SlideShare a Scribd company logo
ทฤษฎีการเรียนรู้แบบร่วมมือ
 ความหมายและแนวคิดของการเรียนรู้แบบร่วมมือ
( Cooperative and Collaborative Learning )
ความหมาย
การเรียนรู้แบบร่วมมือ (Cooperative and Collaborative
Learning) เป็นคำาที่มีความหมายใกล้เคียงกัน เพราะมีลักษณะ
เป็นกระบวนการเรียนรู้เป็นแบบร่วมมือ ข้อแตกต่างระหว่าง
Cooperative Learning กับ Collaborative Learning อยู่ที่ระดับความ
ร่วมมือที่แตกต่างกัน Sunyoung, J. (2003) ได้สรุปว่า ความแตก
ต่างที่เห็นได้ชัดเจนระหว่าง Cooperative Learning กับ
Collaborative Learning คือ เรื่องโครงสร้างของงาน ได้แก่ Pre –
Structure , Task – Structure และ Content Structure โดย
Cooperative Learning จะมีการกำาหนดโครงสร้างล่วงหน้ามากกว่า
มีความเกี่ยวข้องกับงานที่มีการจัดโครงสร้างไว้เพื่อคำาตอบที่
จำากัดมากกว่า และมีการเรียนรู้ในขอบข่ายความรู้และทักษะที่
ชัดเจน ส่วน Collaborative Learning มีการจัดโครงสร้างล่วงหน้า
น้อยกว่า เกี่ยวข้องกับงานที่มีการจัดโครงสร้างแบบหลวมๆ (ill –
Structure Task) เพื่อให้ได้คำาตอบที่ยืดหยุ่นหลากหลาย และมีการ
การเรียนรู้แบบร่วมมือ (Cooperative Learning and
Collaborative Learning) หรือนักวิชาการบางท่านได้
แปล Collaborative Learning ว่าคือ การเรียนรู้ร่วมกัน
ซึ่งเป็นวิธีการจัดการเรียนการสอนรูปแบบหนึ่ง ที่
เน้นให้ผู้เรียนลงมือปฏิบัติงานเป็นกลุ่มย่อย โดยมี
สมาชิกกลุ่มที่มีความสามารถที่แตกต่างกัน เพื่อ
เสริมสร้างสมรรถภาพการเรียนรู้ของแต่ละคน
สนับสนุนให้มีการช่วยเหลือซึ่งกันและกัน จน
บรรลุตามเป้าหมายที่วางไว้ นอกจากนี้ ยังเป็นการ
ส่งเสริมการทำางานร่วมกันเป็นหมู่คณะ หรือทีม
ตามระบอบประชาธิปไตย และเป็นการพัฒนา
ความฉลาดทางอารมณ์ ทำาให้สามารถปรับตัวอยู่
2. ทฤษฎีและหลักการของการเรียนรู้
แบบร่วมมือ
2.1 องค์ประกอบของการเรียนแบบร่วมมือ
Johnson and Johnson (1994 : 31 - 37) ได้
สรุปว่า Cooperative Learning มีองค์ประกอบ ที่
สำาคัญ 5 ประการ ดังนี้
ความเกี่ยวข้องสัมพันธ์กันในทาง
บวก
การมีปฏิสัมพันธ์ที่ส่งเสริมกันระหว่าง
สมาชิกภายในกลุ่ม
ความรับผิดชอบของสมาชิกแต่ละ
บุคคล
การใช้ทักษะการปฏิสัมพันธ์ระหว่าง
1.ความเกี่ยวข้องสัมพันธ์กันในทางบวก
(PositiveInterdependent) หมายถึงการพึ่งพากันใน
ทางบวก แบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ การ
พึ่งพากันเชิงผลลัพธ์ คือการพึ่งพากันใน
ด้านการได้รับผลประโยชน์จากความสำาเร็จ
ของกลุ่มร่วมกัน โดยมีเป้าหมายร่วมกัน จึงจะ
เกิดแรงจูงใจให้ผู้เรียนมีการพึ่งพาซึ่งกันและ
กัน สามารถร่วมมือกันทำางานให้บรรลุผล
สำาเร็จได้ และการพึ่งพาในเชิงวิธีการ คือ
การพึ่งพากันในด้านกระบวนการทำางานเพื่อ
ให้งานกลุ่มสามารถบรรลุได้ตามเป้าหมาย
2. การมีปฏิสัมพันธ์ที่ส่งเสริมกันระหว่าง
สมาชิกภายในกลุ่ม (Face to Face
Promotive Interdependence) หมายถึง การ
เปิดโอกาสให้ผู้เรียนช่วยเหลือกัน มีการ
ติดต่อสัมพันธ์กัน การอภิปรายแลกเปลี่ยน
ความรู้ ความคิด การอธิบายให้สมาชิกใน
กลุ่มได้เกิดการเรียนรู้ การรับฟังเหตุผล
ของสมาชิกในกลุ่ม การรับฟังเหตุผลของ
สมาชิกภายในกลุ่ม จะก่อให้เกิดการพัฒนา
กระบวนการคิดของผู้เรียน เป็นการเปิด
โอกาสให้ ผู้เรียนได้รู้จักการทำางานร่วมกัน
ทางสังคม จากการช่วยเหลือสนับสนุนกัน
3. ความรับผิดชอบของสมาชิกแต่ละ
บุคคล (Individual Accountability)
หมายถึง ความรับผิดชอบในการเรียนรู้
