SlideShare a Scribd company logo
1 of 5
บทที่ 1 (กิจกรรม1) กลุ่มที่เรียน 2
รายวิชาการจัดการสารสนเทศยุคใหม่ในชีวิตประจาวัน รหัสวิชา 0026008
ชื่อ-สกุล น.ส.ศกลวรรณ ณ ร้อยเอ็ด รหัส 57010910114
จงเติมช่องว่างว่าข้อใดเป็นข้อมูล หรือสารสนเทศ
1. ข้อมูล หมายถึง
ตอบ ข้อเท็จจริงหรือเรื่องราวที่เกี่ยวข้องกับสิ่งต่าง ๆเช่น คน สัตว์ สิ่งของสถานที่ ฯลฯ
โดยอยู่ในรูปแบบที่ เหมาะสมต่อการสื่อสาร
การแปลความหมายและการประมวลผลซึ่งข้อมูลอาจจะได้มาจากการสังเกต การรวบรวม การวัด
ข้อมูลเป็นได้ทั้งข้อมูลตัวเลขหรือสัญญลักษณ์ใด ๆ
ที่สาคัญจะต้องมีความเป็นจริงและต่อเนื่องตัวอย่างของข้อมูล เช่น คะแนนสอบ ชือนักเรียน เพศ
อายุ เป็นต้น
2. ข้อมูลปฐมภูมิ คือ
ตอบ ข้อมูลที่ผู้ใช้ต้องเก็บรวบรวมจากผู้ให้ข้อมูลหรือแหล่งที่มาของข้อมูลโดยตรง
โดยไม่มีผู้ใดเคยเก็บมาก่อน
ตัวอย่าง การสารวจจากกลุ่มตัวอย่าง
คือการเก็บรวบรวมข้อมูลจากบางหน่วยที่เลือกมาเป็นตัวแทนจากทุก ๆ
หน่วยของประชากรหรือสิ่งที่เราต้องการศึกษาเท่านั้นเนื่องจากการเก็บรวบรวมข้อมูลจากทุกหน่วย
ของประชากร อาจทาให้เสียเวลาและค่าใช้จ่ายโดยไม่จาเป็น
เพราะสิ่งที่ต้องการศึกษาอาจจะมีบางกลุ่มที่มีลักษณะที่ต้องการศึกษาอยู่เหมือน ๆ กัน
หรือใกล้เคียงกันมาก
การเลือกตัวอย่างหรือตัวแทนของแต่ละกลุ่มมาทาการศึกษาก็เป็นการเพียงพอที่จะทาให้สามารถปร
ะมาณค่าของสิ่งที่เราต้องการศึกษาทั้งหมดได้ เช่น
การสารวจราคาเฉลี่ยของสินค้าชนิดหนึ่งที่มีขนาดบรรจุใกล้เคียงกันจากร้านค้าปลีกทั่วประเทศ
ราคามักจะใกล้เคียงกันด้วย
ดังนั้นเราอาจเลือกร้านค้าปลีกเพียงบางร้านมาเป็นตัวแทนของร้านค้าปลีกทั้งหมดได้
แต่จานวนร้านค้าปลีกที่เลือกมาเป็นตัวแทนจะมีจานวนมากหรือน้อยเพียงใดขึ้นอยู่กับความต้องกา
รของผู้เก็บรวบรวมข้อมูลว่าต้องการให้ราคาเฉลี่ยของราคาสินค้าชนิดนั้นที่หาได้จากราคาสินค้าใน
ร้านค้าตัวอย่างที่เลือกขึ้นมาเพื่อเก็บรวบรวมข้อมูลนี้ใกล้เคียงกับค่าที่ควรเป็นจริงซึ่งได้จากการเก็บ
รวบรวมข้อมูลจากร้ายค้าปลีกทุก ๆ ร้านมากน้อยเพียงใด
ถ้าต้องการให้ได้ผลใกล้เคียงมากก็ควรเลือกตัวอย่างร้านค้าปลีกมาเก็บรวบรวมข้อมูลเป็นจานวนมา
ก
3. ข้อมูลทุติยภูมิ คือ
ตอบ ข้อมูลที่ผู้ใช้ไม่ต้องเก็บรวบรวมจากผู้ให้ข้อมูลหรือแหล่งที่มาของข้อมูลโดยตรง
แต่ได้จากข้อมูลที่มีผู้อื่นเก็บรวบรวมไว้แล้ว ข้อมูลประเภทนี้
ผู้ใช้ไม่ต้องเสียเวลาและค่าใช้จ่ายในการเก็บรวบรวมข้อมูลเอง
สามารถนาข้อมูลที่มีผู้อื่นเก็บรวบรวมไว้แล้วมาใช้ได้เลย
แต่อย่างไรก็ตามผู้ใช้จะต้องระมัดระวังในการนาข้อมูลประเภทนี้มาใช้ให้มาก
เนื่องจากมีโอกาสผิดพลากได้มากหากผู้เก็บรวบรวมข้อมูลดังกล่าวใช้วิธีเก็บรวบรวมข้อมูลที่ไม่เหม
าะสม
ตัวอย่าง รายงานและบทความจากหนังสือหรือรายงานจากหน่วยงานเอกชน
หน่วยงานของเอกชนบางแห่งโดยเฉพาะหน่วยงานใหญ่ ๆ
จะพิมพ์รายงานเกี่ยวกับผลการดาเนินงานของตนออกเผยแพร่เช่นเดียวกับหน่วยงานของราชการ
เช่น รายงานประจาเดือนของธนาคารพาณิชย์ นอกจากนี้ หนังสือพิมพ์รายวัน หรือสื่ออื่น ๆ
มักจะมีข้อมูลทุติยภูมิประกอบบทความหรือรายงานด้วย
4. สารสนเทศ หมายถึง
ตอบ ข้อมูลที่ได้ผ่านกระบวนการประมวลผลแล้ว อาจใช้วิธีง่าย ๆ เช่น
หาค่าเฉลี่ยหรือใช้เทคนิคขั้นสูงเช่น การวิจัยดาเนินงานเป็นต้น
เพื่อเปลี่ยนแปลงสภาพข้อมูลทั่วไปให้อยู่ในรูปแบบที่มีความสัมพันธ์หรือมีความเกี่ยวข้องกัน
