SlideShare a Scribd company logo
บทที่ 1
บทนา
ในปัจจุบันสื่ออินเตอร์เน็ตได้มีอิทธิพลขึ้นมากมายจนกลายเป็นสิ่งสาคัญส่วนหนึ่งใน
ชีวิตประจาวันของบุคคลทั่วไปทั้งนี้อาจเป็นเพราะความสะดวกสบายในการใช้งานที่ทุกคนสามารถเลือกที่
จะใช้ได้ไม่ว่าจะเป็นในเรื่องงาน เรื่องเรียน เพื่อการบันเทิง หรือแม้แต่จะใช้ในการจับจ่ายซื้อของต่าง ๆ สื่อ
อินเตอร์เน็ตมีความสาคัญต่อในชีวิตประจาวันและรวดเร็วในการใช้งาน
คณิตศาสตร์เป็นสิ่งสร้างสรรค์จิตใจ คาว่าคณิตศาสตร์ไม่ใช่หมายความว่าเป็นเพียงตัวเลข ซึ่ง
เกี่ยวกับจานวนต่าง ๆ และการคานวณ คณิตศาสตร์มีความหมายมากกว่าพีชคณิตที่จะศึกษาเพียงรูปร่าง
และขนาด มีความหมายมากกว่าตรีโกณมิติซึ่งเกี่ยวกับการวัดระยะทาง มีความหมายมากกว่าวิชาสถิติและ
วิชาแคลคูลัส ฯลฯ ซึ่งสรุปได้ดังนี้
1.คณิตศาสตร์เป็นวิชาที่เกี่ยวข้องกับการคิด เราใช้คณิตศาสตร์เพื่อพิสูจน์อย่างมีเหตุผลว่าความคิด
ทั้งหลายนั้นเป็นความจริงหรือไม่ หรือเกือบจะเป็นจริง ด้วยวิธีการคิดจะทาให้เราสามารถแก้ปัญหาในทาง
วิทยาศาสตร์ อุตสาหกรรมและอื่น ๆ คณิตศาสตร์ทาให้คนที่รักวิชานี้ กลายเป็นคนอยากรู้อยากเห็น
2. คณิตศาสตร์เป็นภาษาอย่างหนึ่ง คณิตศาสตร์เป็นภาษาที่กาหนดเทอม สัญลักษณ์ที่รัดกุม สื่อ
ความหมายได้ถูกต้อง เป็นภาษาที่มีอักษรแสดงความหมายแทนความคิด เช่น อักษรจีน เป็นสัญลักษณ์
แทนความคิด สมการ 3+5 = 8 ก็มีความหมายเช่นเดียวกัน คือใช้แทนความคิด เราไม่ต้องคิดมากว่าจะอ่าน
อย่างไร พอเห็นเราก็ทราบ ยิ่งไปกว่านั้น เราใช้อักษรแสดงความหมายแทนความคิดนี้(ideograms) เป็น
เครื่องมือที่ใช้จะใช้ฝึกทางสมอง ซึ่งสามารถช่วยเราให้เกิดการกระทาในการคิดคานวณ การแก้ปัญหา การ
พิสูจน์ที่ยุ่งยากซับซ้อน ซึ่งถ้าเราใช้ภาษาธรรมดาก็ไม่สามารถที่จะทาได้
3. คณิตศาสตร์เป็นโครงสร้างที่รวมของความรู้ โครงสร้างของคณิตศาสตร์บางทีก็คล้ายกับ
โครงสร้างของปรัชญา และคณิตศาสตร์ที่เกี่ยวกับศาสนา เพราะเป็นโครงสร้างที่มีเหตุผล ซึ่งเริ่มต้นด้วย
นิยาม จุด เส้น ระนาบในเชิงเราขาคณิต ซึ่งจะอธิบายข้อคิดต่าง ๆ ที่สาคัญ เราจะเห็นว่าในวิชาเรขาคณิตก็
มีเรื่องเกี่ยวกับสิ่งที่เห็นจริงแล้ว สัจพจน์ คุณสมบัติ กฎ ซึ่งทาให้เกิดความคิดที่จะเป็นรากฐานในการที่จะ
พิสูจน์เรื่องอื่นต่อไป
4. คณิตศาสตร์เป็นการศึกษาเกี่ยวกับแบบแผน ที่ว่ามีแบบแผนนั้น หมายความว่าจะต้องคิดอยู่
ในแบบแผนหรือความคิดที่ตั้งไว้ เช่น คลื่นวิทยุ โครงสร้างของโมเลกุล ฯลฯ เรื่องต่าง ๆ เหล่านี้จะต้องมี
แบบแผนของมัน ที่จะจาแนกได้ในทางคณิตศาสตร์
5. คณิตศาสตร์เป็นศิลปะอย่างหนึ่ง คณิตศาสตร์เป็นศิลปะอย่างหนึ่งเหมือนกับศิลปะแขนงอื่น ๆ
ความงามของคณิตสาสตร์ประกอบด้วยความมีระเบียบและความกลมกลืนที่เกิดขึ้นภายใน นักคณิตศาสตร์
พยายามแสดงออกถึงค่าสูงสุด ของความคิดและความสัมพันธ์ การสารวจความคิดใหม่ ๆ ทางคณิตศาสตร์
เป็นสิ่งสุดท้าทายให้เกิดความคิดสร้างสรรค์
ผู้จัดทาจึงเล็งเห็นว่าถ้าประยุกต์อินเตอร์เน็ตที่ใช้อยู่ในชีวิตประจาวันเข้ากับเนื้อหาคณิตศาสตร์ที่มี
ความสาคัญ มานาเสนอเป็นความรู้ให้บุคคลทั่วไปได้ศึกษาหาความรู้ได้อย่างสะดวกสบายมากยิ่งขึ้นจะเป็น
ประโยชน์ให้แก่ผู้ที่สนใจเป็นอย่างมาก ดังนั้นผู้จัดทาจึงได้จัดทา Blog แห่งการเรียนรู้ในรายวิชา
คณิตศาสตร์ ในเรื่องเรขาคณิตวิเคราะห์ เพื่อให้ผู้ที่ต้องการจะศึกษาหาความรู้ได้ศึกษาผ่านเครือข่าย
อินเตอร์เน็ตได้ง่ายและสะดวกขึ้น
จุดประสงค์
1.เพื่อศึกษาค้นคว้าข้อมูลทางคณิตศาสตร์ เรื่องเรขาคณิตวิเคราะห์
2. เพื่อสร้าง Blogการเรียนคณิตศาสตร์ คณิตศาสตร์บูรณาการการใช้สื่อสังคมออนไลน์
3. เพื่อพัฒนาทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21
ขอบเขตการศึกษา
โครงงานคณิตศาสตร์ เรื่องเรขาคณิตวิเคราะห์ ในระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย
ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
1. ได้ศึกษาค้นคว้าข้อมูลทางคณิตศาสตร์ เรื่องเราขาคณิตวิเคราะห์
2. ได้สร้าง Blogการเรียนคณิตศาสตร์ คณิตศาสตร์บูรณาการการสื่อสารสังคมออนไลน์
3. ได้พัฒนาทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21