ของสมาชิกแต่ละคน โดยต้องทำางานที่ได้
รับมอบหมายอย่างเต็มความสามารถ โดย
ประเมินผลงานของสมาชิกแต่ละคน ซึ่งรวม
กันเป็นผลงานของกลุ่มให้ข้อมูลย้อนกลับ
ทั้งกลุ่มและรายบุคคลให้สมาชิกทุกคน
รายงานหรือมีโอกาสแสดงความคิดเห็นโดย
ทั่วถึงกัน
4. การใช้ทักษะการปฏิสัมพันธ์
ระหว่างบุคคลและทักษะการทำางาน
กลุ่มย่อย (Interpersonal and Small
Group Skills)
หมายถึง การมีทักษะทางสังคม
(Social Skill) เพื่อให้สามารถทำางาน
ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุข คือ มีความ
เป็นผู้นำา รู้จักตัดสินใจ สามารถสร้าง
ความไว้วางใจ รู้จักติดต่อสื่อสาร และ
สามารถแก้ไขปัญหาข้อขัดแย้งในการ
ทำางานร่วมกัน ซึ่งเป็นสิ่งจำาเป็นสำาหรับ
การทำางานร่วมกันที่จะช่วยให้การทำางาน
5. กระบวนการทำางานของกลุ่ม (Group
Processing)
หมายถึง กระบวนการเรียนรู้ของกลุ่ม
โดยผู้เรียนจะต้องเรียนรู้จากกลุ่มให้มาก
ที่สุด มีความร่วมมือทั้งด้านความคิด การ
ทำางาน และความ รับผิดชอบร่วมกันจน
สามารถบรรลุเป้าหมายได้ การที่จะช่วย
ให้การดำาเนินงานของกลุ่มเป็นไปได้อย่าง
มีประสิทธิภาพและบรรลุเป้าหมายนั้น กลุ่ม
จะต้องมีหัวหน้าที่ดี สมาชิกดี และ
กระบวนการทำางานดี นั่นคือ มีการเข้าใจ
ในเป้าหมายการทำางานร่วมกัน
ประเภทของกลุ่มการเรียนรู้แบบร่วมมือ
1. กลุ่มการเรียนรู้แบบร่วมมืออย่างเป็น
ทางการ (Formal Cooperative Learning
Group)
กลุ่มประเภทนี้ ครูจัดขึ้นโดยการวางแผน จัด
ระเบียบ กฎเกณฑ์ วิธีการและเทคนิคต่างๆเพื่อให้
ผู้เรียนได้ร่วมมือกันเรียนรู้สาระต่างๆ อย่างต่อ
เนื่อง ซึ่งอาจเป็นหลายๆชั่วโมงติดต่อกัน หรือ
หลายสัปดาห์ติดต่อกัน จนกระทั่งผู้เรียนเกิดการ
เรียนรู้และบรรลุจุดมุ่งหมายตามที่กำาหนด
2. กลุ่มการเรียนรู้แบบร่วมมืออย่างไม่เป็น
ทางการ (Informal Cooperative Learning
Group)
กลุ่มประเภทนี้ ครูจัดขึ้นเฉพาะกิจเป็นครั้ง
3. กลุ่มการเรียนรู้แบบร่วมมืออย่าง
ถาวร (Cooperative Base Group) หรือ Long -
TermGroup
กลุ่มประเภทนี้ เป็นกลุ่มการเรียนรู้ที่
สมาชิกกลุ่มมีประสบการณ์การทำางาน / การ
เรียนรู้ร่วมกันมานานมากกว่า 1 หลักสูตร
หรือภาคการศึกษา จนกระทั่งเกิด
สัมพันธภาพที่แน่นแฟ้น สมาชิกกลุ่มมีความ
ผูกพัน ห่วงใย ช่วยเหลือกันและกันอย่างต่อ
เนื่อง
ข้อดีของการเรียนรู้แบบร่วมมือ
ก. ใคร่ครวญในความหลากหลาย
ข. ยอมรับความแตกต่างระหว่างบุคคล
ค. การพัฒนาความสัมพันธ์ระหว่าง
บุคคล
ง. การรวมนักเรียนที่มีความ
กระตือรือร้นในการเรียนรู้
จ. มีโอกาสมากกว่าสำาหรับการป้อน
กลับส่วนบุคคล
สรุปได้ว่า การจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือ
นั้น ย่อมมีทั้งข้อดีในการพัฒนาผู้เรียนใน
ด้านต่างๆ และข้อจำากัดของกระบวนการ
จัดการเรียนรู้ เพราะเป็นการทำางานร่วมกับ
บุคคลอื่นที่มีความแตกต่างในหลายๆด้าน
ซึ่งทักษะทางสังคมเป็นสิ่งจำาเป็นที่ต้อง
พัฒนาในตัวผู้เรียนแต่ละคน และหากผู้สอน
ได้นำาเทคนิคการจัดการกับความขัดแย้งมา
ใช้ได้ทันท่วงที ในระยะแรกที่ความขัดแย้ง
ได้เกิดขึ้น ก็จะเป็นการช่วยลดอุปสรรคใน
การเรียนรู้ และยังเป็นการเพิ่มประสิทธิภาพ
ของการเรียนรู้แบบร่วมมือด้วย
จบการนำาเสนอ
ชื่อสมาชิก
นางสาวอัญธิดา เชื้อชาญ รหัส
561166052
นางสาววรัญญา พรรณเหล็ก รหัส
561166069
นางสาวกนกวรรณ เถินโจง รหัส
561166096
นางสาวอัญชลี เกเย็น รหัส
561166097
นางสาว มนธิญา สายวงศ์โห้ รหัส
561166099
คณะครุศาสตร์ วิชาเอกภาษาไทย
Section AE