เพื่อนาไปใช้ประโยชน์ในการตัดสินใจให้คาตอบปัญหาต่าง ๆ ได้
สารสนเทศประกอบด้วยข้อมูลเอกสาร เสียง หรือรูปภาพต่าง ๆ
แต่จัดเนื้อเรื่องให้อยู่ในรูปที่มีความหมาย สารสนเทศไม่ใช่จากัดเฉพาะเพียงตัวเลขเพียงอย่างเดียวเ
ท่านั้น
5. จงอธิบายประเภทของสารสนเทศ
1. ระบบสารสนเทศแบบประมวลรายการ (TPS:Transaction Processing Systems
) เป็นระบบสารสนเทศที่เกี่ยวกับการบันทึกและประมวลข้อมูลที่เกิดจาก
ธุรกรรมหรือการปฏิบัติงานประจาหรืองานขั้นพื้นฐานขององค์การ เช่น การซื้อขายสินค้า
การบันทึกจานวนวัสดุคงคลัง
เมื่อใดก็ตามที่มีการทาธุรกรรมหรือปฏิบัติงานในลักษณะดังกล่าวข้อมูลที่เกี่ยวข้องจะเกิดขึ้นทันที
เช่น ทุกครั้งที่มีการขายสินค้า ข้อมูลที่เกิดขึ้นก็คือชื่อลูกค้าประเภทของลูกค้า
จานวนและราคาของสินค้าที่ขายไป รวมทั้งวิธีการชาระเงินของลูกค้า
2. ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ (MIS:Management Information
System) คือระบบที่ให้สารสนเทศ ที่ผู้บริหารต้องการ เพื่อให้สามารทางาน ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
โดยจะรวมทั้งสารสนเทศภายในและภายนอกสารสนเทศที่เกี่ยวพันกับองค์กรทั้งในอดีตและปัจจุบั
น นอกจากนี้ระบบนี้จะต้องให้สารสนเทศในช่วงเวลาที่เป็นประโยชน์
เพื่อให้ผู้บริหารสามารถตัดสินใจในการวางแผนการควบคุม และการปฏิบัติการขององค์กรได้อย่าง
ถูกต้องแม้ว่าผู้บริหารที่จะได้รับประโยชน์จากระบบนี้สูงสุดคือผู้บริหารระดับกลาง
แต่โดยพื้นฐานของระบบนี้แล้วจะเป็นระบบที่สามารถสนับสนุนข้อมูลให้ผู้บริหารทั้งสาม ระดับ
คือทั้งผู้บริหารระดับต้น ผู้บริหารระดับกลางและผู้บริหารระดับสูง
โดยระบบนี้จะให้รายงานที่สรุปสารสนเทศซึ่งรวบรวมจากฐานข้อมูลทั้งหมดของบริษัท
3. ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ (DSS:Decision Support
System)เป็นระบบที่พัฒนาขึ้นจากระบบ MIS อีกระดับหนึ่ง เนื่องจาก
ถึงแม้ว่าผู้ที่มีหน้าที่ในการตัดสินใจจะสามารถใช้ประสบการณ์หรือใช้ข้อมูลที่มีอยู่แล้วในระบบเอ็ม
ไอเอส ของบริษัท สาหรับทาการตัดสินใจได้อย่างมีประสิทธิภาพในงานปกติ
แต่บ่อยครั้งที่ผู้ตัดสินใจ
โดยเฉพาะอย่างยิ่งผู้บริหารในระดับสูงและระดับกลางจะเผชิญกับการตัดสินใจที่ประกอบด้วยปัจจั
ยที่ซับซ้อนเกินกว่าความสามารถของมนุษย์ที่จะประมวล เข้าด้วยกันได้อย่างถูกต้องจึก
ทาให้เกิดระบบนี้ขึ้น ซึ่งเป็นระบบที่สนับสนุนความต้องการเฉพาะของผู้บริหารแต่ละคน (made
byorder) ในหลายๆสถานะการณ์ ระบบ นี้มีหน้าที่ช่วยให้การตัดสินใจเป็นไปได้อย่างสะดวก
4. ระบบสนับสนุนการตัดสินใจแบบกลุ่ม (GDSS:GroupDecision Support
System)เป็นระบบย่อยหนึ่งในระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ
โดยที่ระบบสนับสนุนการตัดสินใจจะช่วยผู้บริหารในเรื่องการตัดสินใจในเหตุการณ์หรือกิจกรรมท
างธุรกิจที่ไม่มีโครงสร้างแน่นอน หรือกึ่งโครงสร้าง
ระบบสนับสนุนการตัดสินใจอาจจะใช้กับบุคคลเดียวหรือช่วยสนับสนุนการตัดสินใจเป็นกลุ่ม
นอกจากนั้น ยังมีระบบสนับสนุนผู้บริหารเพื่อช่วยผู้บริหารในการตัดสินใจเชิงกลยุทธ์
5. ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ (GIS:GeographicInformation System
)ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ หรือ Geographic Information System : GIS
คือกระบวนการทางานเกี่ยวกับข้อมูลในเชิงพื้นที่ด้วยระบบคอมพิวเตอร์