More Related Content

What's hot

LibJu - 2.1 ทรัพยากรสารสนเทศ
LibJu - 2.1 ทรัพยากรสารสนเทศLibJu - 2.1 ทรัพยากรสารสนเทศ
LibJu - 2.1 ทรัพยากรสารสนเทศ
Ploykarn Lamdual
 
งาน สารสนเทศ2
งาน สารสนเทศ2งาน สารสนเทศ2
งาน สารสนเทศ2Naritsa Charoensi
 
งาน สารสนเทศ2
งาน สารสนเทศ2งาน สารสนเทศ2
งาน สารสนเทศ2Naritsa Charoensi
 
งาน สารสนเทศ2
งาน สารสนเทศ2งาน สารสนเทศ2
งาน สารสนเทศ2Naritsa Charoensi
 
งาน สารสนเทศ2
งาน สารสนเทศ2งาน สารสนเทศ2
งาน สารสนเทศ2Naritsa Charoensi
 
งาน สารสนเทศ2
งาน สารสนเทศ2งาน สารสนเทศ2
งาน สารสนเทศ2Naritsa Charoensi
 
LibJu - 2.2 การประเมินค่าสารสนเทศ
LibJu - 2.2 การประเมินค่าสารสนเทศLibJu - 2.2 การประเมินค่าสารสนเทศ
LibJu - 2.2 การประเมินค่าสารสนเทศ
Ploykarn Lamdual
 
