
 ทุนวิจัยและนวัตกรรมใน
ประเด็นสาคัญของประเทศ
(21 กลุ่มเรื่อง)
• การพัฒนาเศรษฐกิจ
• การพัฒนาสุขภาพ
สังคมและสิ่งแวดล้อม
 ทุนพัฒนาบุคลากรและการ
วิจัยเพื่อฐานทางวิชาการ
(5 ประเภททุน)
• เมธีวิจัยอาวุโส
• ศาสตราจารย์วิจัยดีเด่น
• นักวิจัยรุ่นกลาง
(เมธีวิจัย)
• นักวิจัยรุ่นใหม่
• อาจารย์รุ่นใหม่
 ทุนวิจัยและนวัตกรรมในประเด็นสาคัญของ
ประเทศ (15 กลุ่มเรื่อง)
• การพัฒนาเศรษฐกิจ (2 กลุ่มเรื่อง)
• การพัฒนาสุขภาพ สังคมและสิ่งแวดล้อม
(1 กลุ่มเรื่อง)
• การส่งเสริมอุตสาหกรรมเป้าหมาย
(10 กลุ่มเรื่อง)
• การพัฒนาเชิงพื้นที่ (2 กลุ่มเรื่อง)
 ทุนพัฒนาบุคลากรและการวิจัยเพื่อฐานทาง
วิชาการ (2 ประเภท)
• ทุนพัฒนานักวิจัยรุ่นเยาว์ ประเภท
บัณฑิตศึกษา (7 กลุ่มเรื่อง)
- ปริญญาโท
- ปริญญาเอก
 กิจกรรมส่งเสริมสนับสนุนการขับเคลื่อน
การวิจัยสู่การใช้ประโยชน์ (4 มิติ)
• มิติเชิงชุมชน สังคม
• มิติเชิงชุมชน สังคม ตามแนวพระราชดาริ
• มิติเชิงนโยบายสาธารณะ (Public Policy)
• มิติด้านความมั่นคง
 ทุนวิจัยและนวัตกรรมในประเด็นสาคัญของประเทศ
 ทุนพัฒนาบุคลากรและการวิจัยเพื่อฐานทางวิชาการ
• การพัฒนาบุคลากรและการวิจัย
เพื่อฐานทางวิชาการ
• การสร้างเครือข่ายความร่วมมือนานาชาติ
 อื่นๆ
ทุนวิจัยและนวัตกรรมในประเด็นสาคัญของประเทศ
กิจกรรมส่งเสริมสนับสนุน
การขับเคลื่อนการวิจัยสู่
การใช้ประโยชน์
การพัฒนาเศรษฐกิจ
390 ล้านบาท
การพัฒนาสุขภาพ สังคมและสิ่งแวดล้อม
440 ล้านบาท
การส่งเสริมอุตสาหกรรมเป้าหมาย
450 ล้านบาท
การพัฒนาเชิงพื้นที่
150 ล้านบาท
การจัดการความรู้การวิจัย
90 ล้านบาท
ท้าทายไทย Spearhead
ด้านเศรษฐกิจ
1. การบริหารจัดการการ
ท่องเที่ยว
2. อ้อยและน้าตาล
3. นาโนเทคโนโลยี
4. ยางพารา
5. วิสาหกิจชุมชน และ
วิสาหกิจขนาดกลาง
และขนาดย่อม (SME)
6. พลังงานสีเขียว
การจัดการโลจิสติกส์
7. โลจิสติกส์และโซ่อุปทาน
8. การคมนาคมขนส่ง
ระบบราง
1. ความเหลี่อมล้า
2. การศึกษาและสร้างสรรค์การเรียนรู้
3. ประชาคมอาเซียน
4. มนุษยศาสตร์
5. สร้างสรรค์วิชาการงานศิลป์
6. จิตพฤติกรรม เยาวชนและสังคมไทย
7. การพัฒนาศักยภาพผู้สูงอายุและคนพิการ
8. โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืช
อันเนื่องมาจากพระราชดาริสมเด็จพระเทพ
รัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
9. เศรษฐกิจพอเพียง
10.การพัฒนาเศรษฐกิจจากฐาน
ความหลากหลายทางชีวภาพ
11.การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
12.สิ่งแวดล้อม ความหลากหลาย
ทางชีวภาพ และระบบนิเวศ
13.ความมั่นคงและปัญหาชายแดนใต้
14.ศูนย์กลางทางการแพทย์ (Medical Hub)
15.การแพทย์และสาธารณสุข
16.กาลังคนในศตวรรษที่ 21
1. อุตสาหกรรมยานยนต์สมัยใหม่
2. อุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์อัจฉริยะ
3. อุตสาหกรรมท่องเที่ยวกลุ่มรายได้ดีและ
ท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ
4. การเกษตรและเทคโนโลยี ชีวภาพ
5. อุตสาหกรรมแปรรูปอาหาร
6. หุ่นยนต์เพื่ออุตสาหกรรม
7. อุตสาหกรรมการบินและ
โลจิสติกส์
8. อุตสาหกรรมเชื้อเพลิงชีวภาพและเคมี
ชีวภาพ
9. อุตสาหกรรมดิจิทัล
10. อุตสาหกรรมการแพทย์ครบวงจร
11. อุตสาหกรรมความมั่นคงและเทคโนโลยี
อวกาศ
เครือข่ายบริหารงานวิจัย
1. การวิจัยเพื่อท้องถิ่น
- ภาคเหนือ
- ภาคกลาง
- ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
- ภาคตะวันออก
- ภาคตะวันตก
- ภาคใต้
1.มิติเชิงชุมชน สังคม
2.มิติเชิงชุมชน สังคม ตาม
แนวพระราชดาริ
3.มิติเชิงนโยบาย
สาธารณะ (Public
Policy)
4.มิติด้านความมั่นคง
2. การสร้างความเข้มแข็งเชิงพื้นที่
- การเกษตรอัจฉริยะ (Smart Farm)
- เมืองอัจฉริยะ (Smart City)
- เศรษฐกิจสร้างสรรค์
- ตัวแบบกลไกความร่วมมือเชิงพื้นที่
- สร้างพื้นที่นาร่องระดับจังหวัด
- สร้างตัวแบบในพื้นที่และสังเคราะห์
องค์ความรู้
14
ทุนวิจัยและนวัตกรรมในประเด็นสาคัญของประเทศ ประจาปีงบประมาณ 2563
15
ฐานข้อมูล
กลาง
ทรัพย์สิน
ทางปัญญา
อื่นๆ
หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
โครงสร้าง
พื้นฐาน
สป.อว. (สป.วท.)
หน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้อง
กรมทรัพย์สินทางปัญญา
หน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้อง
มาตรฐาน
สมอ.
อย.
วศ.
หน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้อง
ผลงานวิจัย
(สิ่งประดิษฐ์/นวัตกรรม)
สอศ.
สวทช.
กรมทรัพย์สินทางปัญญา
หน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้อง
ฐานข้อมูลและดัชนีด้านวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมของประเทศ
บุคลากรวิจัย
กรมการปกครอง
กระทรวงศึกษาธิการ
สานักงาน ก.พ.
สป.อว. (สกอ.)
สสช.
สกสว.
หน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้อง โครงการวิจัย/
ผลงานวิจัย
สวทช.
สป.อว. (สกอ.)
สวรส.
สวก.
TCI
Scopus
หน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้อง
งบประมาณ
กรมบัญชีกลาง
กรมสรรพากร
สานักงบประมาณ
หน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้อง
16
ฐานข้อมูลและดัชนีด้านวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมของประเทศ
Data Management System
ระบบบริหารจัดการข้อมูลการวิจัย
และนวัตกรรม
Data Processing & Analysis System
ระบบการวิเคราะห์ข้อมูลการวิจัย
และนวัตกรรม
Data Monitoring System
ระบบติดตามสถานการณ์การวิจัย
และนวัตกรรม
Data Forecasting System
ระบบการคาดการณ์แนวโน้มการวิจัย
และนวัตกรรม
Decision Support System
ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ
เชิงนโยบาย
Service System
ระบบบริการข้อมูลและสารสนเทศ
การวิจัยและนวัตกรรม
ระบบข้อมูล
สารสนเทศกลาง
ฐานข้อมูลและดัชนีด้านวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมของประเทศ
Social media
network
ข้อมูลการวิจัยและ
นวัตกรรมจากหน่วยงานใน
ระบบวิจัยและนวัตกรรม
- โครงการวิจัย/ผลงานวิจัย
- บุคลากรวิจัย
- งบประมาณ
- ทรัพย์สินทางปัญญา
- มาตรฐานการวิจัย
- โครงสร้างพื้นฐาน
- อื่นๆ
Data Forecasting System
ระบบการคาดการณ์แนวโน้ม
การวิจัยและนวัตกรรม
ฐานข้อมูลกลาง
Data Management System
ระบบบริหารจัดการข้อมูล
การวิจัยและนวัตกรรม
ระบบเชื่อมโยงข้อมูล
Data Monitoring System
ระบบติดตามสถานการณ์
การวิจัยและนวัตกรรม
นักวิจัย หน่วยงานภาครัฐ