More Related Content

What's hot

กิจกรรมการคิดเกมค่ายนักเรียน
กิจกรรมการคิดเกมค่ายนักเรียนกิจกรรมการคิดเกมค่ายนักเรียน
กิจกรรมการคิดเกมค่ายนักเรียน
Wichai Likitponrak
 
ค่าอำนาจจำแนก
ค่าอำนาจจำแนก ค่าอำนาจจำแนก
ค่าอำนาจจำแนก Jeerapob Seangboonme
 
แบบฟอร์มแฟ้มสะสมผลงานนักเรียน 2555 โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
แบบฟอร์มแฟ้มสะสมผลงานนักเรียน 2555 โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์แบบฟอร์มแฟ้มสะสมผลงานนักเรียน 2555 โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
แบบฟอร์มแฟ้มสะสมผลงานนักเรียน 2555 โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์Kobwit Piriyawat
 
รูปแบบการพัฒนาหลักสูตร
รูปแบบการพัฒนาหลักสูตรรูปแบบการพัฒนาหลักสูตร
รูปแบบการพัฒนาหลักสูตรBigbic Thanyarat
 
ประวัติผู้วิจัย
ประวัติผู้วิจัยประวัติผู้วิจัย
ประวัติผู้วิจัยYanee Chaiwongsa
 
แบบฝึกทักษะเรื่องสถิติ O net
แบบฝึกทักษะเรื่องสถิติ O netแบบฝึกทักษะเรื่องสถิติ O net
แบบฝึกทักษะเรื่องสถิติ O net
พัน พัน
 
ดาวโหลดเอกสารเลือกตั้งประธานนักเรียน
ดาวโหลดเอกสารเลือกตั้งประธานนักเรียนดาวโหลดเอกสารเลือกตั้งประธานนักเรียน
ดาวโหลดเอกสารเลือกตั้งประธานนักเรียน
waranyuati
 
แผนการสอนคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.5 ภาคเรียนที่ 1
แผนการสอนคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.5 ภาคเรียนที่ 1แผนการสอนคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.5 ภาคเรียนที่ 1
แผนการสอนคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.5 ภาคเรียนที่ 1
คุณครูพี่อั๋น
 
สมุดเล่มเล็ก เรื่อง ลดหวานต้านโรค
สมุดเล่มเล็ก เรื่อง ลดหวานต้านโรคสมุดเล่มเล็ก เรื่อง ลดหวานต้านโรค
สมุดเล่มเล็ก เรื่อง ลดหวานต้านโรค
Ninnin Ja
 
142968777910465
142968777910465142968777910465
142968777910465
YingZaa TK
 
แบบประเมิน ความพึงพอใจ
แบบประเมิน ความพึงพอใจแบบประเมิน ความพึงพอใจ
แบบประเมิน ความพึงพอใจ
Pawit Chamruang
 
คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์
คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์
คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์
niralai
 
กิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศกิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศ
Pa'rig Prig
 
แบบประเมินการนำเสนอผลงาน
แบบประเมินการนำเสนอผลงานแบบประเมินการนำเสนอผลงาน
แบบประเมินการนำเสนอผลงาน
Khemjira_P
 
แบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
แบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชันแบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
แบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชันphaephae
 
การแก้อสมการ
การแก้อสมการการแก้อสมการ
การแก้อสมการ
Aon Narinchoti
 
สมุดเล่มเล็ก
สมุดเล่มเล็กสมุดเล่มเล็ก
สมุดเล่มเล็กAriaty KiKi Sang
 
รายงานผลการปฏิบัติหน้าที่ครูเวรประจำวันพฤหัสบดี 1-2563
รายงานผลการปฏิบัติหน้าที่ครูเวรประจำวันพฤหัสบดี 1-2563รายงานผลการปฏิบัติหน้าที่ครูเวรประจำวันพฤหัสบดี 1-2563
รายงานผลการปฏิบัติหน้าที่ครูเวรประจำวันพฤหัสบดี 1-2563
SuparatMuangthong
 
Casestudy การศึกษารายกรณี
Casestudy การศึกษารายกรณีCasestudy การศึกษารายกรณี
Casestudy การศึกษารายกรณี
rewat Chitthaing
 

What's hot (20)

กิจกรรมการคิดเกมค่ายนักเรียน
กิจกรรมการคิดเกมค่ายนักเรียนกิจกรรมการคิดเกมค่ายนักเรียน
กิจกรรมการคิดเกมค่ายนักเรียน
 