ที่ใช้กาหนดข้อมูลและสารสนเทศ ที่มีความสัมพันธ์กับตาแหน่งในเชิงพื้นที่ เช่น ที่อยู่ บ้านเลขที่
สัมพันธ์กับตาแหน่งในแผนที่ ตาแหน่ง เส้นรุ้ง เส้นแวง ข้อมูลและแผนที่ใน GIS
เป็นระบบข้อมูลสารสนเทศที่อยู่ในรูปของตารางข้อมูล
และฐานข้อมูลที่มีส่วนสัมพันธ์กับข้อมูลเชิงพื้นที่ (SpatialData)
ซึ่งรูปแบบและความสัมพันธ์ของข้อมูลเชิงพื้นที่ทั้งหลาย จะสามารถนามาวิเคราะห์ด้วย GIS
และทาให้สื่อความหมายในเรื่องการเปลี่ยนแปลงที่สัมพันธ์กับเวลาได้ เช่น
การแพร่ขยายของโรคระบาด การเคลื่อนย้าย ถิ่นฐาน การบุกรุกทาลาย
การเปลี่ยนแปลงของการใช้พื้นที่ ฯลฯข้อมูลเหล่านี้
เมื่อปรากฏบนแผนที่ทาให้สามารถแปลและสื่อความหมาย ใช้งานได้ง่าย
6. ระบบสารสนเทศเพื่อผู้บริหารระดับสูง(EIS:Excutive Information
System)เป็นระบบที่สร้างขึ้น เพื่อสนับสนุน
สารสนเทศและการตัดสินใจสาหรับผู้บริหารระดับสูงโดยเฉพาะ หรือ
สามารถกล่าวได้ว่าระบบนี้คือส่วนหนึ่งของ DSS ที่แยกออกมา
เพื่อเน้นการให้สารสนเทศที่สาคัญต่อการบริการแก่ผู้บริหาร
7. ปัญญาประดิษฐ์ (AI:Artificial
Intelligence)ระบบที่ทาให้เครื่องคอมพิวเตอร์กลายเป็นผู้ชานาญการณ์ ในสาขาใดสาขาหนึ่ง
คล้ายกับมนุษย์ ระบบผู้เชี่ยวชาญมีส่วนคล้ายคลึงกับระบบอื่นๆ
คือเป็นระบบคอมพิวเตอร์ที่ช่วยผู้บริหารแก้ไขปัญหาหรือทาการ ตัดสินใจได้ดีขึ้น
อย่างไรก็ดีระบบผู้เชี่ยวชาญจะแตกต่างกับระบบอื่นอยู่มาก
เนื่องจากระบบผู้เชี่ยวชาญจะเกี่ยวข้องกับการจัดการ ความรู้ (Knowledge) มากกว่าสารสนเทศ
และถูกออกแบบให้ช่วยในการตัดสินใจโดยใช้วิธีเดียวกับผู้เชี่ยวชาญที่ มนุษย์
โดยใช้หลักการทางานด้วยระบบ ปัญญาประดิษฐ์ (Artificial Intelligence)
8. ระบบสานักงานอัตโนมัติ (OAS: OfficeAutomation
System)เป็นระบบที่ใช้บุคลากรน้อยที่สุด
โดยอาศัยเครื่องมือแบบอัตโนมัติและระบบสื่อสารเชื่องโยงข่าวสารระหว่างเครื่องมือเหล่านั้นเข้าด้ว
ยกัน QAS มีจุดมุ่งหมายให้เป็นระบบที่ไม่ใช้กระดาษ (Paperless System) ส่งข่าว
สารถึงกันด้วยข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic DataInterchange) แทน
ซึ่งมีรูปแบบในการใช้งาน 2 ลักษณะคือ
รูปแบบของระบบงานพิมพ์และการประมวลผลทางอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic
Publishing & Processing System) ได้แก่การสื่อสารด้วยข้อความ รูปภาพ จดหมายอิเล็กทรอนิกส์
(Electronic Mail : E-Mail) โทรสาร (FAX)หรือ เสียงอิเล็กทรอนิกส์ (Voice Mail) เป็นต้น
รูปแบบการประชุมทางไกลด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic MeetingSystem)
เป็นเทคนิคที่ทาให้กลุ่มคนทั่วโลกสามารถติดต่อสื่อสารกันได้ คล้ายการพูดคุยกันโดยตรง เช่น
การประชุมทางไกลแบบมีแต่เสียง (Audio
Conferencing),การประชุมทางไกลแบบมีทั้งภาพและเสียง (VideoConferencing) หรือ
ทั้งจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ โทรสาร และเสียงอิเล็กทรอนิกส์รวมกัน เป็นต้น
6. ข้อเท็จจริงของสิ่งต่างๆที่อาจเป็นตัวเลข ข้อความรูปภาพ เสียง คือ
ตอบ ข้อมูล
7. ข้อมูลที่ผ่านการประมวลผลเป็น
ตอบ ข้อมูลสนเทศหรือสารสนเทศ (Information)
8. ส่วนสูงของเพื่อนที่ถามจากเพื่อนแต่ละคนเป็น
ตอบ ข้อมูล
9. ผลของการลงทะเบียน เป็น
ตอบ สารสนเทศ
10. กราฟแสดงจานวนนิสิตในห้องเรียนวิชาวิชาการจัดการสารสนเทศยุคใหม่ในชีวิตประจาวันSection
วัน อังคาร เป็น
ตอบ สารสนเทศ