เอกชน และประชาชน
สอวช. สกสว. ผู้บริหาร
และนักวิเคราะห์ข้อมูล
Dashboard และรายงาน BI
Metadata Model เพื่อการวิเคราะห์
และจัดทาดัชนีวิทยาศาสตร์ฯ
Metadata Model เพื่อการวิเคราะห์
เชิงรายละเอียด
Service System
ระบบบริการข้อมูลและ
สารสนเทศการวิจัยและ
นวัตกรรม
17
ฐานข้อมูลและดัชนีด้านวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมของประเทศ
Service System
ระบบบริการข้อมูลและสารสนเทศการวิจัยและนวัตกรรม
Data Forecasting System
ระบบการคาดการณ์แนวโน้มการวิจัยและนวัตกรรม
Data Management System
ระบบบริหารจัดการข้อมูลการวิจัยและนวัตกรรม
Decision Support System
ระบบสนับสนุนการตัดสินใจเชิงนโยบาย
Data Monitoring System
ระบบติดตามสถานการณ์การวิจัยและนวัตกรรม
Data Processing & Analysis System
ระบบการวิเคราะห์ข้อมูลการวิจัยและนวัตกรรม
ประโยชน์
ที่ได้รับ
 ใช้ในการบริหารจัดการและวิเคราะห์ สังเคราะห์ข้อมูลการวิจัยและ
นวัตกรรมในภาพรวมของประเทศ
 ทราบถึงสถานภาพของการวิจัยและนวัตกรรม รวมทั้ง การพัฒนา
วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีของประเทศ
 มีระบบข้อมูลสารสนเทศกลาง ด้านวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม
ของประเทศ เพื่อการอ้างอิงและเชื่อมโยงข้อมูลการวิจัยระดับชาติและ
นานาชาติ
 ใช้ในการวางแผนการแก้ปัญหาที่สาคัญและเร่งด่วนของประเทศ
รวมทั้งตอบสนองความต้องการในอนาคต
 ใช้ในการวางแผนการจัดทานโยบายเพื่อการพัฒนาประเทศ
 ใช้ในการจัดทาดัชนีด้านวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมของประเทศ
 ให้บริการข้อมูลและสารสนเทศการวิจัยและนวัตกรรม ตรงตามความ
ต้องการครบถ้วนเป็นปัจจุบัน และสามารถเข้าถึง
ได้อย่างสะดวก รวดเร็ว ทั่วถึง ทุกที่ ทุกเวลา
 มีข้อมูลการวิจัยและนวัตกรรมที่เป็นเอกภาพและมีความเป็นเจ้าของ
ร่วมกัน บนฐานข้อมูลเดียวกัน
18
19
สถานภาพข้อมูลการวิจัยปัจจุบัน
กรมการ
ปกครอง
สวก.
สป.วท.
สถาบัน
วัคซีน
สกสว.
มก., มศว,
ม.เชียงใหม่,
ม.สงขลานครินทร์,
มรภ.เชียงราย,
มรภ.สุราษฎร์ธานี
สถาบัน
บัณฑิตพัฒน
บริหารศาสตร์
กรมการแพทย์
ข้อมูลทะเบียนราษฎร
ข้อมูลงานวิจัยที่เสร็จสิ้นและ
ลิงก์ที่อยู่รายงานฉบับสมบูรณ์
ข้อมูลโครงสร้างพื้นฐาน
ข้อมูลนักวิจัยที่มี
ความเชี่ยวชาญด้านวัคซีน
ข้อมูลทุนมุ่งเป้า
ข้อมูลทุนแผ่นดิน
ข้อมูลงานวิจัย, เลขมาตรฐาน
วช.
ข้อมูลทุนมุ่งเป้า
DRIC
ศูนย์ข้อมูลการ
วิจัยดิจิทัล
ESPReL
ระบบ
ห้องปฏิบัติการ
วิจัยในประเทศไทย TNRR
คลังข้อมูล
งานวิจัยไทย
DOI
ระบบ
ตัวระบุ
วัตถุดิจิทัล
20
สื่อ
โทรคมนาคม
การบริการทางการเงิน
โลจิสติกส์
ที่มา: พันเอก ดร. เศรษฐพงค์ มะลิสุวรรณ, กสทช.
Artificial Intelligent ปัญญาประดิษฐ์
กับผลกระทบต่อสังคมโลก
AI จะเริ่มส่งผลกระทบในธุรกิจต่าง ๆ ในหลายอุตสาหกรรม เช่น
ค้าปลีก
การแพทย์และสุขภาพ
การศึกษา
21
ผลกระทบของการเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยี
ทาให้เกิดการจ้างงานรูปแบบใหม่ และทดแทนการจ้างงานในรูปแบบเดิม
ความก้าวหน้าของเทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์ (Artificial intelligence) ทาให้เกิดระบบอัตโนมัติ (Automation) ซึ่งได้
มีการคาดการณ์ว่า ระบบดังกล่าวกาลังเข้ามาแทนที่แรงงานที่มีอยู่เดิม และจะส่งผลให้อัตราการจ้างงานลดลงอย่างมีนัยสาคัญ
จากการวิเคราะห์กรณีศึกษาของประเทศเยอรมนี พบว่า ในปี พ.ศ. 2568 การใช้หุ่นยนต์และคอมพิวเตอร์จะส่งผลให้
การจ้างแรงงานในสายการประกอบและผลิตลดลง 610,000 ตาแหน่งงาน แต่กลับทาให้เกิดการจ้างงานใหม่ในอุตสาหกรรม
เทคโนโลยีสารสนเทศ (Information technology) และอุตสาหกรรมวิทยาศาสตร์ข้อมูล (Data science) ประมาณ 960,000
ตาแหน่งงาน
ที่มา: Boston Consulting Group (2558). Man and Machine in Industry 4.0
อ้างถึงใน (ร่าง) แผนกลยุทธ์การพัฒนาบุคลากรวิจัยและนวัตกรรม ระยะ ๒๐ ปี (พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๗๙)
22
แนวโน้มและความสาคัญของ AI
จากการวิเคราะห์ของ World Economic Forum
ได้คาดการณ์ไว้ว่า เทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์ (AI) และ
Big Data Analytics จะมีขีดความสามารถอันทรงพลัง
พร้อมกันในช่วงปี 2025-2030 จนจะส่งผลให้รูปแบบ
ของสื่อใหม่ในอนาคต ได้แก่
• การผลิตสื่อ (production)
• การกระจายและส่งถึงผู้บริโภค (distribution)
• วิธีการบริโภคสื่อ (viewing)
มุ่งสู่แพลตฟอร์มอินเทอร์เน็ตแบบ realtime อย่าง
สมบูรณ์แบบ และจะทาให้รูปแบบธุรกิจดั้งเดิมที่มีมา
ในอดีต จะถูกทาลายไปในหลายอุตสาหกรรม
โดยปรากฎการณ์ดังกล่าว นักอนาคตศาสตร์มักเรียกว่า
“การทาลายอย่างสร้างสรรค์ (Creative destruction)”
นั่นเอง
ที่มา: พันเอก ดร. เศรษฐพงค์ มะลิสุวรรณ, กสทช.
23ที่มา: ข้อมูลจากระบบ NRMS
การแพทย์
การเกษตร
การศึกษา/การดารงชีวิต
อุตสาหกรรม
ความมั่นคง
อื่น ๆ
• การศึกษา ออกแบบ และพัฒนามือหุ่นยนต์และระบบควบคุม
ด้วยถุงมือเสมือนจริงแบบไร้สาย สาหรับเทคโนโลยีทาง
การแพทย์และอุตสาหกรรมปิโตรเคมี
• การศึกษาและประยุกต์ ใช้ระบบควบคุมแบบ feedback -
linear stability ร่วมกับระบบสมองกลฝังตัวเพื่อออก แบบ
ต้นแบบรถเข็นขึ้นบันไดหรือพื้นต่างระดับแบบอัตโนมัติสาหรับ
บุคคลพิการและผู้สูงอายุ งานวิจัยและ
นวัตกรรมเด่น
ที่เกี่ยวกับ
ปัญญาประดิษฐ์
• ระบบสมองกลฝังตัวสาหรับเครื่องกรีดยางพารา
อัตโนมัติ
• การใช้เทคนิคการประมวลผลภาพร่วมกับโครงข่าย
ประสาทเทียม เพื่อหาคุณลักษณะของพันธุ์ข้าว
สาหรับพัฒนาเครื่องคัดแยกพันธุ์ข้าวอัตโนมัติ
• การพัฒนาโปรแกรมภาษามือไทยพูดได้
• ระบบปัญญาประดิษฐ์เพื่อนาเสนอคาตอบแบบ
มัลติมีเดียบนเครือข่ายสังคมออนไลน์
• การพัฒนาระบบสมองกลฝังตัวสาหรับควบคุมแสงสว่างไฟถนนแบบอัจฉริยะ
• ระบบจัดการพลังงานแสงอาทิตย์แบบผสมผสานสมาร์ทกริดโดยการ
ประยุกต์โครงข่ายประสาทเทียม สาหรับพื้นที่ไฟฟ้าเข้าไม่ถึง
• การพัฒนาเครื่องเตือนภัยพิบัติแผ่นดินไหวที่ควบคุมด้วยระบบ
สมองกลแบบฝังตัวเพื่อให้มีคุณภาพตามมาตรฐาน
• หุ่นยนต์ลาดตระเวนอัตโนมัติตรวจจับวัตถุต้องสงสัยเพื่อป้องกัน
เหตุในพื้นที่จังหวัดชายแดนโดยใช้เทคนิคการเรียนรู้เชิงลึกและ
สมองกลฝังตัว
• เซนเซอร์และระบบสมองกลอัจฉริยะ
• โครงการการพยากรณ์สภาวะอากาศชั้นบนโดยใช้
ปัญญาประดิษฐ์
@nrctofficial
www.nrct.go.th
24
01 sirirurg-songsivilai-royin-20190831