LibJu - 2.3 แหล่งสารสนเทศ
LibJu - 2.3 แหล่งสารสนเทศLibJu - 2.3 แหล่งสารสนเทศ
LibJu - 2.3 แหล่งสารสนเทศ
Ploykarn Lamdual
 
LibJu - 1.2 ประเภทของห้องสมุด
LibJu - 1.2 ประเภทของห้องสมุดLibJu - 1.2 ประเภทของห้องสมุด
LibJu - 1.2 ประเภทของห้องสมุด
Ploykarn Lamdual
 
ข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศkachornchit_maprang
 

What's hot (11)

LibJu - 2.1 ทรัพยากรสารสนเทศ
LibJu - 2.1 ทรัพยากรสารสนเทศLibJu - 2.1 ทรัพยากรสารสนเทศ
LibJu - 2.1 ทรัพยากรสารสนเทศ
 
งาน สารสนเทศ2
งาน สารสนเทศ2งาน สารสนเทศ2
งาน สารสนเทศ2
 
งาน สารสนเทศ2
งาน สารสนเทศ2งาน สารสนเทศ2
งาน สารสนเทศ2
 
งาน สารสนเทศ2
งาน สารสนเทศ2งาน สารสนเทศ2
งาน สารสนเทศ2
 
งาน สารสนเทศ2
งาน สารสนเทศ2งาน สารสนเทศ2
งาน สารสนเทศ2
 
งาน สารสนเทศ2
งาน สารสนเทศ2งาน สารสนเทศ2
งาน สารสนเทศ2
 
LibJu - 2.2 การประเมินค่าสารสนเทศ
LibJu - 2.2 การประเมินค่าสารสนเทศLibJu - 2.2 การประเมินค่าสารสนเทศ
LibJu - 2.2 การประเมินค่าสารสนเทศ
 
LibJu - 2.3 แหล่งสารสนเทศ
LibJu - 2.3 แหล่งสารสนเทศLibJu - 2.3 แหล่งสารสนเทศ
LibJu - 2.3 แหล่งสารสนเทศ
 
LibJu - 1.2 ประเภทของห้องสมุด
LibJu - 1.2 ประเภทของห้องสมุดLibJu - 1.2 ประเภทของห้องสมุด
LibJu - 1.2 ประเภทของห้องสมุด
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
ข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศ
 

Similar to บทที่ 1

งานคอม
งานคอมงานคอม
งานคอมsorfreedom
 
605รุ่งโรจน์ 22
605รุ่งโรจน์ 22605รุ่งโรจน์ 22
605รุ่งโรจน์ 22Rungroj Ssan
 
ใบงานที่2 8
ใบงานที่2 8ใบงานที่2 8
ใบงานที่2 8Pornthip Nabnain
 
บทที่2
บทที่2บทที่2
บทที่2airly2011
 
ส่วนหน้า
ส่วนหน้าส่วนหน้า
ใบงานที่ 2 - 8
ใบงานที่ 2 - 8ใบงานที่ 2 - 8
ใบงานที่ 2 - 8
PluemSupichaya
 
ใบงานท 2 เร__อง ความหมายและความสำค_ญ
ใบงานท   2 เร__อง ความหมายและความสำค_ญใบงานท   2 เร__อง ความหมายและความสำค_ญ
ใบงานท 2 เร__อง ความหมายและความสำค_ญ
jjrrwnd
 