More Related Content

What's hot

ข้อมูลและสารสนเทศ ปอ
ข้อมูลและสารสนเทศ ปอข้อมูลและสารสนเทศ ปอ
ข้อมูลและสารสนเทศ ปอMilkSick
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร gozungki
 
ข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศWirot Chantharoek
 
เอกสารประกอบการสอนบทที่ 1
เอกสารประกอบการสอนบทที่ 1เอกสารประกอบการสอนบทที่ 1
เอกสารประกอบการสอนบทที่ 1Nut Yuthapong
 
เทคโนโลยีการสื่อสารสมัยใหม่
เทคโนโลยีการสื่อสารสมัยใหม่เทคโนโลยีการสื่อสารสมัยใหม่
เทคโนโลยีการสื่อสารสมัยใหม่Jitsupapa Rungpakdeesawat
 
LibJu - 2.3 แหล่งสารสนเทศ
LibJu - 2.3 แหล่งสารสนเทศLibJu - 2.3 แหล่งสารสนเทศ
LibJu - 2.3 แหล่งสารสนเทศPloykarn Lamdual
 
โบว์แคช
โบว์แคชโบว์แคช
โบว์แคชwannuka24
 
โบว์แคช
โบว์แคชโบว์แคช
โบว์แคชwannuka24
 

What's hot (10)

ข้อมูลและสารสนเทศ ปอ
ข้อมูลและสารสนเทศ ปอข้อมูลและสารสนเทศ ปอ
ข้อมูลและสารสนเทศ ปอ
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
 
ข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศ
 
เอกสารประกอบการสอนบทที่ 1
เอกสารประกอบการสอนบทที่ 1เอกสารประกอบการสอนบทที่ 1
เอกสารประกอบการสอนบทที่ 1
 
หน่วยที่ 1 1 ข้อมูลและสารสนเทศ
หน่วยที่ 1   1 ข้อมูลและสารสนเทศหน่วยที่ 1   1 ข้อมูลและสารสนเทศ
หน่วยที่ 1 1 ข้อมูลและสารสนเทศ
 
เทคโนโลยีการสื่อสารสมัยใหม่
เทคโนโลยีการสื่อสารสมัยใหม่เทคโนโลยีการสื่อสารสมัยใหม่
เทคโนโลยีการสื่อสารสมัยใหม่
 
Test1
Test1Test1
Test1
 
LibJu - 2.3 แหล่งสารสนเทศ
LibJu - 2.3 แหล่งสารสนเทศLibJu - 2.3 แหล่งสารสนเทศ
LibJu - 2.3 แหล่งสารสนเทศ
 
โบว์แคช
โบว์แคชโบว์แคช
โบว์แคช
 
โบว์แคช
โบว์แคชโบว์แคช
โบว์แคช
 

Similar to สารสนเทศในชีวิตประจำวัน บทที่ 1

เทคโนโลยีสำหรับครู
เทคโนโลยีสำหรับครูเทคโนโลยีสำหรับครู
เทคโนโลยีสำหรับครูnarongsak promwang
 
รายงานการใช้สื่อ5บท
รายงานการใช้สื่อ5บทรายงานการใช้สื่อ5บท
รายงานการใช้สื่อ5บทJiraporn Chaimongkol
 
01แผน เรื่อง งาน
01แผน เรื่อง งาน01แผน เรื่อง งาน
01แผน เรื่อง งานWijitta DevilTeacher
 
ข้อมูล สารสนเทศ และความรู้
ข้อมูล สารสนเทศ และความรู้ข้อมูล สารสนเทศ และความรู้
ข้อมูล สารสนเทศ และความรู้Saipanyarangsit School
 