ค่าอำนาจจำแนก
ค่าอำนาจจำแนก ค่าอำนาจจำแนก
ค่าอำนาจจำแนก
 
แบบฟอร์มแฟ้มสะสมผลงานนักเรียน 2555 โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
แบบฟอร์มแฟ้มสะสมผลงานนักเรียน 2555 โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์แบบฟอร์มแฟ้มสะสมผลงานนักเรียน 2555 โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
แบบฟอร์มแฟ้มสะสมผลงานนักเรียน 2555 โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
 
รูปแบบการพัฒนาหลักสูตร
รูปแบบการพัฒนาหลักสูตรรูปแบบการพัฒนาหลักสูตร
รูปแบบการพัฒนาหลักสูตร
 
ประวัติผู้วิจัย
ประวัติผู้วิจัยประวัติผู้วิจัย
ประวัติผู้วิจัย
 
แบบฝึกทักษะเรื่องสถิติ O net
แบบฝึกทักษะเรื่องสถิติ O netแบบฝึกทักษะเรื่องสถิติ O net
แบบฝึกทักษะเรื่องสถิติ O net
 
ดาวโหลดเอกสารเลือกตั้งประธานนักเรียน
ดาวโหลดเอกสารเลือกตั้งประธานนักเรียนดาวโหลดเอกสารเลือกตั้งประธานนักเรียน
ดาวโหลดเอกสารเลือกตั้งประธานนักเรียน
 
แผนการสอนคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.5 ภาคเรียนที่ 1
แผนการสอนคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.5 ภาคเรียนที่ 1แผนการสอนคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.5 ภาคเรียนที่ 1
แผนการสอนคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.5 ภาคเรียนที่ 1
 
สมุดเล่มเล็ก เรื่อง ลดหวานต้านโรค
สมุดเล่มเล็ก เรื่อง ลดหวานต้านโรคสมุดเล่มเล็ก เรื่อง ลดหวานต้านโรค
สมุดเล่มเล็ก เรื่อง ลดหวานต้านโรค
 
การจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการ
การจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการการจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการ
การจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการ
 
142968777910465
142968777910465142968777910465
142968777910465
 
แบบประเมิน ความพึงพอใจ
แบบประเมิน ความพึงพอใจแบบประเมิน ความพึงพอใจ
แบบประเมิน ความพึงพอใจ
 
คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์
คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์
คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์
 
กิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศกิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศ
 
แบบประเมินการนำเสนอผลงาน
แบบประเมินการนำเสนอผลงานแบบประเมินการนำเสนอผลงาน
แบบประเมินการนำเสนอผลงาน
 
แบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
แบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชันแบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
แบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
 
การแก้อสมการ
การแก้อสมการการแก้อสมการ
การแก้อสมการ
 
สมุดเล่มเล็ก
สมุดเล่มเล็กสมุดเล่มเล็ก
สมุดเล่มเล็ก
 
รายงานผลการปฏิบัติหน้าที่ครูเวรประจำวันพฤหัสบดี 1-2563
รายงานผลการปฏิบัติหน้าที่ครูเวรประจำวันพฤหัสบดี 1-2563รายงานผลการปฏิบัติหน้าที่ครูเวรประจำวันพฤหัสบดี 1-2563
รายงานผลการปฏิบัติหน้าที่ครูเวรประจำวันพฤหัสบดี 1-2563
 
Casestudy การศึกษารายกรณี
Casestudy การศึกษารายกรณีCasestudy การศึกษารายกรณี
Casestudy การศึกษารายกรณี
 

Viewers also liked

การจัดการเรียนรู้ Stad
การจัดการเรียนรู้ Stadการจัดการเรียนรู้ Stad
การจัดการเรียนรู้ StadSandee Toearsa
 
การเรียนรู้แบบร่วมมือ
การเรียนรู้แบบร่วมมือการเรียนรู้แบบร่วมมือ
การเรียนรู้แบบร่วมมือwannisa_bovy
 
การจัดการเรียนรู้แบบแบ่งกลุ่มผลสัมฤทธิ์ (Stad
การจัดการเรียนรู้แบบแบ่งกลุ่มผลสัมฤทธิ์ (Stadการจัดการเรียนรู้แบบแบ่งกลุ่มผลสัมฤทธิ์ (Stad
การจัดการเรียนรู้แบบแบ่งกลุ่มผลสัมฤทธิ์ (Stad
Jindarat JB'x Kataowwy
 
วิธีสอนโดยการใช้มิติสัมพันธ์
วิธีสอนโดยการใช้มิติสัมพันธ์วิธีสอนโดยการใช้มิติสัมพันธ์
วิธีสอนโดยการใช้มิติสัมพันธ์
Jindarat JB'x Kataowwy
 
การจัดการเรียนการสอนแบบ Tgt
การจัดการเรียนการสอนแบบ Tgtการจัดการเรียนการสอนแบบ Tgt
การจัดการเรียนการสอนแบบ Tgtthitinanmim115
 
วิธีการสอนแบบเรียนปนเล่น
วิธีการสอนแบบเรียนปนเล่นวิธีการสอนแบบเรียนปนเล่น
วิธีการสอนแบบเรียนปนเล่น
Jindarat JB'x Kataowwy
 