ใบงานที่2-8
ใบงานที่2-8ใบงานที่2-8
ใบงานที่2-8
Jittraporn Chaunprasert
 
สื่อการสอนม.6
สื่อการสอนม.6สื่อการสอนม.6
สื่อการสอนม.6Tanatchapan Jakmanee
 
งานคอม
งานคอมงานคอม
งานคอม
Ppt Itwc
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์Ksm' Oom
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์Ksm' Oom
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
Plam Preeya
 
ความหมายและความสำคัญของโครงงานคอมพิวเตอร์
ความหมายและความสำคัญของโครงงานคอมพิวเตอร์ความหมายและความสำคัญของโครงงานคอมพิวเตอร์
ความหมายและความสำคัญของโครงงานคอมพิวเตอร์dream051
 

Similar to บทที่ 1 (20)

28 supamongkol
28 supamongkol28 supamongkol
28 supamongkol
 
งานคอม
งานคอมงานคอม
งานคอม
 
605รุ่งโรจน์ 22
605รุ่งโรจน์ 22605รุ่งโรจน์ 22
605รุ่งโรจน์ 22
 
ใบงานที่2 8
ใบงานที่2 8ใบงานที่2 8
ใบงานที่2 8
 
ใบงานที่2 8
ใบงานที่2 8ใบงานที่2 8
ใบงานที่2 8
 
บทที่2
บทที่2บทที่2
บทที่2
 
ส่วนหน้า
ส่วนหน้าส่วนหน้า
ส่วนหน้า
 
ใบงานที่ 2 - 8
ใบงานที่ 2 - 8ใบงานที่ 2 - 8
ใบงานที่ 2 - 8
 
ใบงานท 2 เร__อง ความหมายและความสำค_ญ
ใบงานท   2 เร__อง ความหมายและความสำค_ญใบงานท   2 เร__อง ความหมายและความสำค_ญ
ใบงานท 2 เร__อง ความหมายและความสำค_ญ
 
ใบงานที่2-8
ใบงานที่2-8ใบงานที่2-8
ใบงานที่2-8
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
สื่อการสอนม.6
สื่อการสอนม.6สื่อการสอนม.6
สื่อการสอนม.6
 
งานคอม
งานคอมงานคอม
งานคอม
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
ความหมายและความสำคัญของโครงงานคอมพิวเตอร์
ความหมายและความสำคัญของโครงงานคอมพิวเตอร์ความหมายและความสำคัญของโครงงานคอมพิวเตอร์
ความหมายและความสำคัญของโครงงานคอมพิวเตอร์
 
K2
K2K2
K2
 

More from Phiromporn Norachan

บทที่ 5
บทที่ 5 บทที่ 5
บทที่ 5
Phiromporn Norachan
 
บทที่ 4
บทที่ 4บทที่ 4
บทที่ 4
Phiromporn Norachan
 
บทที่ 3
บทที่ 3 บทที่ 3
บทที่ 3
Phiromporn Norachan
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
Phiromporn Norachan
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5
Phiromporn Norachan
 
บทที่4
บทที่4บทที่4
บทที่4
Phiromporn Norachan
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3
Phiromporn Norachan
 
บทที่2
บทที่2บทที่2
บทที่2
Phiromporn Norachan
 
บทที่1
บทที่1บทที่1
บทที่1
Phiromporn Norachan
 
โครงงานฟิสิกส์
โครงงานฟิสิกส์โครงงานฟิสิกส์
โครงงานฟิสิกส์
Phiromporn Norachan
 
แบบทดสอบ
แบบทดสอบแบบทดสอบ
แบบทดสอบ
Phiromporn Norachan
 
แบบทดสอบ
แบบทดสอบแบบทดสอบ
แบบทดสอบ
Phiromporn Norachan
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5
Phiromporn Norachan
 
บทที่ 4
บทที่ 4บทที่ 4
บทที่ 4
Phiromporn Norachan
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3
Phiromporn Norachan
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
Phiromporn Norachan
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
Phiromporn Norachan
 

More from Phiromporn Norachan (17)

บทที่ 5
บทที่ 5 บทที่ 5
บทที่ 5
 
บทที่ 4
บทที่ 4บทที่ 4
บทที่ 4
 
บทที่ 3
บทที่ 3 บทที่ 3
บทที่ 3
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5
 