More Related Content

What's hot

02 การพัฒนาระบบนวัตกรรมของไทย ศ นพ สุทธิพร จิตต์มิตรภาพ วช
02 การพัฒนาระบบนวัตกรรมของไทย ศ นพ สุทธิพร จิตต์มิตรภาพ วช02 การพัฒนาระบบนวัตกรรมของไทย ศ นพ สุทธิพร จิตต์มิตรภาพ วช
02 การพัฒนาระบบนวัตกรรมของไทย ศ นพ สุทธิพร จิตต์มิตรภาพ วชKant Weerakant Drive Thailand
 
KM Project present by Tiparat KU MSIT11
KM Project present by Tiparat KU  MSIT11KM Project present by Tiparat KU  MSIT11
KM Project present by Tiparat KU MSIT11Amp Tiparat
 
แผนการดำเนินงานและงบประมาณ ปีงบประมาณ 2563 สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโ...
แผนการดำเนินงานและงบประมาณ   ปีงบประมาณ 2563  สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโ...แผนการดำเนินงานและงบประมาณ   ปีงบประมาณ 2563  สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโ...
แผนการดำเนินงานและงบประมาณ ปีงบประมาณ 2563 สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโ...National Science and Technology Development Agency (NSTDA) - Thailand
 

What's hot (11)

New
NewNew
New
 
02 การพัฒนาระบบนวัตกรรมของไทย ศ นพ สุทธิพร จิตต์มิตรภาพ วช
02 การพัฒนาระบบนวัตกรรมของไทย ศ นพ สุทธิพร จิตต์มิตรภาพ วช02 การพัฒนาระบบนวัตกรรมของไทย ศ นพ สุทธิพร จิตต์มิตรภาพ วช
02 การพัฒนาระบบนวัตกรรมของไทย ศ นพ สุทธิพร จิตต์มิตรภาพ วช
 
Innovation coupon - 2015-04-20
Innovation coupon - 2015-04-20Innovation coupon - 2015-04-20
Innovation coupon - 2015-04-20
 
KM Project present by Tiparat KU MSIT11
KM Project present by Tiparat KU  MSIT11KM Project present by Tiparat KU  MSIT11
KM Project present by Tiparat KU MSIT11
 
NSTDA-Plan-2561
NSTDA-Plan-2561NSTDA-Plan-2561
NSTDA-Plan-2561
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 5 ฉบับที่ 5 ประจำเดือนสิงหาคม 2562
NSTDA Newsletter ปีที่ 5 ฉบับที่ 5 ประจำเดือนสิงหาคม 2562NSTDA Newsletter ปีที่ 5 ฉบับที่ 5 ประจำเดือนสิงหาคม 2562
NSTDA Newsletter ปีที่ 5 ฉบับที่ 5 ประจำเดือนสิงหาคม 2562
 
NSTDA KM
NSTDA KMNSTDA KM
NSTDA KM
 
แผนการดำเนินงานและงบประมาณ ปีงบประมาณ 2563 สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโ...
แผนการดำเนินงานและงบประมาณ   ปีงบประมาณ 2563  สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโ...แผนการดำเนินงานและงบประมาณ   ปีงบประมาณ 2563  สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโ...
แผนการดำเนินงานและงบประมาณ ปีงบประมาณ 2563 สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโ...
 
NRC strategy plan 2555-2559
NRC strategy plan 2555-2559NRC strategy plan 2555-2559
NRC strategy plan 2555-2559
 
Action plan
Action planAction plan
Action plan
 
Nstda annual2007
Nstda annual2007Nstda annual2007
Nstda annual2007
 

Similar to 01 sirirurg-songsivilai-royin-20190831

1ผลการวิเคราะห์ swot ของศูนย์คอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย
1ผลการวิเคราะห์ swot   ของศูนย์คอมพิวเตอร์  มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย1ผลการวิเคราะห์ swot   ของศูนย์คอมพิวเตอร์  มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย
1ผลการวิเคราะห์ swot ของศูนย์คอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเลยjeabjeabloei
 
การรู้สารสนเทศเพื่อการก้าวสู่ประชาคม
การรู้สารสนเทศเพื่อการก้าวสู่ประชาคมการรู้สารสนเทศเพื่อการก้าวสู่ประชาคม
การรู้สารสนเทศเพื่อการก้าวสู่ประชาคมjeabjeabloei
 
ศูนย์ภาคีวิจัยล้านนา
ศูนย์ภาคีวิจัยล้านนาศูนย์ภาคีวิจัยล้านนา
ศูนย์ภาคีวิจัยล้านนาrattapol
 
การประเมินผลการดำเนินงานของศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชน กระทรวง ICT
การประเมินผลการดำเนินงานของศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชน  กระทรวง ICTการประเมินผลการดำเนินงานของศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชน  กระทรวง ICT
การประเมินผลการดำเนินงานของศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชน กระทรวง ICTPanita Wannapiroon Kmutnb
 