Cooperative learning macal 2013
Cooperative learning macal 2013Cooperative learning macal 2013
Cooperative learning macal 2013Laura Chambless
 
Jigsaw
JigsawJigsaw
รูปแบบการสอนเน้นประสบการณ์
รูปแบบการสอนเน้นประสบการณ์ รูปแบบการสอนเน้นประสบการณ์
รูปแบบการสอนเน้นประสบการณ์
phatthra jampathong
 
mind mapสื่อการเรียนรู้
mind mapสื่อการเรียนรู้mind mapสื่อการเรียนรู้
mind mapสื่อการเรียนรู้
Thunyalak Thumphila
 
mind map สื่อการเรียนรู้
mind map สื่อการเรียนรู้mind map สื่อการเรียนรู้
mind map สื่อการเรียนรู้
Thunyalak Thumphila
 
เทคนิคการสอนและรูปแบบที่ยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
เทคนิคการสอนและรูปแบบที่ยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลางเทคนิคการสอนและรูปแบบที่ยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
เทคนิคการสอนและรูปแบบที่ยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลางKunwater Tianmongkon
 
การจัดการเรียนรู้แบบค้นพบ
การจัดการเรียนรู้แบบค้นพบการจัดการเรียนรู้แบบค้นพบ
การจัดการเรียนรู้แบบค้นพบ
Sunisa Khaisaeng
 
หน่วยที่ 13 เกมและสถานการณ์จำลอง
หน่วยที่ 13 เกมและสถานการณ์จำลองหน่วยที่ 13 เกมและสถานการณ์จำลอง
หน่วยที่ 13 เกมและสถานการณ์จำลองanupong boonruam
 
รูปแบบการเรียนการสอนกระบวนการคิดสร้างสรรค์ (Synectics Instructional Model)
รูปแบบการเรียนการสอนกระบวนการคิดสร้างสรรค์ (Synectics Instructional Model)รูปแบบการเรียนการสอนกระบวนการคิดสร้างสรรค์ (Synectics Instructional Model)
รูปแบบการเรียนการสอนกระบวนการคิดสร้างสรรค์ (Synectics Instructional Model)
นพพร ตนสารี
 
Constructivismใหม่j
Constructivismใหม่jConstructivismใหม่j
Constructivismใหม่jDarika Roopdee
 
แผน Stad
แผน Stadแผน Stad
แผน Stadnangnut
 
การสอนคิดแบบหมวก 6 ใบ (power point)
การสอนคิดแบบหมวก 6 ใบ  (power point)การสอนคิดแบบหมวก 6 ใบ  (power point)
การสอนคิดแบบหมวก 6 ใบ (power point)Boukee Singlee
 
ทฤษฎีการเรียนรู้และการสอน
ทฤษฎีการเรียนรู้และการสอนทฤษฎีการเรียนรู้และการสอน
ทฤษฎีการเรียนรู้และการสอน
TupPee Zhouyongfang
 

Viewers also liked (20)

co-op
co-opco-op
co-op
 
การจัดการเรียนรู้ Stad
การจัดการเรียนรู้ Stadการจัดการเรียนรู้ Stad
การจัดการเรียนรู้ Stad
 
การเรียนรู้แบบร่วมมือ
การเรียนรู้แบบร่วมมือการเรียนรู้แบบร่วมมือ
การเรียนรู้แบบร่วมมือ
 
การจัดการเรียนรู้แบบแบ่งกลุ่มผลสัมฤทธิ์ (Stad
การจัดการเรียนรู้แบบแบ่งกลุ่มผลสัมฤทธิ์ (Stadการจัดการเรียนรู้แบบแบ่งกลุ่มผลสัมฤทธิ์ (Stad
การจัดการเรียนรู้แบบแบ่งกลุ่มผลสัมฤทธิ์ (Stad
 
วิธีสอนโดยการใช้มิติสัมพันธ์
วิธีสอนโดยการใช้มิติสัมพันธ์วิธีสอนโดยการใช้มิติสัมพันธ์
วิธีสอนโดยการใช้มิติสัมพันธ์
 
การจัดการเรียนการสอนแบบ Tgt
การจัดการเรียนการสอนแบบ Tgtการจัดการเรียนการสอนแบบ Tgt
การจัดการเรียนการสอนแบบ Tgt
 
วิธีการสอนแบบเรียนปนเล่น
วิธีการสอนแบบเรียนปนเล่นวิธีการสอนแบบเรียนปนเล่น
วิธีการสอนแบบเรียนปนเล่น
 
Cooperative learning macal 2013
Cooperative learning macal 2013Cooperative learning macal 2013
Cooperative learning macal 2013
 
Jigsaw
JigsawJigsaw
Jigsaw
 
รูปแบบการสอนเน้นประสบการณ์
รูปแบบการสอนเน้นประสบการณ์ รูปแบบการสอนเน้นประสบการณ์
รูปแบบการสอนเน้นประสบการณ์
 
mind mapสื่อการเรียนรู้
mind mapสื่อการเรียนรู้mind mapสื่อการเรียนรู้
mind mapสื่อการเรียนรู้
 
mind map สื่อการเรียนรู้
mind map สื่อการเรียนรู้mind map สื่อการเรียนรู้
mind map สื่อการเรียนรู้
 