บทที่4
บทที่4บทที่4
บทที่4
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3
 
บทที่2
บทที่2บทที่2
บทที่2
 
บทที่1
บทที่1บทที่1
บทที่1
 
โครงงานฟิสิกส์
โครงงานฟิสิกส์โครงงานฟิสิกส์
โครงงานฟิสิกส์
 
แบบทดสอบ
แบบทดสอบแบบทดสอบ
แบบทดสอบ
 
แบบทดสอบ
แบบทดสอบแบบทดสอบ
แบบทดสอบ
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5
 
บทที่ 4
บทที่ 4บทที่ 4
บทที่ 4
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 

Recently uploaded

3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
atwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtxatwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtx
Bangkok, Thailand
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdfงานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
Prachyanun Nilsook
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 

Recently uploaded (10)

3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
atwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtxatwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtx
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
 
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdfงานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
 

บทที่ 1

  • 1. บทที่ 1 บทนา ในปัจจุบันสื่ออินเตอร์เน็ตได้มีอิทธิพลขึ้นมากมายจนกลายเป็นสิ่งสาคัญส่วนหนึ่งใน ชีวิตประจาวันของบุคคลทั่วไปทั้งนี้อาจเป็นเพราะความสะดวกสบายในการใช้งานที่ทุกคนสามารถเลือกที่ จะใช้ได้ไม่ว่าจะเป็นในเรื่องงาน เรื่องเรียน เพื่อการบันเทิง หรือแม้แต่จะใช้ในการจับจ่ายซื้อของต่าง ๆ สื่อ อินเตอร์เน็ตมีความสาคัญต่อในชีวิตประจาวันและรวดเร็วในการใช้งาน คณิตศาสตร์เป็นสิ่งสร้างสรรค์จิตใจ คาว่าคณิตศาสตร์ไม่ใช่หมายความว่าเป็นเพียงตัวเลข ซึ่ง เกี่ยวกับจานวนต่าง ๆ และการคานวณ คณิตศาสตร์มีความหมายมากกว่าพีชคณิตที่จะศึกษาเพียงรูปร่าง และขนาด มีความหมายมากกว่าตรีโกณมิติซึ่งเกี่ยวกับการวัดระยะทาง มีความหมายมากกว่าวิชาสถิติและ วิชาแคลคูลัส ฯลฯ ซึ่งสรุปได้ดังนี้ 1.คณิตศาสตร์เป็นวิชาที่เกี่ยวข้องกับการคิด เราใช้คณิตศาสตร์เพื่อพิสูจน์อย่างมีเหตุผลว่าความคิด ทั้งหลายนั้นเป็นความจริงหรือไม่ หรือเกือบจะเป็นจริง ด้วยวิธีการคิดจะทาให้เราสามารถแก้ปัญหาในทาง วิทยาศาสตร์ อุตสาหกรรมและอื่น ๆ คณิตศาสตร์ทาให้คนที่รักวิชานี้ กลายเป็นคนอยากรู้อยากเห็น 2. คณิตศาสตร์เป็นภาษาอย่างหนึ่ง คณิตศาสตร์เป็นภาษาที่กาหนดเทอม สัญลักษณ์ที่รัดกุม สื่อ ความหมายได้ถูกต้อง เป็นภาษาที่มีอักษรแสดงความหมายแทนความคิด