Ppt ประชุมคณะกรรมการอาเซียน mar 29
Ppt ประชุมคณะกรรมการอาเซียน mar 29Ppt ประชุมคณะกรรมการอาเซียน mar 29
Ppt ประชุมคณะกรรมการอาเซียน mar 29Kamolkan Thippaboon
 
Ppt ประชุมอาเซียน mar 29
Ppt ประชุมอาเซียน mar 29Ppt ประชุมอาเซียน mar 29
Ppt ประชุมอาเซียน mar 29Kamolkan Thippaboon
 
จุดเน้นที่ 6 ภาค1 ปี55
จุดเน้นที่ 6 ภาค1 ปี55จุดเน้นที่ 6 ภาค1 ปี55
จุดเน้นที่ 6 ภาค1 ปี55tassanee chaicharoen
 
NSTDA Bio Technology Industry
NSTDA Bio Technology IndustryNSTDA Bio Technology Industry
NSTDA Bio Technology IndustryNSTDA Thailand
 
การบริหารด้านวิชาการและเทคโนโลยีสารสนเทศ
การบริหารด้านวิชาการและเทคโนโลยีสารสนเทศการบริหารด้านวิชาการและเทคโนโลยีสารสนเทศ
การบริหารด้านวิชาการและเทคโนโลยีสารสนเทศDenpong Soodphakdee
 

Similar to 01 sirirurg-songsivilai-royin-20190831 (20)

1ผลการวิเคราะห์ swot ของศูนย์คอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย
1ผลการวิเคราะห์ swot   ของศูนย์คอมพิวเตอร์  มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย1ผลการวิเคราะห์ swot   ของศูนย์คอมพิวเตอร์  มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย
1ผลการวิเคราะห์ swot ของศูนย์คอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย
 
การรู้สารสนเทศเพื่อการก้าวสู่ประชาคม
การรู้สารสนเทศเพื่อการก้าวสู่ประชาคมการรู้สารสนเทศเพื่อการก้าวสู่ประชาคม
การรู้สารสนเทศเพื่อการก้าวสู่ประชาคม
 
Nrct
NrctNrct
Nrct
 
ศูนย์ภาคีวิจัยล้านนา
ศูนย์ภาคีวิจัยล้านนาศูนย์ภาคีวิจัยล้านนา
ศูนย์ภาคีวิจัยล้านนา
 
Draftcriteria
DraftcriteriaDraftcriteria
Draftcriteria
 
Nstda annual 2009
Nstda annual 2009Nstda annual 2009
Nstda annual 2009
 
2009 stks-annual-report
2009 stks-annual-report2009 stks-annual-report
2009 stks-annual-report
 
การประเมินผลการดำเนินงานของศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชน กระทรวง ICT
การประเมินผลการดำเนินงานของศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชน  กระทรวง ICTการประเมินผลการดำเนินงานของศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชน  กระทรวง ICT
การประเมินผลการดำเนินงานของศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชน กระทรวง ICT
 
STKS Handbook
STKS HandbookSTKS Handbook
STKS Handbook
 
Thai Research
Thai ResearchThai Research
Thai Research
 
Ppt ประชุมคณะกรรมการอาเซียน mar 29
Ppt ประชุมคณะกรรมการอาเซียน mar 29Ppt ประชุมคณะกรรมการอาเซียน mar 29
Ppt ประชุมคณะกรรมการอาเซียน mar 29
 
Ppt ประชุมอาเซียน mar 29
Ppt ประชุมอาเซียน mar 29Ppt ประชุมอาเซียน mar 29
Ppt ประชุมอาเซียน mar 29
 
ดร.เจษฎา ชาตรี
ดร.เจษฎา  ชาตรีดร.เจษฎา  ชาตรี
ดร.เจษฎา ชาตรี
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 4 ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2561
NSTDA Newsletter ปีที่ 4 ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2561NSTDA Newsletter ปีที่ 4 ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2561
NSTDA Newsletter ปีที่ 4 ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2561
 
จุดเน้นที่ 6
จุดเน้นที่ 6จุดเน้นที่ 6
จุดเน้นที่ 6
 
จุดเน้นที่ 6 ภาค1 ปี55
จุดเน้นที่ 6 ภาค1 ปี55จุดเน้นที่ 6 ภาค1 ปี55
จุดเน้นที่ 6 ภาค1 ปี55
 
NSTDA Bio Technology Industry
NSTDA Bio Technology IndustryNSTDA Bio Technology Industry
NSTDA Bio Technology Industry
 
การบริหารด้านวิชาการและเทคโนโลยีสารสนเทศ
การบริหารด้านวิชาการและเทคโนโลยีสารสนเทศการบริหารด้านวิชาการและเทคโนโลยีสารสนเทศ
การบริหารด้านวิชาการและเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
Question
QuestionQuestion
Question
 