เทคโนโลยี และสื่อการสอน
เทคโนโลยี และสื่อการสอนเทคโนโลยี และสื่อการสอน
เทคโนโลยี และสื่อการสอนWiparat Khangate
 
02แผน เรื่อง พลังงาน
02แผน เรื่อง พลังงาน02แผน เรื่อง พลังงาน
02แผน เรื่อง พลังงานWijitta DevilTeacher
 
ข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศsastraa
 
ข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศsastraa
 
ข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศsastraa
 
ข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศsastraa
 
ข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศsastraa
 
ข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศsastraa
 
สารสนเทศยุคใหม่ในชีวิตประจำวัน บทที่ 3
สารสนเทศยุคใหม่ในชีวิตประจำวัน บทที่ 3สารสนเทศยุคใหม่ในชีวิตประจำวัน บทที่ 3
สารสนเทศยุคใหม่ในชีวิตประจำวัน บทที่ 3Sakonwan Na Roiet
 
2.1.2 การประเมินค่าทรัพยกรสารสนเทศ evaluate material
2.1.2 การประเมินค่าทรัพยกรสารสนเทศ evaluate material2.1.2 การประเมินค่าทรัพยกรสารสนเทศ evaluate material
2.1.2 การประเมินค่าทรัพยกรสารสนเทศ evaluate materialPloykarn Lamdual
 

Similar to สารสนเทศในชีวิตประจำวัน บทที่ 1 (20)

เทคโนโลยีสำหรับครู
เทคโนโลยีสำหรับครูเทคโนโลยีสำหรับครู
เทคโนโลยีสำหรับครู
 
หน่วยที่ 1 แผนที่ 1
หน่วยที่ 1 แผนที่ 1หน่วยที่ 1 แผนที่ 1
หน่วยที่ 1 แผนที่ 1
 
รายงานการใช้สื่อ5บท
รายงานการใช้สื่อ5บทรายงานการใช้สื่อ5บท
รายงานการใช้สื่อ5บท
 
Unit033
Unit033Unit033
Unit033
 
Unit03
Unit03Unit03
Unit03
 
ทบทวนความรู้เดิม
ทบทวนความรู้เดิมทบทวนความรู้เดิม
ทบทวนความรู้เดิม
 
01แผน เรื่อง งาน
01แผน เรื่อง งาน01แผน เรื่อง งาน
01แผน เรื่อง งาน
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
ข้อมูล สารสนเทศ และความรู้
ข้อมูล สารสนเทศ และความรู้ข้อมูล สารสนเทศ และความรู้
ข้อมูล สารสนเทศ และความรู้
 
เทคโนโลยี และสื่อการสอน
เทคโนโลยี และสื่อการสอนเทคโนโลยี และสื่อการสอน
เทคโนโลยี และสื่อการสอน
 
ภารกิจครูมือใหม่
ภารกิจครูมือใหม่ภารกิจครูมือใหม่
ภารกิจครูมือใหม่
 
02แผน เรื่อง พลังงาน
02แผน เรื่อง พลังงาน02แผน เรื่อง พลังงาน
02แผน เรื่อง พลังงาน
 
ข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศ
 
ข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศ
 
ข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศ
 
ข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศ
 
ข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศ
 
ข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศ
 
สารสนเทศยุคใหม่ในชีวิตประจำวัน บทที่ 3
สารสนเทศยุคใหม่ในชีวิตประจำวัน บทที่ 3สารสนเทศยุคใหม่ในชีวิตประจำวัน บทที่ 3
สารสนเทศยุคใหม่ในชีวิตประจำวัน บทที่ 3
 
2.1.2 การประเมินค่าทรัพยกรสารสนเทศ evaluate material
2.1.2 การประเมินค่าทรัพยกรสารสนเทศ evaluate material2.1.2 การประเมินค่าทรัพยกรสารสนเทศ evaluate material
2.1.2 การประเมินค่าทรัพยกรสารสนเทศ evaluate material
 