เช่น อักษรจีน เป็นสัญลักษณ์ แทนความคิด สมการ 3+5 = 8 ก็มีความหมายเช่นเดียวกัน คือใช้แทนความคิด เราไม่ต้องคิดมากว่าจะอ่าน อย่างไร พอเห็นเราก็ทราบ ยิ่งไปกว่านั้น เราใช้อักษรแสดงความหมายแทนความคิดนี้(ideograms) เป็น เครื่องมือที่ใช้จะใช้ฝึกทางสมอง ซึ่งสามารถช่วยเราให้เกิดการกระทาในการคิดคานวณ การแก้ปัญหา การ พิสูจน์ที่ยุ่งยากซับซ้อน ซึ่งถ้าเราใช้ภาษาธรรมดาก็ไม่สามารถที่จะทาได้ 3. คณิตศาสตร์เป็นโครงสร้างที่รวมของความรู้ โครงสร้างของคณิตศาสตร์บางทีก็คล้ายกับ โครงสร้างของปรัชญา และคณิตศาสตร์ที่เกี่ยวกับศาสนา เพราะเป็นโครงสร้างที่มีเหตุผล ซึ่งเริ่มต้นด้วย นิยาม จุด เส้น ระนาบในเชิงเราขาคณิต ซึ่งจะอธิบายข้อคิดต่าง ๆ ที่สาคัญ เราจะเห็นว่าในวิชาเรขาคณิตก็ มีเรื่องเกี่ยวกับสิ่งที่เห็นจริงแล้ว สัจพจน์ คุณสมบัติ กฎ ซึ่งทาให้เกิดความคิดที่จะเป็นรากฐานในการที่จะ พิสูจน์เรื่องอื่นต่อไป
  • 2. 4. คณิตศาสตร์เป็นการศึกษาเกี่ยวกับแบบแผน ที่ว่ามีแบบแผนนั้น หมายความว่าจะต้องคิดอยู่ ในแบบแผนหรือความคิดที่ตั้งไว้ เช่น คลื่นวิทยุ โครงสร้างของโมเลกุล ฯลฯ เรื่องต่าง ๆ เหล่านี้จะต้องมี แบบแผนของมัน ที่จะจาแนกได้ในทางคณิตศาสตร์ 5. คณิตศาสตร์เป็นศิลปะอย่างหนึ่ง คณิตศาสตร์เป็นศิลปะอย่างหนึ่งเหมือนกับศิลปะแขนงอื่น ๆ ความงามของคณิตสาสตร์ประกอบด้วยความมีระเบียบและความกลมกลืนที่เกิดขึ้นภายใน นักคณิตศาสตร์ พยายามแสดงออกถึงค่าสูงสุด ของความคิดและความสัมพันธ์ การสารวจความคิดใหม่ ๆ ทางคณิตศาสตร์ เป็นสิ่งสุดท้าทายให้เกิดความคิดสร้างสรรค์ ผู้จัดทาจึงเล็งเห็นว่าถ้าประยุกต์อินเตอร์เน็ตที่ใช้อยู่ในชีวิตประจาวันเข้ากับเนื้อหาคณิตศาสตร์ที่มี ความสาคัญ มานาเสนอเป็นความรู้ให้บุคคลทั่วไปได้ศึกษาหาความรู้ได้อย่างสะดวกสบายมากยิ่งขึ้นจะเป็น ประโยชน์ให้แก่ผู้ที่สนใจเป็นอย่างมาก ดังนั้นผู้จัดทาจึงได้จัดทา Blog แห่งการเรียนรู้ในรายวิชา คณิตศาสตร์ ในเรื่องเรขาคณิตวิเคราะห์ เพื่อให้ผู้ที่ต้องการจะศึกษาหาความรู้ได้ศึกษาผ่านเครือข่าย อินเตอร์เน็ตได้ง่ายและสะดวกขึ้น จุดประสงค์ 1.เพื่อศึกษาค้นคว้าข้อมูลทางคณิตศาสตร์ เรื่องเรขาคณิตวิเคราะห์ 2. เพื่อสร้าง Blogการเรียนคณิตศาสตร์ คณิตศาสตร์บูรณาการการใช้สื่อสังคมออนไลน์ 3. เพื่อพัฒนาทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ขอบเขตการศึกษา โครงงานคณิตศาสตร์ เรื่องเรขาคณิตวิเคราะห์ ในระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 1. ได้ศึกษาค้นคว้าข้อมูลทางคณิตศาสตร์ เรื่องเราขาคณิตวิเคราะห์ 2. ได้สร้าง Blogการเรียนคณิตศาสตร์ คณิตศาสตร์บูรณาการการสื่อสารสังคมออนไลน์ 3. ได้พัฒนาทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21