S&T with NSTDA
S&T with NSTDAS&T with NSTDA
S&T with NSTDA
 

01 sirirurg-songsivilai-royin-20190831

  • 2. • รับผิดชอบงานวิชาการและงานธุรการ ของคณะกรรมการส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (กสว.) และคณะกรรมการพิจารณางบประมาณด้านวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม • จัดทานโยบาย กรอบวงเงินด้านวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม รวมถึงหลักเกณฑ์การจัดทาคาของบประมาณ • บริหารกองทุนส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม • รับผิดชอบงานวิชาการและงานธุรการของสภานโยบายการอุดมศึกษาฯ • เสนอความเห็นต่อสภานโยบายการอุดมศึกษาฯ เกี่ยวกับนโยบาย ยุทธศาสตร์ แผนด้านการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมของประเทศที่สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติ แผนแม่บทและแผนอื่น รวมทั้งนโยบายของรัฐบาล • ให้ทุนวิจัยและนวัตกรรมหลักของประเทศ ทั้งด้านวิทยาศาสตร์ สังคมศาสตร์ มนุษยศาสตร์ ทั้งภายใน และภายนอกกระทรวงการอุดมศึกษาฯ • ขับเคลื่อนโครงการริเริ่มสาคัญของประเทศ • จัดทาฐานข้อมูลและดัชนี ว & น • จัดทามาตรฐานและจริยธรรมการวิจัย • ส่งเสริมและถ่ายทอดความรู้เพื่อใช้ประโยชน์ • สนับสนุนการพัฒนาบุคลากร ว & น • ให้รางวัล ประกาศเกียรติคุณบุคคลหรือหน่วยงาน • ราชการประจาทั่วไป รวมถึงร่วมสนับสนุนการขับเคลื่อนการปฏิรูปกระทรวงการอุดมศึกษาฯ • จัดและส่งเสริมการศึกษาระดับอุดมศึกษาจัดทาข้อเสนอนโยบายและแผนด้านการอุดมศึกษา จัดทามาตรฐาน การอุดมศึกษา การประกันคุณภาพการศึกษาระดับอุดมศึกษา • เป็นฝ่ายเลขานุการของ กกอ. และ กมอ. สานักงานปลัดกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สป.อว.) สภานโยบายการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมแห่งชาติ สานักงานสภานโยบายการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมแห่งชาติ (สอวช.) สานักงานคณะกรรมการ ส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สกสว.) คณะกรรมการการอุดมศึกษา (กกอ.) คณะกรรมการส่งเสริม วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (กสว.) คณะกรรมการมาตรฐาน การอุดมศึกษา (กมอ.) สานักงานปรมาณูเพื่อสันติ (ปส.)สถาบันอุดมศึกษา สถาบันวิจัยในกระทรวงการอุดมศึกษาฯ กรมวิทยาศาสตร์บริการ (วศ.) (จะเปลี่ยนเป็นสถาบันวิทยาศาสตร์บริการ) สานักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) Ministry of Higher Education, Science, Research and Innovation (MHESI) 2
  • 3. 3 ภารกิจ หน้าที่และอานาจของสานักงานการวิจัยแห่งชาติ 2. การจัดทาฐานข้อมูลและดัชนีวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมของประเทศ 3. การริเริ่ม ขับเคลื่อนและประสานการดาเนินงานโครงการวิจัยและนวัตกรรมที่สาคัญของประเทศ 4. การจัดทามาตรฐานและจริยธรรมการวิจัย 5. การส่งเสริมและถ่ายทอดความรู้เพื่อใช้ประโยชน์ 6. การส่งเสริมและสนับสนุนการพัฒนาบุคลากรด้านวิจัยและนวัตกรรม 7. การให้รางวัล ประกาศเกียรติคุณหรือยกย่องบุคคลหรือหน่วยงานด้านวิจัยและนวัตกรรม 1. การให้ทุนวิจัยและนวัตกรรม
  • 4. หน่วยงานด้านนโยบาย ยุทธศาสตร์ แผน และ กรอบงบประมาณ ววน. หน่วยงานที่ทาวิจัย และสร้างนวัตกรรม หน่วยงานด้านการให้ทุน หน่วยงานด้านการจัดการความรู้ จากงานวิจัยและนวัตกรรม และ หน่วยงานซึ่งเป็นผู้ใช้ประโยชน์ หน่วยงานด้านมาตรวิทยา มาตรฐาน การทดสอบและบริการ คุณภาพวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม 4 สานักงาน การวิจัยแห่งชาติ สอวช. สกสว.สป.อว. สภาพัฒน์ฯ สานักงานคณะกรรมการ นโยบายการศึกษาฯ ม.ราชภัฏ 38 แห่ง ม.รัฐ 9 แห่ง ม.ในกากับของรัฐ 25 แห่ง วิทยาลัยชุมชน 1 แห่ง ม.เทคโนโลยีราชมงคล 9 แห่ง สถาบันอุดมศึกษาในสังกัดกระทรวงอื่น ๆ ม.เอกชน 75 แห่ง กษ. สธ. พม. พณ. คค. เอกชน ชุมชน ก.อื่น ๆ ปส.สวทช. มว. สทอภ. สทน. สตร. สนช. สช. ศลช. สสนก. วว.อพวช. วศ. และหน่วยงาน ให้ทุนอื่น ๆ
  • 5. นโยบาย การอุดมศึกษา (สป.อว.) นโยบายวิทยาศาสตร์ วิจัยและ นวัตกรรม (สกสว.) กองทุนส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัย และนวัตกรรม (สกสว.) สภานโยบายการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมแห่งชาติ หน่วยงานนโยบายและกรอบงบประมาณ สวทช. มหาวิทยาลัย สถาบันวิจัย เช่น วว. หน่วยให้ทุน หน่วยทาวิจัย ระบบทุนวิจัยและนวัตกรรมของประเทศ วช.5G สวก. สวรส.* *โครงการวิจัยและนวัตกรรมใหม่ที่ประเทศยังไม่เคยมีมาก่อน งบประมาณ ดาเนินการมากกว่า 3,000 ล้านบาท ต้องมีหลายหน่วยงาน/สถาบันวิจัย ร่วมดาเนินการในลักษณะ Consortium เช่น Genomics Thailand 5 Funding Agency/ ODU
  • 6. Streamlined process Outcome and impact-driven กองทุนส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม Synergy & partnership • ระบบ Online 100% 5G-funding • กลไก ODU (Outcome Delivery Units) • Program funding และ Matching fund • Monitoring and Evaluation โดยผู้ใช้ผลการวิจัย ทุนในเชิงรุกตามประเด็นยุทธศาสตร์ Multi-year Block grant • หน่วยให้ทุนอื่น ๆ (สวก., สวรส.) • มหาวิทยาลัยและสถาบันวิจัยทั้งในและนอกกระทรวง • ให้ทุนวิจัยครอบคลุมการวิจัยพื้นฐาน วิจัยประยุกต์ ทั้งวิทยาศาสตร์ สังคมศาสตร์ และมนุษยศาสตร์ รวมทั้งสหสาขาวิชาการ 6 ทิศทางใหม่ของระบบทุนวิจัยและนวัตกรรมของประเทศ
  • 7. วิธีการทางานแบบใหม่ : วช. 5G • ใช้ระบบ Online 100% (สอดคล้องตามนโยบายรัฐบาล ลดภาระ ค่าใช้จ่ายในการดาเนินการของนักวิจัย และลดระยะเวลาดาเนินการ) • มีกลไก ODU ทาให้สามารถรับผิดชอบภารกิจ และเชื่อมโยงการทางาน แบบบูรณาการระหว่างหน่วยงานทั้งในและนอกกระทรวงฯ • มีกลไกให้ทุนเป็น Program funding ได้ และ Matching fund กับภาคเอกชน และองค์กรอื่น ๆ เพื่อสนับสนุนความร่วมมือระหว่างกลุ่ม หน่วยงาน และระหว่างประเทศ • มีระบบ Monitoring and Evaluation ที่สอดคล้องกับระบบให้ทุน online และติดตาม ประเมินผลโดยผู้ใช้งานวิจัย (User) • ทุกภารกิจมีการเชื่อมโยงและสอดคล้องกัน โดยเฉพาะการให้ทุน การพัฒนาบุคลากร มาตรฐานการวิจัย การให้รางวัล และฐานข้อมูล โดยใช้ระบบทีมภายใน (Targeted delivery teams) และหน่วยงาน ภายนอก (Outcome Delivery Units) 1. ให้ทุนเชิงรุกนาไปสู่การบรรลุผลตามประเด็นยุทธศาสตร์ และแผนแม่บท (แทนการตั้งรับ) โดยใช้สรรพศาสตร์ 4. Streamlined process 2. ดาเนินการให้ทุนเป็น Multi-year ซึ่งผูกพันได้ โดยคานึงถึง ประสิทธิผลเป็นหลัก 3. ประสานเป้าหมายกับภารกิจอื่นของหน่วยงานทั้งในและนอก กระทรวงฯ เช่น โครงสร้างพื้นฐานขนาดใหญ่ การพัฒนาบุคลากร 7