สารสนเทศในชีวิตประจำวัน บทที่ 1

  • 1. บทที่ 1 (กิจกรรม1) กลุ่มที่เรียน 2 รายวิชาการจัดการสารสนเทศยุคใหม่ในชีวิตประจาวัน รหัสวิชา 0026008 ชื่อ-สกุล น.ส.ศกลวรรณ ณ ร้อยเอ็ด รหัส 57010910114 จงเติมช่องว่างว่าข้อใดเป็นข้อมูล หรือสารสนเทศ 1. ข้อมูล หมายถึง ตอบ ข้อเท็จจริงหรือเรื่องราวที่เกี่ยวข้องกับสิ่งต่าง ๆเช่น คน สัตว์ สิ่งของสถานที่ ฯลฯ โดยอยู่ในรูปแบบที่ เหมาะสมต่อการสื่อสาร การแปลความหมายและการประมวลผลซึ่งข้อมูลอาจจะได้มาจากการสังเกต การรวบรวม การวัด ข้อมูลเป็นได้ทั้งข้อมูลตัวเลขหรือสัญญลักษณ์ใด ๆ ที่สาคัญจะต้องมีความเป็นจริงและต่อเนื่องตัวอย่างของข้อมูล เช่น คะแนนสอบ ชือนักเรียน เพศ อายุ เป็นต้น 2. ข้อมูลปฐมภูมิ คือ ตอบ ข้อมูลที่ผู้ใช้ต้องเก็บรวบรวมจากผู้ให้ข้อมูลหรือแหล่งที่มาของข้อมูลโดยตรง โดยไม่มีผู้ใดเคยเก็บมาก่อน ตัวอย่าง การสารวจจากกลุ่มตัวอย่าง คือการเก็บรวบรวมข้อมูลจากบางหน่วยที่เลือกมาเป็นตัวแทนจากทุก ๆ หน่วยของประชากรหรือสิ่งที่เราต้องการศึกษาเท่านั้นเนื่องจากการเก็บรวบรวมข้อมูลจากทุกหน่วย ของประชากร อาจทาให้เสียเวลาและค่าใช้จ่ายโดยไม่จาเป็น เพราะสิ่งที่ต้องการศึกษาอาจจะมีบางกลุ่มที่มีลักษณะที่ต้องการศึกษาอยู่เหมือน ๆ กัน หรือใกล้เคียงกันมาก การเลือกตัวอย่างหรือตัวแทนของแต่ละกลุ่มมาทาการศึกษาก็เป็นการเพียงพอที่จะทาให้สามารถปร ะมาณค่าของสิ่งที่เราต้องการศึกษาทั้งหมดได้ เช่น การสารวจราคาเฉลี่ยของสินค้าชนิดหนึ่งที่มีขนาดบรรจุใกล้เคียงกันจากร้านค้าปลีกทั่วประเทศ ราคามักจะใกล้เคียงกันด้วย ดังนั้นเราอาจเลือกร้านค้าปลีกเพียงบางร้านมาเป็นตัวแทนของร้านค้าปลีกทั้งหมดได้ แต่จานวนร้านค้าปลีกที่เลือกมาเป็นตัวแทนจะมีจานวนมากหรือน้อยเพียงใดขึ้นอยู่กับความต้องกา
  • 2. รของผู้เก็บรวบรวมข้อมูลว่าต้องการให้ราคาเฉลี่ยของราคาสินค้าชนิดนั้นที่หาได้จากราคาสินค้าใน ร้านค้าตัวอย่างที่เลือกขึ้นมาเพื่อเก็บรวบรวมข้อมูลนี้ใกล้เคียงกับค่าที่ควรเป็นจริงซึ่งได้จากการเก็บ รวบรวมข้อมูลจากร้ายค้าปลีกทุก ๆ ร้านมากน้อยเพียงใด ถ้าต้องการให้ได้ผลใกล้เคียงมากก็ควรเลือกตัวอย่างร้านค้าปลีกมาเก็บรวบรวมข้อมูลเป็นจานวนมา ก 3. ข้อมูลทุติยภูมิ คือ ตอบ ข้อมูลที่ผู้ใช้ไม่ต้องเก็บรวบรวมจากผู้ให้ข้อมูลหรือแหล่งที่มาของข้อมูลโดยตรง แต่ได้จากข้อมูลที่มีผู้อื่นเก็บรวบรวมไว้แล้ว ข้อมูลประเภทนี้ ผู้ใช้ไม่ต้องเสียเวลาและค่าใช้จ่ายในการเก็บรวบรวมข้อมูลเอง สามารถนาข้อมูลที่มีผู้อื่นเก็บรวบรวมไว้แล้วมาใช้ได้เลย แต่อย่างไรก็ตามผู้ใช้จะต้องระมัดระวังในการนาข้อมูลประเภทนี้มาใช้ให้มาก เนื่องจากมีโอกาสผิดพลากได้มากหากผู้เก็บรวบรวมข้อมูลดังกล่าวใช้วิธีเก็บรวบรวมข้อมูลที่ไม่เหม าะสม ตัวอย่าง รายงานและบทความจากหนังสือหรือรายงานจากหน่วยงานเอกชน หน่วยงานของเอกชนบางแห่งโดยเฉพาะหน่วยงานใหญ่ ๆ จะพิมพ์รายงานเกี่ยวกับผลการดาเนินงานของตนออกเผยแพร่เช่นเดียวกับหน่วยงานของราชการ เช่น รายงานประจาเดือนของธนาคารพาณิชย์ นอกจากนี้ หนังสือพิมพ์รายวัน หรือสื่ออื่น ๆ มักจะมีข้อมูลทุติยภูมิประกอบบทความหรือรายงานด้วย 4. สารสนเทศ หมายถึง ตอบ ข้อมูลที่ได้ผ่านกระบวนการประมวลผลแล้ว อาจใช้วิธีง่าย ๆ เช่น หาค่าเฉลี่ยหรือใช้เทคนิคขั้นสูงเช่น การวิจัยดาเนินงานเป็นต้น เพื่อเปลี่ยนแปลงสภาพข้อมูลทั่วไปให้อยู่ในรูปแบบที่มีความสัมพันธ์หรือมีความเกี่ยวข้องกัน เพื่อนาไปใช้ประโยชน์ในการตัดสินใจให้คาตอบปัญหาต่าง ๆ ได้ สารสนเทศประกอบด้วยข้อมูลเอกสาร เสียง หรือรูปภาพต่าง ๆ แต่จัดเนื้อเรื่องให้อยู่ในรูปที่มีความหมาย สารสนเทศไม่ใช่จากัดเฉพาะเพียงตัวเลขเพียงอย่างเดียวเ ท่านั้น 5. จงอธิบายประเภทของสารสนเทศ