เทคนิคการสอนและรูปแบบที่ยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
เทคนิคการสอนและรูปแบบที่ยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลางเทคนิคการสอนและรูปแบบที่ยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
เทคนิคการสอนและรูปแบบที่ยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
 
การจัดการเรียนรู้แบบค้นพบ
การจัดการเรียนรู้แบบค้นพบการจัดการเรียนรู้แบบค้นพบ
การจัดการเรียนรู้แบบค้นพบ
 
หน่วยที่ 13 เกมและสถานการณ์จำลอง
หน่วยที่ 13 เกมและสถานการณ์จำลองหน่วยที่ 13 เกมและสถานการณ์จำลอง
หน่วยที่ 13 เกมและสถานการณ์จำลอง
 
รูปแบบการเรียนการสอนกระบวนการคิดสร้างสรรค์ (Synectics Instructional Model)
รูปแบบการเรียนการสอนกระบวนการคิดสร้างสรรค์ (Synectics Instructional Model)รูปแบบการเรียนการสอนกระบวนการคิดสร้างสรรค์ (Synectics Instructional Model)
รูปแบบการเรียนการสอนกระบวนการคิดสร้างสรรค์ (Synectics Instructional Model)
 
Constructivismใหม่j
Constructivismใหม่jConstructivismใหม่j
Constructivismใหม่j
 
แผน Stad
แผน Stadแผน Stad
แผน Stad
 
การสอนคิดแบบหมวก 6 ใบ (power point)
การสอนคิดแบบหมวก 6 ใบ  (power point)การสอนคิดแบบหมวก 6 ใบ  (power point)
การสอนคิดแบบหมวก 6 ใบ (power point)
 
ทฤษฎีการเรียนรู้และการสอน
ทฤษฎีการเรียนรู้และการสอนทฤษฎีการเรียนรู้และการสอน
ทฤษฎีการเรียนรู้และการสอน
 

Similar to การเรียนรู้แบบร่วมมือ

บทที่2เสร็จ
บทที่2เสร็จบทที่2เสร็จ
บทที่2เสร็จAnnop Phetchakhong
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอมApisit Chaiya
 
201704_cognitive_weapon
201704_cognitive_weapon201704_cognitive_weapon
โครงงานคอมพิวเตอร์1
โครงงานคอมพิวเตอร์1โครงงานคอมพิวเตอร์1
โครงงานคอมพิวเตอร์1
Assumption Rayong
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
อธิวัฒน์ จันทินมาธร
 
โครงงานคอมพิวเตอร์1
โครงงานคอมพิวเตอร์1โครงงานคอมพิวเตอร์1
โครงงานคอมพิวเตอร์1
อธิวัฒน์ จันทินมาธร
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
Assumption Rayong
 
ใบความรู้ที่ 3 เรื่อง ความหมายความสำคัญและองค์ประกอบของโครงงาน
ใบความรู้ที่ 3 เรื่อง ความหมายความสำคัญและองค์ประกอบของโครงงานใบความรู้ที่ 3 เรื่อง ความหมายความสำคัญและองค์ประกอบของโครงงาน
ใบความรู้ที่ 3 เรื่อง ความหมายความสำคัญและองค์ประกอบของโครงงาน
sarawut saoklieo
 
Collaborative learning
Collaborative learningCollaborative learning
Collaborative learning
TansitaKokilakunset
 

Similar to การเรียนรู้แบบร่วมมือ (9)

บทที่2เสร็จ
บทที่2เสร็จบทที่2เสร็จ
บทที่2เสร็จ
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
201704_cognitive_weapon
201704_cognitive_weapon201704_cognitive_weapon
201704_cognitive_weapon
 
โครงงานคอมพิวเตอร์1
โครงงานคอมพิวเตอร์1โครงงานคอมพิวเตอร์1
โครงงานคอมพิวเตอร์1
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
โครงงานคอมพิวเตอร์1
โครงงานคอมพิวเตอร์1โครงงานคอมพิวเตอร์1
โครงงานคอมพิวเตอร์1
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
ใบความรู้ที่ 3 เรื่อง ความหมายความสำคัญและองค์ประกอบของโครงงาน
ใบความรู้ที่ 3 เรื่อง ความหมายความสำคัญและองค์ประกอบของโครงงานใบความรู้ที่ 3 เรื่อง ความหมายความสำคัญและองค์ประกอบของโครงงาน
ใบความรู้ที่ 3 เรื่อง ความหมายความสำคัญและองค์ประกอบของโครงงาน
 
Collaborative learning
Collaborative learningCollaborative learning
Collaborative learning
 