  • 8. 8 ความเชื่อมโยงระหว่างยุทธศาสตร์ชาติ และแผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ (๔) ประเด็น อุตสาหกรรมและบริการแห่งอนาคต ด้านความมั่นคง ด้านการสร้าง ความสามารถ ในการแข่งขัน ด้านการพัฒนาและ เสริมสร้างศักฝภาพ ถรัพฝากรมนุผฝ์ ด้านการสร้างการ เติบโตบนคุณภาพ ชีวิตถี่เป็นมิตรต่อ สิ่งแวดล้อม ยุทธศาสตร์ที่เกี่ยวข้องโดยตรง ยุทธศาสตร์ที่มีส่วนสนับสนุน ยุทธศาสตร์ชาติ
  • 9. 9 แนวทางการพัฒนาตามแผนแม่บท (๔) ประเด็น อุตสาหกรรมและบริการแห่งอนาคต ๑) ยกระดับความสามารถของผู้ผลิต ผู้พัฒนา และผู้ออกแบบและสร้างระบบของไทย ให้มีความสามารถในการแข่งขันในด้านต่าง ๆ มากขึ้น ๒) ผลิตและพัฒนาบุคลากรทั้งทางด้านผู้ใช้ ผู้ผลิต และผู้ให้บริการ ในภาคส่วนต่าง ๆ ให้มีทักษะและความเชี่ยวชาญในด้านเทคโนโลยีดิจิทัล ข้อมูล และปัญญาประดิษฐ์ และส่งเสริมการนาบุคลากรต่างชาติที่มีทักษะและความรู้ความสามารถเข้ามาทางานเพื่อรองรับการเติบโตของอุตสาหกรรม ตลอดจนกาหนดมาตรการช่วยเหลือผู้ที่ได้รับผลกระทบจากการใช้เทคโนโลยีดิจิทัล ข้อมูล และปัญญาประดิษฐ์ ให้เรียนรู้ทักษะใหม่และปรับตัวเข้ากับ การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีได้ ๓) สร้างความตระหนักรู้และสนับสนุนการลงทุนด้านเทคโนโลยีดิจิทัล ข้อมูล และปัญญาประดิษฐ์ ซึ่งครอบคลุมถึงระบบอัตโนมัติและหุ่นยนต์ อิเล็กทรอนิกส์อัจฉริยะ อินเทอร์เน็ตในทุกสิ่ง และเทคโนโลยีใหม่ ๆ ในอนาคต ตามระดับความพร้อมของผู้ประกอบการทั้งด้านเกษตร อุตสาหกรรม และบริการ ๔) สร้างโอกาสและขยายช่องทางการตลาดทั้งในประเทศและต่างประเทศ และยกระดับให้เทคโนโลยีดิจิทัล ข้อมูล และปัญญาประดิษฐ์เป็น ส่วนหนึ่งของชีวิตประจาวันในสังคม รวมทั้งส่งเสริมการสร้างตลาดภายในประเทศผ่านการสนับสนุนของภาครัฐ ๕) ส่งเสริมให้มีการลงทุนในอุตสาหกรรมและบริการดิจิทัล ข้อมูล และปัญญาประดิษฐ์ ทั้งในประเทศและจากต่างประเทศ และสนับสนุนการ สร้างคลัสเตอร์ของอุตสาหกรรมและบริการเทคโนโลยีดิจิทัล ข้อมูล และปัญญาประดิษฐ์ รวมถึงสนับสนุนให้มีกลไกเพื่อผลักดันการขับเคลื่อน อุตสาหกรรมและบริการดิจิทัล ข้อมูล และปัญญาประดิษฐ์ ทั้งระบบแบบครบวงจร ที่มา: แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ (๔) ประเด็น อุตสาหกรรมและบริการแห่งอนาคต
  • 10. 10 4. Grand Challenges และ Frontier Research 2. การยกระดับขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ 3. การขจัดความยากจนและลดความเหลื่อมล้า 1. การสร้างคนและสถาบันองค์ความรู้ 4 Platform ของการวิจัยและนวัตกรรม ดร.สุวิทย์ เมษินทรีย์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม 1 สิงหาคม 2562
  • 11. 11 กรอบนโยบายและยุทธศาสตร์ อววน. เพื่อการพัฒนา 1. การพัฒนากาลังคนและสถาบันความรู้ 2. การวิจัยและสร้างนวัตกรรมเพื่อตอบ โจทย์ท้าทายของสังคม 3. การวิจัยและสร้างนวัตกรรมเพื่อเพิ่ม ขีดความสามารถการแข่งขัน 16. การปฏิรูประบบ อววน. (Reinventing Universities & Research Institutes) P.1 ระบบนิเวศเพื่อการพัฒนาและใช้กาลังคนคุณภาพ (National Brain Power Ecosystem) P.2 การพัฒนากาลังคนระดับสูงรองรับ EEC และระบบเศรษฐกิจ สังคมของประเทศ P.3 การเรียนรู้ตลอดชีวิตและพัฒนาทักษะเพื่ออนาคต P.4 AI for All P.5 การวิจัยขั้นแนวหน้า (Frontier Research) และการวิจัย พื้นฐาน (Basic Research) P.6 โครงสร้างพื้นฐานขนาดใหญ่เพื่อการวิจัยและนวัตกรรม P.13 นวัตกรรมสาหรับเศรษฐกิจฐานรากและชุมชนนวัตกรรม P.14 ขจัดความยากจนแบบเบ็ดเสร็จและแม่นยา P.15 เมืองน่าอยู่ (Smart/Livable City) - 30 เมืองน่าอยู่ ทันสมัย ใกล้บ้าน มีงานทา P.7 โจทย์ท้าทายด้านทรัพยากร สิ่งแวดล้อม และการเกษตร - Circular Economy เน้น Zero-waste/PM 2.5/Smart Farming/การจัดการน้า P.8 สังคมสูงวัย P.9 สังคมคุณภาพและความมั่นคง 4. การวิจัยและสร้างนวัตกรรมเพื่อการ พัฒนาเชิงพื้นที่และลดความเหลื่อมล้า P.10 การวิจัยและพัฒนานวัตกรรมเพื่อยกระดับความสามารถในการ แข่งขันและวางรากฐานทางเศรษฐกิจ (RDI for New Economy) - BCG Economy / AI & Data Economy / Creative Economy / Sharing Economy / RDI for S-Curve Industries P.11 การพัฒนาระบบนิเวศนวัตกรรม(InnovationEcosystem)/เขต เศรษฐกิจนวัตกรรม/อุทยานวิทยาศาสตร์/EECi/เมืองนวัตกรรมอาหาร P.12 โครงสร้างพื้นฐานทางคุณภาพและบริการ (National Quality Infrastructure & Services: NOIS) ที่มา: สานักงานสภานโยบายการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมแห่งชาติ (สอวช.)
  • 12. การพัฒนา เศรษฐกิจ การส่งเสริม อุตสาหกรรม เป้าหมาย (10 S-curve) การพัฒนา สุขภาพ สังคม และ สิ่งแวดล้อม การพัฒนา เชิงพื้นที่ ทุนวิจัยและนวัตกรรมในประเด็นสาคัญของประเทศ นโยบายและงานวิจัยพิเศษและเร่งด่วน เพื่อแก้ไขปัญหาเร่งด่วนของประเทศ การพัฒนา บุคลากร และการวิจัย เพื่อฐานทาง วิชาการ ทุนพัฒนาบุคลากรและ การวิจัยเพื่อฐานทางวิชาการ การสร้าง เครือข่าย ความร่วมมือ นานาชาติ กรอบการสนับสนุนทุนวิจัยและนวัตกรรมของประเทศ และทุนพัฒนาบุคลากรของประเทศ 12