  • 3. 1. ระบบสารสนเทศแบบประมวลรายการ (TPS:Transaction Processing Systems ) เป็นระบบสารสนเทศที่เกี่ยวกับการบันทึกและประมวลข้อมูลที่เกิดจาก ธุรกรรมหรือการปฏิบัติงานประจาหรืองานขั้นพื้นฐานขององค์การ เช่น การซื้อขายสินค้า การบันทึกจานวนวัสดุคงคลัง เมื่อใดก็ตามที่มีการทาธุรกรรมหรือปฏิบัติงานในลักษณะดังกล่าวข้อมูลที่เกี่ยวข้องจะเกิดขึ้นทันที เช่น ทุกครั้งที่มีการขายสินค้า ข้อมูลที่เกิดขึ้นก็คือชื่อลูกค้าประเภทของลูกค้า จานวนและราคาของสินค้าที่ขายไป รวมทั้งวิธีการชาระเงินของลูกค้า 2. ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ (MIS:Management Information System) คือระบบที่ให้สารสนเทศ ที่ผู้บริหารต้องการ เพื่อให้สามารทางาน ได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยจะรวมทั้งสารสนเทศภายในและภายนอกสารสนเทศที่เกี่ยวพันกับองค์กรทั้งในอดีตและปัจจุบั น นอกจากนี้ระบบนี้จะต้องให้สารสนเทศในช่วงเวลาที่เป็นประโยชน์ เพื่อให้ผู้บริหารสามารถตัดสินใจในการวางแผนการควบคุม และการปฏิบัติการขององค์กรได้อย่าง ถูกต้องแม้ว่าผู้บริหารที่จะได้รับประโยชน์จากระบบนี้สูงสุดคือผู้บริหารระดับกลาง แต่โดยพื้นฐานของระบบนี้แล้วจะเป็นระบบที่สามารถสนับสนุนข้อมูลให้ผู้บริหารทั้งสาม ระดับ คือทั้งผู้บริหารระดับต้น ผู้บริหารระดับกลางและผู้บริหารระดับสูง โดยระบบนี้จะให้รายงานที่สรุปสารสนเทศซึ่งรวบรวมจากฐานข้อมูลทั้งหมดของบริษัท 3. ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ (DSS:Decision Support System)เป็นระบบที่พัฒนาขึ้นจากระบบ MIS อีกระดับหนึ่ง เนื่องจาก ถึงแม้ว่าผู้ที่มีหน้าที่ในการตัดสินใจจะสามารถใช้ประสบการณ์หรือใช้ข้อมูลที่มีอยู่แล้วในระบบเอ็ม ไอเอส ของบริษัท สาหรับทาการตัดสินใจได้อย่างมีประสิทธิภาพในงานปกติ แต่บ่อยครั้งที่ผู้ตัดสินใจ โดยเฉพาะอย่างยิ่งผู้บริหารในระดับสูงและระดับกลางจะเผชิญกับการตัดสินใจที่ประกอบด้วยปัจจั ยที่ซับซ้อนเกินกว่าความสามารถของมนุษย์ที่จะประมวล เข้าด้วยกันได้อย่างถูกต้องจึก ทาให้เกิดระบบนี้ขึ้น ซึ่งเป็นระบบที่สนับสนุนความต้องการเฉพาะของผู้บริหารแต่ละคน (made byorder) ในหลายๆสถานะการณ์ ระบบ นี้มีหน้าที่ช่วยให้การตัดสินใจเป็นไปได้อย่างสะดวก 4. ระบบสนับสนุนการตัดสินใจแบบกลุ่ม (GDSS:GroupDecision Support System)เป็นระบบย่อยหนึ่งในระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ โดยที่ระบบสนับสนุนการตัดสินใจจะช่วยผู้บริหารในเรื่องการตัดสินใจในเหตุการณ์หรือกิจกรรมท างธุรกิจที่ไม่มีโครงสร้างแน่นอน หรือกึ่งโครงสร้าง ระบบสนับสนุนการตัดสินใจอาจจะใช้กับบุคคลเดียวหรือช่วยสนับสนุนการตัดสินใจเป็นกลุ่ม นอกจากนั้น ยังมีระบบสนับสนุนผู้บริหารเพื่อช่วยผู้บริหารในการตัดสินใจเชิงกลยุทธ์