การเรียนรู้แบบร่วมมือ

  • 1.
  • 2. ทฤษฎีการเรียนรู้แบบร่วมมือ  ความหมายและแนวคิดของการเรียนรู้แบบร่วมมือ ( Cooperative and Collaborative Learning ) ความหมาย การเรียนรู้แบบร่วมมือ (Cooperative and Collaborative Learning) เป็นคำาที่มีความหมายใกล้เคียงกัน เพราะมีลักษณะ เป็นกระบวนการเรียนรู้เป็นแบบร่วมมือ ข้อแตกต่างระหว่าง Cooperative Learning กับ Collaborative Learning อยู่ที่ระดับความ ร่วมมือที่แตกต่างกัน Sunyoung, J. (2003) ได้สรุปว่า ความแตก ต่างที่เห็นได้ชัดเจนระหว่าง Cooperative Learning กับ Collaborative Learning คือ เรื่องโครงสร้างของงาน ได้แก่ Pre – Structure , Task – Structure และ Content Structure โดย Cooperative Learning จะมีการกำาหนดโครงสร้างล่วงหน้ามากกว่า มีความเกี่ยวข้องกับงานที่มีการจัดโครงสร้างไว้เพื่อคำาตอบที่ จำากัดมากกว่า และมีการเรียนรู้ในขอบข่ายความรู้และทักษะที่ ชัดเจน ส่วน Collaborative Learning มีการจัดโครงสร้างล่วงหน้า น้อยกว่า เกี่ยวข้องกับงานที่มีการจัดโครงสร้างแบบหลวมๆ (ill – Structure Task) เพื่อให้ได้คำาตอบที่ยืดหยุ่นหลากหลาย และมีการ
  • 3. การเรียนรู้แบบร่วมมือ (Cooperative Learning and Collaborative Learning) หรือนักวิชาการบางท่านได้ แปล Collaborative Learning ว่าคือ การเรียนรู้ร่วมกัน ซึ่งเป็นวิธีการจัดการเรียนการสอนรูปแบบหนึ่ง ที่ เน้นให้ผู้เรียนลงมือปฏิบัติงานเป็นกลุ่มย่อย โดยมี สมาชิกกลุ่มที่มีความสามารถที่แตกต่างกัน เพื่อ เสริมสร้างสมรรถภาพการเรียนรู้ของแต่ละคน สนับสนุนให้มีการช่วยเหลือซึ่งกันและกัน จน บรรลุตามเป้าหมายที่วางไว้ นอกจากนี้ ยังเป็นการ ส่งเสริมการทำางานร่วมกันเป็นหมู่คณะ หรือทีม ตามระบอบประชาธิปไตย และเป็นการพัฒนา ความฉลาดทางอารมณ์ ทำาให้สามารถปรับตัวอยู่
  • 4. 2. ทฤษฎีและหลักการของการเรียนรู้ แบบร่วมมือ 2.1 องค์ประกอบของการเรียนแบบร่วมมือ Johnson and Johnson (1994 : 31 - 37) ได้ สรุปว่า Cooperative Learning มีองค์ประกอบ ที่ สำาคัญ 5 ประการ ดังนี้ ความเกี่ยวข้องสัมพันธ์กันในทาง บวก การมีปฏิสัมพันธ์ที่ส่งเสริมกันระหว่าง สมาชิกภายในกลุ่ม ความรับผิดชอบของสมาชิกแต่ละ บุคคล การใช้ทักษะการปฏิสัมพันธ์ระหว่าง
  • 5. 1.ความเกี่ยวข้องสัมพันธ์กันในทางบวก (PositiveInterdependent) หมายถึงการพึ่งพากันใน ทางบวก แบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ การ พึ่งพากันเชิงผลลัพธ์ คือการพึ่งพากันใน ด้านการได้รับผลประโยชน์จากความสำาเร็จ ของกลุ่มร่วมกัน โดยมีเป้าหมายร่วมกัน จึงจะ เกิดแรงจูงใจให้ผู้เรียนมีการพึ่งพาซึ่งกันและ กัน สามารถร่วมมือกันทำางานให้บรรลุผล สำาเร็จได้ และการพึ่งพาในเชิงวิธีการ คือ การพึ่งพากันในด้านกระบวนการทำางานเพื่อ ให้งานกลุ่มสามารถบรรลุได้ตามเป้าหมาย
  • 6. 2. การมีปฏิสัมพันธ์ที่ส่งเสริมกันระหว่าง สมาชิกภายในกลุ่ม (Face to Face Promotive Interdependence) หมายถึง การ เปิดโอกาสให้ผู้เรียนช่วยเหลือกัน มีการ ติดต่อสัมพันธ์กัน การอภิปรายแลกเปลี่ยน ความรู้ ความคิด การอธิบายให้สมาชิกใน กลุ่มได้เกิดการเรียนรู้ การรับฟังเหตุผล ของสมาชิกในกลุ่ม การรับฟังเหตุผลของ สมาชิกภายในกลุ่ม จะก่อให้เกิดการพัฒนา กระบวนการคิดของผู้เรียน เป็นการเปิด โอกาสให้ ผู้เรียนได้รู้จักการทำางานร่วมกัน ทางสังคม จากการช่วยเหลือสนับสนุนกัน