  • 13. 13 กรอบการประกาศทุนวิจัยและนวัตกรรม และทุนพัฒนาบุคลากรของประเทศ ครั้งที่ 2 วันที่ 5 ส.ค.62 ครั้งที่ 1 วันที่ 4 ก.ค.62 ครั้งที่ 3 วันที่ 3 ก.ย.62  ทุนวิจัยและนวัตกรรมใน ประเด็นสาคัญของประเทศ (21 กลุ่มเรื่อง) • การพัฒนาเศรษฐกิจ • การพัฒนาสุขภาพ สังคมและสิ่งแวดล้อม  ทุนพัฒนาบุคลากรและการ วิจัยเพื่อฐานทางวิชาการ (5 ประเภททุน) • เมธีวิจัยอาวุโส • ศาสตราจารย์วิจัยดีเด่น • นักวิจัยรุ่นกลาง (เมธีวิจัย) • นักวิจัยรุ่นใหม่ • อาจารย์รุ่นใหม่  ทุนวิจัยและนวัตกรรมในประเด็นสาคัญของ ประเทศ (15 กลุ่มเรื่อง) • การพัฒนาเศรษฐกิจ (2 กลุ่มเรื่อง) • การพัฒนาสุขภาพ สังคมและสิ่งแวดล้อม (1 กลุ่มเรื่อง) • การส่งเสริมอุตสาหกรรมเป้าหมาย (10 กลุ่มเรื่อง) • การพัฒนาเชิงพื้นที่ (2 กลุ่มเรื่อง)  ทุนพัฒนาบุคลากรและการวิจัยเพื่อฐานทาง วิชาการ (2 ประเภท) • ทุนพัฒนานักวิจัยรุ่นเยาว์ ประเภท บัณฑิตศึกษา (7 กลุ่มเรื่อง) - ปริญญาโท - ปริญญาเอก  กิจกรรมส่งเสริมสนับสนุนการขับเคลื่อน การวิจัยสู่การใช้ประโยชน์ (4 มิติ) • มิติเชิงชุมชน สังคม • มิติเชิงชุมชน สังคม ตามแนวพระราชดาริ • มิติเชิงนโยบายสาธารณะ (Public Policy) • มิติด้านความมั่นคง  ทุนวิจัยและนวัตกรรมในประเด็นสาคัญของประเทศ  ทุนพัฒนาบุคลากรและการวิจัยเพื่อฐานทางวิชาการ • การพัฒนาบุคลากรและการวิจัย เพื่อฐานทางวิชาการ • การสร้างเครือข่ายความร่วมมือนานาชาติ  อื่นๆ
  • 14. ทุนวิจัยและนวัตกรรมในประเด็นสาคัญของประเทศ กิจกรรมส่งเสริมสนับสนุน การขับเคลื่อนการวิจัยสู่ การใช้ประโยชน์ การพัฒนาเศรษฐกิจ 390 ล้านบาท การพัฒนาสุขภาพ สังคมและสิ่งแวดล้อม 440 ล้านบาท การส่งเสริมอุตสาหกรรมเป้าหมาย 450 ล้านบาท การพัฒนาเชิงพื้นที่ 150 ล้านบาท การจัดการความรู้การวิจัย 90 ล้านบาท ท้าทายไทย Spearhead ด้านเศรษฐกิจ 1. การบริหารจัดการการ ท่องเที่ยว 2. อ้อยและน้าตาล 3. นาโนเทคโนโลยี 4. ยางพารา 5. วิสาหกิจชุมชน และ วิสาหกิจขนาดกลาง และขนาดย่อม (SME) 6. พลังงานสีเขียว การจัดการโลจิสติกส์ 7. โลจิสติกส์และโซ่อุปทาน 8. การคมนาคมขนส่ง ระบบราง 1. ความเหลี่อมล้า 2. การศึกษาและสร้างสรรค์การเรียนรู้ 3. ประชาคมอาเซียน 4. มนุษยศาสตร์ 5. สร้างสรรค์วิชาการงานศิลป์ 6. จิตพฤติกรรม เยาวชนและสังคมไทย 7. การพัฒนาศักยภาพผู้สูงอายุและคนพิการ 8. โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืช อันเนื่องมาจากพระราชดาริสมเด็จพระเทพ รัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี 9. เศรษฐกิจพอเพียง 10.การพัฒนาเศรษฐกิจจากฐาน ความหลากหลายทางชีวภาพ 11.การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ 12.สิ่งแวดล้อม ความหลากหลาย ทางชีวภาพ และระบบนิเวศ 13.ความมั่นคงและปัญหาชายแดนใต้ 14.ศูนย์กลางทางการแพทย์ (Medical Hub) 15.การแพทย์และสาธารณสุข 16.กาลังคนในศตวรรษที่ 21 1. อุตสาหกรรมยานยนต์สมัยใหม่ 2. อุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์อัจฉริยะ 3. อุตสาหกรรมท่องเที่ยวกลุ่มรายได้ดีและ ท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ 4. การเกษตรและเทคโนโลยี ชีวภาพ 5. อุตสาหกรรมแปรรูปอาหาร 6. หุ่นยนต์เพื่ออุตสาหกรรม 7. อุตสาหกรรมการบินและ โลจิสติกส์ 8. อุตสาหกรรมเชื้อเพลิงชีวภาพและเคมี ชีวภาพ 9. อุตสาหกรรมดิจิทัล 10. อุตสาหกรรมการแพทย์ครบวงจร 11. อุตสาหกรรมความมั่นคงและเทคโนโลยี อวกาศ เครือข่ายบริหารงานวิจัย 1. การวิจัยเพื่อท้องถิ่น - ภาคเหนือ - ภาคกลาง - ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ - ภาคตะวันออก - ภาคตะวันตก - ภาคใต้ 1.มิติเชิงชุมชน สังคม 2.มิติเชิงชุมชน สังคม ตาม แนวพระราชดาริ 3.มิติเชิงนโยบาย สาธารณะ (Public Policy) 4.มิติด้านความมั่นคง 2. การสร้างความเข้มแข็งเชิงพื้นที่ - การเกษตรอัจฉริยะ (Smart Farm) - เมืองอัจฉริยะ (Smart City) - เศรษฐกิจสร้างสรรค์ - ตัวแบบกลไกความร่วมมือเชิงพื้นที่ - สร้างพื้นที่นาร่องระดับจังหวัด - สร้างตัวแบบในพื้นที่และสังเคราะห์ องค์ความรู้ 14 ทุนวิจัยและนวัตกรรมในประเด็นสาคัญของประเทศ ประจาปีงบประมาณ 2563
  • 15. 15 ฐานข้อมูล กลาง ทรัพย์สิน ทางปัญญา อื่นๆ หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง โครงสร้าง พื้นฐาน สป.อว. (สป.วท.) หน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้อง กรมทรัพย์สินทางปัญญา หน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้อง มาตรฐาน สมอ. อย. วศ. หน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้อง ผลงานวิจัย (สิ่งประดิษฐ์/นวัตกรรม) สอศ. สวทช. กรมทรัพย์สินทางปัญญา หน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้อง ฐานข้อมูลและดัชนีด้านวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมของประเทศ บุคลากรวิจัย กรมการปกครอง กระทรวงศึกษาธิการ สานักงาน ก.พ. สป.อว. (สกอ.) สสช. สกสว. หน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้อง โครงการวิจัย/ ผลงานวิจัย สวทช. สป.อว. (สกอ.) สวรส. สวก. TCI Scopus หน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้อง งบประมาณ กรมบัญชีกลาง กรมสรรพากร สานักงบประมาณ หน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้อง
  • 16. 16 ฐานข้อมูลและดัชนีด้านวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมของประเทศ Data Management System ระบบบริหารจัดการข้อมูลการวิจัย และนวัตกรรม Data Processing & Analysis System ระบบการวิเคราะห์ข้อมูลการวิจัย และนวัตกรรม Data Monitoring System ระบบติดตามสถานการณ์การวิจัย และนวัตกรรม Data Forecasting System ระบบการคาดการณ์แนวโน้มการวิจัย และนวัตกรรม Decision Support System ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ เชิงนโยบาย Service System ระบบบริการข้อมูลและสารสนเทศ การวิจัยและนวัตกรรม ระบบข้อมูล สารสนเทศกลาง
  • 17. ฐานข้อมูลและดัชนีด้านวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมของประเทศ Social media network ข้อมูลการวิจัยและ นวัตกรรมจากหน่วยงานใน ระบบวิจัยและนวัตกรรม - โครงการวิจัย/ผลงานวิจัย - บุคลากรวิจัย - งบประมาณ - ทรัพย์สินทางปัญญา - มาตรฐานการวิจัย - โครงสร้างพื้นฐาน - อื่นๆ Data Forecasting System ระบบการคาดการณ์แนวโน้ม การวิจัยและนวัตกรรม ฐานข้อมูลกลาง Data Management System ระบบบริหารจัดการข้อมูล การวิจัยและนวัตกรรม ระบบเชื่อมโยงข้อมูล Data Monitoring System ระบบติดตามสถานการณ์ การวิจัยและนวัตกรรม นักวิจัย หน่วยงานภาครัฐ เอกชน และประชาชน สอวช. สกสว. ผู้บริหาร และนักวิเคราะห์ข้อมูล Dashboard และรายงาน BI Metadata Model เพื่อการวิเคราะห์ และจัดทาดัชนีวิทยาศาสตร์ฯ Metadata Model เพื่อการวิเคราะห์ เชิงรายละเอียด Service System ระบบบริการข้อมูลและ สารสนเทศการวิจัยและ นวัตกรรม 17