  • 4. 5. ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ (GIS:GeographicInformation System )ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ หรือ Geographic Information System : GIS คือกระบวนการทางานเกี่ยวกับข้อมูลในเชิงพื้นที่ด้วยระบบคอมพิวเตอร์ ที่ใช้กาหนดข้อมูลและสารสนเทศ ที่มีความสัมพันธ์กับตาแหน่งในเชิงพื้นที่ เช่น ที่อยู่ บ้านเลขที่ สัมพันธ์กับตาแหน่งในแผนที่ ตาแหน่ง เส้นรุ้ง เส้นแวง ข้อมูลและแผนที่ใน GIS เป็นระบบข้อมูลสารสนเทศที่อยู่ในรูปของตารางข้อมูล และฐานข้อมูลที่มีส่วนสัมพันธ์กับข้อมูลเชิงพื้นที่ (SpatialData) ซึ่งรูปแบบและความสัมพันธ์ของข้อมูลเชิงพื้นที่ทั้งหลาย จะสามารถนามาวิเคราะห์ด้วย GIS และทาให้สื่อความหมายในเรื่องการเปลี่ยนแปลงที่สัมพันธ์กับเวลาได้ เช่น การแพร่ขยายของโรคระบาด การเคลื่อนย้าย ถิ่นฐาน การบุกรุกทาลาย การเปลี่ยนแปลงของการใช้พื้นที่ ฯลฯข้อมูลเหล่านี้ เมื่อปรากฏบนแผนที่ทาให้สามารถแปลและสื่อความหมาย ใช้งานได้ง่าย 6. ระบบสารสนเทศเพื่อผู้บริหารระดับสูง(EIS:Excutive Information System)เป็นระบบที่สร้างขึ้น เพื่อสนับสนุน สารสนเทศและการตัดสินใจสาหรับผู้บริหารระดับสูงโดยเฉพาะ หรือ สามารถกล่าวได้ว่าระบบนี้คือส่วนหนึ่งของ DSS ที่แยกออกมา เพื่อเน้นการให้สารสนเทศที่สาคัญต่อการบริการแก่ผู้บริหาร 7. ปัญญาประดิษฐ์ (AI:Artificial Intelligence)ระบบที่ทาให้เครื่องคอมพิวเตอร์กลายเป็นผู้ชานาญการณ์ ในสาขาใดสาขาหนึ่ง คล้ายกับมนุษย์ ระบบผู้เชี่ยวชาญมีส่วนคล้ายคลึงกับระบบอื่นๆ คือเป็นระบบคอมพิวเตอร์ที่ช่วยผู้บริหารแก้ไขปัญหาหรือทาการ ตัดสินใจได้ดีขึ้น อย่างไรก็ดีระบบผู้เชี่ยวชาญจะแตกต่างกับระบบอื่นอยู่มาก เนื่องจากระบบผู้เชี่ยวชาญจะเกี่ยวข้องกับการจัดการ ความรู้ (Knowledge) มากกว่าสารสนเทศ และถูกออกแบบให้ช่วยในการตัดสินใจโดยใช้วิธีเดียวกับผู้เชี่ยวชาญที่ มนุษย์ โดยใช้หลักการทางานด้วยระบบ ปัญญาประดิษฐ์ (Artificial Intelligence) 8. ระบบสานักงานอัตโนมัติ (OAS: OfficeAutomation System)เป็นระบบที่ใช้บุคลากรน้อยที่สุด โดยอาศัยเครื่องมือแบบอัตโนมัติและระบบสื่อสารเชื่องโยงข่าวสารระหว่างเครื่องมือเหล่านั้นเข้าด้ว ยกัน QAS มีจุดมุ่งหมายให้เป็นระบบที่ไม่ใช้กระดาษ (Paperless System) ส่งข่าว สารถึงกันด้วยข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic DataInterchange) แทน ซึ่งมีรูปแบบในการใช้งาน 2 ลักษณะคือ
  • 5. รูปแบบของระบบงานพิมพ์และการประมวลผลทางอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Publishing & Processing System) ได้แก่การสื่อสารด้วยข้อความ รูปภาพ จดหมายอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Mail : E-Mail) โทรสาร (FAX)หรือ เสียงอิเล็กทรอนิกส์ (Voice Mail) เป็นต้น รูปแบบการประชุมทางไกลด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic MeetingSystem) เป็นเทคนิคที่ทาให้กลุ่มคนทั่วโลกสามารถติดต่อสื่อสารกันได้ คล้ายการพูดคุยกันโดยตรง เช่น การประชุมทางไกลแบบมีแต่เสียง (Audio Conferencing),การประชุมทางไกลแบบมีทั้งภาพและเสียง (VideoConferencing) หรือ ทั้งจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ โทรสาร และเสียงอิเล็กทรอนิกส์รวมกัน เป็นต้น 6. ข้อเท็จจริงของสิ่งต่างๆที่อาจเป็นตัวเลข ข้อความรูปภาพ เสียง คือ ตอบ ข้อมูล 7. ข้อมูลที่ผ่านการประมวลผลเป็น ตอบ ข้อมูลสนเทศหรือสารสนเทศ (Information) 8. ส่วนสูงของเพื่อนที่ถามจากเพื่อนแต่ละคนเป็น ตอบ ข้อมูล 9. ผลของการลงทะเบียน เป็น ตอบ สารสนเทศ 10. กราฟแสดงจานวนนิสิตในห้องเรียนวิชาวิชาการจัดการสารสนเทศยุคใหม่ในชีวิตประจาวันSection วัน อังคาร เป็น ตอบ สารสนเทศ