  • 7. 3. ความรับผิดชอบของสมาชิกแต่ละ บุคคล (Individual Accountability) หมายถึง ความรับผิดชอบในการเรียนรู้ ของสมาชิกแต่ละคน โดยต้องทำางานที่ได้ รับมอบหมายอย่างเต็มความสามารถ โดย ประเมินผลงานของสมาชิกแต่ละคน ซึ่งรวม กันเป็นผลงานของกลุ่มให้ข้อมูลย้อนกลับ ทั้งกลุ่มและรายบุคคลให้สมาชิกทุกคน รายงานหรือมีโอกาสแสดงความคิดเห็นโดย ทั่วถึงกัน
  • 8. 4. การใช้ทักษะการปฏิสัมพันธ์ ระหว่างบุคคลและทักษะการทำางาน กลุ่มย่อย (Interpersonal and Small Group Skills) หมายถึง การมีทักษะทางสังคม (Social Skill) เพื่อให้สามารถทำางาน ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุข คือ มีความ เป็นผู้นำา รู้จักตัดสินใจ สามารถสร้าง ความไว้วางใจ รู้จักติดต่อสื่อสาร และ สามารถแก้ไขปัญหาข้อขัดแย้งในการ ทำางานร่วมกัน ซึ่งเป็นสิ่งจำาเป็นสำาหรับ การทำางานร่วมกันที่จะช่วยให้การทำางาน
  • 9. 5. กระบวนการทำางานของกลุ่ม (Group Processing) หมายถึง กระบวนการเรียนรู้ของกลุ่ม โดยผู้เรียนจะต้องเรียนรู้จากกลุ่มให้มาก ที่สุด มีความร่วมมือทั้งด้านความคิด การ ทำางาน และความ รับผิดชอบร่วมกันจน สามารถบรรลุเป้าหมายได้ การที่จะช่วย ให้การดำาเนินงานของกลุ่มเป็นไปได้อย่าง มีประสิทธิภาพและบรรลุเป้าหมายนั้น กลุ่ม จะต้องมีหัวหน้าที่ดี สมาชิกดี และ กระบวนการทำางานดี นั่นคือ มีการเข้าใจ ในเป้าหมายการทำางานร่วมกัน
  • 10. ประเภทของกลุ่มการเรียนรู้แบบร่วมมือ 1. กลุ่มการเรียนรู้แบบร่วมมืออย่างเป็น ทางการ (Formal Cooperative Learning Group) กลุ่มประเภทนี้ ครูจัดขึ้นโดยการวางแผน จัด ระเบียบ กฎเกณฑ์ วิธีการและเทคนิคต่างๆเพื่อให้ ผู้เรียนได้ร่วมมือกันเรียนรู้สาระต่างๆ อย่างต่อ เนื่อง ซึ่งอาจเป็นหลายๆชั่วโมงติดต่อกัน หรือ หลายสัปดาห์ติดต่อกัน จนกระทั่งผู้เรียนเกิดการ เรียนรู้และบรรลุจุดมุ่งหมายตามที่กำาหนด 2. กลุ่มการเรียนรู้แบบร่วมมืออย่างไม่เป็น ทางการ (Informal Cooperative Learning Group) กลุ่มประเภทนี้ ครูจัดขึ้นเฉพาะกิจเป็นครั้ง
  • 11. 3. กลุ่มการเรียนรู้แบบร่วมมืออย่าง ถาวร (Cooperative Base Group) หรือ Long - TermGroup กลุ่มประเภทนี้ เป็นกลุ่มการเรียนรู้ที่ สมาชิกกลุ่มมีประสบการณ์การทำางาน / การ เรียนรู้ร่วมกันมานานมากกว่า 1 หลักสูตร หรือภาคการศึกษา จนกระทั่งเกิด สัมพันธภาพที่แน่นแฟ้น สมาชิกกลุ่มมีความ ผูกพัน ห่วงใย ช่วยเหลือกันและกันอย่างต่อ เนื่อง
  • 12. ข้อดีของการเรียนรู้แบบร่วมมือ ก. ใคร่ครวญในความหลากหลาย ข. ยอมรับความแตกต่างระหว่างบุคคล ค. การพัฒนาความสัมพันธ์ระหว่าง บุคคล ง. การรวมนักเรียนที่มีความ กระตือรือร้นในการเรียนรู้ จ. มีโอกาสมากกว่าสำาหรับการป้อน กลับส่วนบุคคล
  • 13. สรุปได้ว่า การจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือ นั้น ย่อมมีทั้งข้อดีในการพัฒนาผู้เรียนใน ด้านต่างๆ และข้อจำากัดของกระบวนการ จัดการเรียนรู้ เพราะเป็นการทำางานร่วมกับ บุคคลอื่นที่มีความแตกต่างในหลายๆด้าน ซึ่งทักษะทางสังคมเป็นสิ่งจำาเป็นที่ต้อง พัฒนาในตัวผู้เรียนแต่ละคน และหากผู้สอน ได้นำาเทคนิคการจัดการกับความขัดแย้งมา ใช้ได้ทันท่วงที ในระยะแรกที่ความขัดแย้ง ได้เกิดขึ้น ก็จะเป็นการช่วยลดอุปสรรคใน การเรียนรู้ และยังเป็นการเพิ่มประสิทธิภาพ ของการเรียนรู้แบบร่วมมือด้วย
  • 15. ชื่อสมาชิก นางสาวอัญธิดา เชื้อชาญ รหัส 561166052 นางสาววรัญญา พรรณเหล็ก รหัส 561166069 นางสาวกนกวรรณ เถินโจง รหัส 561166096 นางสาวอัญชลี เกเย็น รหัส 561166097 นางสาว มนธิญา สายวงศ์โห้ รหัส 561166099 คณะครุศาสตร์ วิชาเอกภาษาไทย Section AE