  • 18. ฐานข้อมูลและดัชนีด้านวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมของประเทศ Service System ระบบบริการข้อมูลและสารสนเทศการวิจัยและนวัตกรรม Data Forecasting System ระบบการคาดการณ์แนวโน้มการวิจัยและนวัตกรรม Data Management System ระบบบริหารจัดการข้อมูลการวิจัยและนวัตกรรม Decision Support System ระบบสนับสนุนการตัดสินใจเชิงนโยบาย Data Monitoring System ระบบติดตามสถานการณ์การวิจัยและนวัตกรรม Data Processing & Analysis System ระบบการวิเคราะห์ข้อมูลการวิจัยและนวัตกรรม ประโยชน์ ที่ได้รับ  ใช้ในการบริหารจัดการและวิเคราะห์ สังเคราะห์ข้อมูลการวิจัยและ นวัตกรรมในภาพรวมของประเทศ  ทราบถึงสถานภาพของการวิจัยและนวัตกรรม รวมทั้ง การพัฒนา วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีของประเทศ  มีระบบข้อมูลสารสนเทศกลาง ด้านวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม ของประเทศ เพื่อการอ้างอิงและเชื่อมโยงข้อมูลการวิจัยระดับชาติและ นานาชาติ  ใช้ในการวางแผนการแก้ปัญหาที่สาคัญและเร่งด่วนของประเทศ รวมทั้งตอบสนองความต้องการในอนาคต  ใช้ในการวางแผนการจัดทานโยบายเพื่อการพัฒนาประเทศ  ใช้ในการจัดทาดัชนีด้านวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมของประเทศ  ให้บริการข้อมูลและสารสนเทศการวิจัยและนวัตกรรม ตรงตามความ ต้องการครบถ้วนเป็นปัจจุบัน และสามารถเข้าถึง ได้อย่างสะดวก รวดเร็ว ทั่วถึง ทุกที่ ทุกเวลา  มีข้อมูลการวิจัยและนวัตกรรมที่เป็นเอกภาพและมีความเป็นเจ้าของ ร่วมกัน บนฐานข้อมูลเดียวกัน 18
  • 19. 19 สถานภาพข้อมูลการวิจัยปัจจุบัน กรมการ ปกครอง สวก. สป.วท. สถาบัน วัคซีน สกสว. มก., มศว, ม.เชียงใหม่, ม.สงขลานครินทร์, มรภ.เชียงราย, มรภ.สุราษฎร์ธานี สถาบัน บัณฑิตพัฒน บริหารศาสตร์ กรมการแพทย์ ข้อมูลทะเบียนราษฎร ข้อมูลงานวิจัยที่เสร็จสิ้นและ ลิงก์ที่อยู่รายงานฉบับสมบูรณ์ ข้อมูลโครงสร้างพื้นฐาน ข้อมูลนักวิจัยที่มี ความเชี่ยวชาญด้านวัคซีน ข้อมูลทุนมุ่งเป้า ข้อมูลทุนแผ่นดิน ข้อมูลงานวิจัย, เลขมาตรฐาน วช. ข้อมูลทุนมุ่งเป้า DRIC ศูนย์ข้อมูลการ วิจัยดิจิทัล ESPReL ระบบ ห้องปฏิบัติการ วิจัยในประเทศไทย TNRR คลังข้อมูล งานวิจัยไทย DOI ระบบ ตัวระบุ วัตถุดิจิทัล
  • 20. 20 สื่อ โทรคมนาคม การบริการทางการเงิน โลจิสติกส์ ที่มา: พันเอก ดร. เศรษฐพงค์ มะลิสุวรรณ, กสทช. Artificial Intelligent ปัญญาประดิษฐ์ กับผลกระทบต่อสังคมโลก AI จะเริ่มส่งผลกระทบในธุรกิจต่าง ๆ ในหลายอุตสาหกรรม เช่น ค้าปลีก การแพทย์และสุขภาพ การศึกษา
  • 21. 21 ผลกระทบของการเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยี ทาให้เกิดการจ้างงานรูปแบบใหม่ และทดแทนการจ้างงานในรูปแบบเดิม ความก้าวหน้าของเทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์ (Artificial intelligence) ทาให้เกิดระบบอัตโนมัติ (Automation) ซึ่งได้ มีการคาดการณ์ว่า ระบบดังกล่าวกาลังเข้ามาแทนที่แรงงานที่มีอยู่เดิม และจะส่งผลให้อัตราการจ้างงานลดลงอย่างมีนัยสาคัญ จากการวิเคราะห์กรณีศึกษาของประเทศเยอรมนี พบว่า ในปี พ.ศ. 2568 การใช้หุ่นยนต์และคอมพิวเตอร์จะส่งผลให้ การจ้างแรงงานในสายการประกอบและผลิตลดลง 610,000 ตาแหน่งงาน แต่กลับทาให้เกิดการจ้างงานใหม่ในอุตสาหกรรม เทคโนโลยีสารสนเทศ (Information technology) และอุตสาหกรรมวิทยาศาสตร์ข้อมูล (Data science) ประมาณ 960,000 ตาแหน่งงาน ที่มา: Boston Consulting Group (2558). Man and Machine in Industry 4.0 อ้างถึงใน (ร่าง) แผนกลยุทธ์การพัฒนาบุคลากรวิจัยและนวัตกรรม ระยะ ๒๐ ปี (พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๗๙)
  • 22. 22 แนวโน้มและความสาคัญของ AI จากการวิเคราะห์ของ World Economic Forum ได้คาดการณ์ไว้ว่า เทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์ (AI) และ Big Data Analytics จะมีขีดความสามารถอันทรงพลัง พร้อมกันในช่วงปี 2025-2030 จนจะส่งผลให้รูปแบบ ของสื่อใหม่ในอนาคต ได้แก่ • การผลิตสื่อ (production) • การกระจายและส่งถึงผู้บริโภค (distribution) • วิธีการบริโภคสื่อ (viewing) มุ่งสู่แพลตฟอร์มอินเทอร์เน็ตแบบ realtime อย่าง สมบูรณ์แบบ และจะทาให้รูปแบบธุรกิจดั้งเดิมที่มีมา ในอดีต จะถูกทาลายไปในหลายอุตสาหกรรม โดยปรากฎการณ์ดังกล่าว นักอนาคตศาสตร์มักเรียกว่า “การทาลายอย่างสร้างสรรค์ (Creative destruction)” นั่นเอง ที่มา: พันเอก ดร. เศรษฐพงค์ มะลิสุวรรณ, กสทช.
  • 23. 23ที่มา: ข้อมูลจากระบบ NRMS การแพทย์ การเกษตร การศึกษา/การดารงชีวิต อุตสาหกรรม ความมั่นคง อื่น ๆ • การศึกษา ออกแบบ และพัฒนามือหุ่นยนต์และระบบควบคุม ด้วยถุงมือเสมือนจริงแบบไร้สาย สาหรับเทคโนโลยีทาง การแพทย์และอุตสาหกรรมปิโตรเคมี • การศึกษาและประยุกต์ ใช้ระบบควบคุมแบบ feedback - linear stability ร่วมกับระบบสมองกลฝังตัวเพื่อออก แบบ ต้นแบบรถเข็นขึ้นบันไดหรือพื้นต่างระดับแบบอัตโนมัติสาหรับ บุคคลพิการและผู้สูงอายุ งานวิจัยและ นวัตกรรมเด่น ที่เกี่ยวกับ ปัญญาประดิษฐ์ • ระบบสมองกลฝังตัวสาหรับเครื่องกรีดยางพารา อัตโนมัติ • การใช้เทคนิคการประมวลผลภาพร่วมกับโครงข่าย ประสาทเทียม เพื่อหาคุณลักษณะของพันธุ์ข้าว สาหรับพัฒนาเครื่องคัดแยกพันธุ์ข้าวอัตโนมัติ • การพัฒนาโปรแกรมภาษามือไทยพูดได้ • ระบบปัญญาประดิษฐ์เพื่อนาเสนอคาตอบแบบ มัลติมีเดียบนเครือข่ายสังคมออนไลน์ • การพัฒนาระบบสมองกลฝังตัวสาหรับควบคุมแสงสว่างไฟถนนแบบอัจฉริยะ • ระบบจัดการพลังงานแสงอาทิตย์แบบผสมผสานสมาร์ทกริดโดยการ ประยุกต์โครงข่ายประสาทเทียม สาหรับพื้นที่ไฟฟ้าเข้าไม่ถึง • การพัฒนาเครื่องเตือนภัยพิบัติแผ่นดินไหวที่ควบคุมด้วยระบบ สมองกลแบบฝังตัวเพื่อให้มีคุณภาพตามมาตรฐาน • หุ่นยนต์ลาดตระเวนอัตโนมัติตรวจจับวัตถุต้องสงสัยเพื่อป้องกัน เหตุในพื้นที่จังหวัดชายแดนโดยใช้เทคนิคการเรียนรู้เชิงลึกและ สมองกลฝังตัว • เซนเซอร์และระบบสมองกลอัจฉริยะ • โครงการการพยากรณ์สภาวะอากาศชั้นบนโดยใช้ ปัญญาประดิษฐ์